The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสาระวิทย์ รายสาระ ปรับปรุง 61 ป.5 (โรงเรียนบือดองพัฒนา )ฉบับปรับปรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lipta.tata, 2021-07-24 00:14:56

หลักสูตรวิทย์ป.5

หลักสูตรสาระวิทย์ รายสาระ ปรับปรุง 61 ป.5 (โรงเรียนบือดองพัฒนา )ฉบับปรับปรุง

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 1
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

หลกั สตู รโรงเรียนบือดองพัฒนา
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

(ฉบบั ปรงุ ปรุง พ.ศ. 256๓)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

พทุ ธศักราช 2551
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕

สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ยะลา เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ประกาศโรงเรียนบอื ดองพฒั นา
เรอื่ ง ให้ใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบอื ดองพัฒนา

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

พุทธศกั ราช 2551 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

.................................................................................................................

ด้วยโรงเรียนบือดองพัฒนา ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางการดำเนินการ
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ และกลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o )
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดทุกประการ มีองค์ประกอบสำคัญ
ครบถ้วนสมบรู ณ์ สามารถนำไปใช้เพื่อการพฒั นาการจดั การศึกษาใหเ้ จริญก้าวหนา้ ตามเปา้ หมายที่กำหนดได้
เป็นอยา่ งดี

ทั้งนี้ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบือดองพัฒนา ได้รับความเป็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ ๒๓ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา
ตั้งแตบ่ ดั น้เี ปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๓ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ลงชือ่
( นายอบั ดุลเลา๊ ะ แวหะโละ )

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบอื ดองพัฒนา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 3
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำรับรองของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

โรงเรียนบอื ดองพฒั นา

..............................................................................................................

อาศัยอำนาจหน้าที่ตาม เจตนารมณ์ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๕๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ กำหนดให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของ
โรงเรียน มีบทบาทหน้าที่ ในการมีส่วนร่วมจัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา ให้ความ
เห็นชอบในการจัดตั้งงบประมาณและรับผิดชอบต่อการใช้จ่ายงบประมาณของสถานศึกษา ตลอดจนพัฒนา
หลักสูตรสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานและ ความต้องการของนักเรียน
ชุมชน และทอ้ งถน่ิ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบือดองพัฒนา ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบือดองพัฒนา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓ ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ และขอลงนามรับรองการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบือดองพัฒนา กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓ ) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั นี้ ให้ถือใชบ้ รหิ ารงานโรงเรียนได้

ลงชอ่ื
( นายอบั ดุลอาซิ มูดงิ )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 1
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เล่มนี้ ได้จัดทำขึ้นโดย
ยึดตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๐ ) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีรายเอียดของหลักสูตร คือ ความนำ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ โครงสรา้ งเวลาเรียน คำอธิบายรายวชิ า โครงสรา้ งรายวิชา การจัดการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาน้ีมรี ายละเอียดและเน้ือหาสาระสำคัญเพียงพอท่ีสามารถจะนำไปใช้เป็น
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ในปีการศึกษา 256๓ ให้บรรลุเป้าหมายตาม
มาตรฐานและตัวชี้วัดที่หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กำหนดไว้

คณะผู้จัดทำ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ข
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

สารบญั

คำนำ ความนำ หนา้
สารบญั กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ก
ส่วนท่ี ๑ โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา ข
ส่วนท่ี ๒ คำอธบิ ายรายวิชา. ๑
สว่ นท่ี ๓ โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ ๕
สว่ นที่ ๔ ส่วนลงท้าย ๒๑
สว่ นที่ ๕ ภาคผนวก 2๓
ส่วนท่ี ๖ ภาคผนวก ก บันทกึ การประชมุ 2๗
ภาคผนวก ข คำสั่งแต่งต้งั 3๕
ภาคผนวก ค แบบประเมินหลักสตู ร ๕๕
ภาคผนวก ง ภาพถ่าย ๕๖
ภาคผนวก จ รายช่อื คณะกรรมการจดั ทำหลักสตู ร ๖๒
๖๕
๖๘

๗๑

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 1
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ส่วนที่ ๑
ความนำ

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มหี ลักการท่ีสำคัญ ดงั น้ี

๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของ
ความเป็นไทยควบคู่กบั ความเปน็ สากล

๒. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพ่ือปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมคี ณุ ภาพ

๓. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาทส่ี นองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ

๔. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยดื หยุ่นท้ังดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การ
เรยี นรู้

๕. เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

วสิ ยั ทัศนโ์ รงเรียน

มงุ่ พฒั นาสง่ เสริม สนบั สนนุ และต่อยอดผู้เรยี นบคุ ลากร ให้มคี ุณภาพระดับมมาตรฐาน
มีคุณธรรม มีจิตสาธารณะ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุขบนพื้นฐานความพอเพียง บุคลากรมีความรู้
ความมสามารถ กา้ วหน้าดา้ นเทคโนโลยี ส่งิ แวดลอ้ มดี ภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การแบบมสี ่วนรว่ ม

พนั ธกจิ โรงเรียน

๑. จดั การเรียนรโู้ ดยยึดผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
๒. จัดการเรยี นร้โู ดยสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
๓. จดั กิจกรรมสง่ เสริมใหเ้ ดก็ คดิ เป็น ทำเปน็ แก้ปัญหาเปน็ และใฝใ่ จค่านยิ ม
๔. จดั กิจกรรมส่งเสริมใหเ้ ด็กมีจนิ ตนาการและความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์
๕. สรา้ งความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งโรงเรยี นกับชุมชน
๖. พฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ พฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องและเปน็ แบบอย่างท่ีดี
๗. ใชแ้ ผนเป็นเครื่องมือในการบริหารดำเนนิ การ
๘. ประกนั คุณภาพภายใน เพ่ือรองรับการประเมินภายนอก

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 2
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

เปา้ ประสงค์
๑. ผเู้ รยี นมีความรูแ้ ละทักษะทจี่ ำเป็นตามหลกั สูตร
๒. ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม มคี า่ นยิ มที่พึงประสงค์ จิตสำนกึ ในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
๓. ผ้เู รียนมีสุขนสิ ยั สขุ ภาพกายและสขุ ภาพใจทด่ี ี
๔. ผเู้ รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
๕. ผ้เู รียนมีการคดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี
๖. ผู้เรียนมใี จรกั สง่ิ แวดลอ้ ม สบื สานประเพณวี ฒั นธรรมในทอ้ งถ่นิ ใช้ชวี ติ อยู่อย่างพอเพยี ง
๗. ผ้เู รยี นได้เรยี นร้จู ากแหล่งเรยี นรแู้ ละภมู ิปัญญาท้องถ่ิน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งใหผ้ ้เู รียนเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั น้ี

๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด
ปัญหาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วธิ กี ารสือ่ สาร ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพือ่ การตัดสนิ ใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ท่ี
เผชิญได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ
ส่งิ แวดล้อม

๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 3
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้าน
ตา่ ง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้ การส่ือสาร
การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ
พลโลก ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

ค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.

๑มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ .
๒ซือ่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในส่ิงที่ดงี ามเพ่ือส่วนรวม .
๓. กตญั ญตู อ่ พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศกึ ษาเลา่ เรยี น ท้ังทางตรงและทางออ้ ม
๕. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวงั ดตี ่อผู้อนื่ เผื่อแผแ่ ละแบง่ ปัน .

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 4
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

๗ เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ท่ถี ูกตอ้ ง .

๘.มีระเบยี บวนิ ยั .เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรูจ้ ักการเคารพผู้ใหญ่

๙. มสี ตริ ้ตู วั รู้คิด รู้ทำ รูป้ ฏิบัติตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว .

๑๐ .รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจำหน่าย และพร้อมที่จะขยาย
กิจการเม่อื มีความพรอ้ ม เมือ่ มีภมู คิ ้มุ กันที่ดี

๑๑ .มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลส มีความละอายเกรง
กลัวต่อบาปตามหลกั ของศาสนา

๑๒ .คำนึงถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 5
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ส่วนที่ ๒

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ ได้กำหนดสาระการเรียนรู้
ออกเป็น ๔ สาระ ได้แก่ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ ๓
วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยี มสี าระเพิ่มเติม ๔ สาระ ไดแ้ ก่ สาระชวี วทิ ยา สาระเคมี
สาระฟิสิกส์ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซ่งึ องคป์ ระกอบของหลักสตู ร ทั้งในด้านของเนอ้ื หา การจดั การ
เรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ให้มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถึง
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ สำหรบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรไ์ ด้กำหนดตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ทผี่ ูเ้ รยี นจำเปน็ ต้องเรยี นเป็นพื้นฐาน เพื่อใหส้ ามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชวี ิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่
ตอ้ งใชว้ ิทยาศาสตรไ์ ด้

โดยจัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาแต่ละสาระในแต่ละระดับชั้นให้มีการเช่ื อมโยง
ความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิด
เป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถ
แกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถตดั สนิ ใจ โดยใช้ขอ้ มูลหลากหลายและประจกั ษพ์ ยานทตี่ รวจสอบได้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญของ
การจัดการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ทีม่ ุง่ หวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากท่ีสุด จึงได้จัดทำมาตรฐาน ตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้ึน เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษา ครผู ้สู อน ตลอดจนหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
ได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหนังสือเรียน คู่มือครู สื่อประกอบการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและ
ประเมินผล โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุง เพื่อให้มี
ความสอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกันและระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับการงานอาชีพและเทคโนโลยีด้วย
นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มคี วามทันสมยั ต่อการเปลี่ยนแปลง และความเจริญก้าวหนา้ ของวิทยาการต่าง

ๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ สรุปเปน็ แผนภาพได้ ดังน้ี

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 6
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สาระท่ี 2
วทิ ยาศาสตรก์ ารภาพ

มาตรฐาน
ว 2.1-ว 2.3

สาระท่ี 1 กลุม่ สาระ สาระท่ี 3
วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและ
มาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ อวกาศ
ว 1.1-ว 1.3
มาตรฐาน

ว 3.1-ว 3.2

สาระท่ี 4
เทคโนโลยี
มาตรฐาน
ว 4.1-ว 4.2

วทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ
▪ สาระชวี วทิ ยา
▪ สาระเคมี
▪ สาระฟิสกิ ส์
▪ สารโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 7
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด

เพื่อใหไ้ ดท้ ้ังกระบวนการและความรู้ จากวิธกี ารสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แลว้ นำผล ที่ได้มา
จดั ระบบเปน็ หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้

การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตรจ์ ึงมีเปา้ หมายทีส่ ำคัญ ดงั นี้
๑. เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทีเ่ ปน็ พน้ื ฐานในวิชาวทิ ยาศาสตร์
๒. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกดั ในการศกึ ษาวิชาวทิ ยาศาสตร์
๓. เพอ่ื ใหม้ ที ักษะทส่ี ำคญั ในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคดิ ค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ
สภาพแวดลอ้ มในเชงิ ท่มี ีอทิ ธิพลและผลกระทบซ่ึงกนั และกนั
๕. เพื่อนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชนต์ ่อสังคมและ
การดำรงชวี ิต
๖. เพอื่ พฒั นากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และ การจดั การ ทกั ษะ
ในการสอ่ื สาร และความสามารถในการตดั สินใจ
๗. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์

เรยี นรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรม์ ุ่งหวังให้ผเู้ รียนได้เรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ทีเ่ นน้ การเชื่อมโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการ ทำกิจกรรมด้วยการลง
มือปฏบิ ัตจิ ริงอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชน้ั โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังนี้
1.วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตการดำรงชีวิต
ของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ
สิง่ มชี วี ิต
2.วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนที่
พลังงาน และคล่ืน
3.วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ สงิ่ มีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 8
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

4.เทคโนโลยี
●การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ

เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ
แก้ปญั หาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคดิ สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยี
อย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ิต สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม

●วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น
ข้นั ตอนและเป็นระบบ ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ในการแกป้ ญั หาท่พี บในชีวิตจริงได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ ไมม่ ีชีวติ กับสิง่ มชี ีวิต
และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลง
แทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมท้ังนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พนั ธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิง่ มีชวี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ฒั นาการของ
สงิ่ มีชีวิต รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ
สสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ ลักษณะการ
เคลอื่ นท่แี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับเสียง แสง และคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ 9
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผล
ตอ่ สิง่ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพอ่ื การดำรงชีวิตในสงั คมทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย
คำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รูเ้ ท่าทนั และมีจริยธรรม

คุณภาพผ้เู รยี น
จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

❖ เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวติ รวมทั้งความสัมพันธ์ของสิง่ มีชวี ติ ใน
แหลง่ ทอ่ี ยู่ การทำหน้าท่ขี องส่วนตา่ ง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบย่อยอาหาร ของมนุษย์

❖ เขา้ ใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสารการละลาย การ
เปลยี่ นแปลงทางเคมี การเปล่ยี นแปลงทผ่ี นั กลับได้และผันกลับไม่ได้ และการแยกสาร อย่างง่าย

❖ เขา้ ใจลกั ษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก แรงลพั ธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟา้ และผลของแรงต่างๆ ผล
ท่ีเกิดจากแรงกระทำต่อวตั ถุ ความดัน หลักการทม่ี ตี อ่ วัตถุ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ปรากฏการณเ์ บือ้ งตน้ ของเสียง
และแสง

❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตกรวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การ
ขนึ้ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกดิ อปุ ราคา พฒั นาการและประโยชน์ ของเทคโนโลยี
อวกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง หยาดน้ำ
ฟ้า กระบวนการเกิดหนิ วฏั จักรหิน การใชป้ ระโยชนห์ ินและแร่ การเกดิ ซากดึกดำบรรพ์ การเกดิ ลมบก ลม
ทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิด และผลกระทบของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 10
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

❖ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสิทธิ และหน้าที่
ของตน เคารพสทิ ธิของผู้อ่ืน

❖ ต้ังคำถามหรือกำหนดปัญหาเกยี่ วกับส่ิงทีจ่ ะเรียนรตู้ ามทกี่ ำหนดใหห้ รือตามความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและ
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้ง
เชิงปรมิ าณและคุณภาพ

❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบใน
รปู แบบทเ่ี หมาะสม เพ่ือสื่อสารความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมเี หตผุ ลและหลกั ฐานอา้ งอิง

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คิดเหน็ ผู้อนื่

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์
จนงานลลุ ่วงเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานร่วมกบั ผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใช้ความรู้และกระบวนการ ทาง
วิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและศึกษาหา
ความรเู้ พ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามท่กี ำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งรู้คณุ คา่

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 11
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิ่งไม่มีชีวิตกับส่งิ มชี ีวิต

และความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวิตกับส่ิงมีชีวติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอด
พลังงาน การเปลีย่ นแปลงแทนทีใ่ นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและ
ผลกระทบทม่ี ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมแนวทางในการอนรุ ักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

1.บรรยายโครงสร้างและลักษณะ ⚫สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีโครงสร้างและลักษณะ ท่ี

ป.5 ของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการ เหมาะสมในแต่ละแหล่งที่อยู่ ซึ่งเป็นผลมาจาก การ

ดำรงชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากการ ปรับตวั ของส่ิงมชี ีวิต เพอ่ื ใหด้ ำรงชีวิตและอยู่รอดได้ใน

ปรบั ตัวของส่งิ มชี วี ิตในแตล่ ะแหล่งท่ี แตล่ ะแหล่งท่ีอยู่ เช่น ผกั ตบชวามชี ่องอากาศในกา้ นใบ

อยู่ ช่วยให้ลอยน้ำได้ ต้นโกงกางที่ขึ้นอยู่ในป่าชายเลนมี

รากค้ำจุนทำให้ลำต้นไม่ล้ม ปลามีครีบช่วยในการ

เคลอ่ื นทใ่ี นน้ำ

2.อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ⚫ ในแหล่งที่อยู่หนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์ ซ่ึง

สิ่งมีช ีว ิตกับสิ่งมีชีวิต และ กันและกันและสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ตอ่ การดำรงชวี ติ เช่น ความสมั พันธ์กนั ด้านการกินกัน

สิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อการ เป็นอาหาร เปน็ แหล่งทีอ่ ยอู่ าศยั หลบภยั และเลีย้ งดู

ดำรงชีวิต ลกู อ่อน ใชอ้ ากาศในการหายใจ

๓3.เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาท สิ่งมีชีวิตมีการกินกันเป็นอาหาร โดยกินต่อกัน เป็น

หนา้ ที่ของสงิ่ มีชวี ิตท่ีเป็นผู้ผลิตและ ทอด ๆ ในรูปแบบของโซ่อาหาร ทำให้สามารถระบุ

ผ้บู ริโภคในโซ่อาหาร บทบาทหนา้ ทีข่ องสง่ิ มชี ีวิตเป็นผูผ้ ลติ และผูบ้ รโิ ภค

4. ตระหนักในคุณค่าของ

สิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดำรงชีวิตของ

สิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแล

รักษาสิง่ แวดล้อม

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 12
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัตขิ องสิ่งมีชีวิต หน่วยพนื้ ฐานของสิง่ มีชีวติ การลำเลียงสารเข้าและออกจาก

เซลล์ ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ งและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ี

ทำงานสมั พันธ์กนั ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าทีข่ องอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ี

ทำงานสมั พันธ์กนั รวมท้ังนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.5 - -

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐานว๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมสารพันธุกรรม

การเปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรมที่มีผลต่อสิ่งมชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 ๑. อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่ • สิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ เมื่อโตเต็มที่จะมีการ

มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของ สืบพนั ธุ์เพ่ือเพ่ิมจำนวนและดำรงพนั ธ์ุ โดยลูก ทเ่ี กิดมา

พืช สตั ว์ และมนษุ ย์ จะไดร้ ับการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมจากพ่อแม่

๒. แสดงความอยากรู้อยากเห็น ทำให้มีลักษณะทางพันธุกรรมที่เฉพาะแตกต่างจาก

โ ดยการถามคำถามเกี่ยว กั บ สงิ่ มีชีวติ ชนดิ อื่น

ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเอง • พชื มกี ารถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม เชน่ ลักษณะ

กับพ่อแม่ ของใบ สีดอก

• สัตว์มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เช่น

สีขน ลักษณะของขน ลกั ษณะของหู

• มนุษย์มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เช่น เชิง

ผมที่หนา้ ผาก ลักยมิ้ ลกั ษณะหนงั ตา การ

หอ่ ลนิ้ ลกั ษณะของต่ิงหู

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 13
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบัตขิ องสสารกบั

โครงสรา้ งและแรงยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ

เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.5 ๑. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของ • การเปลี่ยนสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลง

สสาร เมื่อทำให้สสารร้อนขึ้นหรือ ทางกายภาพ เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารถึงระดับ

เย็นลง โดยใชห้ ลักฐาน หนึ่งจะทำให้สสารที่เป็นของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็น

เชงิ ประจกั ษ์ ของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว และเมื่อเพิ่มความ

๒. อธิบายการละลายของสารในน้ำ ร้อนต่อไปจนถึงอีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนเป็น

โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ แก๊ส เรยี กว่า การกลายเปน็ ไอ แตเ่ ม่ือลดความร้อนลง

๓. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ ถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว

สารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง เรียกว่า การควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีก

เคมี โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จนถึงระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็น

๔ . ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ แ ล ะ ร ะ บ ุ ก า ร ของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว สสารบางชนิดสามารถ

เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการ เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการ

เปลีย่ นแปลงทีผ่ ันกลบั ไมไ่ ด้ เป็นของเหลว เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิด

สามารถเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดยไม่ผ่านการ

เป็นของเหลว เรียกวา่ การระเหดิ กลบั

• เมอ่ื ใสส่ ารลงในน้ำแล้วสารนั้นรวมเปน็

เนื้อเดียวกันกับน้ำทั่วทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการ

ละลาย เรยี กสารผสมทไ่ี ดว้ า่ สารละลาย

• เมื่อผสมสาร ๒ ชนิดขึ้นไปแล้วมีสารใหม่เกิดขึ้น ซ่ึง

มีสมบัติต่างจากสารเดิมหรือเมื่อสารชนิดเดียว เกิด

การเปลี่ยนแปลงแลว้ มสี ารใหมเ่ กิดขึน้

การเปลี่ยนแปลงนเ้ี รียกว่า การเปลี่ยนแปลง

ทางเคมี ซ่ึงสังเกตได้จากมีสีหรือกลน่ิ ตา่ งจาก

สารเดิม หรือมีฟองแก๊ส หรือมีตะกอนเกิดขึ้น หรือมี

การเพม่ิ ข้ึนหรอื ลดลงของอุณหภูมิ

• เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารสามารถเปลี่ยน

กลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้

เช่น การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การละลาย แต่

สารบางอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลง แล้วไม่สามารถ

เปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผัน

กลบั ไม่ได้ เชน่ การเผาไหม้ การเกดิ สนมิ

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 14
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะการ

เคลื่อนท่แี บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.5 ๑. อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของ • แรงลัพธ์เป็นผลรวมของแรงที่กระทำต่อวัตถุ โดย

แรงหลายแรงในแนวเดียวกันท่ี แรงลัพธ์ของแรง ๒ แรงที่กระทำต่อวัตถุเดียวกันจะมี

กระทำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่ง ขนาดเท่ากับผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อแรงทั้งสองอยู่

จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ในแนวเดียวกันและมีทิศทางเดียวกัน แต่จะมีขนาด

๒. เขยี นแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำ เท่ากบั ผลต่างของแรงทั้งสองเมื่อแรงทง้ั สองอยู่ในแนว

ต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและ เดียวกันแต่มีทิศทางตรงข้ามกัน สำหรับวัตถุที่อยู่น่ิง

แรงลพั ธ์ที่กระทำตอ่ วัตถุ แรงลัพธ์ทีก่ ระทำต่อวัตถุมคี ่าเป็นศูนย์

๓. ใช้เครอื่ งชง่ั สปริงในการวดั แรงที • การเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุสามารถ

กระทำตอ่ วัตถุ เขียนได้โดยใช้ลูกศร โดยหัวลูกศรแสดงทิศทางของ

แรง และความยาวของลูกศรแสดงขนาดของแรงที่

กระทำตอ่ วัตถุ

ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 15
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์

ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวนั ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณท์ เี่ ก่ยี วข้องกับเสียง

แสง และคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ารวมทั้งนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 ๑. อธิบายการได้ยินเสียงผ่าน • เสียงที่ได้ยินมีระดับสูงต่ำของเสียงต่างกันขึ้นกับ

ตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ความถี่ของการสั่นของแหล่งกำเนิดเสียง โดยเมื่อ

๒. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย แหล่งกำเนิดเสยี งสัน่ ดว้ ยความถีต่ ่ำจะเกิดเสียงต่ำ แต่

ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียง ถ้าสั่นดว้ ยความถีส่ ูงจะเกิดเสียงสูง ส่วนเสียงดังค่อยที่

ตำ่ ไดย้ ินข้ึนกับพลงั งานการสัน่ ของแหลง่ กำเนดิ เสียง โดย

๓. ออกแบบการทดลองและอธิบาย เมื่อแหล่งกำเนดิ เสียงสั่นด้วยพลังงานมากจะเกดิ เสยี ง

ลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียง ดัง แตถ่ ้าแหล่งกำเนดิ เสียงส่นั ด้วยพลังงานนอ้ ยจะเกิด

คอ่ ย เสยี งคอ่ ย

๔. วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัด • เสยี งดงั มาก ๆ เปน็ อนั ตรายต่อการไดย้ ินและเสียงที่

ระดับเสยี ง ก่อให้เกิดความรำคาญเป็นมลพิษทางเสียง เดซิเบล

๕. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ เป็นหนว่ ยทบ่ี อกถึงความดงั ของเสยี ง

เรื่องระดับเสียงโดยเสนอแนะ

แนวทางในการหลีกเลี่ยงและลด

มลพษิ ทางเสียง

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 16
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีโลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี

ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสุรยิ ะท่สี ่งผลต่อสงิ่ มีชีวติ และการประยุกต์ใช้

เทคโนโลยอี วกาศ

ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.5 ๑. เปรียบเทียบความแตกต่างของดาว • ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็น

เคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง บริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มีทั้งดาวฤกษ์

๒. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและ และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็แหล่งกำเนิดแสงจึง

เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาว สามารถมองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะห์ไม่ใช่

ฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูป แหล่งกำเนิดแสง แต่สามารถมองเห็นได้เนื่องจาก

เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาว แสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว

ฤกษบ์ นทอ้ งฟ้าในรอบปี สะท้อนเขา้ สูต่ า

• การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิดจาก

จินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ที่

ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่ละดวง

เรียงกันทตี่ ำแหนง่ คงท่ี และมเี สน้ ทางการขึ้นและตก

ตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซึ่งจะปรากฏตำแหน่งเดิม

การสังเกตตำแหน่งและการขึ้นและตกของดาวฤกษ์

และกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทำได้โดยใช้แผนที่ดาว

ซึ่งระบุมุมทิศและมุมเงยที่กลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้

สงั เกตสามารถใช้มือในการประมาณค่าของมมุ เงย

เมอ่ื สังเกตดาวในท้องฟา้

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 17
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายใน

โลกและบนผิวโลก ธรณีพบิ ัตภิ ยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศ

โลก รวมท้ังผลต่อสิง่ มชี ีวติ และสง่ิ แวดล้อม

ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.5 ๑. เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแต่ละ • ฝน หิมะ ลูกเห็บ เป็นหยาดน้ำฟ้าซึ่งเป็นน้ำที่มี

แหล่ง และระบุปริมาณน้ำที่มนุษย์ สถานะต่าง ๆ ที่ตกจากฟ้าถึงพื้นดิน ฝนเกิดจาก

สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ จาก ละอองน้ำในเมฆที่รวมตัวกันจนอากาศไม่สามารถ

ข้อมลู ที่รวบรวมได้ พยุงไว้ได้จึงตกลงมา หิมะเกิดจากไอน้ำในอากาศ

๒. ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำโดย ระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็ง รวมตัวกันจนมีน้ำหนัก

นำเสนอแนวทางการใช้น้ำอย่าง มากขึ้นจนเกินกว่าอากาศจะพยุงไว้จึงตกลงมา

ประหยัดและการอนรุ ักษน์ ้ำ ลูกเห็บเกิดจากหยดน้ำที่เปลี่ยนสถานะเป็นน้ำแข็ง

๓. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการ แล้วถูกพายพุ ัดวนซ้ำไปซำ้ มาในเมฆฝนฟ้าคะนองท่ีมี

หมุนเวยี นของนำ้ ในวัฏจักรนำ้ ขนาดใหญ่และอยู่ในระดับสูงจนเป็นก้อนน้ำแข็ง

๔. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ ขนาดใหญข่ ้นึ แล้วตกลงมา

หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง จาก

แบบจำลอง

๕. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน

หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลท่ี

รวบรวมได้

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 18
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพอื่ การดำรงชวี ติ ในสังคมทม่ี ีการเปล่ยี นแปลงอยา่ ง

รวดเรว็ ใชค้ วามร้แู ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ เพอ่ื

แก้ปญั หาหรือพัฒนางานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

เลือกใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสง่ิ แวดล้อม

ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.5 - -

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ข้นั ตอนและ

เปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา

ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทัน และมจี รยิ ธรรม

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรือ

แก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน เงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการ

การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหา แก้ปญั หา การอธิบายการทำงาน หรอื การคาดการณ์

อยา่ งง่าย ผลลพั ธ์

• สถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้

ผลลพั ธ์ที่แตกต่างกนั

• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม Sudoku โปรแกรม

ทำนายตัวเลข โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิต

ตามคา่ ขอ้ มูลเขา้ การจัดลำดับการทำงานบา้ น

ในช่วงวันหยุด จดั วางของในครัว

๒. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มี • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดยเขียน

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย เปน็ ขอ้ ความหรอื ผังงาน

ตรวจหาข้อผิดพลาด • การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารตรวจสอบ

และแกไ้ ข เงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่ี

ถูกต้องตรงตามความตอ้ งการ

• หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน

ทีละคำสงั่ เมอื่ พบจดุ ที่ทำใหผ้ ลลัพธไ์ ม่ถูกตอ้ ง

ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ท่ีถูกต้อง

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 19
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชวี ิตจริงอย่างเปน็ ขั้นตอนและ

เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา

ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.5 ๒. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มี • การฝกึ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่น

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดี

ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ยิง่ ข้ึน

และแกไ้ ข • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่

เลขคี่ โปรแกรมรับข้อมูลน้ำหนักหรือส่วนสูงแล้ว

แสดงผลความสมส่วนของร่างกาย โปรแกรมสั่งให้

ตัวละครทำตามเง่อื นไขที่กำหนด

• ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch,

logo

๓. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล • การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และการพิจารณา
ติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน ผลการค้นหา
ประเมินความนา่ เช่ือถือของขอ้ มลู • การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล
บลอ็ ก โปรแกรมสนทนา
• การเขียนจดหมาย (บูรณาการกบั วชิ าภาษาไทย)
• การใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการติดต่อสื่อสารและทำงาน
ร่วมกัน เช่น ใช้นัดหมายในการประชุมกลุ่ม
ประชาสมั พันธ์กจิ กรรมในห้องเรยี น การแลกเปล่ียน
ความรู้ ความคิดเห็นในการเรียน ภายใต้การดูแล
ของครู
• การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น
เปรยี บเทียบความสอดคลอ้ ง สมบรู ณ์ของข้อมูลจาก
หลายแหล่ง แหล่งต้นตอของข้อมูล ผู้เขียน วันท่ี
เผยแพร่ขอ้ มลู
• ข้อมูลที่ดีต้องมีรายละเอียดครบทุกด้าน เช่น ข้อดี
และข้อเสีย ประโยชน์และโทษ

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 20
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวติ จรงิ อย่างเป็นขั้นตอนและ

เปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา

ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 ๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูล • การรวบรวมข้อมูล ประมวลผล สร้างทางเลือก

และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ ประเมินผล จะทำให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการ

โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน แกป้ ญั หาหรือการตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพ่ือ

แก้ปัญหา • การใช้ซอฟต์แวรห์ รอื บรกิ ารบนอินเทอร์เน็ต

ในชีวติ ประจำวนั ท่ีหลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล

สร้างทางเลือก ประเมินผล นำเสนอ จะช่วยให้ การ

แก้ปญั หาทำไดอ้ ย่างรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง และแมน่ ยำ

• ตัวอย่างปัญหา เช่น ถ่ายภาพ และสำรวจแผนที่

ในท้องถิ่นเพื่อนำเสนอแนวทางในการจัดการพื้นที่

ว่างให้เกดิ ประโยชน์ ทำแบบสำรวจความ

คิดเห็นออนไลน์ และวเิ คราะห์ข้อมลู นำเสนอข้อมูล

โดยการใช้ blog หรือ web page

• อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม
ทางอนิ เทอรเ์ นต็
• มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
(บูรณาการกับวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง)

๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง • อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรม
ปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและ ทางอนิ เทอร์เนต็
หนา้ ท่ีของตน เคารพในสทิ ธขิ อง • มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
ผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูล (บูรณาการกบั วชิ าท่เี กย่ี วขอ้ ง)
หรอื บุคคล
ทีไ่ ม่เหมาะสม

ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 21
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

สว่ นท่ี ๓
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา

ด้วยโรงเรียนบือดองพฒั นา เปดิ เรียนตง้ั แต่ช้นั อนุบาลปีที่ ๑ ถงึ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ในการ
จัดทำหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้นโรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยได้กำหนดรายละเอียด ของโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาของ
โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา ไวด้ งั น้ี

เวลาเรียน(ชว่ั โมง/ป)ี

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๑๖๐
๑๖๐
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐

คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
๘๐
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
๘๐
- หนา้ ท่พี ลเมืองวฒั นธรรมและการดำเนนิ ชีวติ ๘๐
๘๔๐
ในสังคมไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
๔๐
- เศรษฐศาสตร์ ๔๐
๑๒๐
- ภมู ิศาสตร์
๔๐
- ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๘๐ ๘๐ ๓๐
๑๐
ศลิ ปะ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐๐

การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐

ภาษาต่างประเทศ( ภาษาองั กฤษ ) ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐

รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐

 รายวิชาเพมิ่ เติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

หน้าทีพ่ ลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมเวลาเรียน (เพมิ่ เตมิ ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
บรู ณาการหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา

กจิ กรรมนักเรียน

- กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชมุ นมุ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รายวิชาอิสลามศึกษาตามความพรอ้ มและจุดเน้น ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี

หมายเหตุ ภาษาตา่ งประเทศ( ภาษาอังกฤษ ) ๔๐ ชม. บรู ณาการในคาบลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 22
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

โครงสร้างหลกั สูตรชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลาเรยี น
โรงเรยี นบือดองพฒั นา (ชม./ปี)
๘๔๐
รหสั กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม ๑๖๐
๑๖๐
ท ๑๕๑๐๑ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๒๐
ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕
ว ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๘๐
ส ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๔๐
ส ๑๕๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕ ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๕ ๔๐
ศ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๘๐
อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๔๐
ภาษาอังกฤษ ๔ ๔๐
ส ๑๕๑๐๓
รายวชิ าเพิ่มเติม ๑๒๐
หน้าท่พี ลเมือง ๕ ๔๐

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๐
แนะแนว บรู ณาการหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๓๐
กจิ กรรมนักเรียน
๑๐
• ลูกเสือ เนตรนารี
๒๐๐
• ชมุ นมุ
กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑
รายวชิ าอิสลามศึกษาตามความพร้อมและจุดเน้น

อิสลามศึกษา

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 23
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สว่ นที่ ๔
คำอธิบายรายวิชา

ในส่วนของการจัดทำคำอธิบายรายวิชาของหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
นั้น โรงเรียนได้ดำเนินการรายวิชาของชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยเขียนในลักษณะความเรียงระบุองค์ความรู้
ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามธรรมชาติของวิชาเป็นการเขียนในภาพรวมที่ต้องการให้
เกิดกับผู้เรียนและสะท้อนตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐานหรือผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม คำอธิบายรายวิชา
จงึ ประกอบดว้ ยสว่ นประกอบดังตอ่ ไปน้ี

- รหสั วชิ า
- ชอื่ รายวชิ า
- กลุ่มสาระการเรยี นรู้
- ชนั้ ปี
- จำนวนเวลาเรยี น

นอกจากนัน้ ในส่วนที่ ๔ นี้ ยังไดจ้ ัดทำรายละเอียดของโครงสรา้ งรายวชิ าพ้นื ฐานและ
รายวชิ าเพิม่ เติมของแตล่ ะสาระการเรยี นรู้ไว้ด้วย ดังนนั้ ในส่วนนี้จงึ ประกอบดว้ ย

๑. โครงสรา้ งสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐานและรายวชิ าเพ่ิมเติม

๒. คำอธบิ ายรายวชิ า

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 24
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

โครงสรา้ งรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
รายวชิ าตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบือดองพัฒนา กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ระดบั ประถมศกึ ษา

รายวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์

รายวิชาเพิม่ เติม
-

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 25
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

คำอธิบายรายวิชา

บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากการ
ปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชวี ติ กับสิ่งไม่มีชีวติ เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวติ ท่ี
เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยมี
ส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมท่มี ีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์
และมนุษย์ แสดงความอยากรู้อยากเห็น โดยการถามคำถามเก่ียวกับลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกันของตนเองกบั พ่อแม่

อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อทำให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
อธิบายการละลายของสารในน้ำโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการ
เปลี่ยนแปลงทผี่ ันกลับไมไ่ ด้ อธบิ ายวิธกี ารหาแรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดยี วกันทกี่ ระทำต่อวัตถุในกรณี
ที่วัตถุอยู่นิง่ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์
ที่กระทำต่อวัตถุ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระทำต่อวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
การเคลื่อนที่ของวตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงที่อยใู่ นแนวเดียวกันท่ี
กระทำต่อวัตถุ อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย
ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย
วดั ระดบั เสยี งโดยใช้เคร่อื งมือวัดระดบั เสียง ตระหนักในคุณค่าของความรู้เร่ืองระดบั เสียงโดยเสนอแนะแนวทาง
ในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสยี ง

เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหนง่
และเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่ม
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแตล่ ะแหล่ง และระบปุ ริมาณนำ้ ที่มนุษย์สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ได้จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของน้ำโดยนำเสนอแนวทางการใชน้ ้ำอยา่ งประหยัดและ
การอนรุ กั ษน์ ำ้ สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ
หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็งจากแบบจำลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บจากขอ้ มูลที่
รวบรวมได้

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 26
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง
ง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อินเทอรเ์ นต็ ค้นหาขอ้ มลู ตดิ ต่อสือ่ สารและทำงานร่วมกัน ประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของข้อมูล รวบรวม ประเมิน
นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือบริการบนอินเทอรเ์ น็ตท่ีหลากหลาย เพื่อ
แก้ปัญหาในชีวิต ประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ่ืน แจ้งผู้เกยี่ วข้องเม่อื พบข้อมูลหรือบุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม

มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

ว ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕

รวม ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตวั ชีว้ ัด

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 27
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สว่ นท่ี ๕
โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้

ในการจัดทำหลักสูตรรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ นั้น องค์ประกอบสำคัญที่ช่วยให้
ครูผู้สอนสามารถนำหลักสูตรไปใช้ได้อย่างมีคุณภาพและประสบความสำเร็จคือ การจัดหน่วยการเรียนรู้ใน
ส่วนของหลักสูตรรายวาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ ได้จัดทำหน่วยการเรียนสำหรับระดับประถมศึกษาปีท่ี
4 ตลอดปีการศึกษา ซึ่งมีรายละเอยี ดทีส่ ำคัญ คือ

๑. ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้

๒. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด

๓. เวลาเรียน

๔. ค่าน้ำหนักคะแนน

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 28
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

โครงสรา้ งรายวิชาวิทยาศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา ๑๒0 ชั่วโมง

ภาคเรยี นที่ 1 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เวลา นำ้ หนัก
(ชว่ั โมง) คะแนน
หน่วยการ

เรยี นร้ทู ่ี

วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะ

1 วิทยาศาสตรน์ ่ารู้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ 4 3

จิตวิทยาศาสตร์

ป.5/1, ป.5/2,

2 แรงในชวี ติ ประจำวนั ว 2.2 ป.5/3, ป.5/4, 6 7

ป.5/5

ป.5/1, ป.5/2,

3 พลงั งานเสียง ว 2.3 ป.5/3, ป.5/4, 8 7

ป.5/5

4 การเปลย่ี นแปลงของสาร ว.2.1 ป.5/1, ป.5/2, 10 8
ป.5/3, ป.5/4

ป.5/1, ป.5/2,

5 วิทยาการคำนวณ(1) ว 4.2 ป.5/3, ป.5/4, 10 10

ป.5/5

สอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 1 15

รวม 5 17 40 50

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 29
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ภาคเรียนที่ 2 ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวช้วี ดั เวลา นำ้ หนัก
(ชวั่ โมง) คะแนน
หน่วยการ

เรียนร้ทู ่ี

6 สงิ่ มชี ีวิตกบั ส่ิงแวดล้อม ว 1.1 ป.5/1, ป.5/2, 10
ป.5/3, ป.5/4 13

ว 1.3 ป.5/1, ป.5/2

ป.5/1, ป.5/2,

7 แหลง่ น้ำ และลมฟ้าอากาศ ว.3.2 ป.5/3, ป.5/4, 9 10

ป.5/5

8 ดวงดาวบนท้องฟา้ ว.3.1 ป.5/1, ป.5/2 7 5

ป.5/1, ป.5/2,

9 วทิ ยาการคำนวณ(2) ว 4.2 ป.5/3, ป.5/4, 10 10

ป.5/5

สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 1 15

รวม 3 12 40 50

หมายเหตุ สดั สว่ นคะแนน / ภาคเรียน = 35 : 15
สดั สว่ นคะแนน / ปกี ารศกึ ษา = 70 : 30

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 30
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้

วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เวลา 4 ชั่วโมง

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรน์ ่ารู้ น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน

วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี เร่อื ง เวลา

1 วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ 2

2 การจัดกระทำและสื่อความหมายขอ้ มูลทำได้อยา่ งไร 1

3 การสร้างแบบจำลองทำไดอ้ ย่างไร 1

รวม 4

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เวลา 7 ชว่ั โมง

ช่อื หน่วยการเรียนรู้ แรงในชีวิตประจำวัน น้ำหนักคะแนน 7 คะแนน

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.2 ตัวช้ีวัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี เรอ่ื ง เวลา

1 แรงและแรงลัพธ์ 2

2 การใช้เคร่ืองช่งั สปริงในการวัดแรง 1

3 แรงเสยี ดทานกบั การเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ 2

4 การใช้ประโยชน์จากแรงเสยี ดทาน 2

รวม 7

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 31
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เวลา 8 ชว่ั โมง

ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ พลังงานเสียง นำ้ หนกั คะแนน 7 คะแนน

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 2.3 ตัวชว้ี ัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี เร่อื ง เวลา

1 การเคลื่อนทข่ี องเสยี ง 2

2 การได้ยนิ เสียง 1

3 ลักษณะของเสียง (เสียงสงู – เสยี งต่ำ) 2

4 เสยี งดงั – เสยี งค่อย 1

5 มลพิษทางเสยี ง 2

รวม 8

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เวลา 11 ชัว่ โมง
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ การเปล่ียนแปลงของสาร น้ำหนักคะแนน 8 คะแนน
สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 ตวั ชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ เรือ่ ง เวลา

1 การเปลย่ี นสถานะของสสาร 2

2 การเปลี่ยนสถานะของสสารในชวี ิตประจำวนั 1

3 การละลายของสาร 2

4 การเปลีย่ นแปลงของสาร 1

5 การเปลย่ี นแปลงทางเคมขี องสาร 2

6 การเปลย่ี นแปลงทผี่ นั กลบั ไดแ้ ละผนั กลับไม่ไดข้ องสาร 2

รวม 10

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 32
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 เวลา 10 ช่ัวโมง

ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ วิทยาการคำนวณ(1) นำ้ หนกั คะแนน 10 คะแนน

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐานการเรียนรู้ ว 4.2 ตัวชี้วดั ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ เร่อื ง เวลา

1 การแก้ปัญหาดว้ ยเหตผุ ลเชิงตรรกะ 2

2 ข้อมลู สารสนเทศ 2

3 โปรแกรมอเี มล 2

4 โปรแกรมตาราง 2

5 การเขยี นโปรแกรม Scratch แบบวนซำ้ 2

รวม 10

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 33
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

โครงสรา้ งหน่วยการเรียนรู้

วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 2

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เวลา 13 ช่ัวโมง

ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สิง่ มีชีวิตกบั สง่ิ แวดล้อม น้ำหนกั คะแนน 10 คะแนน

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ตวั ชว้ี ัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4

ว 1.3 ตัวชี้วดั ป.5/1, ป.5/2

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี เรือ่ ง เวลา

1 โครงสรา้ งและลักษณะของสิง่ มีชวี ิต 2

2 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวติ กบั ส่งิ มีชวี ิต 2

3 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มีชวี ิตกับสง่ิ ไม่มีชีวติ 1

4 โซอ่ าหารและการถา่ ยทอดพลังงานของส่ิงมชี ีวิต 2

5 การดแู ลรักษาส่งิ แวดล้อม 1

6 การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมของสิ่งมชี ีวิต 1

7 การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของมนุษย์ 2

8 การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมของพืช 1

9 การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมของสตั ว์ 1

รวม 13

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 34
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 เวลา 9 ชั่วโมง

ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ แหล่งน้ำ และลมฟา้ อากาศ น้ำหนกั คะแนน 10 คะแนน

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐานการเรียนรู้ ว.3.2 ตัวชวี้ ัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี เร่ือง เวลา

1 ปรมิ าณนำ้ ในแหล่งต่างๆ 2

2 การประหยัดและอนรุ กั ษ์น้ำ 1

3 เมฆ หมอก นำ้ ค้าง ฝน หมิ ะและลกู เหบ็ 1 2

4 เมฆ หมอก น้ำคา้ ง ฝน หมิ ะและลูกเห็บ 1 1

5 วัฏจกั รน้ำ 2

รวม 9

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรอ่ื ง เวลา 7 ชัว่ โมง
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ดวงดาวบนทอ้ งฟา้ น้ำหนกั คะแนน 5 คะแนน
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐานการเรียนรู้ ว.3.1 ตวั ชวี้ ดั ป.5/1, ป.5/2 เวลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี

1 ดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ 1

2 รปู ร่างของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้า 1

3 การขนึ้ และตกของกลมุ่ ดาว 1

4 การใช้แผนทดี่ าว 2

5 การกำหนดคา่ มุมทศิ และการประมาณคา่ มุมเงย 2

รวม 7

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 35
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 9 เวลา 10 ชั่วโมง

ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ วิทยาการคำนวณ (2) น้ำหนกั คะแนน 10 คะแนน

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 4.2 ตวั ชวี้ ดั ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 และ ป.4/5

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี เรื่อง เวลา

1 การถา่ ยทอดสด 2

2 การเขียนโปรแกรม Scratch แบบมีเงื่อนไข 2

3 มารยาทในการใชส้ ือ่ ออนไลน์ 2

4 การทำนายผลลพั ธ์ 2

5 การประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู 2

รวม 10

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 36
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560)

แบบทดสอบท้ายหนว่ ย ตัวชวี้ ดั จำนวนขอ้ ภาคเรียนท่ี
แรงในชีวิตประจำวัน ว 2.2 ป.5/1-5 15 1
พลงั งานเสยี ง ว 2.3 ป.5/1-5 15
การเปลี่ยนแปลงของสาร ว 2.1 ป.5/1-4 15 2
สิง่ มีชีวิตกบั สิง่ แวดลอ้ ม ว 1.1 ป.5/1-4 15
ว 1.3 ป.5/1-2
แหล่งนำ้ และลมฟ้าอากาศ ว 3.2 ป.5/1-5 15
ดวงดาวบนท้องฟา้ ว 3.1 ป.5/1-2 15
ข้อสอบปลายภาคเรยี นท่ี 1 ว 2.2 ป.5/1-5 30
ว 2.3 ป.5/1-5
ข้อสอบปลายภาคเรียนท่ี 2 ว 2.1 ป.5/1-4 30
ว 1.1 ป.5/1-4
ว 1.3 ป.5/1-2 150
ว 3.2 ป.5/1-5
ว 3.1 ป.5/1-2
รวมข้อสอบทั้งหมด

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ 37
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

สว่ นที่ ๖
ส่วนสง่ ท้าย

การเรยี นรทู้ ีผ่ เู้ รียนมีความสำคญั ทส่ี ุด

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ ระบุว่า การจัดการศึกษา ต้องยึด
หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในมาตรา
๒๒ (๒) เนน้ การจดั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ใหค้ วามสำคญั ของการบูรณาการความรู้
คุณธรรม กระบวนการเรยี นรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา ในสว่ นของการเรียนรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์
นนั้ ต้องให้เกดิ ทง้ั ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติดา้ นวิทยาศาสตร์ รวมท้ังความร้คู วามเขา้ ใจและประสบการณ์เรื่อง
การจดั การ การบำรุงรกั ษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอย่างสมดลุ ยัง่ ยืน

ในส่วนของการจัดกระบวนการเรียนรู้ มาตรา ๒๔ ของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ได้ระบุ ให้
สถานศึกษาและหน่วยงานท่เี กยี่ วข้องดำเนนิ การดงั นี้

๑. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย
คำนึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล

๒. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือ
ป้องกนั และแก้ไขปญั หา

๓. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รัก
การอ่าน และเกดิ การใฝ่ร้อู ย่างตอ่ เน่อื ง

๔. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง
ปลูกฝงั คณุ ธรรม คา่ นิยมทีด่ ีงาม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้

๕. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความ
สะดวกเพ่ือให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ และมคี วามรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจยั เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
เรยี นรู้ ทงั้ น้ผี ูส้ อนและผูเ้ รยี นอาจเรยี นรูไ้ ปพร้อมกันจากส่อื การเรยี นการสอนและ แหล่งวทิ ยาการประเภท
ตา่ ง ๆ

๖. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทกุ เวลาทุกสถานที่มีการประสานความรว่ มมือกับบดิ ามารดา ผู้ปกครอง
และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝ่าย เพ่อื รว่ มกนั พัฒนาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพ

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 38
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนของผู้สอนและการเรียนของ
ผู้เรียน กล่าวคอื ลดบทบาทของผสู้ อนจากการเปน็ ผู้บอกเล่าและบรรยาย เปน็ การวางแผนจัดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรียน
เกิดการเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการที่สำคัญ คือ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่จะ
นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้โดยผา่ นกิจกรรมการสงั เกต การตัง้ คำถาม การวางแผนเพ่ือการทดลอง การสำรวจ
ตรวจสอบ (investigation) ซง่ึ เปน็ วิธกี ารหาข้อมูลโดยตรงดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลายทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
กระบวนการแก้ปัญหา การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และ การสื่อสารความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้อื่น
เข้าใจ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นที่บทบาทของผู้เรียนตั้งแต่เริ่ม คือ ร่วมวางแผนการเรียน การวัดผลและ
ประเมนิ ผล และตอ้ งคำนึงวา่ กจิ กรรมการเรียนน้ันเน้นการพฒั นากระบวนการคิด วางแผน ลงมอื ปฏบิ ัติ สืบค้น
ขอ้ มูล รวบรวมข้อมูลดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ จากแหล่งเรยี นรูห้ ลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ขอ้ มูล การแก้ปัญหา
การมีปฏิสมั พนั ธซ์ ึ่งกนั และกัน การสร้างคำอธบิ ายเก่ยี วกับข้อมลู ทสี่ ืบคน้ ได้ เพ่อื นำไปสูค่ ำตอบของปัญหาหรือ
คำถามต่าง ๆ ในที่สุดเป็นการสร้างองค์ความรู้ ทั้งนี้กิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวต้องพัฒนาผู้เรียนใ ห้เจริญ
พัฒนาทั้งร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา

การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เน้นกระบวนการที่นักเรียนเป็นผู้คิด ลงมือ

ปฏิบัติ ศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมรี ะบบด้วยกิจกรรมท่หี ลากหลาย ท้ังการทำกิจกรรมภาคสนาม การสงั เกต การ

สำรวจตรวจสอบ การทดลองในห้องปฏิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุตยภูมิ การทำ

โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษาจากแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น โดยคำนึงถึงวุฒิภาวะ

ประสบการณ์เดิม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมต่างกนั ท่ีนักเรยี นได้รับรู้มาแลว้ ก่อนเข้าสู่หอ้ งเรียน การเรียนรู้

ของนักเรียนจะเกิดขึ้นระหว่างที่นักเรียนมีส่วนร่วมโดยตรงในการ ทำกิจกรรมการเรียนเหล่านั้นจึงจะมี

ความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ มีความสามารถ ในการแกป้ ญั หาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และคาดหวังว่ากระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวจะทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนา

เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งสามารถส่ือสารและ

ทำงานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพ

เจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือจิตวทิ ยาศาสตรท์ ค่ี าดหวังวา่ จะได้รับการพัฒนาข้นึ ในตวั นักเรยี นโดยผ่าน
กระบวนการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ มดี ังน้ี

- ความสนใจใฝร่ ู้
- ความซ่อื สตั ย์
- ความอดทนมุ่งมั่น
- การมใี จกว้างยอมรับฟงั ความคดิ เห็น
- ความคิดสร้างสรรค์
- มคี วามสงสัยและกระตอื รอื ร้นท่ีจะหาคำตอบ
- ยอมรบั เมอ่ื มปี ระจกั ษ์พยานหรอื เหตุผลทเี่ พียงพอ

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ 39
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายและปรัชญาของการจัดการเรียนรู้ ให้เข้าใจ
อย่างถ่องแท้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนที่
เน้นกระบวนการและผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด แล้วพิจารณาเลือกนำไปใช้ออกแบบกิจกรรมที่หลากหลายให้
เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ เหมาะกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน แหล่งความรู้ของท้องถิ่น และที่สำคัญคือ
ศกั ยภาพของผูเ้ รียนดว้ ย ดังนั้น ในเน้ือหาสาระเดยี วกนั ผู้สอนแต่ละโรงเรียนย่อมจัดการเรยี นการสอนและใช้
ส่อื การเรียนการสอนทีแ่ ตกต่างกันได้

การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ช่วยให้มีการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน และครอบคลุมถึงเรื่องของ

ความตระหนักและผลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอีกด้วย การจัดการเรียนการสอน กลุ่ม

วิทยาศาสตร์ในทุกระดับจึงต้องดำเนินการที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาที่สมบูรณ์เพื่อให้บรรลุ

เป้าหมายที่วางไว้ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มวิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการที่ผู้เรียนเป็นผู้คิด ลง

มือปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย กิจกรรมที่จะจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ไดม้ หี ลากหลาย เชน่

- กจิ กรรมภาคสนาม

- กจิ กรรมแกป้ ญั หา

- กจิ กรรมการสงั เกต

- กิจกรรมสำรวจตรวจสอบ

- กิจกรรมการทดลอง

- กิจกรรมสืบค้นข้อมลู ทั้งจากแหล่งข้อมูลท่ีเป็นบคุ คล เอกสารในห้องสมดุ หรือหน่วยงาน
ในทอ้ งถน่ิ จนถึงการสืบคน้ ทางเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต

- กิจกรรมศกึ ษาค้นคว้าจากสือ่ ต่าง ๆ และแหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถ่นิ

- กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์

- กิจกรรมอภปิ ราย

ฯลฯ

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลกั สูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 40
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

กระบวนการเรยี นการสอนที่ใชก้ ารเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การพัฒนาความคิดและความสามารถโดยอาศัย
ประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม ทำให้บุคคลดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขใน
สังคม ดังนั้นก่อนที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนการสอน จะต้องตระหนักว่าการเรียนรู้เกิดข้ึนด้วยตัวของผู้เรียน
เอง การเรียนร้เู ร่ืองใหมจ่ ะมีพ้ืนฐานมาจากความรู้เดิม ฉะน้นั ประสบการณ์ของนักเรยี นจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อ
การเรียนรู้เป็นอยา่ งย่งิ กระบวนการเรยี นรู้ท่แี ทจ้ ริงของนักเรียนไม่ไดเ้ กดิ จากการบอกเลา่ ของครูหรือนักเรียน
เพียงแต่จดจำแนวคิดต่าง ๆ ที่มีผู้บอกให้เท่านั้น กระบวนการที่นักเรียนจะต้องสืบค้นเสาะหา สำรวจ
ตรวจสอบ และค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ จะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและเกิดการรับรู้ความรู้นั้นอย่าง
ยาวนาน สามารถนำมาใช้ได้เมื่อมสี ถานการณ์ใด ๆ มาเผชิญหนา้ ดังนั้นการท่ีนักเรียนจะสรา้ งองค์ความร้ไู ด้
จึงต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ( inquiry
process )

กระบวนการสืบเสาะหาความรู้

กระบวนการเรียนการสอนเน้นการสืบเสาะหาความรู้จะเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ปลูกฝงั ใหผ้ ้เู รยี นร้จู ักใช้ความคิดของตนเอง สามารถเสาะหาความรู้หรือ
วเิ คราะหข์ ้อมูลได้

การจัดการให้นักเรยี นเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ อาจทำเปน็ ขั้นตอนดังน้ี

๑) ขั้นสร้างความสนใจ (engagement) เป็นการนำเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ ซึ่งอาจเกิดข้ึน
เองจากความสงสัย หรอื อาจเรมิ่ จากความสนใจของตวั นักเรยี นเอง หรอื เกดิ จากการอภิปรายภายในกล่มุ เรอ่ื ง
ทีน่ า่ สนใจอาจมาจากเหตุการณ์ท่ีกำลังเกดิ ขึน้ อยใู่ นชว่ งเวลานั้น หรอื เป็นเร่ือง ท่เี ชื่อมโยงกับความรู้เดิม
ที่เพิ่งเรียนรู้มาแล้ว เป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคำถาม กำหนดประเด็นที่จะศึกษา ในกรณีที่ยังไม่มี
ประเด็นใดน่าสนใจ ครูอาจให้ศึกษาจากสื่อต่างๆ หรือเป็นผู้กระตุ้นด้วยการเสนอประเด็นขึ้นมาก่อน แต่ไม่
ควรบงั คับให้นกั เรยี นยอมรบั ประเดน็ หรือคำถามท่ีครกู ำลงั สนใจเปน็ เร่ืองท่ีจะใช้ศึกษา

เมื่อมีคำถามทนี่ ่าสนใจ และนกั เรยี นสว่ นใหญย่ อมรับใหเ้ ปน็ ประเด็นทตี่ ้องการศึกษาจึงรว่ มกันกำหนด
ขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเรื่องที่จะศึกษาให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น อาจรวมทั้งการรวบรวมความรู้
ประสบการณ์เดิม หรือความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่ความเข้าใจเรื่องหรือประเด็นที่จะศึกษามากข้ึน
และมแี นวทางทีใ่ ชใ้ นการตรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย

๒) ขั้นสำรวจและค้นหา (exploration) เมื่อทำความเข้าใจในประเด็นหรือคำถามที่สนใจจะศึกษา
อย่างถ่องแท้แล้ว ก็มีการวางแผนกำหนดแนวทางการสำรวจตรวจสอบ ตั้งสมมุติฐาน กำหนดทางเลือกที่
เปน็ ไปได้ ลงมือปฏบิ ัตเิ พือ่ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ข้อสนเทศหรือปรากฏการณต์ า่ ง ๆ วธิ กี ารตรวจสอบอาจทำได้

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรียนบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 41
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หลายวิธี เช่น ทำการทดลอง ทำกิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยสร้างสถานการณ์จำลอง
(simulation) การศึกษาหาข้อมลู จากเอกสารอ้างอิงหรอื จากแหลง่ ข้อมูล

ตา่ ง ๆ เพ่ือให้ไดม้ าซึ่งข้อมลู อยา่ งเพียงพอทจ่ี ะใช้ในข้นั ต่อไป

๓) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสำรวจตรวจสอบ
แล้ว จึงนำข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปรผล สรุปผล และนำเสนอผลที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
บรรยายสรุป สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ หรือวาดรูป สรา้ งตาราง การค้นพบในขน้ั นอี้ าจเป็นไปได้หลาย
ทาง เช่น สนับสนุนสมมุติฐานที่ตั้งไว้ โต้แย้งกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ หรือไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ได้กำหนดไว้
แตผ่ ลท่ไี ด้จะอยูใ่ นรปู ใด กส็ ามารถสรา้ งความรแู้ ละช่วยให้เกิดการเรยี นรู้ได้

๔) ขั้นขยายผลความรู้ (elaboration) เป็นการนำความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือ
แนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนำแบบจำลองหรือข้อสรุปที่ได้ไปอธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น ๆ ถ้า
ใช้อธิบายเรื่องต่าง ๆ ได้มากก็แสดงว่าข้อจำกัดน้อย ซึ่งก็จะช่วยให้เชื่อมโยงกับเรื่องต่าง ๆ และทำให้เกิด
ความรกู้ วา้ งขวางขนึ้

๕) ขั้นประเมิน (evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมี
ความรอู้ ะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพยี งใดจากขั้นน้ีจะนำไปสู่การนำความรู้ไปประยุกตใ์ นเรื่องอ่นื

การนำความรู้หรือแบบจำลองไปใช้อธิบายหรือประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์หรือเรื่องอื่น ๆ จะ
นำไปสู่ข้อโต้แย้งหรือข้อจำกัดซึ่งจะก่อให้เป็นประเด็นหรือคำถาม หรือปัญหาที่จะต้องสำรวจตรวจสอบต่อไป
ทำให้เกิดเป้นกระบวนการที่ต่อเนือ่ งกันไปเรื่อย ๆ จึงเรียกว่า inquiry cycle กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
จึงช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งเนื้อหาหลักและหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ได้
ความรซู้ ่ึงจะเป็นพนื้ ฐานในการเรยี นรตู้ ่อไป

การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ นอกจากจะใช้กระบวนการดังกล่าวแล้ว อาจใช้วิธีในการสืบ
เสาะหาความรดู้ ้วยรปู แบบอ่ืน ๆ อีก ดงั นี้

การค้นหารูปแบบ (pattern seeking) โดยที่นักเรียนเริ่มด้วยการสังเกตและบันทึกปรากฏการณ์
ตามธรรมชาติ หรือทำการสำรวจตรวจสอบโดยที่ไม่สามารถควบคุมตัวแปรได้ แล้วคิดหารูปแบบจากข้อมูล
เช่น จากการสังเกตผลฝรัง่ ในสวนจากหลายแหล่ง พบว่าฝรั่งที่ได้รับแสงจะมีขนาดโตกว่าผลฝร่ังที่ไม่ได้รับแสง
นักเรยี นกส็ ร้างรปู แบบและสรา้ งความรูไ้ ด้

การจำแนกประเภทและการระบุชื่อ (classification and identification) เป็นการจัดประเภท
ของวัตถหุ รอื เหตุการณ์เป็นกลุ่ม หรือการระบุชือ่ วัตถุหรือเหตุการณ์ทีเ่ ปน็ สมาชิกของกลุ่ม เช่น เราจะแบ่งสัตว์
ไมม่ ีกระดกู สันหลังเหลา่ นีไ้ ด้อยา่ งไร วสั ดใุ ดนำไฟฟ้าไดด้ ีหรอื ไม่ดี สารตา่ ง ๆ เหล่าน้จี ำแนกอยู่ในกลุม่ ใด

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑

หลักสตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 42
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

การสำรวจและค้นหา (exploring) เป็นการสังเกตวัตถุหรือเหตุการณ์ในรายละเอียด หรือทำการ
สังเกตต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น ไข่กบมีการพัฒนาการอย่างไร เมื่อผสมของเหลวต่างชนิดกันเข้าด้วยกันจะ
เกดิ อะไรขนึ้

การพัฒนาระบบ (developing system) เป็นการออกแบบ ทดสอบและปรับปรุงสิ่งประดษิ ฐ์หรือ
ระบบ

- ท่านสามารถออกแบบสวิตซ์ความดันสำหรับวงจรเตือนภยั ได้อย่างไร

- ทา่ นสามารถสรา้ งเทคนิคหรอื หามวลแห้งของแอปเปิลได้อยา่ งไร

การสร้างแบบจำลองเพื่อการสำรวจตรวจสอบ (investigate models) เปน็ การสรา้ งแบบจำลอง
เพ่ืออธบิ าย เพื่อให้เห็นถงึ การทำงาน เช่น สรา้ งแบบจำลองระบบนเิ วศ

กระบวนการแก้ปัญหา (problem solving process)

การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายประการหนึ่ง คือ เน้นให้นักเรียนได้ฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ
โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติอย่างมีระบบ ผลที่ได้จากการฝึกจะช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยวิธีการคิดอย่างสมเหตุสมผล โดยใช้กระบวนการหรือวิธีการ ความรู้ ทักษะต่าง ๆ และ
ความเข้าใจในปัญหานน้ั มาประกอบกันเพ่ือเป็นข้อมูลในการแกป้ ัญหา

เพือ่ ให้เขา้ ใจได้ตรงกันถึงความหมายท่ีแท้จริงของปัญหา ไดม้ ผี ใู้ ห้ความหมายไว้ดังน้ี

“ ปัญหา” หมายถึง สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือสิ่งที่พบแล้วไม่สามารถจะใช้วิธีการใดวิธีการหน่ึง
แก้ปัญหาไดท้ นั ที หรอื เม่ือมีปัญหาเกดิ ขึ้นแลว้ ไมส่ ามารถมองเหน็ แนวทางแก้ไขไดท้ ันที

“ แบบฝึกหัด “ หมายถงึ สถานการณ์ เหตกุ ารณ์ หรือสิง่ ทพี่ บแลว้ สามารถแกไ้ ขหรอื เลือกวธิ ีแก้ไข
ไดท้ ันที หรอื มองเหน็ ไดช้ ัดเจนว่ามวี ิธีแกไ้ ขท่แี นน่ อน

การแก้ไขปัญหาอาจทำได้หลายวธิ ี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กบั ลักษณะของปัญหา ความรู้และประสบการณข์ องผู้
แก้ปัญหาน้นั

กจิ กรรมการคิดและปฏิบตั ิ (Hands-on Mind-on Activities)

นักการศึกษาวิทยาศาสตร์แนะนำให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้คิดและลงมือปฏบิ ัติ เมื่อนักเรียนได้
ลงมือปฏิบัติจริง หรือได้ทำการทดลองต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ก็จะเกิดความคิดและคำถามที่หลากหลาย
ตวั อยา่ งกจิ กรรม ไดแ้ ก่

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรียนบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศึกษากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 43
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

- นำแมเ่ หล็กเข้าใกล้วสั ดุตา่ ง ๆ แล้วสงั เกตผลที่เกิดขึน้

- ใช้วัตถตุ า่ ง ๆ ถูกบั ผา้ ชนิดตา่ ง ๆ แลว้ นำมาแขวนไว้ใกล้กนั หรอื นำมาแตะชิ้น

กระดาษ แล้วสังเกตการเปล่ียนแปลง

- ตอ่ หลอดไฟฟ้าหลายหลอดกับถา่ นไฟฉาย สงั เกตและเปรียบเทียบผลที่เกดิ ข้ึนใช้

กลอ้ งจุลทรรศนส์ ่องดเู น้อื เยือ่ ของสง่ิ มชี วี ิต สังเกตและเปรยี บเทยี บเนอ้ื เย่อื ของสง่ิ มีชีวิตตา่ ง ๆ

- เป่าลมหายใจลงไปในน้ำปูนใส สังเกตการเปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ข้ึน

เมื่อนักเรยี นไดท้ ำกิจกรรมลักษณะนแ้ี ลว้ จะทำใหส้ ังเกตผลทีเ่ กิดขึ้นด้วยตนเอง ซ่งึ เป็นข้อมูล
ที่จะนำไปสู่การถามคำถาม การอธิบาย การอภิปราย หาข้อสรุปและการศึกษาต่อไป กิจกรรมลักษณะนี้จึง
ส่งเสริมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติและฝึกคิด นำมาสู่การสร้างความรู้ด้วยตนเองด้วยความเข้าใจและเป็นการ
เรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย

การเรยี นรู้แบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning)

การเรียนรูแ้ บบรว่ มใจ เป็นกระบวนการเรียนรู้ทีส่ ามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้
อย่างเหมาะสมวิธีหนึง่ เนอ่ื งจากขณะน้ีนักเรียนทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่ม นกั เรยี นจะได้มีโอกาสแลกเปล่ียน
ความร้กู ับสมาชกิ ของกลุ่ม และการท่แี ตล่ ะคนมีวยั ใกล้เคยี งกนั ทำให้สามารถสอ่ื สารกนั ได้เปน็ อยา่ งดี แต่การ
เรยี นรู้แบบรว่ มมอื รว่ มใจที่มีประสิทธิภาพนั้นตอ้ งมรี ูปแบบหรือมีการจัดระบบอย่างดี นักการศึกษาหลายท่าน
ไดท้ ำการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างกวา้ งขวาง เพือ่ จะนำมาใช้ในการเรยี นการสอนวิชาตา่ ง ๆ รวมท้ังวิชาวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ดว้ ย

การพัฒนาความสามารถและทักษะที่สำคัญของผู้เรียนในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับต่าง ๆ นั้น นอกจากมุ่งหวังให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้
ความเข้าใจในแนวความคิดหลักที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในบทเรียนแล้ว ยังมุ่งหวังให้นักเรียนได้พัฒนา
ความสามารถในการตัดสินใจ พัฒนาความคิดช้นั สูงและพฒั นาทกั ษะการสื่อสารดว้ ย

ความสามารถในการตดั สินใจ (Decision Making)

การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ครูควรจัดสถานการณ์ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนฝึกตัดสินใจ เช่น กิจกรรมการ
แก้ปัญหา การศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีระบบ การสืบเสาะหาความรู้ หรืออาจจัดกจิ กรรมการแสดงบทบาทสมมตุ ิ
โดยสร้างสถานการณข์ ึ้นเอง และเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมุตโิ ดยเป็นผ้ทู ่ีเกยี่ วขอ้ งกับการตัดสินใจ

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 44
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.256๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ในเรื่องที่สำคัญของบ้านเมือง เช่น การสร้างเขื่อน การสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ การแก้ปัญหาต่าง ๆที่
เกดิ ข้นึ ในโรงเรียนหรอื ชุมชน การตัดสินใจเก่ยี วกับปญั หาบา้ นเมอื งนน้ั จะต้องอย่บู นพนื้ ฐานของข้อมลู ท่ีเชื่อถือ
ได้อย่างมีเหตุผลและส่งผลดีต่อส่วนรวม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งนี้จะต้อง
พิจารณาทางเลือกที่ดีท่ีสุด ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและคุณภาพ
ชีวติ ท่ดี ี

การพฒั นาความคดิ ขนั้ สูง ( Higher- ordered Thinking )

การคิดขั้นสงู เป็นความสามารถทางสตปิ ัญญาประการหน่ึงท่ีต้องพัฒนาให้เกดิ ในขณะที่นักเรียนเข้ามา
อยู่ในโรงเรียน เพื่อเรียนรู้เนื้อหาและหลักการ รวมทั้งแนวคิดในวิชาต่าง ๆ ความคิดขั้นสูงประกอบด้วย
ความคิดในด้านตา่ ง ๆ คือ

๑. ความคิดวิเคราะห์ คือความคิดที่เกี่ยวข้องกับการจำแนก รวบรวมเป็นหมวดหมู่รวมทั้ง
การจัดประเด็นต่างๆ เช่น การจำแนกชนิดของหิน โดยพิจารณาลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ การจำแนก
ใบไม้โดยพิจารณารปู รา่ งของใบ ขอบใบ และเส้นใบเป็นเกณฑ์

๒. ความคดิ วิพากษว์ ิจารณ์ คือความคดิ เหน็ ต่อเร่ืองใดเรอ่ื งหนง่ึ ท้ังในด้านบวกหรือ

ลบอย่างมีเหตุผล โดยการใช้ข้อมูลที่มีอยู่อย่างเพียงพอ เช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งเป็น
ประเด็นที่คนทั่วโลกให้ความสนใจ คือเรื่อง GMOs ผลการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวมีผลให้สิ่งมีชีวิตไม่ว่าพืชหรือ
สตั ว์ มีคณุ สมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากพนั ธุเ์ ดมิ และการเปลี่ยนแปลงดังกลา่ วย่อมมีผลต่อมนษุ ย์และสงิ่ แวดล้อม

๓. ความคิดสร้างสรรค์ คือความคิดที่แปลกใหม่ ยืดหยุ่นและแตกต่างจากผู้อื่น เช่นให้นักเรียนทำ
กิจกรรมคิดออกแบบประดิษฐ์อุปกรณ์กำเนิดเสียงแทนการใช้กระดิ่งไฟฟ้าหรือออดไฟฟ้า หรือออกแบบวงจร
เตือนภยั โดยใช้เซนเซอร์ความร้อน

๔. ความคิดอย่างมีเหตุมีผล คือความสามรถที่จะคิดในเชิงเหตุผลของเรื่องราวต่าง ๆ เช่น
กิจกรรมการเรียนเรื่องการสรา้ งเขื่อน หรอื การพฒั นาดา้ นอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ ซงึ่ เปน็ ประเด็นโต้แย้งทางสังคม
ที่ไม่อยู่บนข้อมูลหรือประจักษ์พยานที่เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จึงควรให้นักเรียนได้ใช้ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์มาเป็นเหตุผลในการโต้แย้งหรือสนับสนุน ไม่ใช่ใช้ความรู้สึกหรือใช้อารมณ์ในการตัดสินว่าควร
ดำเนินการพัฒนาหรอื ไม่ อยา่ งไร

๕. ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ คือความคิดที่ใช้ในการพิสูจน์และสำรวจตรวจสอบ หา
ข้อเทจ็ จรงิ เช่น ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ท่เี ปน็ เทคโนโลยชี าวบ้าน การดองผักด้วยน้ำซาวข้าวหรือ น้ำมะพร้าว
หรือการใสพ่ รกิ สดลงในนำ้ กะทเิ พ่ือกันบูดได้

โดยท่วั ไปแลว้ ความคดิ ข้นั สงู ด้านต่าง ๆ เหล่านีจ้ ะไมส่ ามารถแยกออกจากกันไดช้ ดั เจน ต้องพัฒนาไป
พร้อม ๆ กันและอาจรวมท้งั พัฒนาไปพรอ้ มกับความสามารถด้านอนื่ ๆ ดว้ ยโดยไมจ่ ำเปน็ ต้องเน้นว่าจะต้อง

ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ โรงเรยี นบือดองพัฒนา
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๑

หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 45
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.256๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

พัฒนาเรื่องใดก่อนหรือหลัง การพัฒนาความคิดขั้นสูงนี้จะทำได้มากในกิจกรรมการเรียนการสอน
แบบสบื เสาะหาความรูแ้ ละกระบวนการแกป้ ญั หา

การพัฒนาทกั ษะการส่ือสาร (Communication Skills)

กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทักษะในการสื่อสาร หมายถึงการแสดความคิดหรือ
แลกเปลี่ยนความรู้ และแนวความคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ที่ได้จากการทำกิจกรรมหลากหลาย การ
สงั เกต การทดลอง การอา่ นหรืออน่ื ๆ ซงึ่ แสดงออกในรปู แบบที่ชัดเจนและมเี หตผุ ลดว้ ยการพดู หรอื การเขียน

การพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารความรู้และแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์เป็น
เป้าหมายสำคญั ประการหนึ่งของการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตรท์ ุกระดับ ความสามารถในการ
ส่ือสารเป็นคุณลักษณะท่ตี ้องฝึกซำ้ เพ่อื ใหเ้ กิดทักษะ

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สามารถฝึกทักษะการสือ่ สารได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. การเล่าหรือการเขียนสรุปเรื่องราวทางวิทยาศาสตร์ที่อ่านจากหนังสือพิมพ์วารสาร
หนังสือต่าง ๆ จากการดูโทรทัศน์หรือการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดยมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษา
ค้นคว้า แล้วนำมาเล่าหรอื เขียนใหผ้ ู้อื่นรับรู้ เป็นการฝึกทักษะในการสื่อสารที่ดวี ธิ หี นึ่ง กิจกรรมนี้อาจใชเ้ วลา
ครั้งละ ๑๐ นาที กอ่ นท่ีจะมกี ารสอนตามปกตกิ ็ได้

๒. การเขียนบันทึกสรุปการไปทัศนศึกษา หรือการศึกษาภาคสนาม ในโอกาสที่นักเรียน
กลับมาจากทัศนศึกษาหรือการศึกษาภาคสนามแล้วให้เขียนรายงานสรุปถึงความรู้ ความคิด ในบางเรื่องที่
ได้รับจากการไปทัศนศึกษาแตล่ ะครง้ั

๓. การจัดแสดงผลงาน ในกรณีที่นักเรียนทำโครงงานวิทยาศาสตร์หรือโครงการ อื่น ๆ ควร
กำหนดให้มีวันที่แน่นอนเพื่อจัดแสดงผลงานให้เพื่อน ๆ ในชั้นหรือทั้งโรงเรียนได้ชมและถ้าเป็นไปได้ควรเชิญ
บคุ คลในชมุ ชนมาชมด้วย

๔. การส่ือสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ทีจ่ ะช่วยมนษุ ย์ ในการ
ทำงานได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ วิทยาการคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิทยาศาสตรแ์ ขนงหนึ่งทีเ่ ป็นรากฐานสำคญั
ต่อการพัฒนาความคิดและจิตนาการ อันจะนำไปสู่การแปลงรูปจากจินตนาการมาเป็นชิ้นงานสร้างสรรค์ ที่มี
ประโยชนป์ ัจจบุ ันสิ่งประดิษฐ์มากมายลว้ นแล้วแต่มีสว่ นประกอบของคอมพวิ เตอร์เข้าไปรว่ มด้วย ทำให้ระบบ
การทำงานตา่ ง ๆ ได้รบั การพฒั นาเข้าสคู่ วามเปน็ อตั โนมตั ิมากข้นึ

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ โรงเรยี นบอื ดองพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑


Click to View FlipBook Version