หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 การดารงชีวติ
ของพชื
1 การลาเลียงในพชื การแพร่ และออสโมซสิ
2 เนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้ และเนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหาร
ของพืชใบเลีย้ งคู่และพชื ใบเลีย้ งเด่ียว
3 การสังเคราะห์ด้วยแสง
4 ความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ต่อส่งิ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม
5 การสืบพนั ธ์ุและการตอบสนองต่อส่งิ เร้าของพืช
6 ธาตอุ าหารท่มี ีผลต่อการเจริญเตบิ โตและ
การดารงชีวติ ของพืช
7 เทคโนโลยชี ีวภาพเพ่อื เพ่มิ ผลผลิตของพชื ในท้องถ่นิ
1. การลาเลียงในพืช การแพร่ และออสโมซสิ
1.1 ส่วนประกอบของพชื
ดอก มหี น้าท่เี ก่ียวข้องกับการสืบพนั ธ์ุของพชื
ใบ มหี น้าท่หี ลัก คือ สร้างอาหารให้แก่พชื
ลาต้น มีหน้าท่หี ลัก คือ ชกู ่ิงและใบให้ได้รับแสงแดด
ราก
มีหน้าท่หี ลัก คือ ยดึ ลาต้น ดดู นา้ และ
ธาตุอาหารจากพนื้ ดนิ โดยใช้ขนราก
1.2 การลาเลียงในพืช ต้องมีการลาเลียงนา้ และธาตุอาหารจากรากไปยงั
บริเวณท่ีมีการสังเคราะห์ด้วยแสง
หมวกราก • ขนรากมีหน้ าท่ีดูดน้าและ
ธาตุอาหารจากดินบริเวณรอบ ๆ
รากเข้าสู่ต้นไม้ ขนรากเป็ นส่วนของ
เซลล์ผิวรากท่ีย่ืนออกไป มีลักษณะ
เ ป็ น ข น สี ข า ว เ ส้ น เ ล็ ก ๆ ย า ว
ประมาณ 0.1 เซนติเมตร ลักษณะ
อ่อนนุ่ม
ขนราก
ปลายราก
รากของมนั แกว
รากของแคร์ รอต รากของกล้วยไม้
• รากงอกลงดินตามแรงโน้มถ่วงของโลก มีหน้าท่ียึดลาต้นไว้กับดิน
ยังดูดนา้ และธาตุอาหารจากดิน พืชบางชนิดรากทาหน้ าท่ีเก็บสะสม
อาหาร เช่น มันแกว แคร์รอต รากบางชนิดมีสีเขียว สามารถสังเคราะห์
ด้วยแสงได้ เช่น รากพลูด่าง รากกล้วยไม้
1.3 การแพร่ • นา้ และธาตุอาหารเคล่ือนท่เี ข้าสู่เซลล์พชื ด้วยการแพร่
• การกระจายของอนุภาคสารจากท่มี คี วามเข้มข้นมาก
ไปสู่ท่ซี ่งึ มคี วามเข้มข้นของอนุภาคของสารน้อย จนกระท่งั
อนุภาคของสารบริเวณทงั้ สองมคี วามเข้มข้นเท่ากนั เรียกการกระจายนีว้ ่า
การแพร่ (diffusion)
1.4 ออสโมซสิ
• การแพร่ของนา้ ท่มี คี วามเข้มข้นของสารละลายต่า ไปสู่
บริเวณท่มี ีความเข้มข้นของสารละลายสูง โดยผ่านเย่อื เลือกผ่าน
(semipermeable membrane) เราเรียกกระบวนการแพร่ของนา้ ผ่าน
เย่อื เลือกผ่านนีว้ ่า ออสโมซสิ (osmosis)
2. เนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้ และเนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหาร
ของพชื ใบเลีย้ งค่แู ละพชื ใบเลีย้ งเด่ยี ว
เนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้ หรือไซเลม็ (xylem)
ทาหน้าท่ีในการลาเลียงนา้ และธาตุอาหารจากรากสู่ใบ
เพ่ือสร้ างอาหารโดยผ่ านกระบวนการสังเคราะห์ ด้ วยแสง
เนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหารหรือโฟลเอม็ (phloem)
ทาหน้าท่ีลาเลียงอาหารท่ีสร้างจากใบไปเลีย้ งเซลล์ท่ัวลาต้นพืช
ลักษณะของเนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้ และเนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหาร
ของรากพชื ใบเลีย้ งคู่และพชื ใบเลีย้ งเด่ยี ว
เนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้
เนือ้ เย่ือลาเลียงอาหาร
รากพชื ใบเลีย้ งคู่
ขยายรากพชื ใบเลีย้ งคู่
เนือ้ เย่ือลาเลียงนา้ รากพชื ใบเลีย้ งเด่ยี ว
เนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหาร
ขยายรากพืชใบเลีย้ งเด่ยี ว
ลักษณะของเนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้ และเนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหาร
ของลาต้นพชื ใบเลีย้ งคู่และพืชใบเลีย้ งเด่ยี ว
เนือ้ เย่อื ลาเลียงอาหาร ลาต้นพชื ใบเลีย้ งเด่ยี ว
เนือ้ เย่อื ลาเลียงนา้
ลาต้นพชื ใบเลีย้ งคู่
2.1 ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการลาเลียงนา้ ของพชื
• การคายนา้ หมายถงึ การเคล่ือนท่ีของนา้ ในพชื ออกสู่ภายนอก
ในรูปของไอนา้ เกดิ ขนึ้ ท่ีปากใบ
พชื บก มีปากใบหนาแน่นบริเวณท้องใบ หรือด้านล่างของใบ
พชื ปร่ิมนา้ หรือพชื ท่มี ที ้องใบแตะนา้ มีปากใบเฉพาะด้านบนของใบ
พชื จมนา้ ไม่มปี ากใบ
2.2 ปัจจัยท่ีควบคุมการคายนา้ ปัจจยั ท่คี วบคุม
การคายนา้
แสงสว่างทาให้ปากใบเปิ ดกว้าง การคายนา้ จะเกดิ ขนึ้ ได้ดี
ความมืดทาให้ปากใบปิ ด การคายนา้ จะเกิดขนึ้ ไม่ได้ แสงสว่าง
ถ้าอุณหภมู ิสูงมากหรือต่ามาก ปากใบจะปิ ด การคายนา้ จะ อุณหภมู ิ
เกิดขนึ้ ไม่ดี เพราะถ้าอุณหภมู สิ ูงพชื จะปิ ดปากใบ เน่ืองจาก
การดูดนา้ จากรากมีปริมาณน้อยกว่าการคายนา้ ทางใบ
ถ้าความชืน้ สูง พชื จะคายนา้ ได้น้อย ความชืน้ ในอากาศ
กระแสลมช่วยพัดพาไอนา้ ท่คี ายออกมา กระแสลม
กระจายออกไปจากปากใบ ทาให้การคายนา้ เกิดขนึ้ ได้ดี
ถ้าปริมาณนา้ ในดนิ มาก พชื คายนา้ มาก เม่ือแสงแดดจดั ปริมาณนา้ ในดนิ
3. การสังเคราะห์ด้วยแสง ออกซเิ จน
นา้
พลังงานแสง
คาร์ บอนไดออกไซด์
การเจริญเตบิ โตของพชื ต้องการปัจจัย
หลายประการ เช่น นา้ แสง ธาตุอาหาร
พชื สามารถสร้างนา้ ตาลซ่งึ จะเปล่ียนเป็ น
แป้ งเพ่อื สะสมไว้ในเซลล์
เราเรียกกระบวนการท่พี ชื สร้างนา้ ตาลว่า
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
ปัจจยั ท่จี าเป็ นในการสงั เคราะห์ด้วยแสง
เม่ือความเข้มแสงสูงขึน้ แสง แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์
พชื จะสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เม่ือความเข้มข้นของ
มากขนึ้ แต่ถ้าแสงสว่างมาก แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ สูงขนึ ้
เกินไป อาจทาอนั ตรายต่อ อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะ
เนือ้ เย่อื ได้ ทาให้พชื สงั เคราะห์-
ด้วยแสงได้น้อยลง เพ่มิ ขนึ้ โดยท่วั ไปปริมาณ
แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ แต่ ละ
คลอโรฟิ ลล์
บริเวณไม่แตกต่างกนั นัก
คลอโรฟิ ลล์เป็ นสารท่ชี ่วยดดู
พลงั งานแสงอาทติ ย์ เพ่อื นา้
นาไปใช้ในการเปล่ยี นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และนา้ ให้ เม่ือพชื ขาดนา้ ปากใบจะปิ ด ทาให้
เป็ นนา้ ตาลและแก๊สออกซิเจน อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง
เน่ ืองจากแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์
ไม่สามารถแพร่เข้าไปยังเซลล์ท่ที า
หน้าท่สี งั เคราะห์ด้วยแสงได้
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + นา้ แสง นา้ ตาล + นา้ + แก๊สออกซเิ จน
คลอโรฟิ ลล์
แป้ ง
4. ความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงต่อส่งิ มชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม
ส่ิงมีชีวิตทุกชนิด มนุษย์ พืช สัตว์
ต้ อ ง ห า ย ใ จ ต ล อ ด เ ว ล า โ ด ย น า
แก๊สออกซิเจนเข้าไปในร่ างกายและ
ปล่อยแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ออกสู่
บรรยากาศ
พืชทัง้ หลายมีการสร้างอาหารหรือ
การสังเคราะห์ ด้ วยแสงโดยใช้ แก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ แล้วปล่อยแก๊ ส
ออกซิเจน ทาให้ เกิดการหมุนเวียน
ของแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ และ
แก๊สออกซเิ จนในบรรยากาศ
การแลกเปล่ียนแก๊สของพชื เกดิ ขนึ้ ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และการหายใจโดยแก๊สท่มี ี
การแลกเปล่ียนระหว่างพชื กับส่ิงแวดล้อม คอื
แก๊สออกซเิ จน (O2) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ในเวลากลางวัน พชื ใช้ CO2 ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ได้ O2 เกดิ ขนึ้ ในเวลากลางคนื พชื หายใจตลอดเวลา
พชื จงึ ใช้ O2 และปล่อย CO2
การลาเลียงนา้ ธาตุอาหาร และโครงสร้างท่ีใช้ในการ
แลกเปล่ียนแก๊ส สรุปได้ดังแผนภาพ
นา้ และธาตุอาหารถูกดูดจากพนื้ ดนิ เข้าทาง
ราก แล้วลาเลียงไปยงั ลาต้น แล้วคายนา้
ออกทางใบ
O2 แพร่เข้าสู่ราก CO2 แพร่ออกจากรากโดย
ผ่านเอพเิ ดอร์มิส
O2 และ CO2 แพร่เข้าและออกจากใบโดยผ่าน
ทางปากใบเป็ นส่วนใหญ่
นา้ ตาลท่ีได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง
จะถูกลาเลียงจากใบไปยงั ส่วนต่าง ๆ
ของลาต้น และราก
แผนภาพ การลาเลียงนา้ ธาตอุ าหาร
และโครงสร้างท่ใี ช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สของพชื
5. การสืบพันธ์ุและการตอบสนองต่อส่ิงเร้าของพชื
5.1 การสืบพันธ์ุของพืช (reproduction)
การสืบพนั ธ์ุ แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ การสืบพนั ธ์ุแบบอาศัยเพศ
และการสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ
เกสรเพศผู้ กลีบดอก ดอกไม้มีส่วนประกอบหลายส่วน เช่น กลีบเลีย้ ง
กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย
อบั เรณู ยอดเกสรเพศเมยี 1. กลีบเลีย้ ง ทาหน้าท่หี ่อห้มุ ดอกขณะยงั อ่อน
ก้านชอู ับเรณู ก้านเกสรเพศเมยี 2. กลีบดอก ทาหน้าท่ลี ่อแมลงให้ช่วยถ่ายเรณู
3. เกสรเพศผู้ ทาหน้าท่สี ร้างเซลล์สืบพนั ธ์ุเพศผู้
กลีบเลีย้ ง รังไข่ 4. เกสรเพศเมีย ทาหน้าท่สี ร้างเซลล์สืบพนั ธ์ุเพศเมีย
เกสรเพศเมีย
5.2 การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืช (sexual reproduction)
มีการผสมระหว่างเซลล์สืบพนั ธ์ุเพศผู้ (สเปิ ร์ม) กับเซลล์สืบพนั ธ์ุเพศเมีย (เซลล์ไข่)
• การสืบพนั ธ์ุแบบอาศัยเพศของพชื มขี นั้ ตอน ดงั นี้
ขัน้ ตอนท่ี 1 สเปิ ร์มท่ี 1 (n) + ไข่ (n) -----------------------> ไซโกต (2n) --> ต้นอ่อน (2n)
สเปิ ร์มท่ี 2 (n) + โพลานิวเคลียส (2n) ----> เอนโดสเปิ ร์ม (3n)
• การถ่ายเรณู เกดิ โดยละออง
เรณูของเกสรเพศผู้ไปตก
บนยอดเกสรเพศเมีย
ขัน้ ตอนท่ี 2 ขัน้ ตอนท่ี 3
• ละอองเรณูของเกสรเพศผู้ • สเปิ ร์มนิวเคลียส 1 ตัว ผสมกับไข่กลายเป็ น
งอกหลอดไปยังรังไข่ ภายใน ไซโกต สเปิ ร์มนิวเคลียสอีก 1 ตัว เข้าผสมกับ
หลอดมีสเปิ ร์ม 2 ตวั โพลานิวเคลียส กลายเป็ นเอนโดสเปิ ร์ม
หลังปฏสิ นธิ จะได้ไซโกตและเอนโดสเปิ ร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็ นเอม็ บริโอ
กลีบดอกจะเห่ียวและร่วงหล่นไป ไข่เจริญเป็ นไซโกตในเมลด็ ออวุลเจริญเป็ นเมลด็
และรังไข่จะเจริญเป็ นผลโดยมีเมล็ดอย่ภู ายใน
5.3 การสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศของพชื (asexual reproduction)
เช่น การปักชา การตอนก่ิง การตดิ ตา การทาบก่งิ การเกิดไหล พชื ต้นใหม่ท่ไี ด้จะมี
ลักษณะเหมือนต้นเดมิ พชื เศรษฐกิจบางชนิด เช่น กล้วยไม้ ไม้สัก นิยมขยายพนั ธ์ุ
ด้วยวธิ ีการเพาะเลีย้ งเนือ้ เย่อื ซ่งึ เป็ นวธิ ีขยายพนั ธ์ุพชื ท่ีให้จานวนมากท่สี ุดในเวลาสัน้
2. ลาต้นท่เี รียกว่าไหล เช่น
เศรษฐีเรือนใน บวั สตรอว์เบอร์รี
3. ราก เช่น โมก สาเก
1. ลาต้นใต้ดนิ ส่วนต่าง ๆ ของพืช 4. ใบ เช่น ต้นเศรษฐีเงนิ หม่ืน
เช่น ขงิ ข่า มันฝร่ัง เผือก ท่ีขยายพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ ต้นคว่าตายหงายเป็ น
ได้ตามธรรมชาติ
• เป็ นการขยายพนั ธ์ุพืช โดยการ • เป็ นการขยายพนั ธ์ุพืชจากก่งิ ท่ี
แตกต้นใหม่จากส่วนต่าง ๆ ทาให้เกดิ รากขณะตดิ อย่กู ับต้นแม่
ของพืชท่สี ามารถขยายพนั ธ์ุได้
เช่น ลาต้น ก่ิง ใบ 2. การตอนก่งิ
1. การปักชา
4. การตดิ ตา การขยายพนั ธ์ุ
ด้วยก่งิ หรือลาต้น
• เป็ นการขยายพันธ์ุพืชโดยการนาตาของ
ต้นพนั ธ์ุดีมาเช่อื มหรือประสานกับพชื 3. การต่อก่งิ
ต้นตอท่มี ีรากแขง็ แรง
• เป็ นการขยายพนั ธ์ุพืชด้วยก่งิ หรือลาต้นของ
ไม้พันธ์ุดีแต่ไม่ทนทานต่อโรคหรือ
ส่งิ แวดล้อม เรียกว่า ก่ิงพนั ธ์ุดี ไปต่อกับ
พนั ธ์ุพนื้ เมืองหรือพนั ธ์ุท่ไี ม่ดีแต่ทนทาน
ต่อโรค และส่งิ แวดล้อมได้ดี เรียกว่า ต้นตอ
5.4 การตอบสนองต่อส่งิ เร้าของพืช การตอบสนอง
ต่อส่งิ เร้าของพชื
• ขนึ้ อยู่กับปัจจยั หลายประการ
มีผลต่อการหุบ การบานของดอกไม้ การปิ ด-เปิ ดของปากใบพืช แสงสว่าง
มีผลต่อการหุบ การบานของดอกไม้ อุณหภมู ิ
มีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ความเป็ นกรด-เบส
มีผลต่อความอุดมสมบรู ณ์ของพืช นา้ และความชืน้
6. ธาตุอาหารท่มี ีผลต่อการเจริญเตบิ โตและการดารงชีวิตของพชื
6.1 ธาตุอาหารท่พี ชื ต้องการ
1) ธาตุอาหารท่จี าเป็ น มี 16 ธาตุ ได้แก่
คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซเิ จน (O)
ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)
กามะถนั (S) แคลเซยี ม (Ca) แมกนีเซยี ม (Mg)
เหลก็ (Fe) โบรอน (B) แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu)
สังกะสี (Zn) โมลิบดนิ ัม (Mo) และคลอรีน (Cl)
2) ธาตุอาหารท่ไี ม่จาเป็ น
6.2 ธาตุอาหารท่พี ืชนาไปใช้ จาเป็ นต่อการสร้าง
คลอโรฟิ ลล์
เป็ นองค์ประกอบ
ของคลอโรฟิ ลล์
• ไนโตรเจน (N) • ธาตุเหลก็ (Fe)
• แมกนีเซยี ม (Mg)
ธาตุอาหารท่พี ชื • ธาตุแมงกานีส (Mn)
นาไปใช้ • คลอรีน (Cl)
จาเป็ นต่อการสลายโมเลกุลของนา้ ในปฏกิ ิริยา
การสังเคราะห์ด้วยแสง
7. เทคโนโลยชี ีวภาพเพ่ือเพ่มิ ผลผลติ ของพชื ในท้องถ่นิ
เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)
เป็ นเทคโนโลยีท่เี ก่ียวกับการนาส่งิ มีชีวติ และผลผลติ มาใช้
ประโยชน์ เทคโนโลยีชีวภาพเป็ นสหวทิ ยาการ
ท่นี าความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกับส่งิ มีชีวติ ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
เทคนิคท่สี าคัญของเทคโนโลยชี ีวภาพ CLICK
7.1 การโคลน (cloning)
การโคลน คือ การผลติ เซลล์หรือ
ส่งิ มีชวี ติ ท่มี ีลักษณะทางพนั ธุกรรมในนิวเคลียส
เหมือนกันทกุ ประการขนึ้ มาใหม่
7.2 พนั ธุวศิ วกรรม (genetic engineering)
พนั ธุวศิ วกรรมหรือกระบวนการตดั ต่อ ตดั แต่งยนี
เพ่ือเปล่ียนแปลงหรือสร้างพนั ธ์ุของสัตว์ พชื และจุลนิ ทรีย์ จีเอม็ โอ
หรือ GMOs ย่อมาจากคาว่า Genetically Modified Organisms
คือ ส่งิ มีชีวติ ท่ีได้จากการดัดแปรหรือตกแต่งสารพนั ธุกรรมหรือดีเอน็ เอ
1 ทาให้ลดการใช้สารเคมีในการป้ องกันกาจดั แมลงศัตรูพชื
เน่ืองจากพชื เหล่านีต้ ้านทานต่อแมลงศตั รูพชื อยู่แล้ว
2 ทาให้ส่งิ แวดล้อมดีขนึ้ เน่ืองจากไม่ต้องพ่น
สารเคมีกาจัดแมลงศัตรูพืช
ประโยชน์ท่ไี ด้รับ 3 ทาให้ได้ผลผลิตเพ่มิ ขนึ้ และมีคุณภาพดีขนึ้
จากการ เน่ืองจากผลผลิตไม่ได้รับการทาลายจากเชอื้ รา
ใช้พชื ชีวภาพ 4 ทาให้ลดการใช้เชอื้ เพลงิ เน่ืองจาก
มีการพ่นสารเคมีน้อยลง
5 ทาให้ลดต้นทุนการผลติ
6 ทาให้ไม่มีสารตกค้างในร่างกายมนุษย์
7.3 การเพาะเลีย้ งเนือ้ เย่อื (tissue culture)
การเพาะเลีย้ งเนือ้ เย่ือ หมายถงึ การนาเนือ้ เย่ือ
ท่ีมีชีวติ จากส่วนใดส่วนหน่ึงของพืชมาเพาะเลีย้ ง
บนอาหารในสภาพท่ีปลอดเชือ้
1. สภาพแวดล้อม 2. อุณหภมู พิ อเหมาะ
ปลอดเชือ้
ปัจจยั ภายนอก 3. ความชืน้ ท่เี หมาะสม
4. แสงสว่างท่เี ออื้ ต่อ ท่ตี ้องควบคุมสาหรับการ
การเจริญเตบิ โต
เพาะเลีย้ งเนือ้ เย่อื