The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by potetoyaguza, 2021-03-07 02:00:15

อำไพ

รายงาน

เร่อื ง
การบรหิ ารงานตามแนวพทุ ธ

จดั ทาโดย
อาไพ ไชยาจินะ รหัส ๖๓๒๘๔๐๔๐๐๗

รายงานนี้เป็นสว่ นหน่งึ ของรายวชิ าจริยธรรมทางการ
บริหาร

ตามหลักสตู รปริญญารฐั ประศาสนศาสนบณั ฑิต
สาขาวิชารัฐประศาสศาสตร์
วทิ ยาลัยสงฆ์เชียงราย

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
พุทธศกั ราช ๒๕๖๓

รายงาน

เร่อื ง
การบรหิ ารงานตามแนวพุทธ

จดั ทาโดย

นางอำไพ ไชยาจนิ ะ

รายงานนี้เป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชาจริยธรรมทางการบริ
หาร

ตามหลักสตู รปริญญารัฐประศาสนศาสนบณั ฑิต
สาขาวิชารฐั ประศาสศาสตร์
วทิ ยาลยั สงฆเ์ ชียงราย

มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๖๓

3

คำนำ

การบรหิ าร คือ กระบวนการทางสงั คมทมี่ บี ุคคลตั้งแต่ ๒

คนข้ึนไปบรรลผุ ลสำเร็จตามวัตถปุ ระสงคอ์ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยอาศยั วธิ ีการท่ีเหมาะสม

และตอ้ งใช้ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการทำงานเพื่อใหเ้ กิดความรว่ มใจในการทำงาน

ซง่ึ ผบู้ รหิ ารตอ้ งทำหนา้ ทเี่ ป็นผู้นำ หัวหน้าและผปู้ ระสานงาน

ให้การทำงานนัน้ ได้รับผลสำเรจ็ ตามจุดหมายทีว่ างไวซ้ ึง่ คำวา่ “การบรหิ าร (Administration)”

นม้ี ีรากศัพทม์ าจากภาษาละตนิ “Administatrae” หมายถึง ช่วยเหลือ หรืออำนวยการ

แนวคดิ เกีย่ วกับลกั ษณะทสี่ ำคัญของการบรหิ ารสามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๕ ลักษณะ ได้แก่

๑. การบริหารเป็นการทำงานกบั คนและโดยอาศยั คน การบริหารเปน็ กระบวนการทางสังคม

๒. การบริหารทำใหง้ านบรรลเุ ป้าหมายขององคก์ าร

เปา้ หมายหรอื วตั ถุประสงคข์ ององคก์ ารต้องอาศยั ความร่วมมือของทกุ คนจงึ จะทำใหส้ ำเรจ็ ลงได้

๓. การบรหิ ารเป็นความสมดลุ ระหวา่ งประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ

๔. การบริหารเป็นการใช้ทรัพยากรทมี่ อี ยจู่ ำกดั ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

๕. การบริหารจะตอ้ งเผชญิ กบั สภาพแวดล้อมทเ่ี ปลี่ยนไป ผบู้ รหิ ารทป่ี ระสบความสำเรจ็

จะต้องสามารถคาดคะเนในการเปล่ียนแปลงทอี่ าจเกดิ ขึ้น อย่างถกู ตอ้ ง

อย่างไรกด็ หี วั ใจหลักของเราในการพฒั นาประสทิ ธิภาพขององคก์ รคือ

วิธกี ารแบบองคร์ วมเพ่อื ชว่ ยให้องคก์ ารสามารถสรา้ งและประสานขีดความสามารถกระบวนการ

ทศั นคตแิ ละสมรรถนะทจี่ ำเป็นตอ่ การดำเนินกลยทุ ธอ์ งค์การให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

การศึกษาครง้ั นจี้ ึงเปน็ ความพยายามทจี่ ะอธบิ ายลกั ษณะของการบรหิ ารจดั การทม่ี ลี ักษณะข

องความเป็นทั้งศาสตรแ์ ละศลิ ปม์ ลี กั ษณะที่มจี ุดมงุ่ หมายแตไ่ มอ่ าจวดั ได้โดยตรงมีลกั ษณะท่ีเป็นเรอ่ื งท่ี

เกีย่ วกับ ความสำเรจ็ ในด้านวัตถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายและมลี กั ษณะทเ่ี ป็นเรอื่ งของการแขง่ ขนั ดงั น้ัน

การบริหารจดั การองค์กรทุกประเภท

จึงตอ้ งมีการศกึ ษาและทำความเขา้ ใจเก่ียวกบั ลกั ษณะของการบรหิ ารจดั การ

เพ่อื ใหก้ ารบรหิ ารเปน็ ไปด้วยดีมปี ระสทิ ธภิ าพ

ผูจ้ ดั ทำ
ธันวาคม ๒๕๖๓

เรอ่ื ง สารบญั 4
คำนำ
บทที่ ๑ จริยธรรม หน้า
๑.๑ ความหมายจรยิ ธรรม ข
บทท่ี ๒ ๑.๒ ประเภทจรยิ ธรรม
๑.๓ ความสำคญั จรยิ ธรรม ๑
บทที่ ๓ ๑.๔ สรุป ๑
หลักการบรหิ ารทางพทุ ธศาสนา ๒
๒.๑ บทนำ ๒
๒.๒ ความหมายการบรหิ ารทางพุทธศาสนา ๔
๒.๓ สรปุ ๔
หลักธรรมทน่ี ำมาใชใ้ นการบรหิ ารงาน ๕
๓.๑ บทนำ ๖
๓.๒ หลกั สำคญั ในการบรหิ าร ๙
๓.๓ สรปุ ๙
บรรณานกุ รม ๙
๑๑
๑๔

1

บทท่ี ๑
จรยิ ธรรม

๑.๑ ความหมายจรยิ ธรรม

นักปราชญ์ นกั วชิ าการหลายทา่ นได้ใหค้ ำนิยาม ความหมาย ของจรยิ ธรรมเอาไว้ดังน้ี

พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ใหค้ วามหมายว่า จรยิ ธรรมคอื ธรรมทเ่ี ป็นข้อประพฤติปฎบิ ตั ิ
ศีลธรรม กฎศีลธรรม

กีรติ บุญเจือ ให้ความหมายวา่
อดุ มคตริ วมทงั้ กฏเกณฑค์ วามประพฤตซิ ่งึ ศาสนาแตล่ ะศาสนาบญั ญตั ิขน้ึ
และอาจหมายรวมถงึ กฏเกณฑค์ วามประพฤตทิ ีไ่ ม่ไดอ้ ยใู่ นระบบ

แสง จันทรง์ าม ให้ความหมายวา่ คำสอนในระดบั จริยธรรมเปน็ คำสอนว่าดว้ ยความดีความชั่ว
ความถูกและความผิด ความควรความไมค่ วร
เกณฑ์สำหรบั ตดั สนิ คุณคา่ ทางจรยิ ธรรมและการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับคุณคา่ เหล่าน้ี

พระยาอนมุ านราชธน ให้ความหมายว่า คุณคา่ ของความประพฤติในสงั คมท่ถี ือว่าถกู ต้องดี หรอื สง่ิ
ท่ถี อื วา่ ผดิ และชั่ว ไมค่ วรประพฤตแิ ลว้ วางหลักเป็นมาตรฐานไว้

ทนิ พนั ธุ์ นาคะตะ ให้ความหมายว่า ปรัชญาทางศลิ ธรรมหรอื จริยธรรม
เปน็ เรอ่ื งของประเมินและตดั สินเกยี่ วกบั แนวทางปฎิบตั ิทางศลี ธรรม
หรือหลกั การแหง่ ความประพฤตทิ ั้งหลาย

สรปุ การประพฤตปิ ฏิบัติของบุคคลท่ีแสดงออกถงึ ความดงี ามทัง้ ตอ่ ตนเอง ตอ่ ผู้อน่ื และตอ่ สังคม
เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสงบสขุ ความเจรญิ รงุ่ เรือง

๑.๒ ประเภทจริยธรรม
การแบง่ ประภท มี ๒ ประเภท ดงั น้ี
1. จรยิ ธรรมภายใน
เป็นจริยธรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความรสู้ ึกนึกคดิ หรอื ทัศนคตขิ องบคุ คลตามสภาพจิตใจและ
สภาวะสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ สง่ิ ท่อี ยู่ภายใน อาจจะไมแ่ สดงออกมาให้เห็น เชน่ ความซ่อื สัตย์สุ
จริต ความยตุ ิธรรม ความเมตตากรณุ า ความกตญั ญูกตเวที เป็นต้น
2. จรยิ ธรรมภายนอก
เปน็ จรยิ ธรรมทบ่ี คุ คลแสดงออกทางพฤติกรรมภายนอกทปี่ รากฎใหเ้ ป็นทส่ี งั เกตเห็นไดด้ ว้ ย

2

ตาเปล่าอยา่ งชดั เจน เช่น ความรับผิดชอบ ความเปน้ ระเบยี บเรียบรอ้ ย ความมีวินยั ก

ารตรงตอ่ เวลา สุภาพ ออ่ นนอ้ ม มีมารยาท เอาใจใส่ตอ่ หน้าท่กี ารงาน ความกตญั ญูกตเ

วที เปน็ ตน้

๑.๓ ความสำคญั จริยธรรม
คณุ ธรรมจริยธรรมนับวา่ เปน็ พืน้ ฐานท่สี ำคัญของคนทกุ คนและทกุ วิชาชีพ

หากบคุ คลใดหรอื วิชาชีพใดไมม่ คี ุณธรรมจรยิ ธรรมเป็นหลกั ยึดเบอื้ งต้นแล้วก็ยากทจ่ี ะก้าวไปสคู่ วามสำเรจ็ แ
ห่งตนและแห่งวชิ าชพี นัน้ ๆ ท่ีย่ิงกว่านั้นก็คือการขาดคุณธรรมจริยธรรมท้งั ในส่วนบุคคลและในวิชาชีพ
อาจมผี ลร้ายต่อตนเอง สังคมและวงการวิชาชีพในอนาคตได้อีกด้วย
ดงั จะพบเห็นได้จากการเกดิ วิกฤติศรัทธาในวิชาชีพหลายแขนงในปัจจุบัน ทงั้ วงการวชิ าชีพครู แพทย์
ตำรวจ ทหาร นักการเมอื งการปกครอง ฯลฯ จงึ มคี ำกลา่ ววา่ เราไมส่ ามารถสรา้ งครดู ีบนพ้ืนฐานของคนไมด่ ี
และไม่สามารถสรา้ งแพทย์ ตำรวจ ทหารและนกั การเมอื งทดี่ ี
ถ้าบุคคลเหล่าน้ันมพี ้นื ฐานทางนสิ ัยและความประพฤตทิ ีไ่ มด่ ี
ดังพระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชฯ
ในพระราชพธิ บี วงสรวงสมเดจ็ พระมหากษัตริ-ยาธิราช ณ ทอ้ งสนามหลวง เมอื่ วนั จันทรท์ ี่ ๕ เมษายน พ.
ศ.๒๕๒๕ ไว้ ดงั น“ี้ .....การจะทำงานใหส้ มั ฤทธผิ์ ลทพ่ี งึ ปรารถนา คอื ใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ละเป็นธรรมด้วยนั้น
จะอาศยั ความรูแ้ ตเ่ พยี งอยา่ งเดยี วมไิ ด้ จำเปน็ ตอ้ งอาศัยความสจุ ริต ความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ
และความถกู ต้องเปน็ ธรรม ประกอบด้วย เพราะเหตวุ ่าความรู้นัน้
เสมอื นเครอ่ื งยนต์ทท่ี ำใหย้ วดยานเคลอื่ นที่ไปได้ประการเดียว สว่ นคุณธรรมดงั กลา่ วแลว้
เปน็ เสมอื นหนง่ึ พวงมาลัยหรือหางเสอื ซง่ึ เป็นปจั จัยทน่ี ำทางให้ยวดยานดำเนนิ ไปถูกทางด้วยความสวสั ดี
คือ ปลอดภยั บรรลจุ ุดประสงค์..”จริยธรรมจงึ เป็นสง่ิ สำคัญในสงั คม
ท่จี ะนำความสขุ สงบและความและความเจรญิ ก้าวหน้ามาสสู่ ังคมน้ันๆ เพราะเมอื่ คนในสงั คมมีจรยิ ธรรม
จติ ใจก็ย่อมสงู สง่ มคี วามสะอาด และสวา่ งในจิตใจ จะทำการงานใดกไ็ มก่ อ่ ใหเ้ กิดความเดือดรอ้ น
ไมก่อให้เกดิ ทกุ ขแ์ ก่ตนเองและผอู้ ่นื เปน็ บคุ คลมีคณุ คา่ มปี ระโยชน์ และสร้างสรรค์คณุ งามความดี
อันเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมอื งตอ่ ไป

๑.๔ สรุป

๑. ชว่ ยใหช้ วี ติ ดำเนินไปด้วยความราบร่ืนและสงบ ไมพ่ บอุปสรรค

ถ้าในสังคมทุกคนมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม สังคมของเราก็จะสงบสุขตามไปดว้ ย

ทุกคนจะใช้เวลาที่มที ง้ั หมดชว่ ยกนั พัฒนาบ้านเมอื งใหเ้ จรญิ มั่นคง เป็นปึกแผน่ เปน็ อารยประเทศ

ไมต่ อ้ งแบ่งเวลาไปคอยระมัดระวังอันตรายใด ๆ ทจ่ี ะเกิดขน้ึ จากการกระทำชองคนเลว

3

๒. ช่วยให้คนเรามสี ตสิ มั ปชั ญั ญะอยูต่ ลอดเวลา
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทม่ี อี ยูใ่ นตวั แตล่ ะคนจะเตือนสตใิ หร้ กั ษาเกียรติยศชอ่ื เสียงของตนเองและวงค์ตระกู
ล ไม่ไปเบยี ดเบยี นผูอ้ ่ืนร้จู กั เอือ้ เฟอ้ื เผอ่ื แผช่ ว่ ยเหลอื ผ้ทู ดี่ ้อยโอกาสกวา่ สังคมก็จะสงบสขุ
ประเทศชาตกิ จ็ ะมงั่ คงั่ และมนั่ คง

๓. ชว่ ยสรา้ งความมรี ะเบียบวินยั ให้แกบ่ ุคคลชาติ
โดยจะเปน็ ตัวกำหนดการประพฤตปิ ฎบิ ัตขิ องบุคคลใหเ้ ป็นไปตามกฏเกณฑท์ ี่คนสว่ นใหญใ่ นสงั คมยอมรับว่า
ถูกตอ้ ง

๔. ช่วยควบคุมไม่ใหค้ นช่ัว มีจำนวนเพม่ิ มากข้ึน การปฏบิ ัติตนใหเ้ ป็นตัวอย่างแกผ่ ้อู ืน่

นับวา่ เป็นคณุ แกส่ งั คม เพราะนอกจากจะเป็นตัวอยา่ งโดยการช้นี ทางอ้อมแลว้

ยงั จะสามารถแนะนำส่ังสอนโดยตรงไดอ้ กี ดว้ ย

๕. ช่วยทำให้มนุษยน์ ำความรแู้ ละประสบการณ์ท่ีได้เล่าเรยี นมาสรา้ งสรรค์แตส่ งิ่ ดีมี คณุ คา่
ถ้ามนุษยน์ ำความรแู้ ละประสบการณ์มาใช้ในการประกอบอาชพี ที่สุจริต
ย่อมสรา้ งสรรค์คุณประโยชน์ใหแ้ ก่คนทั่วไป รวมทง้ั สงั คมและประเทศชาติดว้ ย

๖. ช่วยควบคมุ ความเจริญทางด้านวตั ถุและจติ ใจของคนให้เตบิ โตไปพรอ้ ม ๆ
กบั ปจั จบุ ันความเจรญิ กา้ วหน้าทางดา้ นเทคโนโลยีมสี ูงมาก ถ้ามนษุ ย์นำความเจริญนมี้ าใชใ้ นทางทผ่ี ดิ
เช่นสรา้ งอาวธุ มาประหัตประหารกัน จนคนล้มตายลงเป็นจำนวนมาก โดยหวังความเปน็ ใหญ่
ความมีอำนาจความเดือดร้อยกจ็ ะเกิดแกค่ นทั่วไป
แตถ่ า้ ผลติ เทคโนโลยมี ีคุณธรรมและจรยิ ะรรมเหตกุ ารณเ์ หลา่ นกี้ ็จะไม่เกดิ สง่ิ ทจี่ ะไดร้ บั การสร้างหรือผลิตขนึ้
มาก็จะม่งุ แตป่ ระโยชนท์ จ่ี ะเกดิ แกค่ นทั่วไป

จรยิ ธรรมนน้ั ถอื ได้วา่ เปน็ เคร่อื งกำหนดหลักปฎบิ ัติในการดำรงชวี ิต

เปน็ แนวทางในการอยรู่ ่วมกันอย่างสงบเรยี บรอ้ ย ซงึ่ ในสงั คมหรือในทกุ องค์กรตอ้ งมีขอ้ ปฏิบตั ิ

ปฎิบตั ิร่วมกันจึงจะสามารถอยรู่ ว่ มกนั เป็นหมูค่ ณะไดม้ ดี งั น้ี

๑. ระเบยี บวนิ ยั เป็นแนวปฏบตั ริ ่วมกัน

๒. สงั คม เป็นการรวมกลุ่มกนั
ประกอบกจิ กรรมอย่างมรี ะเบยี บแบบแผนจะกอ่ ใหเ้ กิดความเรยี บรอ้ ย
ขนบธรรมเนียมประเพณที ด่ี งี ามซง่ึ การรวมกลุม่ กันประกอบกจิ กรรมในด้านธรุ กจิ นน้ั หากทกุ องค์กร
สามารถทจ่ี ะใหค้ วามร่วมมอื ให้เกดิ การพฒั นาสงั คมหรือตอบแทนคนื ใหส้ ังคมโดยไมเ่ หน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนต
น จะทำใหส้ งั คมเกดิ สง่ิ ดี ๆ

๓.อิสรเสรี การปกครองตนเองให้อย่ใู นทำนองคลองธรรม

ความสำคัญของคุณธรรมและจริยธรรมท่ีกล่าวมานี้ ประเดน็ ทสี่ ำคญั 4

ก็คอื

สามารถลดปญั หาและขจัดปญั หาทจี่ ะเกิดขึ้นแกบ่ ุคคล สังคม และประเทศชาติได้

เมือ่ ทกุ คนประพฤตปิ ฎบิ ัตติ นดแี ลว้ อปุ สรรค ศตั รูภัยอันตราย ก็จะหมดสน้ิ ไป ผ้คู นมีแตค่ วามรกั ตอ่ กัน

สงั คมมีแตค่ วามสงบ และประเทศชาติกจ็ ะเจรญิ ร่งุ เรอื ง1

1 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐.
กรุงเทพมหานครโรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๕.

4

บทที่ ๒

หลกั การบริหารทางพุทธศาสนา

๒.๑ บทนำ

การบรหิ ารเปน็ การทำงานของคณะบคุ คลต้ังแต่ ๒ คนขนึ้ ไป

ที่รว่ มกันปฏบิ ตั กิ ารให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน

โดยการใชค้ วามรกู้ ล่าวคอื การบรหิ ารย่อมต้องยดึ กฏระเบยี บแบบแผนตามกฎหมาย

และศิลปะของคณะบุคคล กลา่ วคอื การใช้ทักษะเทคนคิ ใน ดา้ นมนุษยส์ ัมพันธ์ในการชว่ ยบรหิ ารงาน

ประคบั ประคองให้เกิดความยดื หย่นุ แต่ตอ้ งไมผ่ ดิ กฎระเบียบแบบแผนท่ีกกำหนดไว้

อันจะทำใหเ้ กดิ ความเดอื นรอ้ นภายหลงั เพอื่ ใหบ้ รรลุ วัตถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

ดังน้นั ผู้บรหิ ารทกุ คนต้องตระหนักในเร่อื ง ดังกลา่ วน้ีให้มาก เพราะว่า

การบรหิ ารและการบรหิ ารจัดการมีแนวคดิ มาจากธรรมชาตขิ อง

มนุษยท์ เ่ี ป็นสตั วส์ งั คมซงึ่ จะตอ้ งอยรู่ วมกันเปน็ กล่มุ โดยจะต้องมผี นู้ ำกลมุ่ และมแี นวทาง

หรือวิธีการควบคมุ ดูแลกันภายในกล่มุ เพ่ือใหเ้ กิดความสุขและความสงบเรยี บรอ้ ย ย่งิ ใน

สถานการณป์ จั จบุ นั สังคมเราตอ้ งการนกั บรหิ ารท่มี คี วามรู้ ความซือ่ สัตย์ สจุ รติ เปน็ อยา่ งมาก

ปฏิบตั ิหน้าท่ีดว้ ยจติ สำนกึ มงุ่ มน่ั ในการเสริมสรา้ งคณุ งามความดี มีความรบั ผิดชอบ

ท่ีจะนำองค์กรไปสูค่ วามสำเรจ็ ตามเจตนารมณว์ ตั ถุประสงคข์ ององค์กรนัน้ ๆ

อีกทงั้ รวมไปถงึ ทำให้เกิดความรัก

ความสามัคคีในองค์กรการบรหิ ารงานของผบู้ รหิ ารนน้ั สามารถอ้างองิ นำหลกั การในทางทฤษฎีของการ

บรหิ ารงานของทา่ นผรู้ ู้ ซงึ่ เป็นท่ียอมรับเป็นสากลทัว่ ไป

แตใ่ นบางครง้ั การบรหิ ารงานในทางทฤษฎใี นแนวคดิ ต่าง ๆ

ตามหลกั การบรหิ ารน้ันอาจจะมคี วามกระดา้ งอยบู่ ้างกเ็ ป็นไปได้ ซ่ึงอาจเป็นเหตใุ หก้ าร

5

บรหิ ารงานไมป่ ระสบความสำเรจ็ ตามทค่ี าดหวงั

แตถ่ า้ มกี ารผสมผสานหลกั การทางทฤษฎีของการบริหารเข้ากับหลกั คำสอนของศาสนาแลว้

เชื่อวา่ จะทำใหเ้ สริมสร้างทกั ษะการบรหิ ารงานไดด้ ี และสมบรูณ์ยิ่งข้นึ

เพราะในทางพุทธศาสนาน้นั สอนใหเ้ ปน็ คนดีมีคุณธรรม จริยธรรม

ซง่ึ หากนำมาประยกุ ต์ใช้กบั การบรหิ ารงานจะเกิดความอ่อนนมุ่ ในการทำงานมากขน้ึ

เกดิ ความยืดหยนุ่ ไปตามสถานการณท์ ่ีเหมาะสมได้เพราะว่า

พระพทุ ธเจ้าทรงเปน็ นกั บรหิ ารที่มีความสามารถสงู

หลกั ธรรมของพระองคส์ ามารถประยุกต์ใช้กบั กระบวนการปกครองทกุ ระบบ

ทรงเน้นคุณธรรมในการปกครองทำ

ให้ระบบการบริหารดสี ง่ ผลใหพ้ ระพุทธศาสนามีความเจริญรงุ่ เรอื ง ธำรงอยไู่ ดต้ ราบจนปัจจบุ นั

ซ่งึ การบริหารและการธำรงรกั ษาพทุ ธศาสนา

ดังน้ันเพื่อเปน็ การเผยแผห่ ลกั คำสอนของพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ จงึ นำพทุ ธวิธกี ารบริหารของพระพทุ ธอ

งคท์ ่ปี รากฏในพระไตรปฎิ กมาศึกษาวเิ คราะห์ใหท้ ธศาสนิกชนไดไ้ ด้เขา้ ใจอยา่ งชดั เจนมากยิง่ ขึน้

๒.๒ ความหมายการบริหารทางพทุ ธศาสนา

คำว่า บริหาร ตรงกบั ภาษาบาลีวา่ “ปรหิ ร” แปลตามศัพทว์ า่

การนำไปรอบไทยนำมาใชใ้ นความหมายว่า การบริหาร ตามรปู ศพั ท์ หมายถงึ การปกครอง

การนำสงั คมหรอื นำหมู่คณะใหพ้ ฒั นาไปพร้อมกนั อกี นยั หนึ่ง คำว่า “ปรหิ ร” หมายถึง

การแบง่ งานการกระจายอำนาจ หรอื การทส่ี มาชกิ ในสังคมมสี ่วนรว่ มในการปกครองหมู่คณะ เชน่ ท่ี

ปรากฏพระไตรปฎิ กวา่ “อหํ ภิกขฺ ุสงฆฺ ํ ปรหิ ริสสฺ ามิ” เราจกั ปกครองภกิ ษสุ งฆ์

หรอื เราจักบรหิ ารคณะสงฆ์ เปน็ ตน้

การบรหิ าร หมายถงึ ศิลปะแหง่ การทำงานให้สำเรจ็ โดยอาศัยคนอ่นื

ซงึ่ นกั บรหิ ารมหี นา้ ที่ในการวางแผน จดั องคก์ ร

อำนวยการและควบคุมทรัพยากรบคุ คลและทรพั ยากรอืน่ ๆ ใหด้ ำเนนิ งานไปในทศิ ทางเดยี วกนั

เพอ่ื บรรลุเป้าหมายท่วี างไวห้ นา้ ทีข่ องนกั บรหิ ารมอี ยู่ ๕ ประการ คือ การวางแผน (Planning)

การจัดองคก์ าร (Organizing) การแตง่ ต้งั บุคลากร (Staffing) การอำนวยการ (Directing)

และการควบคมุ (Controlling) แมว้ ่าหน้าท่ีของนกั บริหารทั้ง ๕ ประการ

จะถกู กำหนดโดยวชิ าการสมัยใหมก่ ต็ าม แตเ่ ม่ือวา่ กนั ทางปฏิบัติแลว้

คนไทยเรากบ็ รหิ ารบ้านเมอื งแบบนม้ี านานแลว้ หนา้ ท่ขี องนกั บรหิ ารปรากฏชดั เจนในการปฏบิ ตั ขิ องอ

งคก์ ารต้งั แตส่ มยั โบราณจากท่ไี ดก้ ล่าวมาจะเหน็ ไดว้ า่

6

การบรหิ ารเป็นการประสานความพยายามของมนุษย์ ตงั้ แต่ ๒ คนขึน้ ไป และทรพั ยากรต่าง ๆ

เพอ่ื ทำใหเ้ กดิ ผลตามต้องการ

โดยเฉพาะการบริหารสมยั ใหมม่ ีแนวทางหลากหลายวธิ ที ่บี รรดาผเู้ ชย่ี วชาญทง้ั หลายนำมาใช้

ซ่งึ สามารถทำใหก้ ารบรหิ ารงานประสบความสำเรจ็ บ้าง ไม่สำเร็จบา้ ง

และมกี ารเปลีย่ นแปลงหลักการและวิธกี ารอยู่เปน็ ระยะ ๆ

ตามยคุ สมยั เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณป์ จั จบุ นั ให้มากทสี่ ุด

ส่วนหลกั การบรหิ ารที่พระพุทธองคท์ รงใชใ้ นการบรหิ ารพุทธบริษทั

ตง้ั แต่สมยั เมื่อสองพันปีเศษลว่ งมาจนถงึ ปจั จบุ ันนี้

หลกั การและวิธีการของพระองคย์ ังใช้ได้อยจู่ นถึงทุกวนั นี้

เปน็ เรอื่ งท่นี า่ ศึกษาและนำมาประยุกตใ์ ช้ในการบรหิ ารงานในสมยั ปจั จบุ นั เปน็ อย่างยงิ่

เพื่อผลสมั ฤทธิ์สงู สุดของการบริหาร

จงึ สรปุ ไดว้ ่า การบริหาร หมายถึง การปฏบิ ัตกิ ารตามภาระหนา้ ท่ี และบทบาทของหนว่ ยงาน

จากความรู้ ความสามารถของบุคลากรของหน่วยงานนัน้ เม่อื นำคำว่าพทุ ธวิธมี ารวมกบั คำว่าบรหิ าร

จงึ หมายถึง การบรหิ ารจดั การของพระพทุ ธเจา้ เพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์

หรือเปา้ หมายท่วี างไว้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประสิทธิผลสูงสุด

ซง่ึ ในท่ีนจ้ี ะกล่าวเฉพาะพุทธวิธกี ารบรหิ ารใน

หนา้ ท่ี (Function) ของนกั บรหิ าร ๕ ประการ คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ

(Organizing) การแต่งตั้งบุคลากร (Staffing) การอำนวยการ (Directing) และการควบคุม

(Controlling) เพ่ือวเิ คราะหพ์ ทุ ธวิธีการบรหิ ารท่ีปรากฎในพระไตรปิฎก ดงั น้ี

๑. พุทธวธิ ใี นการวางแผน (Buddhas Planning) การวางแผนงาน (Planning) หมายถงึ

การกำหนดนโยบายและมาตรการอันเปน็ แนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายท่ีวางไว้

๒. พทุ ธวธิ ใี นการจดั องคก์ ร (Buddha Organizing) การจดั องค์การ (Organizing) คอื

การจัดการโครงสรา้ งองค์กรให้มสี ายบงั คบั บัญชาที่คลอ่ งตัว การเชือ่ มสายบงั คับบญั ชาใหแ้ นน่ แฟน้

และมีความจงรกั ภักดีตอ่ องค์กรเพอื่ สนบั สนุนนโยบายของผบู้ รหิ ารในระดับสูงเปน็ อย่างดี

พทุ ธวิธีในการจดั องคก์ ร

๓. พุทธวิธใี นการบรหิ ารงานบคุ คล (Buddha Staffing) การบรหิ ารงานบคุ คล (Staffing)

หมายถึง การสรรหาบุคลากรมาบรรจแุ ตง่ ตง้ั ในตำแหน่งทีก่ ำหนดไว้

ตามหลกั แห่งการใช้คนให้เหมาะสมกบั งาน

เปน็ การสง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ในองค์กร

เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ านขององคก์ ร

7

๔. พุทธวธิ ีในการอำนวยการ (Buddhas Directing) การอำนวยการ (Directing) คอื

การกำกบั สง่ั การและมอบหมายให้แตล่ ะฝ่ายได้ปฏบิ ตั งิ านตามแผนท่วี างไวเ้ ปน็ การวินิจฉยั สง่ั การทร่ี ว

ดเรว็ แมน่ ตรง รวมทงั้ ข้อมลู ข่าวสารทท่ี นั สมยั เพ่อื เปน็ ข้อมูลในการตดั สินใจของผบู้ รหิ ารองค์กร

เพือ่ เพ่มิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลขององค์กร

การอำนวยการใหเ้ กิดการดำเนินงานในพระพุทธศาสนาตอ้ งอาศัยภาวะผู้นำเปน็ สำคญั

๕. พทุ ธวิธีในการกำกับดูแล (Buddhas Controlling) การกำกับดแู ล หมายถึง

การตดิ ตามดวู า่ แต่ละฝ่ายปฏิบตั ิงานไปถงึ ไหน มปี ัญหาและอปุ สรรคเกิดขนึ้ ท่ีใด

และสำคญั คือการป้องกันไม่ให้ยอ่ หยอ่ นต่อหน้าท่ี ละทง้ิ หนา้ ที่ หรอื ทจุ รติ ต่อหนา้ ที่

เปน็ การตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านวา่ ไดม้ ีการดำเนนิ การตามแผนท่ีไดก้ ำหนดไว้หรือไม่

เพื่อทำการหาจุดบกพรอ่ งและจุดออ่ นของผลการปฏบิ ตั งิ านแล้วนำมาปรบั ปรุงแกไ้ ข

เพ่อื ทจ่ี ะใหผ้ ลการปฏบิ ตั งิ านนั้นได้ดำเนินไปตามแผนและมาตรฐานทีไ่ ดก้ ำหนดไว้

๒.๓ สรปุ

ในการบรหิ ารงานตามแนวพทุ ธวธิ ี จะเป็นการบริหารแบบธรรมาธิปไตยหมายถงึ

การบริหารงานโดยยึดถอื หลกั การ เหตุผล หลกั ความจรงิ ความถกู ตอ้ ง ความดีงาม

ความเปน็ ธรรมเปน็ ประมาณในการบรหิ ารจดั การต่าง ๆ คอื จะทำอะไรกย็ ดึ ถอื ธรรมเป็นหลกั เกณฑ์

กระทำด้วยปรารภสิ่งท่ไี ดศ้ ึกษา ทำการดว้ ยความเคารพ หลกั การ กฎระเบยี บ กตกิ า

ตรวจสอบตามขอ้ เทจ็ จริง และความเห็นทร่ี บั ฟงั อยา่ งกว้างขวาง

แจง้ ชัดและพจิ ารณาอยา่ งดีเต็มขีดแหง่ สตปิ ัญญา มองเห็นไดด้ ้วยความบริสุทธใ์ิ จ เป็นไปโดยชอบธรรม

และเพอื่ ความดีงามเปน็ ประมาณ

ละเวน้ การยึดถือตนและกระแสเสียงคนสว่ นใหญท่ ี่ไมถ่ ูกธรรมไม่เปน็ ธรรม

ยอมเสียสละประโยชนส์ ขุ สว่ นตน เพือ่ ประโยชนส์ ขุ สว่ นรวม ดังพุทธพจน์ที่ว่า

“ถ้าเหน็ วา่ จะไดป้ ระโยชน์สขุ ทยี่ ิ่งใหญ่ เพราะสละประโยชนส์ ุขเลก็ นอ้ ย

บคุ คลควรสละประโยชนส์ ขุ เลก็ นอ้ ยเพอื่ เหน็ แกป่ ระโยชน์สขุ ท่ียงิ่ ใหญ่”

ในการบริหารงานหากผบู้ รหิ ารยดึ หลกั ธรรมาธิปไตยก็จะทำให้ผรู้ ่วมงานเกดิ ความมน่ั ใจใน

การทำงาน เพราะผบู้ รหิ ารยดึ ความถกู ตอ้ งเป็นหลกั ไมม่ ที ี่รกั มกั ท่ชี งั ใครทำผดิ กว็ ่าไปตามความผิด

ใครทำงานดีก็มรี างวลั มอบให้ เพอื่ เป็นกำลงั ใจแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน เหน็ แก่ความจริง ความถูกต้อง

ความดีงาม และยึดถือตามหลกั การ กฎ กติกา รวมท้งั การตัดสนิ ใจท่ีไม่เอนเอยี งไปข้างไหน

ไมเ่ หน็ แกผ่ ลประโยชน์ ไม่เหน็ แก่พรรคพวก มีความชดั เจนในการทำงาน

ความโปรง่ ใสในการทำงานเป็นตวั อย่างท่ดี ีให้แกผ่ ู้รว่ มงานได้ยดึ ไปปฏบิ ัติ

หากในหนว่ ยงานทุกคนยดึ หลกั ธรรมในการทำงานก็ทำใหง้ านครอ่ งตวั มปี ระสิทธิภาพในการทำงานแล

8

ะเกิดประสิทธิผลหรอื ประโยชน์ตอ่ หน่วยงานทำใหง้ านบรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละบรรลเุ ป้าหมายและยงั ร

วมถงึ การเปน็ หนง่ึ เดยี วความมีเอกภาพมีความ

สามัคคีในหนว่ ยงานทเี่ กดิ จากผบู้ รหิ ารใช้หลกั ธรรมาธปิ ไตย คอื

ถอื ธรรมะเป็นใหญจ่ งึ ทำใหผ้ บู้ รหิ ารไดท้ งั้ ใจคนไดท้ ้ังงาน หรือเรียกว่า งานกไ็ ดบ้ รวิ ารกม็ ี คือ

ไดท้ ั้งงานไดท้ ้ังคน

ดงั นน้ั พทุ ธวิธใี นการบรหิ ารงาน ผบู้ รหิ ารท่ดี ีนอกจากจะมหี ลกั ธรรมท่กี ลา่ วมาแลว้

และตอ้ งมคี ุณสมบัติสำคญั ๒ ประการ คือ อตั ตหิตสมบตั ิ หมายถงึ

ความเพยี บพรอ้ มด้วยคุณสมบตั ิสว่ นตวั ท่เี หมาะสมกับผู้นำ และปรหิตสมบัติ หมายถึง

ความมีนำ้ ใจในการปฏบิ ตั งิ านเพือ่ ส่วนรวมและองค์กรของตน เมอื่ ผู้นำประพฤตธิ รรม

สังคมส่วนรวมกจ็ ะเปน็ สขุ ดังทีพ่ ทุ ธพจนพ์ ระพุทธเจ้าได้ตรัสไวใ้ นพระสุตตันตปฎิ ก องั คุตตรนกิ าย

จตกุ กนบิ าต ความตอนหนงึ่ วา่

เม่อื ฝูงโคขา้ มนำ้ ไป ถ้าโคจ่าฝงู ไปคดเคยี้ ว โคทง้ั ฝงู ก็ไปคดเค้ียวตามกนั

ในเมื่อโคจ่าฝงู ไปคดเคีย้ ว ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกนั ผใู้ ดไดร้ ับแต่งตั้งใหเ้ ป็นใหญ่

ถ้าผู้นัน้ ประพฤติไมเ่ ปน็ ธรรม ประชาชนชาวเมอื งน้นั ก็จะประพฤติไมเ่ ปน็ ธรรมตามไปด้วย

หากพระราชาไมต่ ง้ั อยใู่ นธรรม ชาวเมืองนนั้ กอ็ ยเู่ ป็นทกุ ขเ์ ม่ือฝงู โคข้ามน้ำไป ถา้ โคจา่ ฝูงไปตรง

โคทง้ั ฝงู ก็ไปตรงตามกนั ในเม่อื โคจ่าฝูงไปตรง ในหมมู่ นษุ ย์กเ็ หมอื นกนั ผู้ใดได้รบั แตง่ ตงั้ ใหเ้ ป็นใหญ่

ถ้าผูน้ ้นั ประพฤติชอบธรรมประชาชนชาวเมอื งนั้นกจ็ ะประพฤตชิ อบธรรมตามไปด้วย

หากพระราชาต้ังอยูใ่ นธรรมชาวเมอื งน้ันกอ็ ยเู่ ปน็ สุข2

2 กศล ดศี ิลธรรม. (๒๕๔๖). เทคนคิ การจดั การอตุ สาหกรรมสำหรบั นกั บริหาร. กรงุ เทพฯ :
ซีเอ็ดยูเคชั่น

9

บรรณานกุ รม

คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติกระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๔๕).
ปฏิรปู การเรยี นรผู้ เู้ รียนสำคัญทส่ี ดุ กรงุ เทพ ฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ พจน์
พจนพาณชิ ยก์ ลุ . (๒๕๖๑). การพฒั นาประสิทธิภาพในการทำงานของบคุ คล. [Online]

https://sites.google.com/site/potarticle/๐๒.[๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑].
พิภพ วชงั เงนิ . (๒๕๔๗). พฤติกรรมองคก์ าร. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทรวมสาสน์ (๑๙๙๗) จำกดั .
เรอื งวทิ ย์ เกษสวุ รรณ. (๒๕๔๕). การจดั การคณุ ภาพ. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท บพิธการพมิ พ์ จำกัด.
สถาบันเพมิ่ ผลผลิตแหง่ ชาติ. (๒๕๔๖). หลกั การเพมิ่ ผลผลิต. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พป์ ระชาชน.
สมยศ นาวกี าร. (๒๕๔๗). การพฒั นาองคก์ ารและการจงู ใจ. กรงุ เทพฯ : บรรณกจิ ๑๙๙๑.
สายหยุด ใจสำราญ และ สุภาพร พิศาลบุตร. (๒๕๔๗). การพัฒนาองคก์ าร. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ .
Terry, George R. (๑๙๗๗). Principles of Manangement. Hlinois: Richard D. Irwin

10

บทที่ ๓
หลักธรรมท่ีนำมาใชใ้ นการบริหารงาน

๓.๑ บทนำ

โลกในยุคปจั จบุ ันเปน็ ระบบทนุ นิยม หรือบรโิ ภคนิยมท่แี สวงหากำไร ทำใหม้ กี ารแข่งขนั

เพอื่ ใหอ้ ยเู่ หนือกวา่ ค่แู ขง่ ดงั นั้นวัตถปุ ระสงค์ของบทความนเ้ี พอ่ื ใหท้ ราบถงึ แนวทางการบรหิ ารงาน

แบบบรู ณาการ และการพฒั นาองค์กรอยา่ งยัง่ ยนื ใหบ้ รรลุผลตามเปา้ หมายขององค์กร โดยต้องใช้

หลกั การบรหิ ารสมัยใหมเ่ ข้ามาเปน็ กลยทุ ธ์ขององคก์ ร ได้แก่ หลกั การการเปลีย่ นแปลง ๘ ขนั้ ตอน

ของ John P Kotter เปน็ หลักการในการบรหิ ารจดั การน้ันไดม้ นี ักวชิ าการทางตะวันตกให้ความ

สนใจบรู ณาการในหลกั การทางพระพทุ ธศาสนามาผสมผสาน และประยกุ ตใ์ ช้กบั หลกั การบรหิ าร

จัดการ ได้แก่ หลกั สปั ปรุ ิสธรรม ๗ การท่จี ะใช้หลักการกลยทุ ธ์ วิธีการ หรือเทคนิคของนกั วิชาการ

ชาวตะวนั ตก ซง่ึ พฒั นาการการบริหารจัดการมาไมเ่ กิน ๑๐๐ ปี นัน้ ยงั เป็นหลกั การทีย่ งั ยึดกบั วัตถุ

คำนึงถึงมผี ูแ้ พผ้ ู้ชนะ เป็นการบรหิ ารจดั การที่มุง่ หวงั กำไรและการแข่งขัน แต่หลกั ทาง

พระพทุ ธศาสนา เป็นศาสตร์หรอื กลยุทธแ์ หง่ การบริหารจัดการที่ย่งั ยนื และดำรงอยรู่ ว่ มกันโดยสนั ติ

สขุ เกดิ ความสมดลุ ทางด้านสังคมเศรษกจิ และสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ หลกั ธรรมคำสอนขององค์สมเดจ็

พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าถงึ กว่า ๒,๖๐๐ ปีมาแลว้ ดงั นน้ั การตดั สินใจเลอื กกลยทุ ธ์การบรหิ ารจดั การ

ความเปลีย่ นแปลงขององคก์ ร พจิ ารณาจากปจั จยั ภายนอกองค์กร ได้แก่ สภาวะทางเศรษฐกจิ คู่

แขง่ ขนั ความเจรญิ ทางเทคโนโลยี ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมอื ง และการเปลย่ี นแปลงทาง

ธรรมชาตแิ ละสงั คมเปน็ ต้น ปจั จยั ภายในองค์กร ได้แกก่ ารเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ ง การปรบั เปลี่ยน

ผบู้ ริหาร การปรับเปลีย่ นบุคลากร การสลบั เปล่ยี นตำแหน่งให้เหมาะสมกบั งาน เป็นต้น ซ่ึงกลยุทธ์

การบรหิ ารจัดการความเปลี่ยนแปลงขององคก์ รทเี่ หมาะสมจะเป็นการบูรณาการหลกั การทางโลก

ตะวนั ตกกับหลักพทุ ธธรรมเข้าด้วยกนั หรอื ใช้ควบคูก่ ัน องคก์ รจงึ จะพัฒนาดำรงอยอู่ ย่าง
๓.๒ หลกั สำคัญในการบริหาร

๓) อตั ตัญญตุ า (Knowing Oneself) ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ตนรจู้ กั เราว่าเรานั้นโดยฐานะภาวะเพศ
ความร้คู วามสามารถ และคุณธรรมเป็นอย่างไร และเทา่ ใด แล้วประพฤติใหเ้ หมาะสม

11

และรจู้ กั ทจ่ี ะปรบั ปรงุ ตอ่ ไป การรจู้ ักองค์กรท่เี ราบริหารเปน็ อย่างดวี ่ามจี ดุ ดอ้ ยจดุ แขง็ อย่างไร
มีขดี ความสามารถอยา่ งไร และรู้จักการปรบั ปรุงองคก์ รให้ทนั ต่อเหตุการณ์

๔) มัตตญั ญุตา (Moderation, Knowing how to be temperate) ความเป็นผรู้ ูจ้ กั
ประมาณ ความพอดใี นการจ่ายโภคทรัพย์ เป็นการบรหิ ารการเงนิ หรอื การขยายกจิ การต้องพจิ ารณา
ใหร้ ู้จกั ประมาณในความเพยี งพอขององค์กร ขีดความสามารถขององค์กร ขดี ความสามารถของ
ทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นองคก์ ร รวมทัง้ การแขง่ ขันท่ีรอบคอบและรจู้ กั ประมาณขีดความสามารถของ
องคก์ ร

๕) กาลัญญตุ า (Knowing the Propertime) ความเป็นผรู้ ู้จกั กาล การรกู้ าลเวลาอัน
เหมาะสม และระยะเวลาในการประกอบกจิ (Suriyon Noisangoun, ๒๕๖๑) การบริหารจดั การ
จะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจถงึ ระยะเวลาทเี่ หมาะสมการสร้างโอกาสขององคก์ รจะต้องพิจารณาถึง
สถานการณ์ในเวลานนั้ ๆ ร้กู ริยาท่จี ะประพฤตติ ่อชุมชนน้ันวา่ ควรจะดำเนนิ การอยา่ งไรการบรหิ าร
จัดการจำเปน็ ตอ้ งปฏสิ ัมพนั ธก์ บั องคก์ รต่าง ๆ ทงั้ ทเ่ี ปน็ พันธมติ รและคูแ่ ขง่ การสร้างสรรคร์ ้จู กั ความ
แตกต่างของบคุ คลวา่ โดยอัธยาศัยความสามารถและคุณธรรมตลอดถึงรูใ้ นความสามารถของบคุ คล
และใช้มอบงานทเ่ี หมาะสมใหก้ ารบริหารจดั การในการรู้บุคคลเปน็ การพฒั นาและบรหิ ารทรพั ยากร
มนุษย์ที่จะตอ้ งมกี ารพฒั นาการบรหิ ารจัดการจะต้องมีความเขา้ ใจถึงระยะเวลาท่เี หมาะสม การ
สร้างโอกาสขององคก์ รจะตอ้ งพิจารณาถงึ สถานการณใ์ นเวลานนั้ ๆ วา่ ควรจะดำเนินการอย่างไร

๖) ปรสิ ัญญตุ า (Knowing the Assembly, Knowing the Society) (พระปลดั เกษฎา
มหาปญโฺ ญ (ผาทอง) และคณะ, ๒๕๕๙) ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ชมุ ชน ร้กู รยิ าทจ่ี ะประพฤตติ ่อชมุ ชนนั้น ว่า
ควรจะดำเนนิ การอยา่ งไร การบรหิ ารจัดการ จำเปน็ ตอ้ ง ปฏิสัมพันธก์ บั องคก์ รตา่ ง ๆ ท้งั ทเี่ ปน็
พันธมิตร และคแู่ ข่ง การสรา้ งสรรค์ การประสานงานกับชุมชนหรอื กลุ่มบุคคลทม่ี ผี ลต่อองคก์ ร การ
เข้าถงึ เขา้ ใจ และพฒั นาอย่างต่อเนื่องเป็นการบรหิ ารจัดการทีส่ รา้ งความสมั พนั ธด์ ้วยเมตตา ความ
เอื้อเฟอ้ื เผอื่ แผ่ต่อชมุ ชนหรอื สาธารณะชน จะเปน็ ภาพลักษณ์ที่ดีขององคก์ ร

๗) ปุคคลญั ญตุ า (Knowing the individual, Knowing the different individuals)
ความป็นผูร้ จู้ ักบคุ คล ความแตกต่างของบุคคลวา่ โดยอัธยาศัย ความสามารถ และคุณธรรม
ตลอดถงึ รู้ในความสามารถของบุคคล และใชม้ อบงานทเี่ หมาะสมให้การบรหิ ารจัดการในการร้บู คุ คล

12

เป็นการพัฒนาและบรหิ ารทรัพยากรมนุษยท์ จ่ี ะตอ้ งมีการพฒั นา
และบรหิ ารบคุ คลในองคก์ รใหม้ ีความรู้
ความสามารถ ความภกั ดีต่อองคก์ ร มีความสามัคคี สรา้ งความเป็นธรรม และเสมอภาคใหแ้ ก่
บุคลากรในองคก์ ร รวมถึงการท างานเป็นหมคู่ ณะ การติดตอ่ สือ่ สารกบั บุคคลตา่ ง ๆ ดว้ ยความเป็น
มติ รไมตรี รวมท้ังมีความจรงิ ใจตอ่ กัน

หลักของสปั ปรุ สิ ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาได้อธิบายถงึ ความสมั พนั ธข์ องการบรหิ าร
จดั การเกีย่ วข้องกบั คนและสิ่งแวดลอ้ ม โดยคำนึงถึงคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทีม่ คี ณุ ค่า สังคมมนษุ ย์
เป็นสงั คมในกระบวนการอาศยั ซงึ่ กันและกัน การพจิ ารณาดว้ ยเหตุด้วยผล ร้จู กั โลก รจู้ ักธรรมชาติ
มนุษย์เท่านน้ั ทจี่ ะเปน็ ผูท้ ่บี ริหารจดั การองค์กรทีด่ ีได้ ดงั นนั้ หลักการบรหิ ารสมยั ใหมจ่ ะตอ้ งใช้เทคนคิ
และวิธีการ โดยแสวงหากำไร และการแขง่ ขนั ใหอ้ งคก์ รบรรลุ ส่เู ป้าหมาย ตามแบบของทนุ นยิ มแลว้
ผบู้ ริหารจะตอ้ งบรู ณาการหลกั การบริหารเชงิ พทุ ธศาสตรเ์ ข้ามาประกอบใหส้ อดคลอ้ งกับการ
บรหิ ารงานในปจั จุบันจึงจะเป็นแนวทางใหม่ หรือเขา้ ส่มู ติ ขิ องการบรหิ ารงานแบบยง่ั ยนื มคี วาม
มั่นคง และสรา้ งความเป็นธรรมตอ่ บคุ คล หรือสงั คมทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั องคก์ รอย่างชาญฉลาด รวมท้ัง
สร้างประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ล ตอ่ การบรหิ ารงานอย่างยง่ั ยนื และมน่ั คง จะเปน็ หลกั การของนัก
บรหิ ารในการบริหารจดั การองคก์ รของตนอย่างมรี ะบบ โดยทยี่ ังมีคุณธรรมมาประกอบในการ
พจิ ารณาบรหิ ารจัดการด้วย
๓.๓ สรปุ

การบรหิ ารจดั การการเปลีย่ นแปลงขององค์กร ตอ้ งอาศยั ความร่วมมือ และความพรอ้ ม
ในการยอมรับของบคุ ลากรในองค์กร โดยเริ่มทำจากส่ิงท่งี ่ายก่อน การเปลี่ยนแปลงจงึ จะประสพ
ผลสำเร็จ สว่ นปจั จยั ท่ีมผี ลกระทบตอ่ การเปล่ยี นแปลงขององค์กรมี ๒ ปจั จยั หลกั ดว้ ยกันคอื ปจั จัย
ภายนอก และปจั จยั ภายใน กลยทุ ธจ์ ะเป็นตวั ก าหนดทศิ ทางการดำเนนิ งานขององค์กรตอ่ การ
เปลี่ยนแปลง เพ่อื ให้บรรลวุ สิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ การกำหนดกลยทุ ธก์ ารบริหารจดั การความ
เปลีย่ นแปลงขององค์กรตามหลักการ การบรหิ ารแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ เปน็ การยึดกบั วตั ถุ
คำนงึ ถึงมีผูแ้ พผ้ ูช้ นะ เปน็ การบรหิ ารจัดการท่ีมุง่ หวังกำไรและการแขง่ ขนั จึงจำเปน็ อยา่ งยงิ่ ตอ้ งมี

13

หลักพุทธธรรม เพราะหลกั ธรรมสร้างความสมดลุ ทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ้ ม โดยมิได้

ม่งุ หวังกำไร หรือการแขง่ ขนั เพียงอยา่ งเดยี ว แต่เปน็ การบรรจหุ ลกั การท่สี ร้างความยั่งยืน การไม่

เบียดเบียน การอยรู่ ่วมกันอย่างสงบสันติ มีความเมตตาตอ่ กนั และรเู้ ท่าทันโลก หลักธรรมไมว่ า่ จะ

เป็นหลักของสปั ปรุ สิ ธรรม ๗ หรอื หลกั ธรรมใด ๆ ก็ตามเป็นหลกั ความดีของการกระทำทางกาย

วาจา และใจ ของผอู้ ย่ใู ตบ้ ังคบั บญั ชาและผรู้ ่วมงานทกุ ฝ่าย บุคลากรในองคก์ รทุกคนย่อมมีความพึง

พอใจกบั การบรหิ ารโดยใช้ หลกั พทุ ธธรรมรว่ มกบั หลักวชิ าการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ไดแ้ ก่

หลักการการเปลย่ี นแปลง ๘ ข้ันตอน ของ John P Kotter เป็นการบรู ณาการทั้งศาสตร์และศลิ ป์

เพอื่ ความย้ังยืนขององค์กร ซ่งึ เปน็ การทำงานรว่ มกันในเชิงบรหิ ารยุคใหม่ คือกระบวนการทำงาน

ร่วมกับผอู้ ื่นเพอ่ื ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธติ์ ามเป้าหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทกุ คนย่อมมุ่งมน่ั ตง้ั ใจที่จะ

ทำงานใหส้ มั ฤทธผิ ลเปน็ ไปตามเป้าหมายขององคก์ ร มตี วั ช้ีวัด

และตอ้ งมหี ลักธรรมเข้ามาใช้ในการบรหิ ารควบคูก่ นั

องคก์ รทีม่ งุ่ ผลประโยชนค์ ามหลกั ทุ่นนิยมของโลกตะวนั ตกเพียงอยา่ งเดยี ว

องค์น้นั ยอ่ มขาดเสถยี รภาพทงั้ ดา้ นการบรหิ ารและดำเนนิ งาน

ดงั นัน้ การบรหิ ารจดั การการเปล่ียนขององคก์ รในยุคโลกาภวิ ตั นห์ รอื ยคุ ทุนนิยมในปจั จบุ นั

โดยนำกลยุทธห์ ลักการการเปล่ยี นแปลง ๘ ขนั้ ตอน ของ John P Kotter มาปรบั ใชใ้ นองคก์ ร

จะทำใหเ้ กดิ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการจัดการการเปลี่ยนแปลงท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ๑๕ ประการ ท

าให้องค์กรประสพความสำเร็จ แตม่ ิอาจยงั่ ยืนได้ ตามระบบทนุ นิยม จึงจำเปน็ น

าหลกั ธรรมสปั ปรุ สิ ธรรม ๗ มาบูรณาการปรบั ใชค้ วบค่กู ัน

จงึ จะทำใหก้ ารบรหิ ารจัดการความเปลยี่ นแปลงขององค์กรประสบความสำเร็จและพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื

กลา่ วคอื องค์กรสามารถปรับตวั ดำรงอยูไ่ ดแ้ ละเจริญเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนื่อง

สามารถผา่ นปญั หาวิกฤตตา่ ง ๆ ท้งั ปจั จยั ภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ3

3 กนก แสนประเสรฐิ . (๒๕๕๙). หลักการบรหิ ารงานสมยั ใหมก่ ับหลักการบรหิ ารงานเชงิ พุทธศาสตร์ เพอื่ ความมั่นคง
แหง่ พระพทุ ธศาสนา. เข้าถึงไดจ้ าก http://www.onab.go.th/articles
กฤษดา พฒั นพงษ์ไพบลู ย์. (๒๕๖๐). รปู แบบการพัฒนาสโมสรฟุตบอลอาชีพให้เปน็ องค์กรท่ีมี
ประสิทธภิ าพ. วารสารวิทยาลยั พาณิชยศาสตรบ์ ูรพาปรทิ ัศน์, ๑๒(๑).
นฤมล ราชบุรี. (๒๕๕๗). สัปปรุ สิ ธรรม ๗: แนวคิดเชิงบรู ณาการเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
อยา่ งยง่ั ยนื . วารสารครุศาสตร์ปรทิ รรศน์, ๑(๑). เนตรชนก วภิ าตะศิลปนิ . (๒๕๕๙). พุทธปรัชญาการศกึ ษากับ
การศึกษาในศตวรรษท่ี ๒๑. วารสารครุ ศาสตรป์ ริทรรศน์, ๓(๓).

14

บรรณานุกรม

๑. หนังสอื :

พระปลดั เกษฎา มหาปญฺโญ (ผาทอง) และคณะ. (๒๕๕๙). ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประชาธิปไตยและ

กระบวนการประชาสังคมไทยภายใตก้ ระบวนทศั น์หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา.
วารสารวชิ าการธรรมทรรศน์, ๑๖(๒).
พระมหาสมบตั ิ ธนปญฺโญ (ฉลอง) และบรรจบ บรรณรุจิ. (๒๕๕๗). ยทุ ธศาสตร์เชิงพุทธส าหรบั
ผบู้ ริหารโรงเรียนพระปริยตั ิธรรมแผนกสามญั ศึกษา”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, ๑(๒).
มลวภิ า สิขเรศ. (๒๕๕๙). การบริหารสถานศกึ ษาเชิงพทุ ธบูรณาการของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา.
วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, ๓(๑).
๑๘๒ | The Journal of Research and Academics Vol ๓ No ๒ (May-August ๒๐๒๐)
ละอองทพิ ย์ บณุ ยเกียรติ. (๒๕๕๖). แปดข้นั ตอนสู่ความส าเร็จของการเปลีย่ นแปลง John P Kotter.
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.gotoknow.org/posts/๕๔๘๘๔๗.
สนัน่ เถาชารี. (๒๕๕๑). การจดั การองคก์ รเชิงกลยุทธ์เพ่อื ปรับปรุงประสิทธิภาพและเพ่มิ ศกั ยภาพใน
การแข่งขนั . Industrial Technology Review, ๑๔(๑๘๕).

15

มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปฎิ กภาษาบาลี

ฉบบั มหาจุฬาเตปฏิ ก ๒๕๐๐.

กรุงเทพมหานครโรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๕.

๒. หนังสือ

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต). (๒๕๔๖) พจนานุกรมพุทธศาสตร์

ฉบับประมวลธรรมพมิ พ์คร้งั ท่ี ๑๒. กรุงเทพมหานคร:

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั .พระธรรมโกศาจารย์

(ประยูร ธมฺมจติ ฺโต). (๒๕๔๙). พุทธวธิ บี รหิ าร. พมิ พค์ รั้งที่ ๕

กรุงเทพมหานคร :

โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกร

ณราชวิทยาลยั . (๒๕๓๙). พระไตรปฎิ กภาษาไทย

ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๓. หนงั สือ

กนก แสนประเสริฐ. (๒๕๕๙).

หลกั การบรหิ ารงานสมัยใหมก่ ับหลกั การบรหิ ารงานเชงิ พุทธศาสตร์

เพ่ือความมน่ั คงแหง่ พระพทุ ธศาสนา. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

http://www.onab.go.th/articles

กฤษดา พฒั นพงษ์ไพบลู ย์. (๒๕๖๐).

รูปแบบการพฒั นาสโมสรฟตุ บอลอาชพี ให้เปน็ องค์กรทมี่ ี

ประสิทธิภาพ. วารสารวทิ ยาลัยพาณชิ ยศาสตร์บูรพาปริทัศน,์

๑๒(๑). นฤมล ราชบรุ .ี (๒๕๕๗). สัปปรุ ิสธรรม ๗:

แนวคดิ เชิงบูรณาการเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างย่ังยนื .

วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, ๑(๑).เนตรชนก วภิ าตะศลิ ปนิ .

(๒๕๕๙). พุทธปรชั ญาการศึกษากับการศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑.

วารสารครุศาสตร์ปรทิ รรศน์, ๓(๓).พระปลดั เกษฎา มหาปญโฺ ญ

(ผาทอง) และคณะ. (๒๕๕๙).

ยุทธศาสตร์การพฒั นาประชาธปิ ไตยและกระบวนการประชาสงั คม

ไทยภายใต้กระบวนทัศน์หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา.วารสารวิช

าการธรรมทรรศน,์ ๑๖(๒).พระมหาสมบัติ ธนปญโฺ ญ (ฉลอง)

16

และบรรจบ บรรณรุจ.ิ (๒๕๕๗). ยทุ ธศาสตร์เชงิ พทุ ธส

าหรบั ผบู้ ริหารโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษา”.

วารสารครุศาสตรป์ ริทรรศน,์ ๑(๒).มลวภิ า สขิ เรศ. (๒๕๕๙).

การบริหารสถานศึกษาเชิงพทุ ธบูรณาการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

.วารสารครุศาสตร์ปรทิ รรศน,์ ๓(๑).๑๘๒ | The Journal of

Research and Academics Vol ๓ No ๒ (May-August

๒๐๒๐)ละอองทพิ ย์ บณุ ยเกียรต.ิ (๒๕๕๖).

แปดขั้นตอนสู่ความสาเรจ็ ของการเปลย่ี นแปลง John P Kotter.

๒.ขอ้ มลู ออนไลน์

๑.สทุ ธินนั ท์ ช่นื ชม.รปู แบบการเขียนอ้างอิง APA ๖.
ข้อมูลออนไลน.์ เข้าถงึ ไดจ้ าก. ttp://www.research.cmru.ac.th
/๒๐๑๔/downloads/files/for_ref_res.pdf

๒. https://www.gotoknow.org/posts/๕๔๘๘๔๗.สน่ัน

เถาชาร.ี (๒๕๕๑).

การจัดการองคก์ รเชงิ กลยุทธ์เพ่ือปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพและเพิ่มศั

กยภาพในการแขง่ ขนั . Industrial Technology Review,

๑๔(๑๘๕).Suriyon Noisangoun. (๒๕๖๑ ) .The Administration

Model for Public Works of ThaiSangha Council in Srisaket

Province. Journal of MCU Peace Studies, ๖(๓).บรรณานุกรม


Click to View FlipBook Version