ประเพณี
ผีตาโขน
คำนำ
หนังสืออิเล็กทรอนิกนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
วิชา การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิก
เรื่อง ประเพณีผีตาโขน เนื้อหาในหนังสือนี้ได้
บอกความมเป็นมาและการละเล่นผีตาโขน
รายงานเล่มนี้สามารถนำไปใช้ในการศึกษา
หากผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทำต้อง
ขออภัยไว้ ณ ที่นี้
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
ข
สารบัญ
1
ความเป็นมา
2
การละเล่น
ความเป็นมา
กล่าวกันว่า การแห่ผีตาโขนเกิดขึ้นเมื่อครั้งที่พระเวสสันดรและนางมัทรีจะเดินทางออก
จากป่า กลับสู่เมืองบรรดาผีป่าหลายตนและสัตว์นานาชนิดอาลัยรักจึงพาแห่แหนแฝงตัว
แฝงตน มากับชาวบ้านเพื่อมาส่งทั้งสองพระองค์กลับเมือง เรียกกันว่า "ผีตามคน" หรือ
"ผีตาขน" จนกลายมาเป็น "ผีตาโขน" อย่างในปัจจุบัน
ชนิดของผีตาโขน
ผีตาโขน ในขบวนแห่จะแยกเป็น 2 ชนิดคือ ผีตาโขนใหญ่และผีตาโขนเล็ก
ผีตาโขนใหญ่ ทำเป็นหุ่นรูปผีทำจากไม้ไผ่สานมีขนาดใหญ่กว่าคนธรรมดา
ประมาณ 2 เท่าประดับตกแต่งรูปร่างหน้าตาด้วยเศษวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น เวลาแห่ คน
เล่นจะต้องเข้าไปอยู่ข้างในตัวหุ่น แต่ละปีจะทำผีตาโขนใหญ่เพียง 2 ตัว คือผีตาโขน
ชาย1ตัวและหญิง1ตัว สังเกตจากเครื่องเพศปรากฏชัดเจนที่ตัวหุ่น ผู้มีหน้าที่ทำผีตาโขน
ใหญ่จะมีเฉพาะกลุ่มเท่านั้น เพราะคนอื่นไม่มีสิทธิ์ทำ การทำก็ต้องได้รับอนุญาตจากผี
หรือเจ้าก่อน ถ้าได้รับอนุญาตแล้วต้องทำทุกปีหรือทำติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปี
การละเล่น
ผีตาโขน จัดได้ว่าเป็นการละเล่นชนิดหนึ่ง โดยที่ผู้เล่นจะทำรูป
หน้ากาก ที่มีลักษณะหน้าเกลียดน่ากลัว มาสวมใส่ปกปิดใบหน้า
รวมไปถึงเครื่องแต่งกายที่ต้องปกปิดมิดชิดเช่นกัน แล้วเข้าขบวน
แห่แสดงท่าทางต่างๆ ในงานบุญตามประเพณีประจำปีของท้องถิ่น
พื้นบ้าน การละเล่นผีตาโขนจะมีในเดือนแปดข้างขึ้น และนิยมทำ
3 วัน คือ
วันแรก เป็นวันที่ชาวบ้านจะร่วมกันสร้างหออุปคุตและทำกระทง
เล็กไปวางตามิศต่างๆจำนวนสี่ทิศด้วยกัน บนหอหลวงจะมีร่มขนาด
ใหญ่กางกั้นไว้ ถือเป็นวันแรกของการทำพิธี
บรรณานุกรม
แหล่งอ้างอิง
ความเป็นมาและการละเล่น
http://tessabandansai.go.th/public/list/
data/detail/id/127/menu/543/page/