The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวข้อสอบ B-NET บาลี ม.3 (ติวปีการศึกษา 2564) พร้อมเฉลย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tik_1984, 2022-02-01 02:02:51

แนวข้อสอบ B-NET บาลี ม.3 (ติวปีการศึกษา 2564) พร้อมเฉลย

แนวข้อสอบ B-NET บาลี ม.3 (ติวปีการศึกษา 2564) พร้อมเฉลย

แนวขอ้ สอบ B-net วชิ าภาษาบาลี ม.ตน้ ปีการศกึ ษา 2564 ตาม TB ของ สทศ.

โดย พระมหานฤทธิ์ นริสสฺ โร

ขอ้ ที่ ตัวชว้ี ัด/แนวขอ้ สอบ/ช้นั จำนวนข้อสอบ
1
บาลี ม.ต้น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 2

ความหมายของภาษาบาลีไวยากรณ์ 2

1 คำว่า “ บาลไี วยากรณ์ ” มีความหมายตรงกับขอ้ ใด 1
2
1. วิธกี ารแยกศัพทบ์ าลี 2. เคร่ืองแสดงความมีแบบแผน
2
3. ปกรณ์อันประกอบด้วยไวยากรณ์ 4. ประกรณอ์ ันเปน็ เคร่ืองกระทำใหแ้ จ้งซงึ่ บาลี

จำแนกประเภทของนามศัพท์

2 ขอ้ ใดเปน็ คุณนามช้ันวิเสส

1. พาโล 2. พาลโิ ย 3. พาลฏิ ฺโฐ 4. พาลตโม

3 ศพั ท์ที่แสดงลักษณะของคน สตั ว์ ท่ี ส่ิงของ จัดเป็นนามประเภทใด

1. นามนาม 2. คุณนาม 3. สัพพนาม 4. ปุรสิ สพั พนาม

บอกและจำแนกเพศเครอ่ื งหมายรูปแบบของนามศัพท์คำพูดที่เปล่งออกมาในภาษาบาลี

4 ข้อใดเป็นลงิ ค์โดยกำเนิด

1. ภกิ ษุ 2. แผ่นดนิ 3. ประเทศ 4. เมือง

5 ศพั ทใ์ ดจัดเปน็ ลิงค์ตามกำเนิด

1. ปุริโส (ชาย) 2. ทาโร (เมยี ) 3. ภมู (ิ แผน่ ดนิ ) 4. ปเทโส (ประเทศ)

อ่าน การเขยี น แจกจำแนกวิภัตตนิ ามและคำเชอ่ื มอายตนิบาต

6 ข้อใดคอื คำแปลของ กุลสมฺ ึ

1. อนั ตระกูล 2. แก่ตระกลู 3. แหง่ ตระกลู 4. ในตระกูล

อา่ น การเขยี น วิเคราะห์ การผสมวภิ ตั ติ และแปลสงั ขยา การนบั นามนามใหร้ จู้ ำนวนของนามนาม

7 เอกปุรโิ ส เมื่อจะแยกศพั ท์ออกจากกัน จะตอ้ งเขยี นปกติสังขยา เอก ปฐมาวิภัตติ ตามขอ้ ใด

1. เอโก ปรุ โิ ส 2. เอเกน ปรุ เิ สน 3. เอก ปรุ สิ 4. เอกสฺส ปรุ ิสสสฺ

8 สามเณร 4 รูป เขียนเปน็ ภาษาบาลีอย่างไร

1. จตตฺ าโร สามเณโร 2. จตตฺ าโร สามเณรา 3. จตสโฺ ส สามเณรา 4. จตุตโฺ ถ สามเณโร

อธบิ ายและจำแนกอัพยยศัพทท์ ี่แจกผสมวิภัตตนิ ามไม่ได้

9 ศพั ทท์ แ่ี จกดว้ ยวภิ ัตติไม่ไดค้ ือขอ้ ใด

1.นามศัพท์ 2. กติปยศัพท์ 3. สังขยาศพั ท์ 4. อพั ยยศัพท์

10 “ศพั ท์ท่ีจำแจกดว้ ยวภิ ตั ตทิ ง้ั 7 เหมือนนามศัพท์ไมไ่ ด้ คงรูปเป็นอย่างเดมิ ไมเ่ ปลีย่ นแปลง” ข้อความ

ขา้ งต้นนี้ ตรงกบั ขอ้ ใด

1. นามศพั ท์ 2.กติปยศพั ท์ 3.อัพยยศพั ท์ 4.มโนคณะศัพท์

บอกอกั ขระวธิ ใี นภาษาบาลแี ละสามารถนำไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ 2
1
11 ขอ้ ใดคือสระท่ีมาจากการผสมของสระ 2 ตัว 2
2
1. อา 2. อี 3. อู 4. เอ
4
12 สระใดจัดเป็นรสั สะสระ

1. อิ 2. อี 3. เอ 4. โอ

อธบิ ายฐานที่ตั้งทเ่ี กิดและกรณ์อวัยวะสำหรับเสยี ง 4. รมิ ฝีปาก

13 ต ถ ท ธ น ล ส เกดิ ทฐ่ี านใด 4. ปติ า
4. ถ ธ
1. ฟัน 2. คอ 3. ปุ่มเหงือก
4. ปภา
จำแนกเสียงอกั ขระในภาษาบาลีและสามารถออกเสยี งอกั ขระ 4. กณฺโณ

14 ศพั ทใ์ ดมเี สยี ง 2 มาตรา

1. วธู 2. นารี 3. กลุ

15 เสียงพยญั ชนะในขอ้ ใดจัดเปน็ สิถิล

1. ก ค 2. ข ฆ 3. จ ฌ

อธิบายการเขยี นพยัญชนะสงั โยค

16 พยญั ชนะสังโยค คือ ข้อใด

1. อมโร 2. อินฺโท 3. ปรุ โิ ส

17 การซอ้ นกนั ของพยญั ชนะสุดวรรค คือ ขอ้ ใด

1. สกฺโก 2. อคฺคิ 3. สพพฺ ํ

บาลี ม.ตน้ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

อธบิ าย แปล เขียนวาจก อนั เปน็ ประธานของกิรยิ าในแตล่ ะวาจก

18 ขอ้ ใดคอื ความหมายของวาจก

1. ศพั ทก์ ล่าวกิรยิ า คอื ความทำ

2. กริ ิยาศัพท์ทเี่ ป็นมลู ราก

3. ใช้จำแนกกิริยา เปน็ เครอื่ งหมาย กาล บท วจนะ บรุ ุษ

4. กริ ิยาศัพท์ที่ประกอบด้วยวิภัตติ กาล บท วจนะ บุรษุ ธาตุ

19 ข้อใดคือความหมายของ กัมมวาจก

1. กิรยิ าศัพท์กล่าว ผู้ทำยกเปน็ ประธาน

2. กริ ิยาศพั ทก์ ลา่ ว สงิ่ ทถี่ ูกทำยกเปน็ ประธาน

3. กิรยิ าศัพท์กลา่ ว เพียงความมคี วามเปน็ เทา่ นัน้

4. กิริยาศพั ท์กล่าว ผทู้ ่ีใช้ให้คนอ่นื ทำยกเปน็ ประธาน

20 ข้อใดคือความหมายของ เหตกุ ัตตุวาจก

1. กริ ิยาศพั ทก์ ล่าว ผู้ทำยกเป็นประธาน

2. กิรยิ าศัพท์กลา่ ว สงิ่ ทถ่ี กู ทำยกเปน็ ประธาน

3. กริ ิยาศพั ทก์ ล่าว ผู้ใช้ใหท้ ำยกเปน็ ประธาน

4. กิรยิ าศัพทก์ ลา่ ว ส่ิงทเี่ ขาใช้ให้ทำยกเป็นประธาน

21 ข้อใดเปน็ ประโยคเหตุกตั ตุวาจก

1. สามเณรกวาดใบไม้ 2. ใบไมถ้ ูกสามเณรกวาด

3. หลวงตาใช้สามเณรใหก้ วาดใบไม้ 4. ใบไม้ถูกหลวงตาใช้สามเณรใหก้ วาด

วเิ คราะหป์ ัจจยั ของวาจกถูกตอ้ งตามหลักบาลีไวยากรณ์ 4

22 ข้อใดคอื ปัจจัยของภาววาจก 3
3
1. อ เอ 2. ย และ อ เอ

3. ย และ อิ อาคม หนา้ ย 4. เณ ณย ณาเป ณาปย

23 เหตุกตั ตุวาจก มหี ลักสังเกตอยา่ งไร

1. ประธาน วางอยหู่ ลังตติยาวภิ ัตติ

2. ไมม่ ีประธาน บอกแตค่ วามมีความเป็น

3. กริ ยิ าลง เณ ณย ณาเป หรอื ณาปย

4. กิรยิ า ไม่มีปจั จยั ของตวั เอง เพียงแต่ยืมจากหมวดอ่ืนมาใช้

24 ปจั จยั ของกัตตวุ าจก คือ ข้อใด

1. ย ปัจจัย และ อิ อาคมหน้า ย

2. ย ปัจจัย และ เต วัตตมานา

3. เณ ณย ณาเป ณาปย

4. อ เอ ย ณุ ณา นา ณฺหา โอ เณ ณยฺ

25 ย ปจั จัย และ อิ อาคมหน้า ย เปน็ วาจกใด

1. กัตตวุ าจก 2. กมั มวาจก 3. เหตุกัตตวุ าจก 4. เหตกุ มั มวาจก

อธบิ ายหลกั การแปลเรื่อง กิริยาในระหวา่ ง บทขยายกิริยาในระหว่าง กิรยิ าคมุ พากย์ บทขยายกริ ิยาคุม

พากย์

26 “ ธมมฺ ํ สุตวฺ า ปีตึ ลภามิ ” ศัพท์ใดเปน็ กริ ยิ าในระหวา่ ง

1. ธมมฺ ํ 2. สุตฺวา 3. ปาเจติ 4. ปาจาเปติ

27 “ อาวาสํ คนฺตฺวา ทานํ เทมิ ” ศัพท์ใดเป็นบทขยายกิรยิ าในระหวา่ ง

1. อาวาสํ 2. คนตฺ วฺ า 3. ทานํ 4. เทมิ

28 “ อหํ ภนเฺ ต สรณสลี ํ ยาจามิ ” ศพั ท์ใดเป็นกิริยาคมุ พากย์

1. อหํ 2. ภนเฺ ต 3. สรณสีลํ 4. ยาจามิ

อธบิ าย แปลตามโครงสร้างของวาจกทัง้ 5 วาจก

29 สามิโก สูทํ โอทนํ ปาจยติ คำท่ีขดี เส้นใต้ ลง ปจั จยั ในวาจกใด

1. ลง ย ในภาววาจก

2. ลง ย ในกมั มวาจก

3. ลง ณยฺ ในเหตกุ ตั ตุวาจก

4. ลง ณาปย ในเหตกุ ัตตวุ าจก

30 ปจติ ในกัตตวุ าจก เม่ือแปลงเป็นกัมมวาจกจะไดร้ ูปศัพท์ตามข้อใด

1. ปจยิ เต 2. ปจยเต 3. ปาเจติ 4. ปาจาเปติ

31 ขอ้ ใดเป็นกัมมวาจก

1. สามเณโร ปณฺณ สกิ ขฺ ติ 2. สามเณเรน ปณฺณ สิกขฺ ิยเต

3. ภิกขฺ ู สามเณร ปณณฺ สกิ ฺขาเปติ 4. ภิกขฺ นุ า สามเณเรน ปณฺณ สกิ ขฺ าปิยเต

อธิบาย การแปลประโยคแทรก ประโยคอนาทรและลักขณะ ประโยคเลขนอก เลขใน 3

32 ข้อความทแี่ ทรกเขา้ มากลางประโยคหลักและมีเนอื้ ความคา้ นกับประโยคหลกั คอื ประโยคในขอ้ ใด 1
5
1. ลงิ คตั ถะ 2. ลักขณะ 3. เลขนอก 4. เลขใน

33 สุณนตฺ สฺส ปรุ สิ สสฺ จัดเปน็ ประโยคใด

1. เลขนอก 2. เลขใน 3. อนาทร 4. ลกั ขณวันตะ

34 ปุณโฺ ณ “ อหํ ปพฺพชสิ ฺสามตี ิ จนิ เฺ ตตวฺ า อาคมิ ฯ คาท่ีขดี เส้นใตเ้ ป็นประโยคตามข้อใด

1. เลขนอก 2. เลขใน 3. อนาทร 4. ลักขณะ

บาลี ม.ต้น ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

อธบิ ายการย่อบทสมาสและจำแนกประเภทของสมาสท้งั โดยย่อและพิสดาร

35 ลุตตสมาส คอื สมาสตามข้อใด

1. ลบวภิ ัตติ 2. ยงั ไมไ่ ดล้ บวิภตั ติ 3. มีบทหนา้ เป็นวิเสสนะ 4. มีบทหลงั เป็นวเิ สสนะ

อธบิ ายกมั มธารยสมาส ทิคุสมาส ตปั ปรุ สิ สมาส ทวนั ทวสมาส อัพยยภี าวสมาส พหุพพิหิสมาส

36 มหนโฺ ต ปุรโิ ส = มหาปรุ โิ ส (บรุ ษุ ใหญ)่ เปน็ สมาสตามขอ้ ใด

1. วเิ สสนบุพพบท 2. วเิ สสนุตตรบท 3. วเิ สสโนปมบท 4. วิเสสโนภยบท

37 ขอ้ ใดจัดเปน็ ทิคุสมาส

1. นามศัพท์ 2 บท มวี ภิ ตั ติและวจนะเปน็ อยา่ งเดยี ว

2. สมาสมสี ังขยาอยู่ข้างหน้า

3. นามศัพทม์ ี อํ วิภัตติ เปน็ ตน้ ในท่ีสุด ท่านย่อเขา้ ด้วยบทเบื้องปลาย

4. สมาสทีม่ อี ปุ สคั และนบิ าตอยขู่ ้างหนา้

38 ขอ้ ใดจัดเป็น สตั ตมีตัปปุรสิ สมาส

1. มตกสฺส ภตตฺ ํ = มตกภตฺตํ 2. พนธฺ นา มุตฺโต = พนฺธนมุตโฺ ต

3. อคคฺ นี ํ ขนโฺ ธ = ปฐมปุรโิ ส 4. สํสาเร ทกุ ฺขํ = สํสารทกุ ฺขํ

39 ข้อใดกล่าวถงึ ทวนั ทวสมาส ไดถ้ กู ตอ้ ง

1. ใช้ จ ศัพทป์ ระกอบหลังอนุบททกุ บท เมื่อเขา้ สมาสแลว้ ลบ จ ศพั ท์ทิง้

2. การยอ่ นามศัพท์ท่ปี ระกอบดว้ ยทุตยิ าวิภัตติ เข้ากบั บทเบอ้ื งปลายใหเ้ ปน็ อนั เดียวกนั

3. สมาสทม่ี ีสังขยาอยู่หนา้

4. สมาสที่มอี ุปสคั หรอื นบิ าตอยขู่ ้างหนา้

40 ขอ้ ใดเปน็ ความหมายของพหุพพหิ สิ มาส

1. ประกอบ ย ศัพท์ในรูปวิเคราะห์เปน็ ทุตยิ าวิภัตติ

2. มีอปุ สัคหรอื นบิ าตอย่ขู า้ งหนา้ เสมอ

3. ในรูปวเิ คราะหใ์ ช้ จ ศพั ท์ ประกอบหลังอนุบททกุ บท

4. มสี งั ขยาอยหู่ นา้ เสมอ

วิเคราะห์และแปลศพั ท์กัมมธารยสมาส ทคิ สุ มาส ตัปปรุ สิ สมาส ทวันทวสมาส อัพยยภี าวสมาส 3
2
พหพุ พหิ สิ มาส 3

41 ข้อใดเปน็ จตุตถตี ัปปุรสิ สมาส

1. คามํ คโต = คามคโต (ปรุ โิ ส) 2. กฐนิ สสฺ ทุสฺสํ = กฐินทุสฺสํ

3. มรณสฺส ภยํ = มรณภยํ 4. พนธฺ นา มตุ ฺโต = พนฺธนมตุ โฺ ต (อาราโม)

42 ขอ้ ใดเปน็ ทิคุสมาส

1. มตกสสฺ ภตตฺ ํ = มตกภตตฺ ํ 2. รญฺโญ ปุตฺโต = ราชปุตฺโต

3. ปญจฺ อินฺทรฺ ยิ านิ = ปญฺจินทฺ ฺรยิ ํ 4. อาคตา สมณา ยํ โส = อาคตสมโณ(อาราโม)

43 รูปวิเคราะหใ์ ด จดั เปน็ ตติยาตัปปรุ ิสสมาส

1. มหนฺตี ธานี = มหาธานี 2. นโร วโร = นรวโร

3. ตโย โลกา = ติโลกํ 4. สลฺเลน วทิ ฺโธ = สลลฺ วิทฺโธ

อธิบายการยอ่ บทตัทธิตและจำแนกประเภทของตทั ธติ ท้ังโดยย่อและพิสดาร

44 ขอ้ ใดเป็นความหมายของ ตทั ธติ

1. ปัจจัยหมูห่ น่ึงสำหรบั ยอ่ ความให้ส้นั ลง

2. ปัจจัยหมหู่ นง่ึ ใชส้ ำหรับหมายรู้วาจกทัง้ 5

3. ปจั จยั หมู่หนึ่งใช้สำหรบั ปรงุ ธาตใุ ห้เปน็ นามศพั ท์

4. ปจั จัยหมหู่ นึ่งใช้สำหรบั ลงท้ายนามศัพท์

45 ตทั ธติ โดยยอ่ ตรงกบั ขอ้ ใด

1. สามัญญตัทธติ ภาวตัทธติ ปูรณตัทธิต

2. สามญั ญตัทธติ ภาวตัทธติ อัพยยตัทธิต

3. สามัญญตทั ธติ ภาวตทั ธติ สงั ขยาตัทธติ

4. สามัญญตทั ธิต ภาวตทั ธติ ชาตาทิตัทธติ

อธิบายปจั จยั สามัญญตัทธติ ภาวตัทธิต และอพั ยยตทั ธิต

46 อยสา ปกตํ อโยมยํ จดั เปน็ ตทั ธติ ใด

1. ปกตติ ัทธติ 2. ปูรณตัทธิต 3. สมุหตทั ธติ 4. ชาตาทิตทั ธิต

47 สมณสฺส อปจฺจํ สามเณโร ตรงกบั ขอ้ ใด

1. ภาวตทั ธติ 2. โคตตตัทธติ 3. ตรัตยาทิตทั ธติ 4. อพั ยยตัทธติ

48 โมคคฺ ลฺลิยา อปจฺจํ โมคคฺ ลลฺ ายโน ลงปัจจัยใดในโคตตตทั ธติ

1. ณ ปัจจัย 2. ณาน ปัจจัย 3. ณายน ปัจจยั 4. ณว ปัจจัย

วเิ คราะหแ์ ละแปลศัพท์สามัญญตทั ธติ ภาวตัทธติ และอัพยยตัทธิต 2

49 “ โดยประการทงั้ ปวง ” เปน็ คำแปลของขอ้ ใด

1. เยน ปกาเรน ยถา 2. เตน ปกาเรน ตถา

3. อิมินา ปกาเรน อติ ถฺ ํ 4. สพฺเพน ปกาเรน สพพฺ ทา

50 ขอ้ ใดเปน็ ภาวตัทธติ

1. ติณฺณํ ปรู โณ ตติโย 2. มนสุ ฺสานํ สมุโห มานุสโก

3. ปณฺฑิตสสฺ ภาโว ปณฺฑิจฺจํ 4. สวุ ณเฺ ณน ปกตํ โสวณณฺ มยํ


Click to View FlipBook Version