แนวขอ้ สอบ B-net วชิ าภาษาบาลี ม.ปลาย ปีการศกึ ษา 2564 ตาม TB ของ สทศ.
โดย พระมหานฤทธ์ิ นริสสฺ โร
ขอ้ ที่ ตัวชี้วัด/แนวขอ้ สอบ/ชน้ั จำนวนขอ้ สอบ
2
บาลี ม.ปลาย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4
1
บอกอกั ขรวิธใี นภาษาบาลี และสามารถนำไปใชไ้ ด้ถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ 2
1 ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลกั ษณะของสระ 1
2
1. มีเสียงหนกั เบา 2. มเี สียงส้นั เสียงยาว
3
3. ออกเสียงไดล้ ำพงั ตน 4. ทำพยญั ชนะใหอ้ อกเสียงได้ 5. อาศยั สระจงึ ออกเสยี งได้
2 พยญั ชนะขอ้ ใดใช้ในภาษาบาลีทุกตัว
1. ก ข ฅ ฆ ง 2. จ ฉ ช ซ ญ 3. ฎ ฏ ฑ ฒ ณ
4. ต ถ ท ธ น 5. ป ผ พ ฟ ภ
อธิบายฐานทต่ี ้งั ที่เกิดและกรณ์ อวยั วะสำหรับเสยี ง
3 พยญั ชนะขอ้ ใดเกิดใน 2 ฐาน
1. ค 2. ช 3. ณ 4. ท 5. ร
จำแนกเสยี งอักขระในภาษาบาลีและสามารถออกเสยี งอกั ขระ
4 ขอ้ ใดออกเสียงสน้ั ที่สดุ
1. สระทฆี ะ 2. สระรสั สะ 3. สระท่มี พี ยญั ชนะสงั โยค
4. พยญั ชนะท่ปี ระกอบสระแลว้ 5. พยญั ชนะท่ียังไมไ่ ดป้ ระกอบสระ
5 พยญั ชนะตวั ใดมีเสยี งไมก่ อ้ ง ( อโฆสะ )
1. ค 2. ช 3. ท 4. ย 5. ส
อธบิ ายการเขยี นพยญั ชนะสงั โยค
6 พยญั ชนะที่ 1 ซอ้ นหนา้ พยญั ชนะที่ 1 ตรงกบั ข้อใด
1. สกฺโก 2. สทโฺ ท 3. ฉฑุ โฺ ฑ 4. อคโฺ ฆ 5. สงโฺ ฆ
จำแนกประเภทของนามศพั ท์
7 ข้อใดจัดเป็นอสาธารณนาม
1. ม้าวิเศษ 2. ชา้ งเอราวณั 3. สตั ว์เดรจั ฉาน
4. โคเทยี มเกวยี น 5. กระบือในท่งุ นา
8 คำว่า “ พาราณสี ’’ เป็นนามศพั ทช์ นิดใด
1. ปกติ 2. วเิ สส 3. อติวิเสส 4. สาธารณะ 5. อสาธารณะ
บอกและจำแนกเพศเคร่อื งหมายรปู แบบของนามศัพท์คำพูดที่เปล่งออกมาในภาษาบาลี
9 ขอ้ ใดจัดเปน็ ลงิ คโ์ ดยสมมติ
1. ภมู ิ 2. นารี 3. กญฺญา 4. อปุ าสก 5. ปริพพฺ าชก
10 คำศัพทใ์ นข้อใดจดั เปน็ ปุงลงิ ค์
1. ปาวก - ธนุ 2. กุมาร - วปุ 3. วานร - ปสุ
4. สหาย - ชตุ 5. อาจริย - มธุ
11 ข้อใดจดั เปน็ ลิงคเ์ ดียวกบั คำว่า นธิ ิ ( ขุมทรัพย์ )
1. ฉวิ (ผวิ ) 2. อริ (ข้าศกึ ) 3. สปฺปิ ( เนยใส )
4. อจจฺ ิ (เปลวไฟ) 5. ชลลฺ ิ (สะเก็ดไม)้
อ่าน การเขียนแจกจำแนกวิภัตตนิ ามและคำเชือ่ มอายตนบิ าต 2
1
12 ขอ้ ใดมคี วามหมายวา่ “ แก่ภกิ ษทุ งั้ หลาย ” 1
3
1. ภิกฺขูนํ 2. ภกิ ฺขนู ิ 3. ภกิ ฺขนุ า 4. ภิกฺขุโน 5. ภิกฺขุสฺส
1
13 ขอ้ ใดเป็นเอกวจนะ 2
1. มนุ โย 2. นารโิ ย 3. อาจริโย 4. กมุ าริกาโย 5. อุปาสกิ าโย
อา่ น การเขียน วิเคราะห์การผสมวภิ ตั ตแิ ละแปลนามศพั ท์ ตามการันต์สระที่สดุ แห่งศัพท์ได้ท้งั สามลิงค์
14 ปรุ สิ ลง นา ตตยิ าวภิ ตั ติ เอกวจนะ สำเรจ็ รูปตามขอ้ ใด
1. ปุรสิ า 2. ปุริสาย 3. ปุริสานํ 4. ปรุ ิเสน 5. ปุรสิ สมฺ า
อ่าน การเขียน วเิ คราะหก์ ารผสมวภิ ตั ตแิ ละแปล กตปิ ยศพั ท์เป็นเฉพาะของตนเอง
15 ข้อใดจดั เป็น กตปิ ยศัพท์ ทง้ั หมด
1. มน กมฺม 2. ธช ราช 3. ปิตุ เกตุ
4. ทตู อรหนตฺ 5. ชตุ ภควนตฺ ุ
อธบิ ายหลักการแปลเรอื่ ง อาลปนะ นิบาต ประธาน และตวั ขยายประธาน
16 เอโก กิร ปตุ ฺโต มาตรํ ปฏชิ คคฺ ิ ฯ ศพั ทใ์ ดเป็นนิบาต
1. กริ 2. เอโก 3. ปุตโฺ ต 4. มาตรํ 5. ปฏิชคฺคิ
17 น จริ สฺเสว เอกา กุกกฺ ฏุ ี อณฺฑานิ วิชายิ ฯ บทใดเปน็ บทประธาน
1. เอกา 2. วิชายิ 3. กกุ กฺ ฏุ ี 4. อณฺฑานิ 5. จริ สเฺ สว
18 “ อคฺโค พทุ ฺโธ โลเก อปุ ฺปนฺโน ” ศพั ท์ใดขยายประธาน
1. โหติ 2. โลเก 3. อคฺโค 4. พุทโฺ ธ 5. อุปฺปนฺโน
อ่าน การเขยี น วเิ คราะห์การผสมวิภตั ติและแปลสังขยา การนบั นามนามใหร้ ้จู ำนวนของนามนาม
19 นาง 3 คน ตรงกับภาษาบาลีตามข้อใด
1. เทว นาริโย 2. ปญจฺ นาริโย 3. สตฺต นารโิ ย 4. ติสฺโส นาริโย 5. จตสฺโส นาริโย
อ่าน การเขียน วิเคราะหก์ ารผสมวภิ ัตติ และแปลสพั พนาม ศพั ทท์ ่ีใช้แทนนามนาม
20 ปรุ ิสสัพพนาม ปฐมบุรุษตรงตามข้อใด
1. โส 2. ตวฺ ํ 3. อหํ 4. มยํ 5. ตมุ เห
21 คำว่า “ เต ’’ ในประโยควา่ “ โก นาม เต อุปชฺฌาโย ’’ แปลได้ตามขอ้ ใด
1. แกท่ า่ น 2. อันท่าน 3. เพือ่ ทา่ น 4. โดยท่าน 5. ของทา่ น
อธิบาย และจำแนกอพั ยยศพั ทท์ ่ีแจกผสมวภิ ตั ตินามไม่ได้ 2
22 ศพั ท์ใดไมไ่ ด้ประกอบดว้ ยคำอปุ สคั 1
3
1.ทุกกฺ รํ 2.ปฏวิ จนํ 3. พหนิ ครํ 4. ปรมิ ณฺฑลํ 5. อภิสกฺการํ
1
23 อถ โข เถโร อนฺโต วสติ ฯ ศพั ทใ์ ดเป็นนบิ าตบอกกาล 1
1
1.อถ 2. โข 3. เถโร 4. อนโฺ ต 5. วสติ 1
1
บาลี ม.ปลาย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5
อธบิ าย จำแนกองค์ประกอบของกริ ิยาอาขยาต
24 ศพั ท์กลา่ วกิรยิ าคอื ความทำ เป็นความหมายของข้อใด
1.นามนาม 2.อาขยาต 3.ตทั ธติ 4. สมาส 5. กิตก์
อธิบาย จำแนกวภิ ตั ตอิ ันเป็นการจำแนกแจกแจงธาตุไวเ้ พื่อใหเ้ ปน็ เคร่ืองหมายใหร้ ูก้ าล บท วจนะ บุรุษ
25 วภิ ัตตอิ าขยาตมีประโยชนต์ ามข้อใด
1. ใหร้ ู้ลงิ ค์ 2. ให้ร้กู ารนั ต์ 3. ใหร้ ูว้ จนะ
4. ให้รู้อายตนิบาต 5. ใหร้ ้กู าล บท วจนะ บรุ ษุ
26 ถ้าประธาน เปน็ อหํ กิรยิ าคมุ พากย์คอื ขอ้ ใด
1.ปจติ 2. ปจถ 3. ปจามิ 4. ปจาม 5. ปจาหิ
27 ขอจง เปน็ คำแปลวิภตั ติอาขยาตหมวดใด
1.วัตตมานา 2.ปญั จมี 3. สตั ตมี 4. หิยัตตนี 5. อชั ชัตตนี
ระบุ อธบิ ายกลุม่ ธาตุ คำอนั เปน็ รากศัพทข์ องภาษาบาลี
28 กริ ิยาศพั ทท์ ่เี ปน็ รากเหงา้ คือขอ้ ใด
1.วภิ ตั ติ 2. วาจก 3. ธาตุ 4.กาล 5. บท
อธิบาย แปล เขียนวาจกอนั เป็นตวั ประธานของกริ ยิ าในแตล่ ะวาจก
29 ผู้ใช้ให้คนอื่นทำ เป็นกิริยาของวาจกใด
1.กัตตุวาจก 2. กมั มวาจก 3.ภาววาจก 4.เหตกุ ตั ตุวาจก 5. เหตุกัมมวาจก
วเิ คราะห์ปจั จัยของวาจกถูกต้องตามหลกั บาลีไวยากรณ์
30 ขอ้ ใดลง เณ ปัจจัยในเหตกุ ตั ตุวาจก
1.ปจติ 2. ปาเจติ 3.ปาจยติ 4.ปาจาเปติ 5. ปาจาปิยเต
อธบิ าย แปลหลกั การแปลเรอ่ื งกริ ยิ าในระหว่าง บทขยายกริ ิยาในระหวา่ ง กริ ิยาคมุ พากย์ บทขยาย
กิริยาคมุ พากย์
31 “ สตถฺ า วิหาเร นสิ ีทติ ฺวา มหาชนานํ ธมมฺ ํ เทเสติ ” ศัพท์ใดเปน็ กริ ยิ าในระหวา่ ง
1. สตฺถา 2. วหิ าเร 3. นสิ ที ิตฺวา 4. มหาชนานํ 5. เทเสติ
อธบิ ายกิรยิ ากิตกแ์ ละบอกองค์ประกอบของกริ ยิ ากิตก์
32 ศพั ท์ใดไมไ่ ด้ประกอบเป็นกริ ิยากติ ก์
1. ภุตฺโต 2. ภญุ ชฺ ติ 3. ภญุ ชฺ ิตฺวา 4. ภุญชฺ นฺโต 5. ภญุ ชฺ มาโน
อธิบายวภิ ัตติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปจั จัยของกริ ิยากติ ก์ 1
1
33 องคป์ ระกอบของกิรยิ ากิตกไ์ มม่ ีในข้อใด 1
1
1. วิภัตติ 2. กาล 3. วจนะ 4. บรุ ุษ 5. ธาตุ 3
แปลกริ ิยากิตก์ศพั ทไ์ ด้ถกู ตอ้ งตามองคป์ ระกอบของกิริยากติ ก์ 2
34 อหํ ธมมฺ ํ สุณนโฺ ต ปีตึ ลภามิ คำที่ขดี เส้นใต้ตรงกบั ข้อใด
1.ยอ่ มฟงั 2. จักฟงั 3. ควรฟงั 4. จงฟัง 5. ฟังอยู่
อธิบายนามกติ ก์และศพั ท์ที่สำเร็จมาจากรปู วิเคราะหใ์ หส้ ำเร็จ (สาธนะ)
35 สาธนะใดมีคำแปลวา่ เป็นแดน
1. กตั ตุสาธนะ 2. กมั มสาธนะ 3. ภาวสาธนะ
4. กรณสาธนะ 5. อปทาทานสาธนะ
วิเคราะหน์ ามกติ กต์ ามหมวดปัจจยั และสาธนะของนามกติ ก์
36 ศพั ท์ในขอ้ ใดลง กฺวิ ปัจจัย
1. กมมฺ กาโร 2. โกธโน 3. สาวโก 4. วนิ โย 5. อุรโค
บาลี ม.ปลาย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
อธิบายกมั มธารยสมาส ทิคุสมาส ตัปปรุ ิสสมาส ทวันทวสมาส อัพยยีภาวสมาส พหุพพิหิสมาส
37 กัมมธารยสมาสใด มีคำแปลประจำวา่ “ คือ ”
1. วิเสสนบพุ บท 2. วิเสสโนภยบท 3. วเิ สสโนปมบท
4. สัมภาวนบุพบท 5. อวธารณบพุ บท
38 อัพยยีภาวสมาสข้อใด มอี ปุ สัคเป็นบทหน้า
1. นครสสฺ พหิ = พหินครํ 2. นครสสฺ สมีปํ = อุปนครํ 3. ปพฺพตสฺส ติโร = ตโิ รปพฺพตํ
4. วฑุ ฒฺ านํ ปฏปิ าฏิ = ยถาวุฑฒฺ ํ 5. ชีวสฺส ยตตฺ โก ปรจิ ฺเฉโท = ยาวชวี ํ
39 พหพุ พิหิสมาส สังเกตได้จากอะไร
1. วภิ ตั ติ 2. อปุ สคั 3. สังขยา 4.นิบาต 5. นามศัพ์ท่มี ี อํ วภิ ัตตเิ ปน็ ต้น
วเิ คราะห์ และแปลศัพทก์ ัมมธารยสมาส ทิคุสมาส ตปั ปรุ ิสสมาส ทวันทวสมาส อัพยยภี าวสมาส พหุพพิ
หสิ มาส
40 รูปวเิ คราะหใ์ ดจัดเปน็ อสมาหารทคิ ุ
1. ตโย โลกา = ติโลกํ 2. เทวฺ ปาทา = ทฺวปิ าทํ
3. ตีณิ รตนานิ = ตริ ตนํ 4. ฉ + อายตนานิ = ฉฬายตนํ
5. ปญฺจ + อินทฺ ฺริยานิ = ปญจฺ นิ ฺทรฺ ิยานิ
41 กตปุญญฺ า ( ปรุ สิ า ) มีรูปวิเคราะหต์ รงกบั ขอ้ ใด
1. กตํ ปญุ ฺญํ เยน โส 2. กตํ ปุญฺญํ เยหิ เต
3. กตํ ปญุ ญฺ ํ ยาย สา 4. กตํ ปญุ ญฺ ํ ยาหิ ตา
5. กตํ ปญุ ฺญํ เยหิ ตานิ
อธิบาย การแปลประโยคแทรก ประโยคอนาทรและลักขณะ ประโยคเลขนอก เลขใน 3
42 คำวา่ เมอ่ื พระเถระทัง้ หลาย มีคำแปลตรงกับข้อใด 1
2
1. เถโร 2. เถรา 3. เถเรน 4. เถรสฺส 5. เถรานํ
1
43 ข้อใดเปน็ ประโยคอนาทร 1
1
1. สามเณโร คโต 2. สามเณโร กมฺมํ การาเปสิ
3. สามเณรสฺส คจฉฺ นฺตสฺส 4. สามเณโร อาจรเิ ยน การาปยิ เต
5. สามเณรสฺมึ อาคจฺฉนฺเต
44 ปุณฺโณ “ อหํ ปพพฺ ชิสฺสามีติ จนิ ฺเตตวฺ า อคมาสิ ฯ ประธานของประโยค“ เลขนอก ” คือขอ้ ใด
1. ปณุ ฺโณ 2. ตวฺ ํ 3. ตมุ ฺเห 4. อหํ 5. มยํ
อธบิ ายปจั จยั สามัญญตัทธติ ภาวตัทธิต และอพั ยยตทั ธติ
45 ภาวตทั ธิต ใชป้ ัจจยั แทนศัพทใ์ ด
1. าน 2. สมหุ 3. ภาว 4. ปกติ 5. โคตตฺ
วเิ คราะหแ์ ละแปลศพั ท์สามญั ญตัทธติ ภาวตัทธติ และ อัพยยตัทธิต
46 ยถา ในอัพยยตทั ธิต แปลตามขอ้ ใด
1. อ.ประการนี้ 2. อ.ประการใด 3. อ.ประการไร
4. อ. ประการนัน้ 5. อ.ประการทง้ั ปวง
47 เตโช อสสฺ อตถฺ ีติ = เตชสี (ชโน) บทสำเรจ็ ของรูปวเิ คราะห์ แปลตามข้อใด
1. ชน มเี ดช 2. ชน มีมายา 3. ชน มไี มเ้ ทา้
4. ชน มีเมธาดี 5. ชน มคี วามตอ้ งการ
การต่อสระตามหลกั สนธิกริ ิโยปกรณ์
48 อาเทสสระสนธิ มีวิธกี ารตอ่ ตามข้อใด
1. การลบสระ 2. การลงสระใหม่ 3. การแปลงสระเป็นพยญั ชนะ
4. การแปลงสระหน่ึงเป็นอกี สระหน่ึง 5. การทาสระเสียงสั้นให้เป็นสระเสยี งยาว
การตอ่ พยัญชนะตามหลักสนธิกริ ิโยปกรณ์
49 ขอ้ ใดเป็นการต่อศพั ท์ด้วยวิธซี อ้ นพยัญชนะที่มรี ูปไม่เสมอกนั
1. ทุ+ กรํ = ทุกกฺ รํ 2. ทุ + จริตํ = ทุจจฺ ริตํ 3. รตน + ตยํ = รตนตฺตยํ
4. อธิ + ปโมทติ = อิธปปฺ โมทติ 5. จตฺตาริ + ฐานานิ = จตตฺ าริฏฐฺ านานิ
การต่อนคิ คหิตตามหลกั สนธกิ ริ โิ ยปกรณ์
50 ขอ้ ใดเปน็ โลปนคิ คหิตสนธิ
1. พุทฺธานสาสนํ 2. เอวงโฺ ข 3. สณฺ ติ
4. เอตทโวจ 5. อวํสิโร