The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนวิชาวงจรดิจิทัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saroch.tech, 2022-06-06 03:29:25

แผนการสอนวิชาวงจรดิจิทัล

แผนการสอนวิชาวงจรดิจิทัล

แผนการสอน/การจดั การเรยี นรู้แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวิชา 20105-2007 วิชา วงจรดิจทิ ัล
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ พ.ศ. 2562

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม

จดั ทาโดย

นายสาโรช กลามอญ
ตาแหน่ง ครู

แผนกวชิ า ชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ภาคเรียนที 1 ปีการศกึ ษา 2565
ฝา่ ยวิชาการ วทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดนิ

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

แบบคาขออนมุ ตั ิใชแ้ ผนการสอน/การจัดการเรียนรู้แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวชิ า 20105-2007 วชิ า วงจรดจิ ทิ ลั
หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ผ้จู ัดทา

ลงชือ่ ..............................................
(นายสาโรช กล่ามอญ)
ต่าแหนง่ ครู

ผตู้ รวจสอบแผนการจดั การเรยี นรู้

ลงชือ่ .............................................. ลงชื่อ..............................................
(นายสาโรช กลา่ มอญ) (นายคุมดวง พรมอินทร์)
หวั หนา้ งานพฒั นาหลกั สตู รฯ
หัวหนา้ แผนกวิชาช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์

ความเหน็ รองผู้อา่ นวยการฝ่ายวิชาการ
..........................................................................................

ลงชื่อ..............................................
(นายทินกร พรหมอินทร)์
รองผอู้ า่ นวยการฝา่ ยวิชาการ

ความเหน็ ผู้อา่ นวยการวิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดิน
 อนมุ ัติ  ไม่อนมุ ัติ เพราะ....................................

ลงชื่อ..............................................
(นางวรรณภา พว่ งกลุ )

ผอู้ ่านวยการวิทยาลยั การอาชีพสวา่ งแดนดิน

คานา

แผนการสอนรายวิชา วงจรดิจทิ ัล รหัสวิชา 20105-2007 มีเนอื้ หาตรงตามจดุ ประสงค์และค่าอธิบาย
รายวิชา หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 2562 ของกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ซึ่ง
เปน็ วิชาพน้ื ฐานวิชาหนง่ึ ในหมวดวชิ าชพี ที่ผเู้ รียนประเภทวชิ าอุตสาหกรรมทุกสาขาตอ้ งเรียนวชิ าน้ี

แผนการสอนวชิ า วงจรดิจิทลั แบง่ ออกเปน็ 10 บทเรียน ซ่ึงแบง่ หน่วยเรยี งตามล่าดับความยากง่าย
ของรายวิชาวงจรดิจิทัล รหัสวิชา 20105-2007 และก่าหนดจุดประสงค์การเรียนการสอน เน้ือหาสาระ
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน งานท่ีมอบหมายหลังจบการเรียนการสอนทั้งทฤษฎี และ
ปฏบิ ัติ ทั้งยงั มีใบประเมนิ ผล หลังการเรียนของผูเ้ รยี น จะประเมินผลท้ังผลงานและเจตคตทิ กุ หน่วยการเรยี น

ข้าพเจ้าพยายามอย่างย่ิงที่จะให้แผนการสอนรายวิชาวงจรดิจิทัล เป็นแผนการสอนท่ีสมบูรณ์
เออ้ื อ่านวยประโยชน์ต่อการเรยี นการสอน หากผดิ พลาดประการใดตอ้ งขออภัยไว้ ณ โอกาสนดี้ ้วย

ลงชอ่ื ...................................................
(นายสาโรช กลา่ มอญ)

สารบัญ หนา้

คานา ก
สารบญั ข
ลกั ษณะรายวชิ า ค
ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้ ง
ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร ฌ
ตารางวิเคราะห์สมรรถนะรายวิชาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ญ
โครงการสอนหรือโครงการจัดการเรยี นรู้ ฑ
แผนการจดั การเรยี นรู้ที 1 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี 2 11
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี 3 21
แผนการจัดการเรียนรู้ที 4 31
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี 5 40
แผนการจัดการเรียนรู้ที 6 49
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี 7 58
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี 8 67
แผนการจัดการเรยี นรู้ที 9 77
แผนการจดั การเรยี นรู้ที 10 86

ลักษณะรายวิชา

รหสั วชิ า 20105-2007 ช่ือวิชา วงจรดิจทิ ลั
จา่ นวนหนว่ ยกิต 2 หนว่ ยกติ จา่ นวนชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ 4 ชว่ั โมง รวม 72 ชวั่ โมงต่อภาคเรียน

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า

1. เขา้ ใจการทา่ งานของวงจรดจิ ทิ ลั
2. มีทกั ษะในการประกอบ และทดสอบวงจรดิจิทัล
3. มีกจิ นิสยั ในการค้นคว้าหาความรเู้ พ่ิมเติมและปฏบิ ัตงิ านละเอียดรอบคอบและปลอดภยั

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั การใชง้ านวงจรดจิ ทิ ัล
2. ประกอบและทดสอบวงจรดจิ ิทัล

คาอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติงานเก่ียวกับระบบตัวเลข การค่านวณและแปลงเลขฐานต่าง ๆ รหัสไบนารี่และ
รหัสต่าง ๆ คณิตศาสตร์ทางลอจิก การลดรูปลอจกิ เกต ลอจิกไดอะแกรม วงจรบวกลบเลขไบนารี่ การ
เข้ารหัส ถอดรหัส วงจรคอมบิเนชั่นเบ้ืองต้น ฟลิปฟลอป วงจรนับ วงจรเลื่อนข้อมูล วงจรแสดงผล
หน่วยความจ่า คณุ สมบัติของไอซีตระกูลตา่ ง ๆ และการอ่านคู่มอื ไอซีดิจิทัล

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหสั วชิ า 20105-2007 ชอ่ื วชิ า วงจรดจิ ทิ ลั

จา่ นวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ยกิต จา่ นวนช่ัวโมงต่อสัปดาห์ 4 ชวั่ โมง รวม 72 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรยี น

หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้

หนว่ ยการสอนที 1 ดา้ นความรู้
ชือหน่วยการสอน ระบบตัวเลข 1. อธบิ ายเก่ยี วกับระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้
2. อธิบายความหมายของรหัสไบนาร่แี ละรหัสตา่ ง ๆ ได้
หนว่ ยการสอนที 2 3. บอกวิธีการทา่ คอมพลเี มนตเ์ ลขฐานสองไดท้ ้ัง 2
ชอื หน่วยการสอน ลอจกิ เกต แบบ
ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้
1. คา่ นวณเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
2. แปลงเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลกั ษณะทีพงึ
ประสงค์และบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
1. น่าความรเู้ ร่ืองระบบตัวเลขไปประยุกตใ์ ชใ้ น
ชีวติ ประจ่าวันได้
2. มคี วามรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านใหเ้ สร็จภายใน
เวลาทีก่ า่ หนด
ด้านความรู้
1. อธบิ ายคุณสมบตั ิของลอจิกเกตได้
2. วาดลอจกิ ไดอะแกรมได้
ด้านทกั ษะและประยกุ ต์ใช้
1. ใชต้ ารางความจรงิ แสดงการทา่ งานของลอจิกเกตได้
2. ใช้พีชคณิตลดรูปสมการลอจิกได้
3. ใช้หลกั การมนิ เทอมและแมกซเ์ ทอมเขียนสมการ
ลอจิกได้
4. ใชแ้ ผนผังคารโ์ นลดรปู สมการลอจกิ ได้
ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทีพึง
ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. นา่ ลอจิกเกตไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจ่าวันได้
2. เหน็ ความส่าคัญของการใช้เครื่องมอื และอุปกรณ์ใน
การปฏบิ ัติงานอย่างรคู้ ุณคา่

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20105-2007 ชือ่ วิชา วงจรดจิ ทิ ลั

จา่ นวนหน่วยกติ 2 หนว่ ยกิต จา่ นวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ 4 ช่ัวโมง รวม 72 ช่วั โมงต่อภาคเรียน

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หนว่ ยการสอนที 3 ด้านความรู้
ชอื หน่วยการสอน วงจรบวกลบเลขไบนารี 1. อธบิ ายวิธกี ารบวกและลบเลขฐานสอง
2. บอกหลกั การทา่ งานของวงจรบวกและลบ
หนว่ ยการสอนที 4 เลขฐานสองได้
ชอื หน่วยการสอน การเขา้ รหสั -ถอดรหสั ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้
1. ออกแบบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
2. ประกอบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทีพงึ
ประสงค์และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. เห็นคณุ คา่ ของวงจรบวกลบเลขไบนารี่
2. เหน็ ความส่าคัญของการใช้เคร่อื งมือและอุปกรณ์ใน
การปฏบิ ตั งิ านอย่างรคู้ ุณคา่
ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของการเข้ารหสั และถอดรหสั ได้
2. อธิบายหลักการเข้ารหัสได้
3. อธบิ ายหลักการถอดรหสั ได้
ด้านทักษะและประยกุ ตใ์ ช้
1. ออกแบบวงจรเขา้ รหัส-ถอดรหัสได้
2. ประกอบวงจรเข้ารหสั -ถอดรหัสได้
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทีพงึ
ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. เหน็ ความส่าคัญของการใช้เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ใน
การปฏบิ ัติงานอย่างรคู้ ุณคา่
2. เห็นประโยชนข์ องการเข้าและถอดรหสั

ตารางวิเคราะห์สมรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20105-2007 ชื่อวชิ า วงจรดจิ ิทัล

จ่านวนหนว่ ยกติ 3 หนว่ ยกิต จา่ นวนชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ 5 ชวั่ โมง รวม 90 ช่วั โมงต่อภาคเรยี น

หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนที 5 ด้านความรู้
ชือหน่วยการสอน วงจรคอมบเิ นชันเบื้องตน้ 1. อธบิ ายลกั ษณะของวงจรคอมบิเนช่นั ได้
2. บอกระดับของวงจรคอมบเิ นชัน่ ได้
ดา้ นทกั ษะและการประยกุ ตใ์ ช้
1. ออกแบบวงจรคอมบเิ นชั่นได้
2. ต่อวงจรทดลองและหาคุณลักษณะของวงจรคอม
บเิ นช่นั ได้
ด้านคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลักษณะทีพึง
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. เห็นประโยชนข์ องวงจรคอมบเิ นชั่นเบอ้ื งต้น
2. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณใ์ น
ปฏิบตั งิ านได้อย่างถูกต้อง มีความกระตือรือร้น เอาใจ
ใส่ ปฏบิ ัติงานตรงตามเวลาที่ก่าหนด

หน่วยการสอนที 6 ด้านความรู้
ชือหน่วยการสอน ฟลิปฟลอป 1. อธิบายการท่างานของฟลิปฟลอปได้
2. บอกชนิดของฟลปิ ฟลอปได้
ด้านทกั ษะและประยกุ ต์ใช้
1. ประกอบวงจรฟลิปฟลอปได้
ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะทีพงึ
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. เตรียมความพร้อมของเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ใน
ปฏิบัตงิ านได้อย่างถูกต้อง มคี วามกระตือรือรน้ เอาใจ
ใส่ ปฏิบตั ิงานตรงตามเวลาที่กา่ หนด
2. เห็นประโยชนข์ องฟลปิ ฟลอปและสามารถน่าไป
ประยกุ ต์ใชง้ านได้

ตารางวิเคราะห์สมรรถนะการเรยี นรู้

รหัสวชิ า 20105-2007 ชือ่ วชิ า วงจรดจิ ิทลั

จา่ นวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ยกิต จา่ นวนชัว่ โมงต่อสปั ดาห์ 4 ชว่ั โมง รวม 72 ช่วั โมงต่อภาคเรียน

หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

หน่วยการสอนที 7 ด้านความรู้
ชอื หน่วยการสอน วงจร 1. อธิบายการทา่ งานของวงจรนบั ได้
นบั 2. บอกประเภทของวงจรนับได้
ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้
หน่วยการสอนที 8 1. ออกแบบวงจรนับได้
ชือหน่วยการสอน วงจร ดา้ นคณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลักษณะทีพึงประสงค์และบูรณาการตาม
เลอื นขอ้ มูล หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. เตรียมความพร้อมของเคร่ืองมือและอุปกรณ์ในปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งถกู ต้อง มี
ความกระตือรือร้น เอาใจใส่ ปฏิบตั ิงานตรงตามเวลาท่ีก่าหนด
2. เห็นประโยชน์ของวงจรนบั
ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายการทา่ งานของวงจรเลือ่ นขอ้ มูลได้
2. บอกวงจรเลื่อนข้อมูลแบบตา่ งๆ ได้
3. ยกตัวอย่างการหมนุ เวียนข้อมูลแบบธรรมดาและแบบคอมพลเี มนท์ได้
ดา้ นทักษะและประยกุ ตใ์ ช้
1. สง่ ถา่ ยขอ้ มูลระหวา่ งรีจสิ เตอร์ได้
2. ใชง้ านไอซีในวงจรเลื่อนข้อมลู ได้
ดา้ นคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทีพึงประสงค์และบูรณาการตาม
หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ในปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งถกู ตอ้ ง มี
ความกระตือรือรน้ เอาใจใส่ ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่ก่าหนด
2. เห็นประโยชนข์ องวงจรเลอื่ นข้อมลู

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20105-2007 ชอ่ื วชิ า วงจรดจิ ทิ ัล

จา่ นวนหน่วยกติ 2 หนว่ ยกติ จา่ นวนชว่ั โมงต่อสัปดาห์ 4 ชั่วโมง รวม 72 ช่ัวโมงต่อภาคเรยี น

หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้

หนว่ ยการสอนที 9 ดา้ นความรู้
ชือหน่วยการสอน วงจรแสดงหนว่ ยความจา 1. อธบิ ายประเภทของหน่วยความจา่ ได้
2. บอกชนดิ ของหน่วยความจ่าได้
หนว่ ยการสอนที 10 3. วเิ คราะหโ์ ครงสร้างภายในขอหนว่ ยความจ่าได้
ชือหน่วยการสอน ไอซดี จิ ทิ ัล ดา้ นทักษะและการประยุกตใ์ ช้
1. ต่อวงจรแสดงหน่วยความจ่าได้
ดา้ นคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะทีพึง
ประสงค์และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. เตรยี มความพร้อมของเคร่ืองมือและอุปกรณใ์ น
ปฏบิ ัติงานได้อย่างถูกต้อง มคี วามกระตือรือรน้ เอาใจ
ใส่ ปฏบิ ตั ิงานตรงตามเวลาท่ีกา่ หนด
2. เหน็ ประโยชนข์ องวงจรแสดงหน่วยความจ่า
ดา้ นความรู้
1. อธิบายคุณสมบตั ิของไอซีดิจิทัลได้
2. ยกตวั อยา่ งไอซดี จิ ิทลั ได้
ด้านทกั ษะและประยุกตใ์ ช้
1. อ่านคมู่ ือไอซีดิจิทลั ได้
2. ต่อวงจรใช้งานไอซีดจิ ิทัลได้
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทีพึง
ประสงค์และบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. เตรยี มความพร้อมของเคร่ืองมือและอุปกรณใ์ น
ปฏิบตั งิ านได้อยา่ งถูกต้อง มีความกระตือรอื ร้น เอาใจ
ใส่ ปฏบิ ัตงิ านตรงตามเวลาท่ีกา่ หนด
2. เห็นประโยชน์ของไอซีดจิ ิทัล

ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร

รหสั วิชา 20105-2007 วชิ า วงจรดจิ ิทลั จา่ นวน 2 หนว่ ยกิต

ช้นั ปวช.2 สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ ห้อง 1,2,3,4,5

พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ด้านพทุ ธิพิสัย

ชอื หน่วยการสอน ความรู้ (5)
/การเรยี นรู้ ความเ ้ขาใจ (5)
1. ระบบตัวเลข นาไปใ ้ช (5)
ิวเคราะ ์ห (5)
2. ลอจกิ เกต ัสงเคราะห์ (5)
3. วงจรบวกลบเลขไบนารี่ ประเ ิมนค่า (5)
4. การเขา้ รหัส-ถอดรหัส ด้านทักษะ ิพ ัสย (5)
5. วงจรคอมบเิ นชน่ั เบือ้ งตน้ ้ดาน ิจต ิพ ัสย (5)
6. ฟลบิ ฟลอบ รวม (40)
7. วงจรนบั ลา ัดบความสาคัญ
8. วงจรเล่ือนข้อมูล จานวน ัชวโมง
9. วงจรแสดงหน่วยความจ่า
10. ไอซดี จิ ิทัล 24- - - -21 9 5 4

รวมคะแนน 2 2 2 - - - 8 2 16 1 8
ลาดับความสาคญั 22- - - -41 9 6 8
2 4 - - - - 4 1 11 2 8
22- - - -41 9 7 8
22- - - -41 9 8 4
2 2 - - - - 2 1 7 10 8
2 2 - 2 - - 4 1 11 3 8
22- - - -21 9 9 8
2 2 - 2 - - 2 2 10 4 8
20 24 2 6 0 0 36 12 100 72
32650014

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัส 20105-2007 วิชา วงจรดจิ ทิ ัล หนว่ ยกติ 2

ระดบั ช้ัน ปวช. สาขาวิชา ช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เงือนไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื หน่วยการสอน/ พอประมาณ (5)
มีเห ุตผล (5)
สมรรถนะรายวชิ า มีภูมิคุ้มกัน (5)
รอบ ู้ร (5)
รอบคอบ (5)
ระมัดระ ัวง (5)
ืซอ ัสต ์ย ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
มีส ิตปัญญา (5)
แบ่ง ัปน (5)

รวม (50)
ลา ัดบความสาคัญ

หน่วยการสอนที 1

ชือหน่วยการสอน ระบบตัวเลข

สมรรถนะประจา่ หนว่ ยการสอน

1. น่าความรู้เร่อื งระบบตัวเลขไป 4 4 - 4 4 - - - 4 - 20 8

ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจ่าวันได้

2. มีความรบั ผิดชอบในการ - 4 4 - 4 - 4 4 - - 20 9

ปฏบิ ตั ิงานใหเ้ สร็จภายในเวลาที่

ก่าหนด

หนว่ ยการสอนที 2

ชือหน่วยการสอน ลอจกิ เกต

1. นา่ ลอจิกเกตไปประยุกต์ใช้ใน 5 5 - 5 - 4 - 5 - 24 1

ชวี ติ ประจา่ วันได้

2. เหน็ ความส่าคัญของการใช้ 4 4 - 4 4 - - - 4 - 20 10

เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ในการ

ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งรู้คุณค่า

หนว่ ยการสอนที 3

ชอื หน่วยการสอน วงจรบวกลบ

เลขไบนารี

1. เหน็ คุณคา่ ของวงจรบวกลบเลขไบ 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 13

นารี่

2. เห็นความส่าคญั ของการใช้ 4 4 - 4 4 - - - 4 - 20 11

เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ในการ

ปฏบิ ตั ิงานอย่างรู้คณุ ค่า

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั 20105-2007 วชิ า วงจรดิจิทัล หน่วยกติ 2

ระดบั ชนั้ ปวช. สาขาวิชา ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงือนไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื หน่วยการสอน/ พอประมาณ (5)
สมรรถนะรายวชิ า มีเห ุตผล (5)
มีภูมิคุ้มกัน (5)
รอบ ู้ร (5)
รอบคอบ (5)
ระมัดระ ัวง (5)
ืซอ ัสตย์ ุสจริต (5)
ขยันอดทน (5)
มีส ิต ัปญญา (5)
แบ่ง ัปน (5)
รวม (50)

ลา ัดบความสาคัญ

หนว่ ยการสอนที 4

ชือหน่วยการสอน การเข้ารหสั -

ถอดรหสั

สมรรถนะประจ่าหน่วยการสอน

1. เหน็ ความส่าคญั ของการใช้ 4 4 - 4 4 - - - 4 - 20 12

เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในการ

ปฏิบตั งิ านอย่างรู้คุณค่า

2. เหน็ ประโยชน์ของการเข้าและ 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 14

ถอดรหัส

หนว่ ยการสอนที 5

ชือหน่วยการสอน วงจรคอมบิเนชัน

เบือ้ งต้น

สมรรถนะประจา่ หน่วยการสอน

1. เห็นประโยชนข์ องวงจรคอม 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 15

บิเนช่ันเบ้ืองต้น

2. เตรยี มความพร้อมของเคร่ืองมือ 4 4 - 4 4 4 - - 4 - 24 4

และอปุ กรณ์ในปฏิบตั งิ านได้อย่าง

ถูกต้อง มีความกระตือรือรน้ เอาใจใส่

ปฏิบัตงิ านตรงตามเวลาที่ก่าหนด

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั 20105-2007 วิชา วงจรดจิ ทิ ัล หน่วยกิต 2

ระดับชน้ั ปวช. สาขาวชิ า ช่างอิเล็กทรอนกิ ส์

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงอื นไข
ความรู้ คุณธรรม
พอประมาณ
ชือหน่วยการสอน/ (5)
ีมเหตุผล (5)
สมรรถนะรายวิชา มีภูมิ ุค้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระมัดระ ัวง (5)
ซือ ัสตย์สุจ ิรต
(5)
ขยันอดทน (5)
มีสติปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)

รวม (50)
ลา ัดบความสาคัญ

หนว่ ยการสอนที 6

ชือหน่วยการสอน ฟลิปฟลอป

1. เตรียมความพร้อมของเคร่ืองมือ 4 4 - 4 4 4 - - 4 - 24 2

และอปุ กรณ์ในปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ ง

ถกู ต้อง มีความกระตอื รือรน้ เอาใจใส่

ปฏบิ ตั ิงานตรงตามเวลาที่กา่ หนด

2. เหน็ ประโยชน์ของฟลิปฟลอปและ 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 16

สามารถนา่ ไปประยุกต์ใชง้ านได้

หนว่ ยการสอนที 7

ชือหน่วยการสอน ฟลิปฟลอป

1. เตรียมความพร้อมของเคร่ืองมือ 4 4 - 4 4 4 - - 4 - 24 3

และอุปกรณใ์ นปฏิบตั งิ านได้อยา่ ง

ถูกต้อง มคี วามกระตอื รือร้น เอาใจใส่

ปฏิบตั ิงานตรงตามเวลาท่ีกา่ หนด

2. เหน็ ประโยชนข์ องวงจรนบั 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 17

หน่วยการสอนที 8

ชือหน่วยการสอน วงจรเลือนข้อมูล

1. เตรียมความพร้อมของเคร่ืองมือ 4 4 - 4 4 4 - - 4 - 24 5

และอปุ กรณ์ในปฏบิ ตั ิงานได้อย่าง

ถกู ต้อง มคี วามกระตอื รือรน้ เอาใจใส่

ปฏิบตั งิ านตรงตามเวลาท่ีก่าหนด

2. เหน็ ประโยชน์ของวงจรเล่ือน 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 18

ขอ้ มูล

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั 20105-2007 วิชา วงจรดิจทิ ัล หนว่ ยกติ 2

ระดับชนั้ ปวช. สาขาวิชา ช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เงอื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชือหน่วยการสอน/ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
สมรรถนะรายวิชา ีมภู ิมคุ้ม ักน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมสติปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลา ัดบความสาคัญ

หนว่ ยการสอนที 9

ชือหน่วยการสอน วงจรแสดง

หน่วยความจา

สมรรถนะประจ่าหนว่ ยการสอน

1. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือ 4 4 - 4 4 4 - - 4 - 24 6

และอุปกรณใ์ นปฏบิ ตั ิงานได้อย่าง

ถูกต้อง มคี วามกระตอื รือร้น เอาใจใส่

ปฏิบตั ิงานตรงตามเวลาที่ก่าหนด

2. เห็นประโยชนข์ องวงจรแสดง 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 19

หน่วยความจา่

หนว่ ยการสอนที

ชือหน่วยการสอน ไอซดี จิ ิทัล

สมรรถนะประจ่าหน่วยการสอน

1. เตรยี มความพร้อมของเครื่องมือ 4 4 - 4 4 4 - - 4 - 24 7

และอปุ กรณใ์ นปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ ง

ถูกต้อง มีความกระตือรือร้น เอาใจใส่

ปฏิบัติงานตรงตามเวลาท่ีก่าหนด

2. เหน็ ประโยชน์ของไอซีดจิ ิทัล 4 4 - 4 - - - - 4 - 16 20

รวม 77 81 4 77 44 24 8 4 77 -

ลาดับความสาคญั

โครงการสอนหรือโครงการจดั การเรียนรแู้ บบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัสวชิ า 20105-2007 วชิ า วงจรดิจิทัล จานวน 2 หน่วยกติ

ชั้น ปวช. สาขาวชิ า/กลุ่ม ชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์

หน่วยที สัปดาหท์ ี ชือหน่วยการสอน/รายการสอน จานวนชวั โมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1 1 ระบบตัวเลข
2 2 ลอจิกเกต 13
3 3 วงจรบวกลบเลขไบนาร่ี 26
4 4 การเข้ารหัส-ถอดรหสั 26
5 5 วงจรคอมมเิ นช่นั เบ้ืองตน้ 26
6 6 ฟลิปฟลอป 26
7 7 วงจรนับ 13
8 8 วงจรเลอื่ นข้อมูล 26
9 9 วงจรแสดงหนว่ ยความจ่า 26
10 10 ไอซีดิจิทลั 26
26
รวม 18 54
รวมทั้งสน้ิ
72

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี

และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวชิ า 2105-2007 วชิ า วงจรดจิ ิตอล

หน่วยที 1 ชอื หนว่ ย ระบบตวั เลข

ชอื เรือง ระบบตวั เลข จานวน 4 ชัวโมง

1. สาระสาคัญ
ตัวเลขมีความส่าคัญในชีวิตประจ่าวันของคนเราเพ่ือใช้ในการบอกจ่านวนต่าง ๆ ระบบตัวเลขท่ีเราใช้

กันในชีวิตประจ่าวันนั้นคือเลขฐานสิบ แต่ในโลกของดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์กลับมีฐานเลขอื่น ๆ นอกจาก
เลขฐานสิบเพื่อใช้เป็นอินพุตและเอาต์พุตของกลไกในวงจรดิจิตอล ดังนั้นผู้ท่ีสนใจจะศึกษาเร่ืองราวของวงจร
ดิจิตอลจึงควรเรียนรรู้ ะบบฐานเลขเพอ่ื จะได้เขา้ ใจในการท่างานขอวงจรดิจิตอลไดง้ ่ายขึน้

2. สมรรถนะอาชีพประจาหนว่ ย
ด้านความรู้
1. อธิบายเกีย่ วกับระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้
2. อธบิ ายความหมายของรหสั ไบนารี่และรหสั ต่าง ๆ ได้
3. บอกวธิ กี ารท่าคอมพลเี มนต์เลขฐานสองไดท้ ั้ง 2 แบบ
ด้านทักษะและการประยกุ ต์ใช้
1. ค่านวณเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
2. แปลงเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะทีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพียง
1. น่าความรเู้ รอ่ื งระบบตวั เลขไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา่ วันได้
2. มคี วามรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ สร็จภายในเวลาท่กี ่าหนด

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 จุดประสงค์ทัวไป

1. เพ่ือใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั เลขฐานต่าง ๆ
2. เพอื่ ให้มที กั ษะในการค่านวณ และแปลงเลขฐาน
3. เพื่อน่าความร้เู ร่ืองระบบตวั เลขไปประยุกต์ใช้
3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

1. อธิบายเก่ยี วกบั ระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้
2. อธิบายความหมายของรหัสไบนารแ่ี ละรหัสตา่ ง ๆ ได้

3. บอกวธิ กี ารทา่ คอมพลเี มนตเ์ ลขฐานสองได้ทัง้ 2 แบบ
4. คา่ นวณเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
5. แปลงเลขฐานตา่ ง ๆ ได้

4. เนอื้ หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. ระบบเลขฐานสบิ
2. ระบบเลขฐานสอง
3. ระบบเลขฐานแปด
4. ระบบเลขฐานสบิ หก
5. การแปลงเลขฐานต่างๆ
6. รหัสไบนารีและรหสั ต่างๆ

4.2 ด้านทกั ษะหรือปฏบิ ัติ
1. แบบทดสอบบทที่ 1

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. แปลงเลขฐานต่าง ๆ ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ขัน้ ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมครู ข้นั ตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของผเู้ รียน

ขั้นเตรียม(จานวน 15 นาที) ข้นั เตรยี ม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะน่า 1. ผู้เรียนเตรียมหนังสือและฟังผู้สอนแนะน่า

รายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลท่ีใชก้ ับ รายวิชา วิธกี ารให้คะแนนและการประเมินผลที่ใชก้ ับ

วิชา วงจรดจิ ิตอล วชิ า วงจรดจิ ติ อล

2. ผู้สอนช้ีแจงเรื่องที่จะศึกษาและจุดประสงค์ 2. ผู้เรียนฟังผู้สอนชี้แจงเร่ืองที่จะศึกษาและ

เชิงพฤตกิ รรมประจ่าหน่วยที่ 1 เรอ่ื ง ระบบตวั เลข จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจ่าหน่วยที่ 1 เรื่อง

3. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าแบบทดสอบก่อนเรียน ระบบตัวเลข

หนว่ ยท่ี 1 3. ผเู้ รียนทา่ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 1

ข้นั การสอน(จานวน 240 นาท)ี ขั้นการสอน(จานวน 240 นาที)

1. ผู้สอนเปิดงานน่าเสนอวิชาวงจรดิจิตอล 1. ผู้เรียนฟังงานน่าเสนอวิชาวงจรดิจิตอล

หน่วยที่ 1 เร่ือง ระบบตัวเลข หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง ระบบตัวเลข

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจร 2. ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจรดิจิตอล

ดิจิตอล หน่วยท่ี 1 เร่ือง ระบบตัวเลข และอธิบาย หน่วยที่ 1 ระบบตัวเลข และฟงั ผ้สู อนอธบิ ายเนือ้ หา

เนือ้ หาใหผ้ ้เู รยี นฟัง 3. ผูเ้ รยี นท่าใบงานท่ี 1 ระบบตัวเลข

3. ผ้สู อนให้ผู้เรียนทา่ ใบงานที่ 1 ระบบตัวเลข

ขั้นสรปุ (จานวน 45 นาท)ี ขั้นสรปุ (จานวน 45 นาท)ี

1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อในหน่วย 1. ผเู้ รยี นและผสู้ อนรว่ มกันสรปุ เนื้อหาในหนว่ ย

เรยี นที่ 1 เรื่อง ระบบตัวเลข เรียนที่ 1 เร่อื ง ระบบตวั เลข

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าแบบทดสอบหลังเรียน 2. ผเู้ รียนทา่ แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1

6. สือการเรยี นการสอน/การเรียนรู้

6.1 สือสงิ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรดิจติ อล
2. ใบความรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง ระบบตัวเลข
3. ใบงานที่ 1 ระบบตวั เลข
4. แบบทดสอบบทที่ 1 สรุปและประเมนิ ผล ข้อ 2

6.2 สือโสตทศั น์
1. Power Point เรื่อง ระบบตวั เลข

6.3 สือของจริง

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา

1. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลยั การอาชีพสวา่ งแดนดิน
2. ห้องอินเตอร์เน็ตวทิ ยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดิน

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา

1. ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติอ่าเภอสว่างแดนดนิ
2. หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกุมารีอ่าเภอสวา่ งแดนดนิ

8. งานทีมอบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. ผ้เู รียนท่าแบบทดสอบก่อนเรียน

8.2 ขณะเรียน
1. ศึกษาเนื้อหา ในบทท่ี 1 เร่ือง สารกง่ึ ตัวนา่
2. รายงานผลหนา้ ชั้นเรียน
3. ปฏบิ ตั ิใบปฏบิ ตั งิ านท่ี 1 เรอ่ื ง ระบบตวั เลข
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรียน
1. ทา่ แบบฝึกหดั บทท่ี 1

9. ผลงาน/ชิ้นงาน ทีเกดิ จากการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น

1. แบบฝกึ หดั บทท่ี 1 ใบปฏิบตั ิงานที่ 1
2. ตรวจผลงาน

10. เอกสารอ้างองิ

1. สรจุ ณัฐ นารถเมธี . วงจรดจิ ิตอล : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั รายวิชาอนื

1. บูรณาการกับวิชางานไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้
2. บรู ณาการกบั วชิ าเคร่ืองมือวัดไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์

12. หลกั การประเมินผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรียน
1. ตรวจผลงานตามใบปฏบิ ัตงิ านที่ 1
2. สงั เกตการปฏิบัตงิ าน

12.2 ขณะเรยี น
-

12.3 หลังเรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หดั บทท่ี 1
2. ตรวจแบบแบบฝกึ หดั ผลการเรยี นรู้

13. รายละเอียดการประเมินผลการเรียน

จดุ ประสงคข์ ้อที 1 อธิบายเกยี่ วกับระบบเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถอธิบายเกี่ยวกับระบบเลขฐานตา่ ง ๆ ได้ 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผา่ น : อธบิ ายเกี่ยวกบั ระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้ ได้คะแนน 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ อ้ ที 2 อธบิ ายความหมายของรหัสไบนารแ่ี ละรหัสตา่ ง ๆ ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธิบายความหมายของรหัสไบนารแ่ี ละรหสั ตา่ ง ๆ ได้ 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ได้คะแนน 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ อ้ ที 3 บอกวิธีการท่าคอมพลีเมนตเ์ ลขฐานสองไดท้ ง้ั 2 แบบ
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบอกวธิ กี ารทา่ คอมพลีเมนต์เลขฐานสองไดท้ งั้ 2 แบบ 1 คะแนน
4. เกณฑ์การผา่ น : ไดค้ ะแนน 1 คะแนน

จดุ ประสงคข์ ้อที 4 คา่ นวณเลขฐานต่าง ๆ ได้
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : คา่ นวณเลขฐานต่าง ๆ ได้ จ่านวน 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ได้คะแนน 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ อ้ ที 5 แปลงเลขฐานต่าง ๆ ได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถแปลงเลขฐานต่าง ๆ ได้ จ่านวน 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผา่ น : ได้คะแนน 2 คะแนน

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

หนว่ ยการสอนที ชอื หนว่ ยการสอน
วตั ถุประสงค์ เพอื

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการสอนที 1 ชือหน่วยการสอน
วัตถปุ ระสงค์ เพือ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

หน่วยการสอนที 1 ชือหน่วยการสอน 16. ใบความรู้ที 1
หวั ข้อเรือง ระบบตวั เลข
1.1 ระบบเลขฐานสิบ ระบบตัวเลข

ระบบเลขฐานสิบคือระบบเลขท่เี ราใช้กนั อยทู่ กุ วนั นี้ ระบบเลขฐานสิบมตี ัวเลข10ตัว ไดแ้ ก่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 เม่ือรวมกบั ค่าน่้าหนกั ซ่งึ เท่ากบั 10nโดยตัวอกั ษร n คือคา่ ต่าแหน่งประจ่าหลักของ
ตัวเลขตวั นั้น เชน่ หลกั หน่วยมีคา่ ประจ่าหลกั เทา่ กบั 0 หลกั สิบมคี า่ ประจา่ หลักเท่ากบั 1 เป็นตน้

1.2 ระบบเลขฐานสอง (Binary Number)

ระบบเลขฐานสองเป็นฐานเลขท่ีใช้เป็นอนิ พตุ ในวงจรดจิ ิตอล ตวั เลขในระบบฐานเลขนี้จะมีแค่ 2 ตวั
คอื 1 กบั 0 ใช้แทนสถานะ เปดิ (ON) กบั ปิด(OFF) ของสวิตช์ โดย 1 แทนสภานะเปดิ (ON) 0 แทนสถานะปิด
(OFF) เลขฐานสองสามารถน่ามาเรยี งเป็นชดุ รหสั แลว้ แปลความหมายเปน็ เลขฐานสบิ หรือเอาต์พุตในแบบอืน่
ๆ ไดซ้ ึง่ ระบบเลขฐานสองมคี ่าประจ่าหลักเทา่ กับ 2n โดยตวั อกั ษร n คือค่าต่าแหนง่ ประจ่าหลักของตัวเลขตัว
นน้ั

1.3ระบบเลขฐานแปด (Octal Number)

ระบบเลขฐานแปดมีตวั เลข 8 ตัว ไดแ้ ก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 แปลคา่ รหัสเหมือนกับเลขฐานสิบและฐาน
สองคือการนา่ ตัวเลขไปคูณกับค่าประจ่าหลกั เพื่อให้ได้ค่าน้่าหนักของรหสั เลขชุดน้นั ออกมา โดยระบบเลขฐาน
แปดมคี ่าประจา่ หลักเท่ากับ 8n โดยตัวอักษร n คอื คา่ ตา่ แหน่งประจ่าหลักของตัวเลขตวั นน้ั

1.4 ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number)

ระบบเลขฐานสิบหกนิยมใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ ใชใ้ นการเขียนโปแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เพราะใช้
พืน้ ทีน่ ้อยในการเขยี นรหสั ระบบเลขฐานสบิ หกมีตวั เลข 16 ตัว ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
โดย A มีค่าเทา่ กับ 10 ของเลขฐานสิบ ส่วน B เท่ากับ 11, Cเทา่ กบั 12, Dเท่ากับ 13, Eเทา่ กบั 14, Fเท่ากบั
15 ทา่ ใหเ้ ขยี นรหัสสนั้ ลงเพราะเลขสองหลักถูกแทนให้แหลือหลักเดียว

1.5 การแปลงเลขฐานตา่ ง ๆ

1.5.1การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
การแปลงเลขฐานสบิ เปน็ เลขฐานสองแยกวธิ ีการคา่ นวณเป็นสองแบบคือ ถา้ โจทย์เปน็ จ่านวนเต็ม

และถา้ โจทย์เปน็ จ่านวนหลงั จุดทศนิยม ซ่ึงมวี ธิ คี า่ นวณท่ีต่างกนั ดงั น้ี

1.5.1.1 จ่านวนเตม็

ใหใ้ ช้เลข 2 หารเลขฐานสบิ ไปเรอ่ื ย ๆ จนเหลอื 1หรือ0 เศษจากการหารแต่ละครง้ั ก็คือค่าตอบโดย
เศษทีเ่ หลือจากการหารครงั้ สุดทา้ ยจะเป็นบิทสงู สุด และเศษจากการหารครัง้ แรกจะเปน็ บิทต่าสดุ

1.6 รหสั ไบนารีและรหสั ตา่ ง ๆ

รหัสคือการจัดกลุม่ ของเลขเพอ่ื ใชแ้ ทนสญั ลกั ษณ์ (symbol) แทนความหมายส่งิ ทตี่ อ้ งการ ลกั ษณะ
การจัดกล่มุ แบบตา่ งๆมดี ังนี้ บทิ (Bit) ข้อมลู 1ตัว (Digit) กรณขี องเลขฐานสอง 4บิท เท่ากบั 1ดิจิต ข้อมูล 8บทิ
เทา่ กับ 1ไบต(์ Byte)

หนว่ ยการสอนที 17. ใบงานที 1
หวั ข้อเรอื ง
ชอื หน่วยการสอน

18. แบบประเมินผล

............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................... ........
........................................................................................................................... ...................................................

19. แบบฝกึ หดั

.................................................................................................................................................................................................

20. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรแู้ บบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจัดการเรียนรู้

รายการ ระดบั การปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรียมการสอน

1.จัดหน่วยการเรยี นรู้ไดส้ อดคล้องกับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กา่ หนดเกณฑก์ ารประเมินครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพสิ ยั

3. เตรียมวสั ดุ-อุปกรณ์ สอ่ื นวตั กรรม กจิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ก่อนเข้า

สอน

ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

4. มวี ิธกี ารน่าเข้าสบู่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มกี จิ กรรมทหี่ ลากหลาย เพ่ือชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ ความเข้าใจ

6. จดั กิจกรรมที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนค้นควา้ เพ่ือหาค่าตอบดว้ ยตนเอง

7. นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

8. จัดกจิ กรรมท่เี นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )

9. กระต้นุ ให้ผเู้ รียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่เี ชอ่ื มโยงกบั ชวี ิตจริงโดยนา่ ภมู ิปัญญา/บูรณาการเข้ามามี

ส่วนร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเม่อื นักเรียนปฏิบตั ิ หรือตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อย่างท่ัวถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทีก่ า่ หนด

ด้านสือ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใช้สือ่ ท่ีเหมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรยี น

17. ใชส้ ือ่ แหลง่ การเรยี นรูอ้ ย่างหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานที่ ของจริง เอกสารส่ือ

อเิ ล็กทรอนิกส์ และอนิ เทอร์เน็ต เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใสด่ ูแลผูเ้ รียน อย่างทั่วถึง

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาท่กี า่ หนด

ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล

18. ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการก่าหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล

19. ประเมินผลอย่างหลากหลายและครบทั้งด้านความรู้ ทักษะ และจิตพสิ ัย

20. ครู ผเู้ รียน ผปู้ กครอง หรอื ผทู้ ี่เกยี่ วขอ้ งมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏิบตั ิ 5 = ปฏิบัติดเี ยย่ี ม 4 = ปฏิบตั ดิ ี 3 = ปฏิบัติ รวม

พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่มีการปฏิบัติ เฉลยี

20.2 ปญั หาทีพบ และแนวทางแกป้ ัญหา

ปญั หาทีพบ แนวทางแก้ปญั หา

ด้านการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านสือ นวัตกรรม แหล่งการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการวัดประเมินผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นอืน ๆ (โปรดระบเุ ปน็ ข้อ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงช่อื ........................................................................ ครูผสู้ อน
(นายสาโรช กล่ามอญ)
ตา่ แหนง่ ครู

............../.................................../....................

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพ

และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วิชา 2105-2007 วชิ า วงจรดจิ ติ อล

หน่วยที 2 ชอื หนว่ ย ลอจิกเกต

ชอื เรอื ง ลอจิกเกต จานวน 8 ชวั โมง

1. สาระสาคัญ
ลอจกิ เกต กค็ ือตวั ดา่ เนินการในวงจรดจิ ิตอลท่าใหเ้ กิดผลลัพธ์ในแบบตา่ ง ๆ ลอจกิ เกต มีตัวดา่ เนินการ

หลายรูปแบบ ท่ีอ้างอิงตัวด่าเนินการทางคณิตศาสตร์ และเราสามารถใช้ตารางความจริงในการพิสูจน์ผลลัพธ์
ได้ด้วย และในการเขียนสมการเพ่ือออกแบบวงจร เราสามารถใช้ พีชคณิตบูลีน และแผนผังคาร์โน ช่วยลดรูป
สมการ เพอ่ื ให้ไดผ้ ลลพั ธต์ ามทต่ี ้องการได้

2. สมรรถนะอาชพี ประจาหน่วย
ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายคุณสมบตั ขิ องลอจิกเกต
2. วาดลอจกิ ไดอะแกรม
ด้านทักษะและการประยกุ ต์ใช้
1. ใชต้ ารางความจริงแสดงการท่างานของลอจิกเกต
2. ใช้พชี คณติ ลดรปู สมการลอจกิ
3. ใชห้ ลกั การมนิ เทอมและแมกซ์เทอมเขยี นสมการลอจิก
4. ใช้แผนผงั คารโ์ นลดรปู สมการลอจกิ
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพยี ง
1. นา่ ลอจกิ เกตไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจ่าวนั ได้
2. เห็นความสา่ คัญของการใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ในการปฏบิ ัติงานอย่างรู้คณุ ค่า

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จุดประสงคท์ ัวไป

1. เพอ่ื ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั คณุ สมบัตขิ องลอจิกเกต
2. เพอ่ื ให้มีทกั ษะในการนา่ ลอจิกเกตไปใช้ในวงจรดิจติ อล
3. เพ่ือน่าความรู้เร่ืองลอจกิ เกตไปประยุกต์ใช้
3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. อธิบายคุณสมบตั ิของลอจิกเกตได้
2. วาดลอจิกไดอะแกรมได้

3. ใช้ตารางความจริงแสดงการท่างานของลอจกิ เกตได้
4. ใชพ้ ชี คณิตลดรปู สมการลอจิกได้
5. ใช้หลกั การมินเทอมและแมกซเ์ ทอมเขียนสมการลอจิกได้
6. ใชแ้ ผนผังคารโ์ นลดรูปสมการลอจกิ ได้

4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ด้านความรู้
1. ลอจกิ เกตพน้ื ฐาน
2. ตารางความจรงิ
3. พชี คณติ บลู นี
4. หลักการเขียนสมการลอจกิ
5. แผนผังคาร์โน

4.2 ดา้ นทักษะหรือปฏิบัติ
1. แบบทดสอบหน่วยท่ี 2

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ต่อใช้งานลอจิกเกตไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของผเู้ รียน

ขัน้ เตรียม(จานวน 15 นาที) ข้นั เตรียม(จานวน 15 นาที )

4. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะน่า 4. ผู้เรียนเตรียมหนังสือและฟังผู้สอนแนะน่า

รายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใชก้ ับ รายวิชา วธิ กี ารให้คะแนนและการประเมินผลที่ใช้กับ

วชิ า วงจรดจิ ิตอล วิชา วงจรดจิ ติ อล

5. ผู้สอนชี้แจงเรื่องท่ีจะศึกษาและจุดประสงค์ 5. ผู้เรียนฟังผู้สอนชี้แจงเรื่องท่ีจะศึกษาและ

เชงิ พฤติกรรมประจา่ หน่วยท่ี 2 เร่อื ง ลอจิกเกต จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจ่าหน่วยที่ 2 เร่ือง

6. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าแบบทดสอบก่อนเรียน ลอจิกเกต

หน่วยท่ี 2 6. ผู้เรยี นท่าแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยท่ี 2

ขน้ั การสอน(จานวน 180 นาที) ข้ันการสอน(จานวน 180 นาที)

4. ผู้สอนเปิดงานน่าเสนอวิชาวงจรดิจิตอล 1. ผู้เรียนฟังงานน่าเสนอวิชาวงจรดิจิตอล

หน่วยท่ี 2 เรือ่ ง ลอจิกเกต หน่วยท่ี 2 เรอ่ื ง ลอจิกเกต

5. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจร 2. ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจรดิจิตอล

ดจิ ิตอล หน่วยท่ี 2 เร่อื ง ลอจิกเกต และอธิบายเนื้อหา หนว่ ยท่ี 2 ลอจิกเกต และฟงั ผสู้ อนอธิบายเนือ้ หา

ให้ผเู้ รยี นฟัง 3. ผูเ้ รียนทา่ ใบงานที่ 2 ลอจิกเกต

6. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นทา่ ใบงานท่ี 2 ลอจิกเกต

ขน้ั สรุป(จานวน 45 นาที) ข้นั สรปุ (จานวน 45 นาที)

3. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อในหน่วย 3. ผูเ้ รียนและผู้สอนร่วมกันสรปุ เน้ือหาในหนว่ ย

เรยี นท่ี 2 เรื่อง ลอจิกเกต เรียนที่ 2 เร่อื ง ลอจิกเกต

4. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าแบบทดสอบหลังเรียน 4. ผเู้ รียนทา่ แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 2

หนว่ ยที่ 2

6. สอื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สือสงิ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรดิจติ อล
2. ใบความรทู้ ่ี 2 เร่ือง ลอจกิ เกต
3. ใบงานท่ี 2 ลอจิกเกต
4. แบบทดสอบบทที่ 2 สรุปและประเมนิ ผล ข้อ 2

6.2 สือโสตทัศน์
1. Power Point เรื่อง ลอจิกเกต

6.3 สือของจรงิ

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา

1. ห้องสมดุ วิทยาลัยการอาชีพสว่างแดนดนิ
2. ห้องอนิ เตอร์เน็ตวทิ ยาลยั การอาชีพสว่างแดนดนิ

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา

1. ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกียรติอ่าเภอสวา่ งแดนดิน
2. ห้องสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารีอ่าเภอสว่างแดนดิน

8. งานทมี อบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. ผเู้ รยี นท่าแบบทดสอบก่อนเรียน

8.2 ขณะเรียน
1. ศกึ ษาเน้ือหา ในบทที่ 2 เรื่อง ลอจิกเกต
2. รายงานผลหน้าชน้ั เรยี น
3. ปฏบิ ัตใิ บปฏบิ ัตงิ านที่ 2 เรือ่ ง ลอจกิ เกต

4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรยี น
1. ทา่ แบบฝกึ หัดบทที่ 2

9. ผลงาน/ช้ินงาน ทีเกิดจากการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน

1. แบบฝึกหัดบทที่ 2 ใบปฏิบัตงิ านท่ี 2
2. ตรวจผลงาน

10. เอกสารอา้ งองิ

1. สรจุ ณฐั นารถเมธี . วงจรดจิ ิตอล : ศนู ย์สง่ เสรมิ อาชีวะ (ศสอ)

11. การบูรณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั รายวิชาอืน

1. บูรณาการกับวชิ างานไฟฟ้าอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองต้น
2. บรู ณาการกบั วชิ าเคร่ืองมือวัดไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรียน
1. ตรวจผลงานตามใบปฏิบัติงานที่ 2
2. สงั เกตการปฏบิ ัติงาน

12.2 ขณะเรียน
-

12.3 หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หดั บทท่ี 2
2. ตรวจแบบแบบฝึกหัดผลการเรยี นรู้

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียน

จดุ ประสงค์ขอ้ ที 1 อธบิ ายเกย่ี วกบั ระบบเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธิบายเก่ยี วกับระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้ 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : อธิบายเก่ียวกับระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้ ได้คะแนน 2 คะแนน

จุดประสงคข์ อ้ ที 2 อธบิ ายความหมายของรหสั ไบนาร่แี ละรหัสตา่ ง ๆ ได้
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายความหมายของรหัสไบนารี่และรหสั ตา่ ง ๆ ได้ 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ได้คะแนน 2 คะแนน
จุดประสงค์ข้อที 3 บอกวธิ ีการท่าคอมพลีเมนต์เลขฐานสองได้ท้งั 2 แบบ
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถบอกวธิ กี ารทา่ คอมพลีเมนตเ์ ลขฐานสองได้ทง้ั 2 แบบ 1 คะแนน
4. เกณฑ์การผา่ น : ได้คะแนน 1 คะแนน

จุดประสงค์ข้อที 4 คา่ นวณเลขฐานต่าง ๆ ได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : ค่านวณเลขฐานตา่ ง ๆ ได้ จา่ นวน 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ได้คะแนน 2 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที 5 แปลงเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถแปลงเลขฐานตา่ ง ๆ ได้ จา่ นวน 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ไดค้ ะแนน 2 คะแนน

14. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยการสอนที ชือหนว่ ยการสอน
วตั ถปุ ระสงค์ เพอื

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

หน่วยการสอนที 1 ชือหน่วยการสอน
วตั ถุประสงค์ เพือ

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น



หนว่ ยการสอนที 2 ชือหนว่ ยการสอน 16. ใบความรู้ที 2
หวั ข้อเรือง ลอจิกเกต
2.1 ลอจกิ เกตพน้ื ฐาน ลอจกิ เกต

การแสดงค่าของวงจรดิจติ อล จะก่าหนดให้มีเพียง 2 สภาวะ คือ 0 กับ 1 ท่ีเวลาต่างๆ เรียกว่า ระดับ
ลอจิก (Logic Level)เรามักแทนสภาวะท้ังสองด้วยระดบั แรงดนั 2 ระดับ คอื

-+5V แทนลอจิก 1 สภาวะ ไฮ(High) วงจรปดิ (ON) หรอื ถกู (True)

- 0V แทนลอจกิ 0 สภาวะ โลว์ (Low) วงจรเปิด (OFF) หรือ ผดิ (ON)

ลอจิกเกต จะเปน็ ตวั ด่าเนนิ การใหเ้ กิดสถานะแบบตา่ งตา่ งเงอ่ื นไขของเกตแตล่ ะชนิด

2.1.1 แอนดเ์ กต (AND Gate)

AND Gate เมือ่ อนิ พุทสองตัวANDกันผลลพั ธจ์ ะเทา่ กบั 1เมื่อ อนิ พุทท้ัง2 ตวั เป็น1 หรอื มผี ลคลา้ ยกับ
การคูณ

2.1.2 ออรเ์ กต (OR Gate)

OR เม่ืออินพุทสองตัวORกันผลลัพธ์จะเท่ากับ1เม่ือ อนิ พุทตัวใดตวั หนึ่งเปน็ 1 หรือมีผลคลา้ ยกับการ
บวก

2.1.3 นอตเกต (NOT Gate)

NOT เม่อื อินพุทถูก NOT ผลลัพธ์ที่ไดจ้ ะตรงขา้ มกบั อนิ พุท
2.1.4 แนนดเ์ กต (NAND Gate)

คอื แอนดเ์ กตที่ต่อนอตเกตเพม่ิ เข้าที่เอาท์พทุ (NAND Gate = AND Gate + Not Gate)
2.1.5 นอรเ์ กต (NOR Gate)

คอื ออรเ์ กตทตี่ ่อนอตเกตเพิ่มเข้าท่ีเอาท์พทุ (NOR Gate = OR Gate + Not Gate)
2.1.6 เอ็กซ์คลซู ีฟนอร์เกต(EXCLUSIVE NOR Gate)

อาจเรียกสัน้ ๆวา่ “เอ็กซ์ นอรเ์ กต(EX-NOR Gate)” หรือ XNOR
2.1.7 เอก็ ซ์คลูซีฟออร์เกต(EXCLUSIVE OR Gate)

อาจเรียกส้นั ๆว่า “เอ็กซ์ ออรเ์ กต(EX-OR Gate)” หรือ XOR
2.2 ตารางความจรงิ (Truth Table)

ตารางความจริง(Truth Table) คอื ตารางทีแ่ สดงค่าเอาท์พุทของฟังช่นั Functionจ่านวนแถวใน
ตารางความจรงิ มีคา่ เทา่ กบั 2nเมอื่ n คือ จ่านวนตวั แปรด้านอนิ พตุ
2.3พีชคณติ บลู นี (Boolean Algebra Theorem)

2.4 หลักการเขียนสมการลอจิก (Logic Expression)

2.5แผนผงั คาร์โน

17. ใบงานที.............

หน่วยการสอนที ชือหน่วยการสอน

หัวข้อเรอื ง

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

18. แบบประเมินผล

........................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................................
............................................................................................................................. .................................................

19. แบบฝึกหดั

.................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

20. บนั ทึกผลหลงั การจดั การเรียนร้แู บบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

20.1 สรุปผลการจัดการเรียนรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หน่วยการเรียนรไู้ ดส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. ก่าหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านจิตพิสยั

3. เตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรยี นรู้ก่อนเข้า

สอน

ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

4. มวี ิธีการน่าเขา้ สบู่ ทเรยี นที่นา่ สนใจ

5. มีกิจกรรมทีห่ ลากหลาย เพ่ือชว่ ยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ ความเข้าใจ

6. จัดกจิ กรรมทส่ี ่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคน้ คว้าเพ่ือหาค่าตอบด้วยตนเอง

7. นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

8. จัดกิจกรรมทเี่ น้นกระบวนการคิด ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตุ้นให้ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เห็นอย่างเสรี

10. จัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ เี่ ช่อื มโยงกับชีวิตจรงิ โดยน่าภมู ิปญั ญา/บูรณาการเขา้ มามี

สว่ นรว่ ม

11. จัดกจิ กรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รยี น

14. เอาใจใส่ดแู ลผ้เู รียน อย่างทัว่ ถึง

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาทีก่ า่ หนด

ด้านสอื นวัตกรรม แหลง่ การเรียนรู้

16. ใช้สอื่ ท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน

17. ใช้ส่ือ แหลง่ การเรียนรู้อย่างหลากหลาย เช่น บคุ คล สถานที่ ของจริง เอกสารสื่อ

อิเลก็ ทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เปน็ ต้น

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผเู้ รยี น อย่างท่วั ถึง

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาที่กา่ หนด

ดา้ นการวัดและประเมนิ ผล

18. ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการก่าหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล

19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบท้ังดา้ นความรู้ ทักษะ และจิตพิสัย

20. ครู ผเู้ รียน ผปู้ กครอง หรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งมสี ่วนรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏิบตั ิ 5 = ปฏบิ ตั ดิ ีเย่ยี ม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = ปฏิบตั ิ รวม

พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไมม่ ีการปฏิบัติ เฉลยี

20.2 ปญั หาทีพบ และแนวทางแกป้ ัญหา

ปญั หาทีพบ แนวทางแกป้ ญั หา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านสือ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการวัดประเมินผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นอืน ๆ (โปรดระบเุ ปน็ ข้อ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงชื่อ ........................................................................ ครูผสู้ อน

(นายสาโรช กล่ามอญ)

ตา่ แหน่ง ครู

............../.................................../....................

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี

และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวชิ า 2105-2007 วิชา วงจรดจิ ิตอล

หน่วยที 3 ชอื หน่วย การบวกลบเลขไบนาร่ี

ชือเรือง การบวกลบเลขไบนารี่ จานวน 8 ชัวโมง

1. สาระสาคัญ
วงจรดิจิตอลเปน็ วงจรทที่ า่ งานกับฐานเลข จึงต้องเก่ยี วข้องกบั การค่านวณ และตอ้ งทา่ งานด้วยลอจกิ

เกท เพื่อสรา้ งกลไกแบบต่างใหเ้ ปน็ ไปตามต้องการด้วย การบวกลบเลขไบนารน่ี ่จี ึงไม่ใช่แคน่ บั เลขไดแ้ ต่ต้องรูถ้ ึง
หลักการออกแบบลอจิก เกท ให้แสดงเอาต์พุตตามทตี่ ้องการไดด้ ้วย

2. สมรรถนะอาชพี ประจาหน่วย
ดา้ นความรู้
1. อธิบายวธิ กี ารบวกและลบเลขฐานสอง
2. บอกหลกั การทา่ งานของวงจรบวกและลบเลขฐานสอง
ด้านทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้
1. ออกแบบวงจรบวกและลบเลขฐานสอง
2. ประกอบวงจรบวกและลบเลขฐานสอง
ด้านคณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทีพงึ ประสงค์และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง
1. เหน็ คุณคา่ ของวงจรบวกลบเลขไบนารี่
2. เห็นความสา่ คัญของการใช้เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งรู้คณุ ค่า

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จดุ ประสงคท์ ัวไป

1. เพอื่ ให้มคี วามร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกับวงจรบวกและลบเลขไบนาร่ี
2. เพือ่ ให้มที ักษะในการออกแบบและประกอบวงจรบวกและลบเลขไบนารี่
3. เพือ่ น่าความรเู้ รื่องวงจรบวกและลบเลขไบนารี่ไปประยุกต์ใช้
3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

1. อธบิ ายวธิ ีการบวกและลบเลขฐานสองได้
2. บอกหลกั การทา่ งานของวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
3. ออกแบบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
4. ประกอบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้

4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. การบวกเลขฐานสอง
2. วงจรบวกเลขฐานสองแบบไม่รวมตัวทดเข้า
3. วงจรบวกเลขฐานสองแบบรวมตัวทดเข้า
4. วงจรบวกเลขฐานสองแบบขนาน
5. การลบเลขฐานสอง
6. วงจรลบเลขฐานสองแบบไมร่ วมตวั ยืมเข้า
7. วงจรลบเลขฐานสองแบบรวมตัวยมื เขา้
8. วงจรลบเลขฐานสองแบบขนาน

4.2 ดา้ นทกั ษะหรือปฏิบตั ิ
1. แบบทดสอบหนว่ ยที่ 3

4.3 ดา้ นคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. คา่ นวณการบวกลบเลขฐานได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมครู ขั้นตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของผู้เรียน

ข้นั เตรียม(จานวน 15 นาที) ข้นั เตรยี ม(จานวน 15 นาที )

7. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะน่า 7. ผู้เรียนเตรียมหนังสือและฟังผู้สอนแนะน่า

รายวิชา วธิ ีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใชก้ ับ รายวิชา วธิ ีการให้คะแนนและการประเมนิ ผลที่ใชก้ ับ

วชิ า วงจรดิจติ อล วชิ า วงจรดจิ ิตอล

8. ผู้สอนชี้แจงเรื่องที่จะศึกษาและจุดประสงค์ 8. ผู้เรียนฟังผู้สอนชี้แจงเร่ืองท่ีจะศึกษาและ

เชิงพฤติกรรมประจ่าหน่วยท่ี 3 เรื่อง การบวกลบ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจ่าหน่วยท่ี 3 เรื่อง การ

เลขไบนาร่ี บวกลบเลขไบนาร่ี

9. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าแบบทดสอบก่อนเรียน 9. ผู้เรยี นท่าแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยท่ี 3

หน่วยที่ 3

ขนั้ การสอน(จานวน 180 นาท)ี ขน้ั การสอน(จานวน 180 นาที)

7. ผู้สอนเปิดงานน่าเสนอวิชาวงจรดิจิตอล 1. ผู้เรียนฟังงานน่าเสนอวิชาวงจรดิจิตอล

หนว่ ยที่ 3 เรือ่ ง การบวกลบเลขไบนาร่ี หน่วยท่ี 3 เร่ือง การบวกลบเลขไบนาร่ี

8. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจร 2. ผู้เรียนเปิดหนังสือเรียนวิชาวงจรดิจิตอล

ดิจิตอล หน่วยที่ 3 เรื่อง การบวกลบเลขไบนาร่ี และ หน่วยที่ 3 การบวกลบเลขไบนารี่ และฟังผู้สอน

อธบิ ายเน้อื หาใหผ้ ้เู รียนฟงั อธบิ ายเนอื้ หา

9. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าใบงานที่ 3 การบวกลบ 3. ผ้เู รียนท่าใบงานที่ 3 การบวกลบเลขไบนาร่ี

เลขไบนารี่

ข้นั สรุป(จานวน 45 นาที) ข้นั สรุป(จานวน 45 นาท)ี

5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือในหน่วย 5. ผูเ้ รียนและผสู้ อนรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาในหน่วย

เรยี นท่ี 3 เร่ือง การบวกลบเลขไบนารี่ เรยี นที่ 3 เรอ่ื ง การบวกลบเลขไบนาร่ี

6. ผู้สอนให้ผู้เรียนท่าแบบทดสอบหลังเรียน 6. ผู้เรยี นท่าแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยท่ี 3

หนว่ ยที่ 3

6. สอื การเรียนการสอน/การเรียนรู้

6.1 สือสิงพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรดจิ ติ อล
2. ใบความรทู้ ่ี 3 เร่อื ง การบวกลบเลขไบนารี่
3. ใบงานท่ี 3 การบวกลบเลขไบนาร่ี
4. แบบทดสอบบทที่ 3 สรปุ และประเมนิ ผล ข้อ 2

6.2 สือโสตทัศน์
1. Power Point เร่อื ง การบวกลบเลขไบนาร่ี

6.3 สือของจริง

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา

1. หอ้ งสมุดวิทยาลยั การอาชีพสวา่ งแดนดิน
2. หอ้ งอินเตอร์เนต็ วิทยาลยั การอาชีพสวา่ งแดนดิน

7.2 ภายนอกสถานศึกษา

1. หอ้ งสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติอ่าเภอสวา่ งแดนดนิ
2. หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกุมารอี ่าเภอสว่างแดนดนิ

8. งานทมี อบหมาย

8.1 ก่อนเรียน
1. ผ้เู รยี นท่าแบบทดสอบกอ่ นเรียน

8.2 ขณะเรยี น
1. ศึกษาเนื้อหา ในบทท่ี 3 เร่ือง การบวกลบเลขไบนารี่
2. รายงานผลหน้าชน้ั เรยี น

3. ปฏิบัตใิ บปฏบิ ัติงานที่ 3 เร่ือง การบวกลบเลขไบนาร่ี
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรยี น
1. ท่าแบบฝึกหดั บทท่ี 3

9. ผลงาน/ช้นิ งาน ทเี กดิ จากการเรียนรู้ของผู้เรียน

1. แบบฝึกหดั บทที่ 3 ใบปฏิบตั ิงานท่ี 3
2. ตรวจผลงาน

10. เอกสารอา้ งอิง

1. สรุจณฐั นารถเมธี . วงจรดิจติ อล : ศนู ยส์ ่งเสริมอาชวี ะ (ศสอ)

11. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กับรายวชิ าอนื

1. บูรณาการกบั วชิ างานไฟฟ้าอิเล็กทรอนกิ ส์เบ้ืองต้น
2. บรู ณาการกบั วิชาเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรียน
1. ตรวจผลงานตามใบปฏบิ ตั ิงานที่ 3
2. สงั เกตการปฏบิ ตั ิงาน

12.2 ขณะเรยี น
-

12.3 หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบฝึกหัด บทท่ี 3
2. ตรวจแบบแบบฝึกหัดผลการเรยี นรู้

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียน

จุดประสงคข์ อ้ ที 1 อธิบายวธิ กี ารบวกและลบเลขฐานสองได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถอธบิ ายวธิ กี ารบวกและลบเลขฐานสองได้ 2 คะแนน

4. เกณฑก์ ารผ่าน : ได้คะแนน 2 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที 2 บอกหลกั การทา่ งานของวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบอกหลักการทา่ งานของวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้ 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ไดค้ ะแนน 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ อ้ ที 3 ออกแบบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถออกแบบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้ 1 คะแนน
4. เกณฑ์การผ่าน : ไดค้ ะแนน 1 คะแนน

จุดประสงค์ขอ้ ที 4 ประกอบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : ประกอบวงจรบวกและลบเลขฐานสองได้จ่านวน 2 คะแนน
4. เกณฑ์การผา่ น : ได้คะแนน 2 คะแนน

14. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยการสอนที ชอื หน่วยการสอน
วตั ถปุ ระสงค์ เพอื

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

หน่วยการสอนที 1 ชือหน่วยการสอน
วัตถปุ ระสงค์ เพอื

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

16. ใบความรู้ที 3

หน่วยการสอนที 3 ชือหน่วยการสอน การบวกลบเลขไบนาร่ี
หัวข้อเรอื ง การบวกลบเลขไบนารี่
3.1 การบวกเลขฐานสอง (Binary Addition)

คือการรวมเลขฐานสองเข้าด้วยกนั ต้ังแต่2จ่านวนขนึ้ ไปจะมีหลักการบวกเดยี วกับการบวก
เลขฐานสิบ โดยการเริม่ บวกตั้งแตห่ ลักต่าสดุ ทางขวามือก่อนไปหาหลกั ท่สี งู สุดทางซา้ ยมือ จ่านวนเลขที่บวกได้
ในแตล่ ะหลกั เกินคา่ สูงสดุ ในหลกั นัน้ ต้องทา่ การทดเลขท่บี วกได้ไปหลกั ดา้ นซ้ายของหลกั ถัดไป
3.2 วงจรบวกเลขฐานสองแบบไมร่ วมตัวทดเขา้

วงจรบวกเลขแบบไม่รวมตวั ทดเขา้ ถูกเรียกว่าวงจรบวกแบบครึง่ (Half Adder) เปน็ วงจรบวก
เลขฐานสองขนาด1บิท2จ่านวนเข้าดว้ ยกัน ผลทีไ่ ด้ออกมาคือค่าผลบวกและตวั ทดท่เี กิดจากการบวก
3.3 วงจรบวกเลขฐานสองแบบรวมตวั ทดเขา้

วงจรบวกเลขฐานสองแบบรวมตัวทดเข้าถูกเรียกวา่ วงจรบวกเลขแบบเต็ม(Full Adder)เป็นวงจร
บวกเลขฐานสองขนาด 1 บทิ 3 จา่ นวน แบ่งเปน็ ตัวแปรอนิ พุต 2 ตัว และตัวทดอินพุต 1ตวั รวมเขา้ ดว้ ยกัน
ผลลัพธ์ทไ่ี ดอ้ อกมาคือคา่ ผลบวกและตัวทดท่ีเกิดจากการบวก
3.4 วงจรบวกเลขฐานสองแบบขนาน

หากตอ้ งการทจ่ี ะบวกเลขฐานสองให้ได้หลายบิท ใหน้ ่าวงจรบวกเลขฐานสองแบบไม่รวมตัวทดเขา้
(Half Adder) และวงจรบวกเลขฐานสองแบบรวมตัวทดเข้า (Full Adder) มาต่อรวมกันแบบขนาน เรยี กวา่
วงจรบวกเลขฐานสองแบบขนาน (Parallel Binary Adder)
3.5 การลบเลขฐานสอง

การลบเลขฐานสอง (Binary Subtraction) คือการลบเลขฐานสองตัง้ แต่ 2 จา่ นวนขึน้ ไปออกจาก
กนั จะมีหลักการลบเชน่ เดยี วกบั การลบเลขฐานสิบ
3.6 วงจรลบเลขฐานสองแบบไม่รวมตัวยมื เขา้

วงจรลบเลขแบบไม่รวมตวั ทดเขา้ ถูกเรยี กวา่ วงจรบวกแบบคร่งึ (Half Subtractor) เปน็ วงจรลบ
เลขฐานสองขนาด 1 บทิ 2 จ่านวนเขา้ ด้วยกัน ผลท่ไี ด้ออกมาคอื คา่ ผลตา่ ง (Difference) และตัวยมื (Borrow)
3.7 วงจรลบเลขฐานสองแบบรวมตัวยืมเขา้

วงจรลบเลขฐานสองแบบรวมตวั ยมื เขา้ ถูกเรียกวา่ วงจรบวกเลขแบบเตม็ (Full Subtractor)เปน็
วงจรลบเลขฐานสองขนาด 1 บิท 3 จ่านวน แบ่งเป็นตวั แปรอินพตุ 2 ตัว และตวั ยืมอินพุต 1ตวั ผลลัพธท์ ไ่ี ด้
ออกมาคอื ค่าผลตา่ งและตวั ยืมเอาต์พตุ
3.8 วงจรลบเลขฐานสองแบบขนาน

หากต้องการทีจ่ ะลบเลขฐานสองให้ได้หลายบทิ ใหน้ ่าวงจรลบเลขฐานสองแบบไมร่ วมตัวยืมเข้า
(Half Subtractor)และวงจรลบเลขฐานสองแบบรวมตัวยืมเขา้ (Full Subtractor)มาต่อรวมกันแบบขนาน
เรยี กว่า วงจรลบเลขฐานสองแบบขนาน(Parallel Binary Subtractor)

หนว่ ยการสอนที 17. ใบงานที.............
หวั ข้อเรือง
ชอื หน่วยการสอน

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

18. แบบประเมินผล

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

19. แบบฝกึ หัด

.................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

20. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรแู้ บบม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชพี และบรู ณาการตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏิบัติ
54321

ดา้ นการเตรยี มการสอน

1.จดั หน่วยการเรียนรไู้ ดส้ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

2. กา่ หนดเกณฑ์การประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจติ พิสยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจดั การเรยี นรูก้ ่อนเข้า

สอน

ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ิธกี ารนา่ เขา้ สบู่ ทเรียนท่ีนา่ สนใจ

5. มีกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย เพื่อช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กิจกรรมท่สี ่งเสริมให้ผ้เู รียนค้นคว้าเพื่อหาค่าตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

8. จัดกิจกรรมที่เน้นกระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ )

9. กระตุ้นใหผ้ เู้ รียนแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี

10. จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่เี ชื่อมโยงกบั ชีวติ จริงโดยนา่ ภูมิปัญญา/บูรณาการเข้ามามี

สว่ นรว่ ม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมือ่ นักเรยี นปฏบิ ัติ หรือตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รยี น อย่างทว่ั ถึง

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี ่าหนด

ดา้ นสือ นวตั กรรม แหล่งการเรียนรู้

16. ใชส้ อ่ื ที่เหมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผเู้ รียน

17. ใช้สอื่ แหล่งการเรียนร้อู ย่างหลากหลาย เช่น บคุ คล สถานที่ ของจริง เอกสารสื่อ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และอินเทอร์เน็ต เปน็ ต้น

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใสด่ แู ลผู้เรยี น อย่างทัว่ ถึง

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาที่กา่ หนด

ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รียนมสี ่วนรว่ มในการก่าหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งด้านความรู้ ทกั ษะ และจิตพิสยั

20. ครู ผู้เรยี น ผปู้ กครอง หรือ ผูท้ ี่เกยี่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดับการปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบัติดีเย่ยี ม 4 = ปฏิบตั ิดี 3 = ปฏบิ ัติ รวม

พอใช้ 2 = ควรปรบั ปรุง 1 = ไม่มีการปฏิบัติ เฉลีย

20.2 ปัญหาทีพบ และแนวทางแกป้ ัญหา

ปญั หาทีพบ แนวทางแก้ปัญหา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นสอื นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการวัดประเมินผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นอืน ๆ (โปรดระบุเป็นข้อ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงชอื่ ........................................................................ ครูผู้สอน

(นายสาโรช กลา่ มอญ)

ตา่ แหน่ง ครู

............../.................................../....................


Click to View FlipBook Version