The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสาระวิทย์ รายสาระ ปรับปรุง 61 ป.5 (โรงเรียนบือดองพัฒนา )ฉบับปรับปรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lipta.tata, 2021-07-24 00:14:56

หลักสูตรวิทย์ป.5

หลักสูตรสาระวิทย์ รายสาระ ปรับปรุง 61 ป.5 (โรงเรียนบือดองพัฒนา )ฉบับปรับปรุง

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 46
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

ปัจจยั ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู้

๑. ผู้บริหาร เป็นผู้ที่มีความสำคัญที่สุดในการสนับสนุนให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุ
เป้าหมาย ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจในปรัชญา กระบวนการเรียนรู้และธรรมชาติของการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพื่อจะได้สนับสนนุ

- งบประมาณในการจดั ซื้อสอ่ื ตา่ ง ๆ

- อำนวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรมทต่ี อ้ งใชแ้ หล่งเรียนรใู้ นท้องถน่ิ ภายนอกโรงเรียน

- ชว่ ยเสนอแนะแหลง่ วทิ ยาการและแหล่งเรยี นรู้

- นิเทศ ตดิ ตามผลการจดั การเรียนร้อู ยา่ งสมำ่ เสมอ

- ให้กำลังใจทง้ั ครูและนกั เรียน

๒. ครูผู้สอน เป็นผู้ที่มีความสำคัญในการที่จะแปลมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ที่เป็น
ตัวหนังสือให้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม น่าสนใจ และมีกระบวนการเรียนรู้หลากหลายวธิ ีอย่างอิสระ
ครูผสู้ อนจำเปน็ ตอ้ ง

- มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับเปา้ หมายของการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- มีความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

- มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างดี รวมถึงรู้วิธีการ
เรียนรู้ มีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้และแกป้ ญั หา

- มีความเข้าใจเกี่ยวกบั ตวั นักเรยี น พรอ้ มทจี่ ะเรยี นร้เู ร่อื งราวใหม่ ๆ พรอ้ ม ๆ กับนกั เรยี น

- เป็นผู้ทีม่ ีความสนใจใฝห่ าความรอู้ ยา่ งสม่ำเสมอและต่อเน่อื ง เพ่อื นำมาปรบั ปรุงตนเอง

- มีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ มีการใช้สื่อการเรียน
การสอนหลากหลายและสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้

- มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมในอาชีพครใู นฐานะครวู ชิ าชพี

- มีมนุษย์สัมพันธท์ ี่ดที ั้งกับเพือ่ นครูในโรงเรยี นและชมุ ชน เพื่อจะหาความร่วมมือในการจัดการ
เรียนการสอน

๓. ผู้เรียน เป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่มคี วามสำคัญต่อการเรียนการสอน ผ้เู รยี นแต่ละคน มีความ
แตกต่างกนั ท้งั บคุ ลิกภาพ สตปิ ญั ญา ความถนัด ความสนใจและความสมบรู ณ์ของร่างกาย ผ้เู รยี นควรมี

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 47
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

โอกาสร่วมคิด ร่วมวางแผนในการจัดการเรียนการสอน และมีโอกาสเลือกวิธีเรียนได้อย่างหลากหลาย ตาม
ความเหมาะสมภายใตก้ ารแนะนำของครูผสู้ อน

๔. สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศการเรยี นการสอน ครูผสู้ อนต้องมีวิธกี ารท่ีจะจดั สภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาทางวิชาการ เช่น จัดห้องชวนคิด ห้องกิจกรรมวิทยาศาสตร์ จัดระบบ
นิเวศจำลอง จัดบริเวณโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา ธรณีวิทยา ฯลฯ มีการดัดแปลงห้องเรียนให้
นกั เรียนทำกิจกรรมการเรียนรู้ทส่ี ามารถมีปฏิสัมพันธ์กนั ไดด้ ี และจดั กิจกรรมที่เอื้อให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้า
มามีส่วนรว่ มในการเรียนการสอนดว้ ย

การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

เพื่อที่จะทราบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่เพียงใด
จำเป็นต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ในอดีตการวัดและประเมินผลส่วนใหญ่ให้
ความสำคญั กับการใชข้ ้อสอบซึ่งไมส่ ามารถสนองเจตนารมณ์การเรยี นการสอนท่เี นน้ ให้ผเู้ รียนคิด ลงมือปฏิบัติ
ด้วยกระบวนการหลากหลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ ดังนั้น ผู้สอนต้องตระหนักว่าการเรียนการสอนและการ
วัดผลประเมนิ ผลเปน็ กระบวนการเดยี วกัน และจะต้องวางแผนไปพรอ้ ม ๆ กัน

แนวทางการวดั ผลและประเมินผล

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จะบรรลุผลตามเป้าหมายของการเรียนการสอนที่วางไว้ได้ ควรมี
แนวดงั ต่อไปนี้

๑. ต้องวัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามรถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม
จริยธรรม คา่ นยิ มในวิทยาศาสตร์ รวมท้ังโอกาสในการเรียนของผู้เรียน

๒. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้ทู ี่กำหนดไว้

๓. ต้องเกบ็ ข้อมลู ท่ีได้จากการวัดและประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และตอ้ งประเมนิ ผลภายใต้ข้อมูล
ทม่ี ีอยู่

๔. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนำไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปท่ี
สมเหตสุ มผล

๕. การวัดและประเมินผลต้องมีความเที่ยงตรงและเป็นธรรม ทั้งในด้านของวิธีการวัดโอกาสของการ
ประเมิน

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 48
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

จุดมุ่งหมายของการวัดผลและประเมินผล

๑. เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรมและ
คา่ นยิ มของผเู้ รยี น และเพื่อซ่อมเสริมผูเ้ รียนใหพ้ ัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

๒. เพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลปอ้ นกลับใหแ้ กต่ วั ผูเ้ รียนเองว่าบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรเู้ พียงใด

๓. เพ่ือใช้ข้อมลู ในการสรุปผลการเรียนรแู้ ละเปรยี บเทยี บถงึ ระดับพัฒนาการของการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อกระบวนการเรียนการสอน วิธีการวัดและ
ประเมินผลที่สามารถสะท้อนผลการเรียนรู้อย่างแท้จริงของผู้เรียนและครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้และผล
การเรียนรู้ทัง้ ๓ ด้านตามท่กี ล่าวมาแลว้ จึงต้องวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจริง (Authentic assessment)

การวดั และประเมนิ ผลจากสภาพจริง

กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจ
ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ในการทำกิจกรรมเหล่านี้ตอ้ งคำนึงว่าผูเ้ รียนแต่ละคนมีศกั ยภาพแตกตา่ งกัน ผู้เรียนแต่ละคนจึง
อาจทำงานชิ้นเดียวกันได้เสร็จในเวลาที่แตกต่างกัน และผลงานที่ได้ก็อาจแตกต่างกัน เมื่อผู้เรียนทำกิจกรรม
เหลา่ นแี้ ล้วกจ็ ะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เชน่ รายงาน ชิน้ งาน บนั ทกึ และรวบถงึ ทักษะปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ เจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ เจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ ความรกั ความซาบซงึ้ กจิ กรรมท่ผี ู้เรียนได้ทำและผลงานเหล่านี้ต้องใช้วิธี
ประเมนิ ทมี่ ีความเหมาะสมและแตกต่างกัน เพื่อชว่ ยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สึกนึก
คิดที่แท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผลจากสภาพจรงิ จะมีประสิทธิภาพก็ต่อเม่ือมีการประเมินหลาย
ๆ ด้าน หลากหลายวธิ ี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สอดคลอ้ งกบั ชวี ติ จริง และตอ้ งประเมนิ อย่างต่อเน่ือง เพื่อจะได้
ข้อมลู ทีม่ ากพอท่ีจะสะท้อนความสามารถท่ีแทจ้ ริงของ

ผเู้ รยี นได้

ลกั ษณะสำคญั ของการวัดและประเมินผลจากสภาพจรงิ

๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง มีลักษณะที่สำคัญคือ ใช้วิธีการประเมินกระบวนการท่ี
ซับซ้อน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของเรียนในด้านของผู้ผลิตและกระบวนการที่ได้ผลผลิต
มากกว่าทีจ่ ะประเมนิ วา่ ผเู้ รยี นสามารถจดจำความรอู้ ะไรไดบ้ า้ ง

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 49
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

๒. เปน็ การประเมินความสามารถของผ้เู รียน เพือ่ วินจิ ฉยั ผูเ้ รยี นในส่วนที่ควรสง่ เสรมิ และสว่ นที่ควรจะ
แก้ไขปรบั ปรงุ เพื่อให้ผู้เรยี นไดพ้ ัฒนาอย่างเต็มศกั ยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความต้องการของ
แต่ละบคุ คล

๓. เป็นการประเมนิ ทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนได้มสี ่วนรว่ มประเมินผลงานของทั้งตนเองและของเพ่ือนร่วม
ห้อง เพอ่ื สง่ เสริมให้ผูเ้ รยี นรู้จักตัวเอง เชื่อมัน่ ในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้

๔. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผนการ
สอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจและความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคลได้
หรอื ไม่

๕. ประเมินความสามารถของผู้เรยี นในการถ่ายโอนการเรียนรไู้ ปส่ชู ีวิตจริงได้

๖. ประเมินด้านต่าง ๆ ดว้ ยวิธีท่หี ลากหลายในสถานการณต์ ่าง ๆ อยา่ งต่อเน่อื ง

วธิ ีการและแหล่งขอ้ มูลท่ีใช้
เพื่อให้การวัดและประเมินผลได้สะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ผลการประเมินอาจจะ
ไดม้ าจากแหลง่ ข้อมูลและวะการตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้

๑. สังเกตการแสดงออกเปน็ รายบุคคลหรอื รายกลมุ่

๒. ช้นิ งาน ผลงาน รายงาน

๓. การสัมภาษณ์

๔. บันทกึ ของผเู้ รยี น

๕. การประชมุ ปรกึ ษาหารอื ร่วมกันระหวา่ งผ้เู รียนและครู

๖. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏิบตั ิ

๗. การวดั และประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรโู้ ดยแฟ้มผลงาน

ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ 50
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

การวดั และประเมินผลดา้ นความสามารถ (Performance Assessment)

ความสามารถของผู้เรียนประเมินไดจ้ ากการแสดงออกโดยตรงจากการทำงานตา่ ง ๆ เป็นสถานการณ์
ที่กำหนดให้ ซึ่งเป็นของจริงหรือใกล้เคียงกับสภาพจรงิ และเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนไดแ้ ก้ปัญหาหรอื ปฏิบัตงิ านได้
จรงิ โดยประเมินจากกระบวนการทำงาน กระบวนการคดิ โดยเฉพาะความคิดขนั้ สงู และผลงานท่ไี ด้

ลักษณะสำคัญของการประเมินความสามารถ คือ กำหนดวัตถุประสงค์ของงาน วิธีการทำงาน
ผลสำเร็จของงาน มีคำสั่งควบคุมสถานการณ์ในการปฏิบัติงาน และมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน การ
ประเมินความสามารถที่แสดงออกของผู้เรียนทำได้หลายแนวทางต่าง ๆ กัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม
สภาวการณ์ และความสนใจของผู้เรยี น ดังตวั อย่างตอ่ ไปนี้

๑. มอบหมายงานให้ทำ งานที่มอบให้ทำต้องมีความหมาย มีความสำคัญ มีความสัมพันธ์กับ
หลักสูตร เนื้อหาวิชา และชีวิตจริงของผู้เรียน ผู้เรียนต้องใช้ความรู้หลายด้านในการปฏิบัติงานที่สามารถ
สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ กระบวนการทำงาน และการใช้ความคิดอย่างลกึ ซ้งึ

๒. การกำหนดช้ินงาน หรืออุปกรณ์ หรือส่ิงประดษิ ฐ์ใหผ้ ้เู รียนวเิ คราะห์องค์ประกอบและกระบวนการ
ทำงาน และเสนอแนวทางเพอ่ื พฒั นาให้มปี ระสิทธิภาพดขี ้นึ

๓. กำหนดตัวอย่างชิ้นงานให้ แล้วให้ผู้เรียนศึกษาชิ้นงานนั้น และสร้างชิ้นงานที่มีลักษณะของการ
ทำงานไดเ้ หมอื นหรือดกี วา่ เดมิ

๔. สร้างสถานการณ์จำลองท่ีสัมพันธก์ ับชวี ิตจริงของผู้เรยี น โดยกำหนดสถานการณ์แล้วให้ผู้เรียนลง
มอื ปฏบิ ตั ิเพ่อื แกป้ ัญหา

การประเมนิ ผลการเรียนรู้โดยใชแ้ ฟ้มผลงาน (Portfolio Assessment)

แฟ้มผลงาน คืออะไร

เมื่อผู้เรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทั้งในห้องเรียนหรือนอก
ห้องเรียนก็ตาม ก็จะมีผลงานที่ได้จากการทำกิจกรรมเหล่านั้นปรากฏอยูเ่ สมอ ซึ่งสามารถจำแนกผลงานออก
ตามกจิ กรรมต่าง ๆ ดงั นี้

๑. การฟังบรรยาย เมื่อผู้เรียนฟังการบรรยายก็จะมีสมุดจดคำบรรยาย ซึ่งอาจอยู่ในรูปของบันทึก
อย่างละเอียดหรือบันทึกแบบย่อ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของความชอบและความเคยชินของผู้เรียนในการ
บนั ทึกคำบรรยาย

๒. การทำการทดลอง ผลงานของผเู้ รียนท่เี ก่ยี วข้องกับการทดลอง อาจประกอบดว้ ยการวางแผนการ
ทดลองทงั้ ในรูปของบนั ทกึ อยา่ งเปน็ ระบบหรือบันทกึ อย่างยอ่ การบนั ทึกวธิ กี ารทดลอง ผลการทดลองและ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 51
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ปัญหาที่พบขณะทำการทดลอง การแปรผล สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง และผลงานสุดท้ายท่ี
เกยี่ วข้องกบั การทดลอง คอื การรายงานผลการทดลองท่ีผ้เู รยี นอาจทำเปน็ กลุ่มหรอื เด่ียวก็ได้

๓. การอภปิ ราย ผลงานของผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกบั การอภปิ ราย คือ วางหวั ขอ้ และขอ้ มูลทจี่ ะนำมาใช้
ในการอภิปราย ผลทีไ่ ด้จากการอภิปรายรวมทงั้ ขอ้ สรปุ ต่าง ๆ

๔. การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จัดเป็นผลงานที่สำคัญประการหนึ่งของผู้เรียนที่เกิดจากการได้รับ
มอบหมายจากครูผู้สอนให้ไปค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือประเด็นที่กำลังศึกษา
ผลงานทไี่ ดจ้ ากการค้นคว้าเพ่ิมเติมอาจอยู่ในรปู ของรายงาน การทำวิจยั เชิงเอกสารหรือบันทึกประเด็นสำคัญ
ซึ่งอาจนำมาใชป้ ระกอบการอภิปรายในชั่วโมงเรียนกไ็ ด้

๕. การศึกษานอกสถานที่ การศึกษานอกสถานที่จัดเป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี
ประสบการณ์ตรงกับเรื่องที่กำลังศึกษา ผลงานที่ได้อาจประกอบด้วยการบันทึกการสังเกต การตอบคำถาม
หรือปญั หาจากใบงาน การเขยี นรายงานส่งิ ทีค่ ้นพบ

๖. การบันทึกรายวัน เป็นผลงานประการหนึ่งของผู้เรียนที่อยู่นอกเหนือจากผลงานที่แสดงถึงการ
เรียนรู้โดยตรง แต่จะช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ประเมินได้เข้าใจในประเด็นหรือสิ่งที่ผู้เรียนนึกคิดเกี่ยวกับการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์ด้วย

นอกจากกิจกรรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังอาจมีกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน ซึ่ง
ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความสามรถอื่น ๆ อีกด้วย เช่น การสื่อสาร ผลงานเหล่านี้ถ้าได้รับการเก็บ
รวบรวมอยา่ งมีระบบด้วยตวั ผู้เรยี นเองตามชว่ งเวลา ทงั้ กอ่ นและหลังทำกิจกรรมเหล่านี้ โดยได้รับคำแนะนำ
จากครูผู้สอน และผู้เรยี นฝึกทำจนเคยชนิ แล้ว จะถือเป็นผลงานที่สำคัญย่ิงที่ใชใ้ นการประเมินผลการเรียนร้ใู น
กลมุ่ วทิ ยาศาสตรข์ องผู้เรียนต่อไป

สอ่ื การเรยี นรู้
๑. บทบาทสำคญั ของสื่อตอ่ การเรยี นรู้

การจัดการเรยี นการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เนน้ ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ได้
ทุกเวลา ทุกสถานที่และต้องจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนตลอดเวลา สื่อการเรียนการสอนจึงมีบทบาท
สำคญั ย่งิ อีกประการหนึง่ ต่อการจัดการเรยี นการสอนให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้โดยเนน้ ให้ใช้จากส่ือใกล้ตัวท่ีมีอยู่
ในท้องถิ่นเป็นสำคัญ และสังคมโลกปัจจุบันเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ที่โลกไร้พรมแดน การใช้สื่อประเภท
เทคโนโลยสี ารสนเทศจงึ มบี ทบาทขึ้นดว้ ย

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 52
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

๒. ประเภทของสือ่ การเรยี นการสอน

สื่อการเรียนการสอนมีความหลากหลายประเภท ทั้งที่เป็นสื่อของจริง สื่อสิ่งพิมพ์ ส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์ และสื่อมัลติมีเดีย สื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพจะช่วยส่งเสริมกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ

สนใจ ติดตามบทเรียนและสร้างความรู้ความเข้าใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนการสอนวิชา

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีสำคญั ประกอบดว้ ย

๑. อุปกรณ์การทดลอง ซึ่งมีทั้งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เช่น กล้องจุลทรรศน์ เครื่องชั่ง มัลติ
มิเตอร์ เครื่องแก้วและอปุ กรณ์เฉพาะท่ีใช้ประกอบการทดลองบางการทดลอง

๒. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือเรียน หนังสืออ่านประกอบ แผ่นภาพ แผนภาพ โปสเตอร์ วารสาร จุล
สาร นิตยสาร หนงั สอื พิมพร์ ายวนั รายสัปดาห์ สง่ิ เหลา่ น้จี ะมเี รอื่ งราวที่น่าสนใจทั้งที่เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีท้งั ทางตรงและทางอ้อม

๓. สอ่ื โสตทศั นูปกรณ์ ได้แก่ แผน่ ภาพโปร่งใส วดี ีทศั น์ สไลด์ เทป

๔. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สื่อประเภท CAI CD- ROM โครงข่ายอินเทอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์
ทดลองท่ีใช้ร่วมกับเคร่อื งคอมพวิ เตอร์

๕. สารเคมีและวสั ดสุ ิ้นเปลอื ง

๖. อปุ กรณ์ของจรงิ ได้แก่ ตัวอย่างส่ิงมชี วี ติ ตัวอย่างหิน แร่และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ

เนื่องจากมีสื่ออยู่หลากหลายดังได้กล่าวแล้ว ครูผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้และสามารถในการ
วิเคราะห์ วินิจฉัยและตัดสินใจเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม คุ้มค่า และประหยัด ทั้งนี้ครูผู้สอนอาจจัดทำ
หรอื จัดหาวัสดทุ ดแทนในท้องถ่นิ เพื่อใช้แทนส่ือราคาแพง หรือใชส้ ่ือเพ่ือชว่ ยประหยดั เวลาในการศึกษา หรือใช้
สอื่ แทนกิจกรรมการเรยี นการสอนทอี่ าจเกดิ อนั ตราย เช่น การทดลองทีม่ กี ารระเบดิ อยา่ งรนุ แรง

๓. การพฒั นาส่ือการเรยี นรู้

หน้าที่หลักประการหนึ่งของครูผู้สอน คือ การพัฒนาและการใช้สื่อการเรียนการสอน ซึ่งจะต้อง
วางแผนจัดทำและจัดหาสื่อพร้อม ๆ กับการเตรียมแผนการเรียนรู้ แนวทางในการพัฒนาสื่อควรคำนึงถึงสิ่ง
ตอ่ ไปน้ี

๑. วิเคราะห์เนอื้ หาและกจิ กรรมภายใตก้ รอบมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้

๒. วิเคราะหก์ ิจกรรมการเรยี นรู้ว่าแต่ละกจิ กรรมควรใชส้ อื่ ประกอบหรือไม่ และควรเป็นส่อื ประเภทใด
ถ้าเปน็ ไปไดต้ ้องใหใ้ ชส้ อ่ื ทีเ่ ป็นของจริงหรือมอี ยู่ตามธรรมชาตใิ ห้มากท่ีสุด

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 53
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

๓. เมื่อเลือกชนิดของสื่อที่จะใช้แล้ว ก็พิจารณาคุณภาพของสื่อที่จะนำมาใช้เพื่อให้สือ่ นั้นทำหนา้ ที่ได้
อย่างคุ้มค่า กล่าวคือ เป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของนักเรียน สอนให้เข้าในเนื้อหาที่จะเรียนได้อย่างถูกต้อง
และรวดเรว็ ถา้ เป็นอุปกรณก์ ารทดลองก็ต้องตรวจสอบวา่ อุปกรณด์ ังกลา่ วทำงานไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์

๔. ในกรณีของสอื่ ประเภทเอกสาร อาจพฒั นาในรูปของชุดกิจกรรม โดยกำหนดวตั ถุประสงคข์ องการ
เรยี นรใู้ ห้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทกั ษะ

กระบวนการเจตคติ คา่ นิยมและคุณธรรม ท้งั นี้ภายใต้กรอบมาตรฐานทีก่ ำหนดไว้

- ออกแบบกิจกรรม โดยศกึ ษาค้นควา้ จากแหล่งต่าง ๆ ทัง้ เอกสารภายในประเทศและตา่ งประเทศ (
ถ้ามี) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรม โดยต้องคำนึงสิ่งสำคัญ คือ นักเรียนต้องเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง
หรือเป็นกจิ กรรมทสี่ ะท้อนให้เหน็ วา่ ผเู้ รียนสำคัญท่ีสุด

- การสอนท่เี ป็นเน้ือหาสาระ ครูจะตอ้ งศกึ ษาค้นคว้าจากสอื่ อื่น ๆ โดยไมย่ ึดตำรา หรือหนังสือเล่มใด
เลม่ หนง่ึ เพยี งเล่มเดยี ว แลว้ แนะนำให้นักเรยี นได้ศึกษา ค้นควา้ บนั ทึกสรุป หรอื ในกรณีทีน่ กั เรียนมีความพร้อม
ก็อาจแนะนำให้ค้นหาทางอนิ เทอรเ์ นต็

- กิจกรรมต่าง ๆ ที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ควรออกแบบเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนมีอิสระใน
การคิดแก้ปัญหา หรือคดิ พัฒนาช้ินงานหรอื ผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ด้วยความคิดของนกั เรียนเอง

- การออกแบบกิจกรรม ต้องคำนึงถึงการให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มแบบ Cooperative
อยา่ งแท้จริง กล่าวคอื ทุกคนมีบทบาทสำคัญเท่าเทียมกันในกลุ่มและต้องเปน็ กิจกรรมท่ีนักเรียนทุกคนในกลุ่ม
ได้แสดงออกถงึ ความสามารถตนเองอยา่ งเตม็ ท่ี ไมใ่ ห้คนใดคนหน่งึ มีอิทธพิ ลต่อกลุ่มหรอื ไมร่ ่วมมือกับกลุ่ม

- กจิ กรรมการเรยี น ควรบูรณาการวิชาอ่นื ๆ ดว้ ย เช่น ภาษา ศลิ ปะ สังคม และ อืน่ ๆ

๕. ในกรณีของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบการทำกิจกรรมซึ่งไม่ใช่เป็นอุปกรณ์สำเร็จรูป แต่
จำเป็นต้องพัฒนาขึ้นใช้เอง ก็ควรขอความร่วมมือกับครูฝ่ายอื่น ๆ โดยเฉพาะครูช่าง เพื่อช่วยในการพัฒนา
อุปกรณ์ได้สำเร็จตามต้องการ หรืออาจให้นักเรียนได้มีส่วนช่วยกันสร้างอุปกรณ์ด้วยก็จะเป็นการดีมาก ทั้งนี้
ควรเลือกใช้วสั ดุท่ีหาง่ายในท้องถน่ิ ราคาไมแ่ พง

๖. ควรมีการร่วมมือกันเปน็ เครือข่ายระหวา่ งครูในท้องถิน่ เพื่อแลกเปลีย่ นส่ือการเรียน การสอน
กันก็จะเป็นการประหยัดเวลาและใช้ทรพั ยากรอย่างคุ้มค่า

๗. ควรสำรวจแหล่งสื่อในท้องถิ่นอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องเป็นแหล่งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์
อาจเป็นร้านของเล่นในตลาดหรือในห้างสรรพสินค้าก็ได้ ถ้าครูสามารถพิจารณา วิเคราะห์และเลือกใช้อย่าง
เหมาะสม ก็จะเกิดคณุ คา่ ตอ่ การเรยี นรู้ได้

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 54
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

๘. การพฒั นาหรอื การใชส้ ือ่ การเรยี นรู้ จะต้องวิเคราะห์ไปกับการประเมนิ ผลการใชง้ าน เพอื่ นำมา
เป็นข้อมลู ในการแกไ้ ขปรับปรงุ หรือเปลยี่ นไปใชส้ ่ือประเภทอื่นแทน

แหล่งการเรยี นรู้
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ตอ้ งสง่ เสริมและสนบั สนนุ ผู้เรียนใหส้ ามารถเรียนรู้ได้ ทุกเวลา

ทุกสถานที่ และเรียนรู้ต่อเนือ่ งตลอดชีวิตจากแหลง่ เรียนรู้ที่หลากหลาย แหล่งเรียนรู้สำหรับวชิ าวิทยาศาสตร์
ไม่ไดจ้ ำกัดอยู่เฉพาะในห้องเรียน หอ้ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน หรือจากหนงั สือเรยี นเท่าน้ัน แต่จะ
รวมถึงแหล่งเรยี นรหู้ ลากหลาย ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรยี น ดังนี้

- สอื่ สง่ิ พมิ พ์ เชน่ หนังสอื เรียน หนังสอื อา้ งอิง หนงั สืออ่านประกอบ หนังสอื พมิ พ์ ฯลฯ

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ มัลติมีเดีย CAI วีดิทัศน์ และรายการวิทยาศาสตร์ที่ผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์
CD- ROM อินเทอรเ์ นต็

- แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เช่น ห้องกิจกรรมวิทยาศาสตร์ สวนพฤกษศาสตร์ สวนธรณีในโรงเรียน
หอ้ งสมุด

- แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เช่น อุทยานแห่งชาติ สวนพฤกษศาสตร์ สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
โรงงานอุตสาหกรรม หนว่ ยงานวจิ ัยในทอ้ งถน่ิ

- แหลง่ เรียนรู้ท่ีเป็นบุคคล เชน่ ปราชญท์ อ้ งถิน่ ผู้นำชุมชน ครู อาจารยน์ กั วทิ ยาศาสตร์ นักวจิ ยั

ทั้งนี้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนควรจะพิจารณาใช้แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ให้
สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ และคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดที่ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทั้งด้าน
ความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ เจตคติ คุณธรรมและค่านิยม จากแหล่งเรียนรู้เหล่านั้น อันจะส่งผลให้
ผูเ้ รยี นได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 55
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ภาคผนวก

ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 56
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ภาคผนวก ก

บันทึกการประชุม

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 57
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

บันทึกการประชุม

ระเบยี บวาระการประชมุ คณะครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
คร้งั ที่ ๕ /๒๕๖๒

วันจนั ทร์ ที่ ๙ เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๓๐ น.
ณ หอ้ งประชุม AMANAH โรงเรยี นบือดองพฒั นา

***************************

ผเู้ ขา้ ร่วมประชุม

๑. นายอับดุลเล๊าะ แวหะโละ
๒. นายนันทวฒั น์ ตะนะดะ
๓. นางรอซอื เมาะ เบญ็ นา
๔. นางละออง บุตตะจนี
๕. นางนูรูลฮัซนะ่ ห์ ทพิ ยานนท์
๖. นางสาวไซตง สะอะ
๗. นางฟาอีย๊ะ โดมาดา
๘. นางสาวนรู ฮี ัน ดอเลาะ
๙. นางสาวซารีมะห์ วอลี
๑๐. นางสาวฟารีซาน คาเรง
๑๑. นายอบั ดุลกอเดร์ แมแลแมง
๑๒. นายรุกมัน มอลอเลาะ
๑๓. นางสาวรอกาย๊ะ พะพเิ นง
๑๔. นางสาวพาตเี ม๊าะ ฮะดูมอ
๑๕. นางสาวสวุ าณี สาระ
๑๖. นางสาวนาบีตะ๊ เจะเล็ง
๑๗. นายมะยแู นง สาระ

ผูไ้ มเ่ ข้าร่วมประชุม
-

ฯลฯ

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 58
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

ประธาน ขอเปิดการประชมุ
ครบองคป์ ระชุมประธานเปิดประชุม แลว้ ดำเนนิ การประชุมตามวาระดังน้ี

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องท่ปี ระธานแจ้งใหท้ ี่ประชมุ ทราบ

๑. ห้ามเดินทางต่างประเทศ แหล่งผู้คนเยอะ เพื่อปอ้ งกัน โควิด-๑๙ (เป็นมาตรการบังคับ)

๒. สภาพภูมอิ ากาศ ลมแรง ให้ดูแลอาคารสถานที่ โดยเฉพาะหลงั คาทีโ่ รงเรยี น

๓. ให้ทางโรงเรียนทำ Big Cleaning Day เดือนละครั้ง โดยเฉพาะกอ่ นปิดเทอมน้ี

๔. กองทนุ เพื่อนกั เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ของสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

ประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

๕. การย้ายราชการครูผู้สอน มีตำแหนง่ ว่าง ๖๑ อัตรา โดยทางสำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดยะลา

กำลงั ดำเนนิ การเสร็จ วนั ท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๓

๖. การเลื่อนเงินเดือนของขา้ ราชการ พนกั งานราชการ และวิทยากรอสิ ลาม

๗. การย้าย – ออกของครู

๘. การกเู้ งินสหกรณ์ การเงนิ บคุ คลต้องครอบคลุม

๙. การสง่ ผลงาน วิทยฐานะของครู

๑๐. การตอ่ วิชาชพี ครู

๑๑. การแต่งตัง้ วิทยฐานะต้องควบค่กู ับใบประกอบอาชพี ครู

๑๒. การขบั เคลื่อนนโยบายดา้ นการศึกษา ของจังหวดั ยะลา อยู่ในระดบั ดมี าก

๑๓. โรงเรยี นนโยบาย - โรงเรยี นคุณภาพ

- โรงเรียนสจุ รติ

โรงเรยี นพอเพยี ง

๑๔. การปฏิบตั ิงาน
• โครงการบา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ๑ โครงงาน
• การนเิ ทศ การเขยี นรายงานประเมินตนเอง

๑๕. ขอขอบคุณครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาที่ร่วมแรงร่วมใจในการทำเพ่ือโรงเรยี น ทำให้โรงเรียน

พฒั นาไปในทางที่ดีข้ึน
❖ ท่ีประชมุ รบั ทราบ

ระเบียบวาระที่ ๒ เรอื่ งรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ ๔ /๒๕๖๒

ประชมุ เมื่อวันที่ ๖ เดือน มกราคม พ.ศ ๒๕๖๓ ณ ห้องประชมุ AMANAH

โรงเรยี นบอื ดองพฒั นา
❖ มตทิ ่ีประชุมรบั รอง

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 59
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ระเบยี บวาระที่ ๓ เรอ่ื งเสนอเพื่อพิจารณา

๓.๑ การแต่งต้งั หนา้ ทใี่ นการดูแลโครงการต่างๆ

• ฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ ผู้รับผดิ ชอบ นางรอซือเมาะ เบ็ญนา

ลำดับ ช่ือโครงการ ผู้รบั ผิดชอบ
ท่ี

๑ โครงการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ นางนรู ุลฮซั นะ่ ห์ ทิพยานนท์

วเิ คราะห์

๒ โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนสู่มาตรฐาน นางรอซือเมาะ เบ็ญนา

๓ โครงการทักษะการเรียนรู้ที่หลากหลาย นายนันทวฒั น์ ตานะดะ

๔ โครงการการนิเทศภายใน นางรอซือเมาะ เบ็ญนา

๕ โครงการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพ นางรอซือเมาะ เบ็ญนา

ภายใน

๖ โครงการสง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่าน นางสาวนรู ีฮนั ดอเลาะ

๗ โครงการปรบั ปรงุ สอ่ื ซ่อมแซมเทคโนโลยี นายอบั ดลุ กอเดร์ แมแลแมง

(ICT)

๘ โครงการประกวดแข่งขนั ทักษะทางวิชาการ นางรอซือเมาะ เบญ็ นา

๙ โครงการส่งเสริมทักษะทางคณติ ศาสตร์ นางสาวฟารีซาน คาเรง

๑๐ โครงการลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ นางรอซือเมาะ เบญ็ นา

๑๑ โครงการโรงเรียนคุณธรรม นางนรู ลุ ฮัซน่ะห์ ทิพยานนท์

นายอบั ดลุ กอเดร์ แมแลแมง

นายรุกมนั มอลอเลา๊ ะ

นางรอซือเมาะ เบ็ญนา

๑๒ โรงเรียนสจุ รติ นางสาวฟารซี าน คาเรง

• ฝ่ายบริหารงานบคุ คล ผู้รับผดิ ชอบ นางนรู ุลฮซั น่ะห์ ทิพยานนท์

ลำดบั ชือ่ โครงการ ผู้รบั ผิดชอบ
ที่

๑ สง่ เสริมประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน นางนูรุลฮัซนะ่ ห์ ทิพยานนท์

๒ ศกึ ษาดูงานเพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ นางนรู ุลฮัซนะ่ ห์ ทิพยานนท์

๓ สรา้ งขวญั และกำลังใจ นางนรู ลุ ฮัซนะ่ ห์ ทิพยานนท์

• ฝา่ ยบริหารงานงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ นายนันทวัฒน์ ตานะดะ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 60
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

ลำดับ ช่ือโครงการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ท่ี
นางสาวฟารซี าน คาเรง
๑ ซ่อมแซมและจัดหาวสั ดคุ รุภัณฑ์เพ่ือ นางสาวนาบีตะห์ เจะเลง็
นายนันทวฒั น์ ตานะดะ
การศึกษา นายนนั ทวฒั น์ ตานะดะ

๒ รณรงค์การประหยดั พลังงาน

๓ โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปี

• ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวไซตง สะอะ

ลำดับ ชื่อโครงการ ผูร้ ับผดิ ชอบ
ที่

๑ ส่งเสริมสขุ ภาพผู้เรยี นและศักยภาพนกั เรยี น นางสาวนูรฮี ัน ดอเลาะ

๒ ส่งเสริมประชาธปิ ไตย วินยั ใฝค่ า่ นิยม นายรกุ มัน มอลอเลา๊ ะ

๓ พัฒนาทกั ษะพื้นฐานเด็กปฐมวยั นางละออง บตุ ตะจนี

๔ โครงการลกู เสอื คุณธรรม บรู ณาการศึกษา นายรุกมนั มอลอเล๊าะ

ชวี ติ

๕ วันแหง่ ความภาคภมู ิ นางสาวฟารีซาน คาเรง

๖ พัฒนาดา้ นกีฬา นายนันทวัฒน์ ตานะดะ

๗ พัฒนาบรรยากาศและสิง่ แวดลอ้ มที่เอื้อต่อ นายรกุ มัน มอลอเล๊าะ

การเรยี นรู้

๘ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน นายอับดุลเลา๊ ะ แวหะโละ

๙ สง่ เสริมบทบาทคณะกรรมการการศึกษาและ นายนันทวฒั น์ ตานะดะ

ผ้ปู กครอง นางนรู ลุ ฮัซน่ะห์ ทิพยานนท์

๑๐ พัฒนาระบบชว่ ยเหลอื ผู้เรียน นางสาวไซตง สะอะ

๑๑ โครงการอาหารกลางวัน นางนูรลุ ฮซั นะ่ ห์ ทิพยานนท์

นางสาวซารมี ะห์ วอลี

๑๒ การจดั กิจกรรมวนั สำคญั นางสาวนาบีตะห์ เจะเล็ง

๑๓ ประชาสมั พนั ธ์ส่ชู มุ ชน นายอบั ดลุ กอเดร์ แมแลแมง

๑๔ โครงการวนั ภาษาไทย/วันสนุ ทรภู่ นางสาวซารีมะห์ วอลี

นางสาวนูรฮี ัน ดอเลาะ

๑๕ ห้องสมุด นางสาวสวู าณี สาระ

๑๖ เศรษฐกิจพอเพยี ง นางนูรลุ ฮซั น่ะห์ ทิพยานนท์

นางรอซือเมาะ เบ็ญนา

๑๗ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศใน นางสาวสูวาณี สาระ

สถานศึกษา

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ 61
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

๓.๒ การแต่งตง้ั ครูประจำช้ัน ครปู ระจำช้ัน
นางสาวรอกาย๊ะ พะพเิ นง
ระดบั ชน้ั นางมาสเี ตาะ มะนิ
อนบุ าล ๑ นางละออง บุตตะจีน , นางฟาอีย๊ะ โดมาดา
อนบุ าล ๒ นางสาวนรู ฮี ัน ดอเลาะ
อนุบาล ๓ นางนรู ลู ฮซั นะ่ ห์ ทิพยานนท์
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ นางรอซือเมาะ เบ็ญนา
ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ นางสาวนาบตี ะ๊ เจะเลง็
ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ นางสาวซารมี ะห์ วอลี
ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ นางสาวฟารีซาน คาแรง
ประถมศึกษาปที ่ี ๕
ประถมศึกษาปีท่ี ๖

๓.๓ ระบบงานประกันคุณภาพการศึกษา

มอบหมายให้หวั หนา้ ฝ่ายวิชาการดำเนนิ การและรวบรวมข้อมลู หวั หนา้ ฝ่ายทั้ง ๔ ฝ่ายงาน
จัดเกบ็ ข้อมูลในฝา่ ยงานทีต่ วั เองรับผดิ ชอบเพอื่ จดั ทำรายงาน SAR และเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากครปู ระจำชน้ั
และผรู้ ับผดิ ชอบแตล่ ะมาตรฐาน แล้วให้หวั หน้าวิชาการแต่งต้งั คำส่งั ผ้รู ับผิดชอบในการทำรายงาน SAR

๓.๔ หลักสตู รสถานศกึ ษา
- การนำผลการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษาและหลกั สูตรกลุ่มสาระตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการ

ปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
- การจัดทำ รายงานการใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒
- การจัดทำหลักสตู ร ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มีการดำเนินการแต่งต้งั คณะกรรมการดำเนนิ การ

ปรับปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาให้แล้วเสรจ็ ภายในเดือนเมษายน
❖ ท่ปี ระชุมรับทราบ

ระเบยี บวาระท่ี ๔ เรือ่ งอนื่ ๆ

เลกิ ประชมุ เวลา ๑๕.๓๐ น.

ลงชอื่ ผ้จู ดรายงานการประชมุ
(นางสาวซารีมะห์ วอลี)
ตำแหนง่ พนกั งานราชการ

ลงช่ือ ผูต้ รวจรายงานการประชุม
(นายอบั ดุลเล๊าะ แวหะโละ)

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบือดองพฒั นา

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ 62
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ภาคผนวก ข

คำส่ังแตง่ ต้งั

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 63
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำสัง่ โรงเรียนบือดองพัฒนา
ท่ี ๑๒ / ๒๕๖๒

เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะกรรมการปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศึกษา ( พ.ศ.๒๕๖๓ )
............................................................................................................................. .................................................

ตามที่โรงเรียนบือดองพัฒนา ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สู่การปฏิบัติในโรงเรียนและห้องเรียนนั้น
โรงเรียนได้ดำเนินการประเมินการใช้หลักสูตร ซึ่งผลจากการประเมินทางโรงเรียนเห็นควรให้มีการปรับปรุง
หลักสูตร เพื่อให้ตรงกับการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ สอดรับหลักสูตรทวิศึกษา และบริบท
ของท้องถน่ิ

เพื่อให้การดำเนินงานปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๓) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
เกิดประสทิ ธผิ ล จึงอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา
๓๙ (๑) – (๖) และพระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๒๗
(๑) – (๖) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา ดังต่อไปน้ี

๑. นายอบั ดลุ เล๊าะ แวหะโลธ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นางมาซเี ตาะ มะนิ หน.กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ฯ กรรมการ

๓. นางสาวนรู ฮี นั ดอเลาะ หน.กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ

๔. นางสาวไซตง สะอะ หน.กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี กรรมการ

๕. นายนันทวัตน์ ตานะดะ หน.กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ กรรมการ

๖. นายรกุ มัน มอลอเลาะ หน.กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กรรมการ

๗. นางสาวนูรูลฮซั นะ่ ห์ ทิพยานนท์ หน.กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย กรรมการ

๘. นางสาวนาบีตะห์ เจะเลง็ หน.กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ กรรมการ

๙. นางรอซือเมาะ เบญ็ นา หน.กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กรรมการและ

เลขานุการ

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 64
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หนา้ ที่

๑. วางแผนดำเนินงานวชิ าการ กำหนดสาระรายละเอียดของหลักสตู รระดบั สถานศกึ ษา และ
แนวการจัดสัดสว่ นสาระการเรียนรูแ้ ละกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนของสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกับหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สภาพเศรษฐกิจ สงั คม ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ

๒. จดั ทำคู่มือบรหิ ารหลกั สตู รและงานวชิ าการของสถานศกึ ษา นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้
คำปรกึ ษาเกี่ยวกบั การพัฒนาหลักสูตรการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลและการแนะแนว ให้
สอดคล้องและเปน็ ไปตามมาตรฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๓. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพฒั นาบุคลากรเกย่ี วกับการพฒั นาหลกั สูตร การจัดกระบวนการ
เรยี นรูก้ ารวดั ผลและประเมินผลและการแนะแนวให้เป็นไปตามจดุ หมายและแนวทางการดำเนินการของ
หลักสูตร

๔. ประสานความรว่ มมือจากบุคคล หนว่ ยงาน องค์กรต่างๆ ชุมชน เพื่อให้การใช้หลกั สูตร
เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและมคี ุณภาพ

๕. ประชาสมั พันธ์หลกั สตู รและการใช้หลักสูตรให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่
เกย่ี วข้องและนำขอ้ มูลป้อนกลับจากฝ่ายตา่ งๆ มาพิจารณา เพอื่ การปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา

๖. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การวจิ ยั เกีย่ วกบั การพัฒนาหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้
๗. ติดตามผลการเรยี นของนักเรียนรายบคุ คล ระดับชัน้ และระดับกลุ่มวิชาการในแตล่ ะปี
การศกึ ษา เพื่อปรับปรุงแก้ไขและพฒั นาการดำเนินงาน ด้านตา่ งๆ ของสถานศึกษา
๘. ตรวจสอบ ทบทวน ประเมนิ มาตรฐานในการปฏบิ ตั ิงานของครแู ละการบริหารหลกั สูตร
ระดบั สถานศึกษาในรอบปีทผ่ี ่านมาแลว้ ใช้ผลการประเมินเพ่อื วางแผนพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านของครูและการ
บรหิ ารหลกั สูตรปกี ารศึกษาต่อไป
๙. รายงานผลการปฏิบตั งิ านและผลการบรหิ ารหลกั สูตรของสถานศกึ ษา โดยเนน้ ผลการ
พฒั นาคุณภาพนกั เรียนตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรระดับเหนือ
สถานศกึ ษา สาธารณชนและผทู้ ่ีเกยี่ วขอ้ ง

ท้งั น้ใี หค้ ณะกรรมการทไ่ี ด้รบั การแต่งต้งั ปฏิบตั ิหนา้ ที่ ด้วยความตงั้ ใจ เอาใจใส่เพอ่ื ให้เกิดผลดตี ่อทาง
ราชการตอ่ ไป

ส่ัง ณ วันที่ ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๓

( นายอับดุลเล๊าะ แวหะโละ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบอื ดองพัฒนา

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 65
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ภาคผนวก ค

แบบประเมนิ การใช้หลักสตู ร

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 66
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

แบบประเมินการใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551
รายวชิ า............................................. รหสั วิชา......................
กลุ่มสาระการเรยี นรู้............................................. โรงเรียน…………………………………

ภาคเรยี นที่ ………. ปกี ารศกึ ษา …………………..
*************************************************************************
*****

คำชีแ้ จง แบบประเมนิ ฉบับนมี้ ี 2 ตอน
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปเกีย่ วกับผู้ประเมิน
ตอนที่ 2 แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับหลักสูตร

*************************************************************************
*****

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไปเกย่ี วกับผู้ประเมิน
คำชี้แจง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงใน ( ) ที่ตรงกับข้อมลู ของทา่ นมากทีส่ ดุ

1. เพศ
( ) ชาย
( ) หญิง

2. อายุ
( ) 21 - 30 ปี
( ) 31 - 40 ปี
( ) 41 - 50 ปี
( ) 50 ปีขน้ึ ไป

3. การศึกษา
( ) อนปุ ริญญาหรือเทียบเท่า
( ) ปรญิ ญาตรี
( ) ปรญิ ญาโท
( ) ปรญิ ญาเอก

4. ตำแหน่ง
( ) ครูอตั ราจา้ ง
( ) ครผู ชู้ ว่ ย
( ) ครู คศ. 1
( ) ครู คศ. 2
( ) ครู คศ. 3
( ) อน่ื ๆ ระบุ.........................................................

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 67
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ตอนที่ 2 แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั หลกั สตู ร

คำช้แี จง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องท่ีตรงกับความคิดเห็นของทา่ นมากทส่ี ุด

ระดบั ความคดิ เหน็

รายการ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ
(1)
(5) (4) (3) (2)

1. คำอธิบายรายวิชาสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตร

แกนกลางฯ มกี ารกำหนดทั้ง K P Aและมคี วามเหมาะสม

2. ตัวชี้วัดสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางฯ

และมคี วามเหมาะสมท่ีจะใชจ้ ัดการเรยี นการสอน

3. คำอธิบายรายวิชาและตัวชี้วัดมีความสอดคล้องกันและ

ตรงตามมาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางฯ

4. เนื้อหาสาระมีความสอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาและ

ตัวชี้วัดตามหลกั สูตรแกนกลางฯ

5. การกำหนดหน่วยการเรียนรู้มีความเหมาะสม และมี

องค์ประกอบครบถ้วนตามรูปแบบการสร้างหน่วยการ

เรยี นรู้

6. การกำหนดจำนวนคาบที่ใช้สอนในหน่วยการเรียนรู้และ

ในแผนการเรียนรูม้ ีความเหมาะสมกับเนื้อหาสามารถปฏิบัติ

ไดจ้ ริง

7. สือ่ การสอนมคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับเนื้อหา

8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนมีความหลากหลายและ

เนน้ ผู้เรียนเปน็ ผปู้ ฏบิ ัติ

9. การวัดผลประเมินผลมีความเหมาะสมและเน้นการ

ประเมนิ ตามสภาพจรงิ อยา่ งหลากหลาย

10. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีการบูรณาการ

รว่ มกับสาระอ่ืน

อื่นๆ........................................................................................................................ ............................................
...................................................................................... ....................................................................... ..............
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….

ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 68
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ภาคผนวก ง

ภาพถ่าย

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 69
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ภาพการประชมุ เพ่ือนำขอ้ มูลการประเมนิ หลักสูตรมาวางแผนในการจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษาปี ๒๕๖๓

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 70
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ภาพการจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาและหลกั สูตรกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 71
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ภาคผนวก จ

รายชื่อคณะกรรมการจดั ทำหลกั สตู ร

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 72
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

รายชื่อคณะกรรมการจดั ทำหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนบอื ดองพฒั นา

1.นายอับดุลเลาะ แวหะโละ ผู้อำนวยการโรงเรียนบือดองพัฒนา ประธานกรรมการ

2.นางรอซอื เมาะ เบ็ญนา หวั หน้าวิชาการ/หัวหน้ากลมุ่ สาระ กรรมการ

3.นางสาวฟารีซาน คาเรง หัวหน้างานการวดั และประเมินผล กรรมการ

4..นางสาวไซตง สะอะ กรรมการและเลขานุการ

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 73
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑


Click to View FlipBook Version