แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี น
จากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เขา้ สหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ
สำนักงาน กศน. กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทวั่ ประเทศ ต้งั แตภ่ าคเรียนท่ี 1/2553 โดยมเี อกสารประกอบการใชห้ ลกั สตู รดังกล่าว
จำนวน 9 เล่ม ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการดำเนินงานตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 วันท่ี 24 มนี าคม 2553 ซ่งึ เอกสารแนวทางการเทยี บโอนผลการเรียน
เป็นเลม่ หนึ่งทีอ่ ยู่ในประกาศนั้น มเี นือ้ หาประกอบด้วยการเทยี บโอนผลการเรยี นทจี่ ัดการศึกษาเป็นระดบั การศกึ ษา
ตอ่ เนื่อง หลกั สูตรต่างประเทศ และการประเมินความรแู้ ละประสบการณ
์
ในการจัดการศึกษาที่ต่อเนื่องระหว่างหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตร
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 อาจมีผู้ไม่จบการศึกษาจากหลักสูตรเดิมจำนวนมาก เพื่อให้การดำเนินงานการเทียบโอนผลการเรียน
ของสถานศกึ ษาเป็นไปในแนวทางเดยี วกนั และเกิดประโยชน์สงู สุดกบั ผเู้ รยี น สำนกั งาน กศน. จึงไดม้ กี ารพิจารณา
เนื้อหาจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
จำนวน 8 หมวดวิชา ซึ่งในแต่ละหมวดวิชามีจำนวนหน่วยกิตมาก โดยพิจารณาความสอดคล้องของหลักสูตร
ท้ังสองดังกล่าว ในบางเนื้อหาได้นำไปใช้เทียบโอนผลการเรียนในรายวิชาบังคับแล้ว แต่ยังมีเน้ือหาเหลือจากเทียบ
โอนผลการเรียนในรายวชิ าบังคับ สามารถนำมาจดั ทำเป็นรายวชิ าเลอื กไดอ้ ีกตามเอกสารเลม่ นี้ เพื่อให้เทยี บโอนผล
การเรียนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายได้โดยยดึ กรอบการเทียบโอนผลการเรยี นที่จดั การศึกษา
เปน็ ระดบั
การจัดทำเอกสารแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษา
นอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากนักวิชาการท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงเป็นผู้มีความรู้
และประสบการณ์ในแต่ละสาระการเรียนรู้ ได้ช่วยตรวจสอบความถูกต้อง ทำให้เอกสารฉบับนี้มีความสมบูรณ
์
มากยง่ิ ขึ้น สำนกั งาน กศน. ขอขอบคุณในความร่วมมอื มา ณ โอกาสนี
้
(นายอภิชาติ จีระวฒุ )ิ
เลขาธิการ กศน.
สารบัญ
คำนำ
หนา้
บทท่ี 1 บทนำ 1
- ความเป็นมา 1
- หลกั การ 2
- วตั ถปุ ระสงค ์ 2
- ขอบข่ายการเทยี บโอนผลการเรียน 2
- คณุ สมบัติท่ัวไปของผูข้ อเทยี บโอนผลการเรียน 3
- หลกั เกณฑ์การเทยี บโอนผลการเรียน 3
- วธิ กี ารเทยี บโอนผลการเรียน 3
- ขนั้ ตอนการเทียบโอนผลการเรียน 3
5
บทท่ี 2 การเทยี บโอนผลการเรียนระหวา่ งหลกั เกณฑ์และวิธีการจดั การศกึ ษา
นอกโรงเรยี นตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 กบั
5
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
6
- ตารางสรุปจำนวนหนว่ ยกติ ทีส่ ามารถเทียบโอนได้ 7
- ตารางการเทยี บโอนผลการเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา 8
- ตารางการเทยี บโอนผลการเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 9
- ตารางการเทยี บโอนผลการเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
11
บทท่ี 3 คำอธบิ ายรายวชิ าเลอื กท่ไี ดจ้ ากการเทยี บโอนผลการเรียจากหลักเกณฑ์และวิธกี าร 37
จัดการศึกษานอกโรงเรยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544
74
เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
138
คำอธบิ ายรายวชิ าเลือกและรายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ าเลือก
- ระดบั ประถมศึกษา
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
คณะผู้จดั ทำ
บทท่ี 1
บทนำ
ความเป็นมา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545
มีเจตนารมณ์ที่มุ่งหวังให้ประชาชนได้มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยกำหนดรูปแบบการศึกษาไว้สามรูปแบบ
คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ประชาชนจะเลือกศึกษาจากรูปแบบใด
รูปแบบหน่ึง แล้วนำผลการเรียนท่ีได้มาเทียบโอนในอีกรูปแบบหน่ึงได้ เป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่
ประชาชนอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกัน พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ. 2551 มาตรา 14 ขอ้ (4) ไดบ้ ญั ญัติเก่ียวกบั การเทยี บโอนผลการเรียนไว้ว่าให้ สำนกั งาน กศน. มีอำนาจหนา้ ท่ี
ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ การเทียบโอนผล
การเรยี นจงึ เป็นภารกจิ สำคัญที่ สำนักงาน กศน. จะต้องผลกั ดนั ใหส้ ถานศกึ ษาดำเนินการอยา่ งกว้างขวางและทว่ั ถงึ
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ได้กำหนดหลกั การไว้
อย่างชัดเจนว่า “ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย” การเทียบโอนผลการเรียนจึงเป็นเคร่ืองมือในการเช่ือมโยงผลการเรียนรู้ท่ีหน่วยงานต่างๆ ได้
ร่วมมือกันจัดการศึกษา และเช่ือมโยงผลการเรียนรู้จากวิธีการเรียนที่หลากหลาย รวมท้ังจากการประกอบอาชีพ
และประสบการณ์ต่างๆ เป็นกลไกสำคัญในการส่งเสริมให้บุคคลมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เมื่อบุคคล
ตระหนักและรับรู้ว่าส่ิงท่ีได้เรียนรู้มาน้ัน สามารถนำมาเพ่ิมคุณค่าโดยการเทียบโอนเป็นผลการเรียน เป็นผลพลอยได
้
จากการเรียนรู้ นอกเหนือจากการนำสิ่งที่ได้เรียนรู้นั้นไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ พัฒนาการทำงาน
ให้ดีขึ้น หรือแม้กระท่ังการนำส่ิงที่ได้เรียนรู้นั้นไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงได้จัดทำเอกสารแนวทาง
การเทียบโอนผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ขึ้น
ซึ่งได้มีการประกาศใช้ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการดำเนินงานตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 วันท่ี 24 มนี าคม 2553
เอกสารแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบดว้ ยรายละเอียดเก่ยี วกับการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั สูตรท่จี ัดการศกึ ษาเป็นระดับ
จากการศึกษาต่อเน่ือง จากการศึกษาหลักสูตรต่างประเทศ และการประเมินความรู้และประสบการณ์ สำหรับ
การเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรที่จัดการศึกษาเป็นระดับที่เก่ียวกับการเทียบโอนรายวิชาระหว่างหลักเกณฑ์
และวิธีการจัด การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสู่หลักสูตร
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีเพียงกำหนดกรอบไว้เท่าน้ัน ยังไม่ได้กำหนด
รายละเอยี ดรายวิชาเลือกท่สี ามารถเทยี บโอนไว้ได้ สำนกั งาน กศน. โดยกลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน จึงไดจ้ ัด
ทำคำอธิบายรายวิชา โดยพิจารณาความสอดคล้องระหว่างหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ในส่วนที่ไม่สอดคล้องกับรายวิชาบังคับ โดยยึดกรอบการเทียบโอนผลการเรียนท่ีจัดการศึกษา
เป็นระดับ นำมาจัดทำเป็นรายวิชาเลือกให้สามารถเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
หลักการ
การเทียบโอนผลการเรียนตามหลักฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ไดก้ ำหนดหลักการในการเทยี บโอนผลการเรยี นไว้ดงั น้ี
1. การเช่ือมโยงผลการเรียนร้จู ากการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย
2. การยอมรับผลการเรียนท่ีเกิดจากการเรียนจากการศึกษาท้ัง 3 รูปแบบ และความรู้ที่เกิดจาก
การทำงาน การประกอบอาชีพและการดำรงชีวติ
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีออกจากการศึกษาในระบบ หรือการศึกษานอกระบบรวมท้ังผู้ที่เรียนรู้จาก
การศึกษาตามอัธยาศัยสามารถเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551
2. เพื่อเปิดโอกาสใหม้ กี ารศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง ท้งั ในระดบั การศกึ ษาเดียวกนั หรอื ระดับท่สี ูงขนึ้
ขอบข่ายการเทียบโอนผลการเรียน
เป็นการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตร
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช
2551 ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
คุณสมบตั ิท่วั ไปของผู้ขอเทียบโอนผลการเรียน
1. ต้องไม่เป็นนักเรียนหรือนักศึกษา ในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาหรือระดับท่ีเทียบเท่า
ของสถานศึกษาอ่นื ในเวลาที่ขอเทียบโอนผลการเรยี น
2. ต้องขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
หลักเกณฑก์ ารเทียบโอนผลการเรียน
1. สถานศึกษาทุกแห่งมีหน้าที่จัดให้มีการเทียบโอนผลการเรียนในทุกภาคเรียน โดยจะต้องประกาศ
กำหนดระยะเวลาการเทียบโอนให้ทราบท่ัวกันและควรดำเนินการต้ังแต่ภาคเรียนแรกที่นักศึกษาข้ึนทะเบียนเป็น
นักศึกษา หรอื ขน้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ มของสถานศกึ ษา เพื่อสถานศึกษาและผู้เรยี นจะได้จัดแผนการเรียนตลอดหลักสูตร
2. การเทยี บโอนผลการเรยี นให้ดำเนนิ การโดยคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี นของสถานศึกษา
3. ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรียนเป็นรายวิชา ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู
้
4. ให้เทยี บโอนผลการเรยี นได้ไมเ่ กินรอ้ ยละ 75 ของจำนวนหนว่ ยกติ ทัง้ หมดท่ีจะต้องลงทะเบยี นเรยี น
ตลอดหลักสตู รในแต่ละระดับการศึกษา
5. การกำหนดอายุของผลการเรียนท่ีจะนำมาเทยี บโอนผลการเรยี น
5.1 กรณีที่เป็นหลักฐานการศึกษาจากหลักสูตรท่ีจัดเป็นระดับทั้งการศึกษาในระบบและ
การศึกษานอกระบบไมก่ ำหนดอายุของผลการเรยี น
5.2 กรณีท่ีเป็นหลักฐานจากการศึกษาต่อเน่ืองควรกำหนดอายุของผลการเรียนให้เหมาะสม
กับพื้นฐานธรรมชาติ วิชา ความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน ตามที่
คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรียนของสถานศึกษากำหนด
6. ใหห้ วั หน้าสถานศกึ ษาเปน็ ผอู้ นมุ ัติผลการเทียบโอน
วิธีการเทียบโอนผลการเรียน
พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นการตรวจสอบหลักฐานผลการเรียนในรายละเอียดที่เกี่ยวกับระดับ
หมวดวิชาท่ีเรียน ผลการเรียน ความถูกต้องของหลักฐาน โดยหลักฐานการศึกษาที่นำมาเทียบโอนผลการเรียน
ต้องเปน็ หลกั ฐานทอี่ อกโดยสถานศึกษา
ขน้ั ตอนการเทียบโอนผลการเรียน
การเทียบโอนผลการเรียน ต้องดำเนินงานในข้ันตอนก่อนการลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่างๆ ตาม
หลักสูตร เพ่ือผู้เรียนจะได้ไม่เรียนซ้ำในเรื่องท่ีตนเองมีความรู้และมีประสบการณ์อยู่แล้ว โดยมีลำดับข้ันของ
การเทยี บโอนผลการเรยี น ดังน
้ี
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เขา้ สูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
แผนภมู ิแสดงขัน้ ตอนการเทียบโอนผลการเรียน
ผู้เรยี น เจา้ หน้าที่
แนะแนว
แนะนำ
ลงทะเบยี นเรยี น
การเรียน ลงทะเบยี นเทียบโอน
ตลอด
เจา้ หนา้ ที่ สอบถาม/ตรวจสอบ
หลักสตู ร
เจา้ หน้าทีช่ ้ีแจงวิธกี ารเทียบโอนจาก
หลกั สตู รการศึกษาทีจ่ ดั เป็นระดบั
ดำเนนิ การเทยี บโอน
ไมผ่ า่ น
ผลการเทยี บโอน
ผา่ น
ประกาศและบันทึกในหลกั ฐานงานทะเบียน
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544
เขา้ สูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
บทท่ี 2
การเทยี บโอนผลการเรยี นระหว่าง
หลักเกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียนตามหลกั สูตรการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 กบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
การเทียบโอนผลการเรียนระหว่างหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 ได้วิเคราะห์จากเน้ือหาสาระมาตรฐานท่ีไม่สอดคล้องกับรายวิชาบังคับ นำมาจัดทำเป็นหลักสูตรรายวิชาเลือก
โดยยึดกรอบการเทียบโอนผลการเรยี นที่จดั การศึกษาเป็นระดับ มรี ายละเอียดดงั น้
ี
ตารางแสดงสรปุ จำนวนหนว่ ยกติ ท่ีสามารถเทียบโอนไดท้ ง้ั รายวิชาบังคบั และรายวชิ าเลอื ก
หลักเกณฑ์และวิธกี ารจดั เทยี บโอนเข้าส่หู ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
การศึกษานอกโรงเรียน พุทธศักราช 2551
ตามหลกั สูตรการศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(หมวดวชิ า) บังคับ เลือก บงั คับ เลอื ก บังคบั เลอื ก
(หนว่ ยกิต) (หนว่ ยกิต) (หน่วยกิต) (หน่วยกิต) (หน่วยกติ ) (หนว่ ยกิต)
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ 3 - 4 1 5 1
คณิตศาสตร ์ 3 - 4 1 5 1
วิทยาศาสตร์ 3 1 4 1 5 1
พฒั นาอาชีพ 3 1 4 1 5 1
พัฒนาทกั ษะชวี ติ 1 2 3 2 3 2 6
พัฒนาทักษะชวี ิต 2 3 3 3 3 3 6
พฒั นาสังคม 2 3 2 3 2 6
รวม 6 - 6 - 6 2
รวมท้ังส้ิน 25 11 29 13 33 24
36 หน่วยกติ 42 หน่วยกิต 57 หนว่ ยกติ
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ตารางการเทียบโอนผลการเรยี นระหวา่ งหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 กบั
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ระดบั ประถมศึกษา
หกลกาพักราเรศุทก ตศกึธณากึษศมฑษกัาหน์แารลขาอลักชัน้กะสพวโ2ูตรธิ น้ื 5งรีกฐเ4 ารา4รยีน
จนัด
รเะทดยี บั บ กโาอรนศเขกึ า้ษสาูห่ ขลน้ั ักพส้นื ตู ฐรากนารพศุทกึ ธษศาักนรอากชร2ะบ55บ1
รายวิชาท่ีเรียนเพม่ิ
หมวดวชิ า นก. รายวชิ าบังคบั นก. รายวชิ าเลือก นก. รายวิชาบังคับ นก. รายวชิ าเลอื ก นก.
ทร11001 5
ทักษะการเรยี นรู้
ภาษาไทย 5 พท11001 3
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ 5 พต11001 3
ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน
คณติ ศาสตร์ 5 พค11001 3 พค12006 1
คณติ ศาสตร ์ คณติ ศาสตร์เสรมิ
วิทยาศาสตร์ 5 พว11001 3 พว12009 1
วิทยาศาสตร ์ วทิ ยาศาสตรเ์ สรมิ
พฒั นาอาชีพ 7 อช11001 ช่องทาง 2 อช12002 3
การเข้าสูอ่ าชพี การพัฒนาอาชพี อช11002 ทกั ษะ 4
การประกอบอาชีพ
อช11003 พัฒนา 2
อาชพี ใหม้ ีอยู่มกี นิ
พฒั นาทกั ษะชีวิต 1 7 ทช11001 1
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ทช11002 2 ทช12005 3
สุขศกึ ษา พลศกึ ษา สขุ ภาพพลานามัย
พัฒนาทกั ษะชวี ติ 2 7 ทช11003 ศิลปศกึ ษา 2 ทช12006 3
ศิลปศกึ ษา
พฒั นาสงั คม 7 สค11001 3
สงั คมศกึ ษา
สค11002 ศาสนา 2
และหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง
สค11003 1
การพัฒนาตนเอง
ชุมชน สงั คม
รวมจำนวนหน่วยกิตทัง้ หมด รวม 25 รวม 11 รวม 11 รวม 1
48 หน่วยกติ เทยี บโอนได้ไม่เกนิ 36 หน่วยกติ ต้องลงทะเบยี นเรยี นเพม่ิ 12 หนว่ ยกิต
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
ตารางการเทยี บโอนผลการเรียนระหวา่ งหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 กับ
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หกลกาพกั ราเรศทุ ก ตศกึธณาึกษศมฑษักาหน์แารลขาอลักชั้นกะสพวโ2ตูรธิ ื้น5งรกี ฐเ4 ารา4รยีน
จนัด
รเะทดียบั บ กโาอรนศเขกึ า้ษสาูห่ ขลั้นกัพสนื้ ูตฐรากนารพศทุ ึกธษศากั นรอากชร2ะบ55บ1
รายวิชาทีเ่ รยี นเพ่มิ
หมวดวชิ า นก. รายวชิ าบงั คับ นก. รายวิชาเลอื ก นก. รายวิชาบงั คบั นก. รายวิชาเลอื ก นก.
ทร21001 5
ทกั ษะการเรียนรู้
ภาษาไทย 6 พท21001 4 พท22010 1
ภาษาไทย ภาษาไทยเสริม
ภาษาอังกฤษ 6 พต21001 4 พต22010 1
ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน ภาษาอังกฤษใกล้ตวั
คณิตศาสตร ์ 6 พค21001 4 พค22011 1
4
คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตรเ์ สรมิ
วิทยาศาสตร์ 6 พว21001 4 พว22001 1
2
วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์เสรมิ
พัฒนาอาชีพ 8 อช21001 ชอ่ งทาง 2 อช22002 3 อช21002 ทักษะ
การพฒั นาอาชีพ การพัฒนาอาชีพ การพฒั นาอาชีพ
อช21003
พฒั นาอาชีพ
ให้มคี วามเข้มแข็ง
พัฒนาทักษะชีวติ 1 8 ทช21001 1
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ทช21002 2 ทช22005 3
สุขศึกษา พลศึกษา การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
และการออกกำลงั กาย
พัฒนาทกั ษะชีวิต 2 8 ทช21003 2 ทช22006 3
ศิลปศึกษา ศิลปศกึ ษา
พฒั นาสงั คม 8 สค21001 3
สังคมศกึ ษา
สค21002 ศาสนา 2
และหนา้ ทพี่ ลเมือง
สค21003 การพัฒนา 1
ตนเอง ชมุ ชน สังคม
รวมจำนวนหน่วยกิตทง้ั หมด รวม 29 รวม 13 รวม 11 รวม 3
56 หน่วยกิต เทยี บโอนไดไ้ มเ่ กิน 42 หน่วยกติ ต้องลงทะเบียนเรียนเพ่มิ 14 หนว่ ยกติ
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544
เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ตารางการเทียบโอนผลการเรยี นระหวา่ งหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 กบั
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
รายวชิ าท่เี รยี นเพ่ิม
หกลกาพกั ราเรศทุ ก ตศึกธณาึกษศมฑษักาหน์แารลขาอลกัช้นักะสพวโ2ตูรธิ ้นื 5งรกี ฐเ4 ารา4รียน
จนดั
รเะทดยี ับบ กโาอรนศเขกึ ้าษสา่หู ขลนั้ ักพส้ืนูตฐรากนารพศทุ ึกธษศาักนรอากชร2ะบ55บ1
หมวดวชิ า นก. รายวิชาบงั คับ นก. รายวิชาเลือก นก. รายวิชาบงั คับ นก. รายวิชาเลอื ก นก.
ทร31001 5
ทักษะการเรยี นร้ ู
ภาษาไทย 7 พท31001 5 พท32020 1
ภาษาไทย ภาษาไทยเสรมิ
ภาษาอังกฤษ 7 พต31001 5 พต32013 1
ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน ภาษาองั กฤษใกลต้ ัว
คณติ ศาสตร์ 7 พค31001 5 พค32008 1
คณติ ศาสตร ์ คณติ ศาสตรเ์ สรมิ
วิทยาศาสตร ์ 7 พว31001 5 พว32021 1
วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์เสรมิ
พฒั นาอาชีพ 12 อช31001 ช่องทาง 2 อช32002 2 อช31002 ทักษะ 4
การขยายอาชพี การพัฒนาอาชีพ การขยายอาชีพ
อช32003 การออกแบบ 2 อช31003 2
และเทคโนโลยี พัฒนาอาชีพ
ในงานอาชพี ให้มีความมั่นคง
อช32004 เทคโนโลยี 2
สารสนเทศในงานอาชพี
พฒั นาทกั ษะชีวติ 1 12 ทช31001 1
เศรษฐกิจพอเพยี ง
ทช31002 2 ทช32004 3
สุขศกึ ษา พลศึกษา ชีวิตและครอบครัว
ทช32005 สขุ ภาพ 3
และความปลอดภยั
พัฒนาทักษะชวี ติ 2 12 ทช31003 ศิลปศึกษา 2 ทช32006 ทศั นศิลป ์ 2
ทช32007 ดนตร ี 2
ทช32008 นาฏศิลป์ 2
พฒั นาสังคม 12 สค31001 3 สค32024
สังคมศึกษา สังคมศกึ ษาเสริม 2
สค31002 ศาสนา 2
และหนา้ ทพี่ ลเมอื ง
สค31003 การพฒั นา 1
ตนเอง ชุมชน สังคม
รวมจำนวนหนว่ ยกติ ทั้งหมด รวม 33 รวม 24 รวม 11 รวม 8
76 หน่วยกิต เทยี บโอนไดไ้ ม่เกนิ 57 หนว่ ยกิต ต้องลงทะเบยี นเรยี นเพ่มิ 19 หน่วยกิต
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544
เข้าสู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
บทที่ 3
คำอธบิ ายรายวชิ าเลือกท่ไี ดจ้ ากการเทียบโอนผลการเรยี น
จากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าส่
ู
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
ที ่ รหสั ชือ่ รายวชิ า หจนำว่นยว กนติ ประถ ม ระดบั มก.าตร น้ ศ ึกษา ม. ปลาย หมาย
เหตุ
1 พค12006 คณติ ศาสตร์เสริม 1 ✓
2 พว12009 วทิ ยาศาสตร์เสริม 1 ✓
3 อช12002 การพัฒนาอาชพี 3 ✓
4 ทช12005 สุขภาพพลานามยั 3 ✓
5 ทช12006 ศิลปศึกษา 3 ✓
6 พท22010 ภาษาไทยเสรมิ 1 ✓
7 พต22010 ภาษาอังกฤษใกล้ตวั 1 ✓
8 พค22011 คณิตศาสตรเ์ สริม 1 ✓
9 พว22001 วิทยาศาสตรเ์ สรมิ 1 ✓
10 อช22002 การพัฒนาอาชพี 3 ✓
11 ทช22005 การสรา้ งเสริมสขุ ภาพและการออกกำลงั กาย 3 ✓
12 ทช22006 ศลิ ปศึกษา 3 ✓
13 พท32020 ภาษาไทยเสริม 1 ✓
14 พต32013 ภาษาอังกฤษรอบตวั 1 ✓
15 พค32008 คณิตศาสตร์เสรมิ 1 ✓
16 พว32021 วทิ ยาศาสตรเ์ สรมิ 1 ✓
17 อช32002 การพฒั นาอาชพี 2 ✓
18 อช32003 การออกแบบและเทคโนโลยใี นงานอาชพี 2 ✓
19 อช32004 เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานอาชีพ 2 ✓
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544
เขา้ สูห่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท่ี รหัส ชอื่ รายวิชา หจนำว่นยว กนิต ประถ ม ระดับมก.าตร น้ ศ กึ ษา ม. ปลาย หมาย
เหต
ุ
20 ทช32004 ชีวติ และครอบครวั 3 ✓
21 ทช32005 สุขภาพและความปลอดภยั ในชีวิต 3 ✓
22 ทช32006 ทัศนศิลป ์ 2 ✓
23 ทช32007 ดนตรี 2 ✓
24 ทช32008 นาฏศลิ ป ์ 2 ✓
25 สค32024 สงั คมศกึ ษาเสริม 2 ✓
10 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
คำอธบิ ายรายวิชาเลือก
และรายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชาเลือก
ระดบั ประถมศกึ ษา
คำอธิบายรายวิชา พค12006 คณิตศาสตร์เสริม จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ระดับประถมศึกษา
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการ เศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ การวัด
เรขาคณติ สถติ แิ ละความน่าจะเป็นเบือ้ งต้น
ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกับเรื่องตอ่ ไปนี้
การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล แบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมขึ้นทีละเท่าๆ กัน แบบรูป
ของจำนวนท่ีลดลงทีละเท่าๆ กัน แบบรูปของรูปเรขาคณิต และรูปอื่นๆ ที่สัมพันธ์กันและเขียนประโยคสัญลักษณ์
แสดงความสัมพันธ์ของสถานการณ์หรือปัญหา ความหมายของสมการ สมการท่ีเป็นจริง สมการท่ีมีตัวไม่ทราบค่า
คำตอบของสมการ สมบัติของการเทา่ กัน การแกส้ มการ และการแกโ้ จทย์ปญั หาดว้ ยสมการ
การจัดประสบการณ์การเรียนร
ู้
จัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุปรายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้
ส่ิงต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ พร้อมท้ัง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความ
รบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และมคี วามเชอื่ มัน่ ในตนเอง
การวัดและประเมินผล
ใช้วิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเน้ือหาและทักษะที่ต้องการวัด
และประเมินผล เช่น การทำใบงาน การทดสอบย่อย การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
การอภปิ รายกลมุ่ และการนำเสนอผลงาน
12 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544
เข้าส่หู ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า พค12006 คณติ ศาสตร์เสริม จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ระดับประถมศึกษา
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับจำนวนและการดำเนินการ เศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ การวัด
เรขาคณิต สถติ ิและความน่าจะเป็นเบ้อื งต้น
ที ่ หวั เรื่อง ตัว ชี้วัด เนอื้ หา
จำนวน
(ชวั่ โมง)
1 การหาจำนวนในแบบรปู
1. หาจำนวนตอ่ ไปท่ีอยู่ใน
1. แบบรปู ของจำนวนท่ีเพ่ิมขึน้
40
ทกี่ ำหนดและความสมั พนั ธ์
แบบรูปท่กี ำหนดให
้ ทีละเท่าๆ กัน
และบอกความสัมพนั ธ
์ 2. แบบรูปของจำนวนท่ลี ดลง
2. บอกรปู ต่อไปทีอ่ ยู่ในแบบรปู
ทีละเท่าๆ กนั
ทกี่ ำหนดให้ และบอกความ 3. แบบรูปของรปู เรขาคณิต
สัมพนั ธ ์
และรปู อน่ื ๆ ที่สมั พันธ์กนั
วิเคราะหส์ ถานการณห์ รือปญั หา การเขียนประโยคสญั ลกั ษณ ์
และเขียนใหอ้ ยู่ในรูปประโยค แสดงความสัมพนั ธข์ อง
สญั ลกั ษณ์
สถานการณ์และปญั หา
2 การวิเคราะหส์ ถานการณห์ รอื 1. บอกความหมายของสมการ
1. ความหมายสมการ
ปญั หา และเขยี นให้อย่ใู นรูป 2. บอกไดว้ ่าสมการเปน็ จรงิ
2. สมการทเี่ ป็นจรงิ
ประโยคสญั ลักษณ์
หรือไม่
3. สมการทีม่ ีตวั ไมท่ ราบคา่
3 สมการ
3. บอกสมบตั ิของการเท่ากัน
4. สมบตั ขิ องการเทา่ กนั
4. หาคำตอบสมการ
5. คำตอบของสมการ
5. แกโ้ จทย์ปัญหาสมการ
6. วิธีแกส้ มการ
อยา่ งง่าย
7. วิธีแก้โจทย์ปัญหาดว้ ยสมการ
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
13
ตามหลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544
เขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
คำอธบิ ายรายวิชา พว12009 วทิ ยาศาสตรเ์ สริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษา
มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั
มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเหน็ คุณคา่ เก่ียวกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่ิงมชี วี ติ
ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
และดาราศาสตร์ มีจติ วิทยาศาสตรแ์ ละนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ิต
ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเรือ่ งตอ่ ไปนี
้
โครงสร้างและการเจริญเติบโต การขยายพันธ์ุ ประโยชน์และโทษของสิ่งมีชีวิตเล็ก (จุลินทรีย์)
โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบต่างๆ ในร่างกายมนุษย์ กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก หิน ดิน น้ำ
อากาศ เทคโนโลยีอวกาศ ประโยชน์และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ
การจัดประสบการณ์การเรียนร้
ู
ให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า ทดลอง อธิบาย อภิปราย และนำเสนอด้วยการจัดกระบวนการเรียนร
้
ู
โดยการพบกลุ่ม การเรียนรู้แบบทางไกล แบบช้ันเรียน ตามอัธยาศัย การสอนเสริม การเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำ
รายงาน การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์โดยตรง ใช้สถานการณ์จริง การสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และการเรยี นร้ดู ้วยโครงงาน
การวัดและประเมินผล
การสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบัติ รายงานการทดลอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การเรียนรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมนิ การนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน
14 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
คำอธิบายรายวิชา พว12009 วทิ ยาศาสตรเ์ สรมิ จำนวน 1 หน่วยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษา
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเห็นคุณคา่ เก่ียวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สิ่งมชี ีวิต
ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถ่ิน สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
และดาราศาสตร์ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์และนำความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชีวิต
ท ่ี หวั เรอื่ ง ตวั ชว้ี ดั เน้ือหา
จำนวน
(ช่วั โมง)
1 ส่ิงมชี ีวิตเล็กๆ และพชื
อธิบายโครงสร้างและการเจริญ โครงสรา้ งและการเจริญเตบิ โต 40
เติบโต การขยายพนั ธ์ุ ประโยชน์ การขยายพนั ธ์ุ ประโยชน์และโทษ
และโทษของส่งิ มีชวี ติ เล็ก ของสงิ่ มชี วี ติ เล็ก (จลุ ินทรีย์)
(จุลินทรีย)์
2 ระบบต่างๆ ในรา่ งกาย
1. อธิบายโครงสรา้ งและหน้าท่ี 1. โครงสรา้ งและหน้าที่ของ
ของอวัยวะในระบบตา่ งๆ
อวยั วะในร่างกายมนษุ ย
์
ในรา่ งกายมนษุ ยไ์ ด
้ - ระบบยอ่ ยอาหาร
- ระบบขับถ่าย
- ระบบหายใจ
- ระบบหมนุ เวยี นโลหติ
- ระบบโครงกระดูก
และกลา้ มเน้ือ
- ระบบประสาท
- ระบบสบื พันธ
์ุ
2. อธิบายความสัมพนั ธ์ของ 2. ความสัมพนั ธ์ของระบบตา่ งๆ
ระบบตา่ งๆ ในรา่ งกายได้
ในร่างกาย
3. สังเกต อธบิ ายความแตกตา่ ง 3. การเจริญเติบโตและการ
การเจริญเติบโตและ
เปล่ยี นแปลงของรา่ งกาย
การเปลีย่ นแปลงของรา่ งกาย (จากวัยแรกเกดิ ถึงวัยผูใ้ หญ่)
(จากวยั แรกเกดิ ถงึ วยั ผใู้ หญ่ - เพศชาย
ได้)
- เพศหญิง
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรียน
15
ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท ่ี หัวเรื่อง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
3 กระบวนการเปล่ยี นแปลง
1. อธิบายกระบวนการ 1. กระบวนการเปล่ยี นแปลง
ของโลก
เปล่ียนแปลงของโลก
ของโลก
2. สงั เกตและอธบิ ายลกั ษณะ 2. ความหมาย ชนดิ ของหิน
ของหนิ ในทอ้ งถิ่น (สี น้ำหนัก หินในทอ้ งถน่ิ และประโยชน
์
เนื้อ) และประโยชน์ของหิน
ของหนิ
3. อธิบายกระบวนการผุพงั อยู่ 3. กระบวนการผุพังอยูก่ บั ที่
กับทีแ่ ละการกรอ่ นของหิน และการกรอ่ นของหนิ และ
และผลท่เี กิดข้นึ
ผลทเี่ กิดขน้ึ
4. ทดสอบสมบัติของดนิ ใน 4. สมบัตขิ องดนิ ในท้องถ่ิน
ท้องถนิ่ โดยวธิ ีตา่ งๆ
โดยวิธตี ่างๆ
5. ทดลองความเปน็ กรดเบส 5. ความเป็นกรดเบสของดนิ โดย
ของดนิ
การใชก้ ระดาษอินดิเคเตอร
์
6. อธบิ ายแหลง่ นำ้ และทดลอง 6. แหล่งนำ้ และทดลองวิธีทำ
วธิ ีทำนำ้ ให้สะอาด
นำ้ ให้สะอาด
7. ทดลองการเกดิ วฎั จกั รของนำ้
7. การเกดิ วัฎจกั รของนำ้
8. บอกวธิ ใี ช้นำ้ อยา่ งประหยดั 8. วธิ ีใชน้ ้ำอยา่ งประหยดั และ
และแนวทางการอนรุ กั ษน์ ำ้ แนวทางการอนรุ กั ษ์นำ้
ในท้องถิน่
ในทอ้ งถิ่น
9. บอกความหมายและ
9. ส่วนประกอบของอากาศ
สว่ นประกอบของอากาศ ความสำคัญของอากาศ
ความสำคัญของอากาศ
ในการดำรงชีวติ
ในการดำรงชวี ติ
10. ปฏิบัตกิ ารใชเ้ คร่อื งมือวัด 10. การใชเ้ คร่ืองมือวัดอณุ หภูมิ
อณุ หภูมิและทิศทางของลม
และทศิ ทางของลม
11. อธิบายการเกิดลมประเภท 11. การเกิดลมประเภทตา่ งๆ
ต่างๆ และการใชป้ ระโยชน์ และการใช้ประโยชน์จาก
จากพลงั งานลม
พลังงานลม
12. บอกวิธีการติดตามข่าวสาร 12. วธิ กี ารติดตามข่าวสารและ
และจดบนั ทกึ ขา่ วพยากรณ์ จดบนั ทึกขา่ วพยากรณ์อากาศ
อากาศ เพอื่ นำมาใช้ เพื่อนำมาใชป้ ระโยชน ์
ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั
ในชวี ติ ประจำวนั
16 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544
เขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท ่ี หัวเรือ่ ง ตัว ชว้ี ดั เนอ้ื หา
จำนวน
(ชัว่ โมง)
4 เทคโนโลยีอวกาศ
1. อธิบายความหมายและความ 1. ความหมายและความสำคญั
สำคญั ของเทคโนโลยอี วกาศ
และเทคโนโลยอี วกาศ
2. บอกประโยชนแ์ ละความ 2. ดาวเทยี มและการใช้
ก้าวหนา้ ของเทคโนโลยี ประโยชน์ของดาวเทยี ม
อวกาศในดา้ นตา่ งๆ
ในดา้ นตา่ งๆ เช่น
การส่อื สาร การเกษตร
การสำรวจทรพั ยากร
ธรรมชาติ ฯลฯ
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
17
ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
คำอธิบายรายวชิ า อช12002 การพฒั นาอาชีพ จำนวน 3 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษา
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
1. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจเลือกบนพื้นฐานความรู้ กระบวนการผลิต
กระบวนการตลาด ทใี่ ชน้ วตั กรรม/เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม
2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงานและโครงการธุรกิจ เข้าสู่ตลาดการแข่งขัน
ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการมีอยู่มีกิน
3. มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพให้มีผลิตภัณฑ์ หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียง
ต่อการดำรงชวี ิต
ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกบั เรือ่ งต่อไปนี
้
กระบวนการทำงาน การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน กิจนิสยั
ในการทำงาน ทักษะในงานอาชีพสุจริต ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน มีกระบวนการเข้าสู่อาชีพ
เพ่ือให้เกิดรายได้และมีความม่ันคงโดยมีการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพ ร่วมกันบริหารจัดการเป็นวิสาหกิจชุมชน สร้าง
กลยทุ ธท์ างการตลาด เพ่ือยกระดับมาตรฐานคณุ ภาพเขา้ สูต่ ลาดการการแข่งขนั ได้
ธรรมชาติของเทคโนโลยี กระบวนการทางเทคโนโลยี การวางแผนเลือกและใช้เทคโนโลยีในการดำรง
ชีวิตและการทำงาน เจตคติทด่ี ีต่อการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลย
ี
ประโยชน์และความสำคัญของข้อมูลและแหล่งข้อมูล ชื่อและหน้าท่ีของอุปกรณ์พื้นฐานทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ หลักการทำงานเบ้ืองต้นและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ข้ันตอนการใช้ของคอมพิวเตอร์ การใช้
คอมพิวเตอรใ์ นการคน้ หาข้อมลู และความรจู้ ากแหล่งขอ้ มูล
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ศึกษา แลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำงาน การรวมกลุ่ม การแก้ปัญหา ศึกษากิจกรรม
ในอาชีพ กำหนดแนวทางการดำเนินงาน เขียนโครงการประกอบอาชีพ ดำเนินงานตามโครงการ จดบันทึก
ผลการประกอบอาชีพ วิเคราะห์กิจกรรมในอาชีพเพื่อพัฒนาให้อาชีพมีความม่ันคง มีการบริหารจัดการเป็นวิสาหกิจ
ชุมชน โดยมีการใชก้ ระบวนการเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั การประกอบอาชีพของตนเอง
การวัดและประเมินผล
ประเมินจากสภาพจริง ผลงานปฏิบัติ สังเกตความสนใจ ความร่วมมือในกระบวนการเรียนร ู้
ความรับผิดชอบในการปฏิบัติ
18 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
เขา้ สู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า อช12002 การพฒั นาอาชีพ จำนวน 3 หน่วยกิต
ระดับประถมศึกษา
มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
1. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจเลือกบนพื้นฐานความรู้ กระบวนการผลิต
กระบวนการตลาด ทใี่ ช้นวตั กรรม/เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม
2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงานและโครงการธุรกิจ เข้าสู่ตลาดการแข่งขัน
ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่อื การมอี ยู่มกี นิ
3. มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพให้มีผลิตภัณฑ์ หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียง
ต่อการดำรงชีวิต
ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เน้ือหา
จำนวน
(ชัว่ โมง)
1 กระบวนการทำงาน
กำหนดกระบวนการทำงานเปน็ 1. การวิเคราะหแ์ ละวางแผน 3
ขั้นตอน
การดำเนนิ งาน
2. การจดั ทำแผนการดำเนนิ งาน
3. การปฏิบัติงานตามแผน
4. การประเมินและการปรับปรุง
แผนการดำเนนิ งาน
2 การทำงานเป็นกลุม่
อธบิ ายการทำงานเป็นกลุ่มที่ 1. บทบาทผ้นู ำ
3
เก่ียวข้องกบั อาชพี
2. บทบาทสมาชกิ กลมุ่
3. คณุ ธรรม จริยธรรมในการ
ทำงานเป็นกลุม่
4. การสร้างสัมพนั ธภาพทีด่ ี
ในกลุ่ม
3 การแสวงหาความรู้จากแหล่ง วิเคราะห์ สงั เคราะห์เก่ียวกบั การวเิ คราะห์ สังเคราะหข์ ้อมลู 3
แหล่งความรู้ต่างๆ ท่เี กย่ี วกับ เกี่ยวกับแหลง่ ความร้ตู ่างๆ
ความรูต้ า่ งๆ
อาชพี
เกยี่ วกับอาชพี
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น
19
ตามหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ ส่หู ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท ี่ หวั เรอื่ ง ตัว ช้วี ัด เนอ้ื หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
4 การแก้ปญั หาการทำงาน
สามารถแก้ปัญหาการทำงาน
1. การวเิ คราะห์ปญั หา
6
2. การหาสาเหตุของปัญหา
3. การหาทางเลือกในการ
แก้ปญั หา
4. การตดั สนิ ใจเลอื กแนวทาง
แก้ปัญหา
5. การดำเนนิ การแก้ปัญหา
ตามทตี่ ดั สนิ ใจเลือก
5 กิจนสิ ัยในการทำงาน
มีความมุ่งมั่น และเห็นคณุ ค่า
1. มีความมงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2
ในการทำงาน ทำงานอยา่ ง
ใหเ้ สรจ็
มคี วามสุข ด้วยความประณตี 2. ทำงานดว้ ยความประณตี
รอบคอบ ปลอดภยั และสะอาด
รอบคอบ ปลอดภยั และ
สะอาด
6 ทกั ษะในอาชพี
มีทักษะในอาชพี ตามทส่ี นใจและ 1. การผลิตของอาชีพท่ีสนใจและ 15
สอดคล้องกบั ความต้องการของ
กฎหมายที่เก่ียวกบั งานอาชพี
ผู้เรยี นและชมุ ชน
2. ฝึกทกั ษะงานอาชพี สุจริต
ท่สี นใจ
3. วางแผนและจดั ทำโครงงาน
เข้าสู่อาชพี
7 กระบวนการเข้าสอู่ าชีพ
มีกระบวนการเข้าสู่อาชีพ
1. หนา้ ที่การตลาด
25
ด้วยการนำผลผลติ หรือบรกิ าร
- แนวคิดการตลาด
หรือฝมี ือแรงงาน
- การวิเคราะหต์ ลาด
เขา้ ส่ตู ลาดให้เกดิ รายได้
- การแบง่ สว่ นตลาด
สร้างและพฒั นาตลาด
- หนา้ ทกี่ ารตลาด
ใหม้ ีความมนั่ คง
2. กลยุทธก์ ารตลาด
- การศกึ ษาสภาพแวดลอ้ ม
ทางการตลาด
- การวางแผนการตลาด
20 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ที่ หัวเรือ่ ง ตัว ชีว้ ดั เนอ้ื หา
จำนวน
(ชวั่ โมง)
- การจัดทำแผนกลยุทธ์
ทางการตลาด
- การวจิ ยั การตลาด
และขอ้ มูลการตลาด
3. ผูบ้ ริโภค
- พฤตกิ รรมผบู้ ริโภค
- การวเิ คราะหพ์ ฤติกรรม
ผู้บรโิ ภค
4. การพฒั นาผลิตภณั ฑ
์
- กลยทุ ธใ์ นการพฒั นา
ผลติ ภณั ฑ์
- ข้ันตอนการพัฒนา
ผลติ ภณั ฑ์
5. การจัดจำหนา่ ย
- ช่องทางการจัดจำหนา่ ย
- ความจำเป็นในการจดั ต้งั
ตวั แทนจดั จำหน่าย
- การควบคมุ ช่องทาง
จดั จำหนา่ ย
- การส่งเสรมิ การจดั
จำหนา่ ย
6. การทำโครงงานอาชีพ
และการฝกึ ทักษะอาชพี
8 การรวมกลุม่ พฒั นาอาชพี และ สามารถรวมกันเป็นกลมุ่ พัฒนา 1. พลงั งานสงั คม
25
การบรหิ ารจดั การวิสาหกจิ ชุมชน
อาชีพ และรว่ มกันบรหิ ารจดั การ - การเห็นคณุ คา่ ของ
เปน็ วิสาหกิจชุมชน สรา้ งกลยุทธ์ การร่วมมือกันของคน
ทางการตลาดของตนเองและ
ในชุมชน
ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ
- การมภี มู ิปัญญา
เขา้ สู่ตลาดการแขง่ ขนั
- ความเปน็ มติ รของ
คนในชุมชน
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน
21
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ท ่ี หวั เร่ือง ตัว ช้วี ัด เนอื้ หา
จำนวน
(ชว่ั โมง)
2. การรวมกลุ่มพฒั นาอาชพี
- การรวมกลมุ่ กนั สร้าง
ความรู้และการใช้ความร้
ู
3. ความยัง่ ยืนของเศรษฐกิจ
สิง่ แวดลอ้ มและสังคม
4. องคป์ ระกอบความยัง่ ยืน
ของชมุ ชน
- การจัดต้ังองคก์ รชมุ ชน
ความรู้ และกระบวนการ
เรยี นรู้ของชุมชน
5. การสรา้ งเศรษฐกจิ ชุมชน
- การสร้างเศรษฐกจิ
ระดับพออยพู่ อกิน
- การสรา้ งธุรกจิ ส่วนตวั
(SMEs :Small and
Medium Enterprises)
- การสร้างวสิ าหกิจชุมชน
(CE : Community
Enterprises)
6. การบริหารวิสาหกิจชุมชน
ดว้ ย
- ความซาบซึ้งคณุ คา่
ในวสิ าหกิจชุมชน
- การสรา้ งนโยบาย
- การปฏิสมั พนั ธ์ตา่ งๆ
- การควบคมุ สู่การกระทำ
9 การออกแบบและเทคโนโลยี
1. อธิบายธรรมชาตขิ อง 1. ธรรมชาติของเทคโนโลยี
18
เทคโนโลย
ี
2. ใชก้ ระบวนการทาง 2. กระบวนการทางเทคโนโลยี
เทคโนโลยีในการแก้ปญั หา
2.1 กำหนดปญั หา บ่งชี ้
ระบจุ ำแนกปญั หา
22 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ท ี่ หัวเร่ือง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หา
จำนวน
(ชวั่ โมง)
ทก่ี ำหนดไวแ้ ละใชเ้ กณฑ ์
เพ่อื ตรวจสอบความสำเร็จ
ของการแกป้ ญั หา
2.2 คน้ ควา้ หาความรแู้ ละ
ใช้ความรูท้ ่ไี ดเ้ พื่อ
กำหนดแนวทาง
แก้ปัญหา
2.3 ออกแบบสิ่งประดิษฐ์
อุปกรณ์ หรอื วธิ ีการ
เพือ่ ใชใ้ นการแกป้ ัญหา
นำเสนอและเปรยี บเทยี บ
วิธีการทีห่ ลากหลายใน
การแกป้ ญั หาโดยคำนึง
ถงึ วัสดแุ ละเครือ่ งมือทม่ี ี
ความคมุ้ ค่า และความ
ปลอดภยั
2.4 เลือกแบบหรือวิธกี าร
ที่เหมาะสม เพ่อื สร้าง
ตน้ แบบหรือสถานการณ์
จำลอง
2.5 ทดสอบต้นแบบโดยใช้
วัสดุ อปุ กรณ์ทาง
เทคโนโลยที ี่มี และ
บันทกึ ขอ้ มลู การทดสอบ
ภายใต้กรอบที่กำหนด
การปรับปรงุ แก้ไข
2.6 ประเมินผลการทดสอบ
ภายใต้กรอบของเกณฑ
์
ท่กี ำหนด บันทกึ สาเหตุ
ของการผดิ พลาด
ความคลาดเคลอ่ื นและ
เสนอแนะปรับปรงุ แกไ้ ข
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
23
ตามหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท ี่ หัวเรอ่ื ง ตัว ชวี้ ดั เนือ้ หา
จำนวน
(ชว่ั โมง)
2.7 เสนอแนวคดิ
กระบวนการ และผลงาน
ภายในช้นั เรยี น
3. เลือกและใชเ้ ทคโนโลย
ี 3. การใช้เทคโนโลยีเพอื่ การ
ในชีวิตประจำวันได้อยา่ ง ดำรงชีวติ
เหมาะสมตอ่ การทำงาน
3.1 เปรยี บเทยี บสิง่ ของ
และการประกอบอาชพี
เครือ่ งใช้หรือวธิ ีการทีไ่ ด้
จากเทคโนโลยที ี่ใชใ้ น
ท้องถนิ่ ทัง้ ดา้ นคุณภาพ
ความเหมาะสม การเปน็
ทีย่ อมรับ ความคุ้มค่าต่อ
การใชง้ านและเลือกใช้
อยา่ งเหมาะสมปลอดภยั
และมีผลดตี ่อส่ิงแวดล้อม
3.2 เลอื กและใช้เทคโนโลยี
ในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมต่อการทำงาน
และการประกอบอาชีพ
ปลอดภยั และไม่เกิดผล
กระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม
4. เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การประยุกตใ์ ช้ 4. เจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การประยกุ ต์ใช้
เทคโนโลยใี นชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีในชวี ิตประจำวนั
10 เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ใช้แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกลต้ วั
1. ศึกษาแหลง่ ขอ้ มลู ทีอ่ ยใู่ กลต้ วั 20
เช่น โทรทศั น์ วิทยุ
หนังสอื พิมพ์ และแหลง่
ข่าวสารขอ้ มลู ของหน่วยงาน
ราชการ
2. อธบิ ายประโยชนแ์ ละความ 2. ประโยชนแ์ ละความสำคญั
สำคัญของขอ้ มูลและแหล่ง ของขอ้ มลู และแหล่งขอ้ มลู
ข้อมลู
24 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเรือ่ ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา
จำนวน
(ชว่ั โมง)
3. รวบรวมข้อมูลจากแหลง่ 3. การรวบรวมขอ้ มลู จากแหล่ง
ข้อมูล
ขอ้ มลู ตา่ งๆ การบนั ทึกผล
ข้อมูล การใช้เทคโนโลยที ่ี
เหมาะสมและการรายงาน
ด้วยวาจา เพอื่ นำเสนอผล
การศกึ ษาค้นคว้า
4. อธบิ ายช่ือและหน้าท
่ี
4. ชือ่ และหนา้ ที่ของอุปกรณ
์
พนื้ ฐานทางเทคโนโลย
ี
ของอุปกรณพ์ ้นื ฐานทาง สารสนเทศ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
4.1 คอมพิวเตอร์ ประกอบ
ดว้ ย หน่วยรบั เข้า
หนว่ ยประเมินผล
หนว่ ยความจำ และ
หน่วยสง่ ออก
4.2 อุปกรณ์ท่ีเป็นสว่ น
ประกอบหลักของ
คอมพิวเตอร์ ได้แก ่
แผงแป้นอกั ขระ เครอ่ื ง
ขบั แผน่ บนั ทกึ ตัวเครอื่ ง
(ซีพียู) และจอภาพ
4.3 แผงแป้นอกั ขระ เปน็
อปุ กรณท์ ่ที ำหนา้ ทรี่ ับ
ข้อมลู จอภาพเปน็
อุปกรณ์ส่งออก เครือ่ ง
ขบั แผน่ บนั ทึก อุปกรณ์
อ่านหรอื เขยี นข้อมูลบน
แผน่ บนั ทกึ ตัวเครอ่ื ง
(ซีพยี )ู เป็นอปุ กรณ์
สำหรับประมวลผลข้อมลู
4.4 เมาส์ เครื่องขับแผ่นซดี ี
เคร่อื งพิมพ์ ลำโพง เปน็
อปุ กรณ์ต่อพว่ งท่ีทำให้
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน
25
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ สู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท ี่ หัวเรอื่ ง ตัว ช้วี ัด เนือ้ หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำงานไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพเพม่ิ ขึ้น
4.5 แผ่นบันทึกข้อมลู
แผน่ ซีดี เป็นสื่อที่ใช้
บันทกึ ขอ้ มูล
4.6 สว่ นประกอบสำคัญ
5 หน่วย ของคอมพิวเตอร
์
มกี ารทำงานอยา่ ง
ประสานกันอยา่ งเปน็
ระบบ
5. อธิบายหลกั การทำงาน
5. หลกั การทำงานเบอื้ งต้นและ
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เบ้อื งต้นและประโยชน
์
5 .1 หลกั การทำงานเบ้อื งต้น
ของคอมพวิ เตอร
์ ของคอมพิวเตอร ์
มลี กั ษณะคลา้ ย
กระบวนการ ทำงานของ
มนุษย์ ที่มกี ารรบั รู้
คดิ และโตต้ อบ
5.2 คอมพิวเตอรส์ ามารถต่อ
พว่ งอปุ กรณต์ ่างๆ หรือ
ตอ่ พว่ งกับคอมพิวเตอร์
เคร่อื งอืน่ เพอ่ื เพมิ่
ประสทิ ธภิ าพในการ
ใชง้ าน
5.3 คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ือง
มอื ในการเรยี นรู้ และ
สอื่ สารของมนุษย์
6. ขน้ั ตอนการใชง้ านคอมพวิ เตอร์
6. ใชง้ านคอมพวิ เตอร์ได้
ขัน้ ตอน การส่ังงาน
ตามขน้ั ตอน
คอมพิวเตอร์ทถี่ กู ตอ้ ง ทำให้
26 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท ี่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา
จำนวน
(ชว่ั โมง)
สามารถใชค้ อมพิวเตอร
์
ไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น
6.1 การเปดิ -ปิด
คอมพิวเตอรอ์ ยา่ งถูกวิธี
จะช่วยปอ้ งกนั ความ
เสยี หายท่ีเกดิ ขึ้นกบั
ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟแวร์
6.2 ระบบปฏบิ ัตกิ ารเป็น
ซอฟต์แวร์ท่สี ำคัญ
เพราะเปน็ ตวั เชอื่ ม
ระหว่างคอมพวิ เตอรก์ บั
ซอฟตแ์ วรใ์ ชง้ านอน่ื ๆ
6.3 การเลอื กใช้ซอฟตแ์ วร์
อย่างถกู วธิ ี ช่วยเพ่มิ
ประสทิ ธิภาพในการ
ใชง้ าน
6.4 ซอฟตแ์ วรส์ ำเรจ็ เช่น
โปรแกรมประมวลคำ
โปรแกรมกราฟฟิก
เปน็ ซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้สร้าง
งานท่ไี ด้จากจนิ ตนาการ
6.5 บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน ช่วยให้เกิด
การเรยี นรูแ้ ละสร้างเสริม
ประสบการณ์ใหม่
7. ใชค้ อมพิวเตอร์ในการคน้ หา 7. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใชค้ อมพิวเตอร์
ข้อมลู และความรจู้ ากแหล่ง ในการค้นหาเรือ่ งท่ีนา่ สนใจ
ขอ้ มลู
ผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
27
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544
เขา้ สูห่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
คำอธิบายรายวชิ า ทช12005 สุขภาพพลานามัย จำนวน 3 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศึกษา
มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
รู้ เขา้ ใจ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติท่ดี ี มที ักษะในการดแู ลและสรา้ งเสริมการมีพฤติกรรมสขุ ภาพทด่ี ี
ปฏิบัติเปน็ กิจนิสยั ตลอดจนปอ้ งกันพฤติกรรมเส่ยี งตอ่ สขุ ภาพและดำรงชีวิตของตนเองและครอบครวั อยา่ งมคี วามสขุ
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรือ่ งต่อไปนี
้
การพัฒนาการเบื้องต้นตามวัยของมนุษย์ การเปล่ียนแปลงและการเจริญเติบโตของมนุษย์ บทบาท
หน้าที่และความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว ทักษะท่ีจำเป็นต่อชีวิต ค่านิยมเก่ียวกับชีวิตครอบครัวและ
พฤติกรรมทางเพศ การจัดการอารมณ์และความต้องการทางเพศ ความหมาย ความสำคัญหลักการ รูปแบบของ
ทักษะการเคลื่อนไหวแบบต่างๆ วิธีการเคล่ือนไหวท่ีถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์ แหล่งบริการข้อมูลข่าวสารด้าน
การออกกำลงั กายและกีฬา สภาพแวดลอ้ มกบั การส่งเสรมิ สุขภาพ วิธีจัดสภาพแวดลอ้ มของครอบครัวทเี่ ออ้ื ตอ่ สขุ ภาพ
ความหมาย และสำคัญของการมีสขุ ภาพดี หลกั การดูแลสุขภาพเบ้อื งต้น การป้องกัน การสง่ เสริมการรักษาพยาบาล
เบอ้ื งต้นและการฟื้นฟูสขุ ภาพ กลวธิ นี ำไปสู่การมีพฤตกิ รรมทส่ี ุภาพ การปอ้ งกนั หลกี เลย่ี งโรค อาการผิดปกติทางกาย
ทางจิต สารเสพติด เอดส์ และโรคที่พบบ่อยในครอบครัวและชุมชน การเลือกใช้ภูมิปัญญาไทยและสมุนไพร
เพ่ือสุขภาพ ข้อมูลข่าวสารผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ สิทธิผู้บริโภคและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง การวางแผนชีวิต
เพ่อื การมสี ุขภาพที่ดี การตรวจสอบและประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ การปรับพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ความหมาย และความสำคัญ
ของข้อมลู สารสนเทศ แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ วิธีแสวงหาและวธิ ีเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศ การเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสาร
ความหมาย ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย หลักการวิธีการทดสอบ และสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
เพ่ือสุขภาพเบื้องต้น ปัจจัยเส่ียงในการดำรงชีวิต การป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง การป้องกัน หลีกเลี่ยง
และการให้ความชว่ ยเหลือเมอ่ื เกดิ อบุ ัตเิ หตุ การเกดิ อัคคภี ัย มลพษิ และสารเคมี หลักและวธิ กี ารปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้
การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
ศึกษาเอกสาร ส่ือทุกประเภท วิเคราะห์ อภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง
สาธิต ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บันทึก ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทำชิ้นงาน/ผลงาน จัดแสดง
นทิ รรศการ ศึกษาดงู าน กจิ กรรมค่าย ฯลฯ
การวดั และประเมินผล
ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธกี าร ทดสอบ สงั เกต สมั ภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมิน
การปฏิบัตจิ รงิ และประเมินสภาพจริง
28 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา ทช12005 สขุ ภาพพลานามัย จำนวน 3 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษา
มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั ประถมศึกษา
รู้ เข้าใจ มีคณุ ธรรม จริยธรรม เจตคตทิ ี่ดี มีทกั ษะในการดแู ลและสร้างเสรมิ การมพี ฤติกรรมสุขภาพท่ีดี
ปฏิบตั เิ ป็นกจิ นสิ ัยตลอดจนป้องกันพฤตกิ รรมเส่ยี งต่อสุขภาพและดำรงชีวติ ของตนเองและครอบครัวอย่างมคี วามสุข
ท่ ี หัวเรอื่ ง ตวั ช้ีวดั เนอื้ หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
1 การพัฒนาการตามวัยมนษุ ย์ 1. อธบิ ายการพฒั นาการของ 1. พฒั นาการเบื้องต้นตามวัย 5
และการเปลยี่ นแปลงและการ ร่างกาย สมองและจิตใจ
ของมนษุ ย์ เช่น พัฒนาการ
เจรญิ เตบิ โตของมนุษย
์ 2. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงด้าน ทางดา้ นรา่ งกาย สมองและ
ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม จติ ใจ
สตปิ ัญญาและจติ วิญญาณ 2. การเปล่ยี นแปลงและการ
ของคนทุกวยั
เจรญิ เติบโตของมนษุ ย
์
2.1 ดา้ นร่างกาย
2.2 ด้านจติ ใจ
2.3 ด้านอารมณ์
2.4 ดา้ นสงั คม
2.5 ด้านสติปัญญาและ
จติ วญิ ญาณ
อธิบายคณุ ค่าของการมชี วี ติ 1. บทบาทหน้าที่และ
10
2 ชวี ิตและครอบครวั ศกึ ษา
ครอบครวั ที่อบอนุ่ ตามวถิ ีชีวติ ของ ความสมั พนั ธ์ของสมาชิก
วัฒนธรรมไทยที่มผี ลต่อสุขภาพ
ในครอบครวั
2. ทกั ษะท่ีจำเป็นตอ่ ชวี ิต
2.1 การสร้างสัมพนั ธภาพ
และการรกั ษา
สัมพนั ธภาพ
2.2 การตดั สินใจและ
การแก้ปญั หาชีวิต
3. ค่านิยมเก่ียวกบั ชีวิต
ครอบครัวและพฤติกรรม
ทางเพศ
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
29
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544
เขา้ สู่หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท ี่ หัวเรื่อง ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
3 การจดั การอารมณ์และความ สามารถตดั สนิ ใจและแกไ้ ขปญั หา การจัดการอารมณแ์ ละ
10
ต้องการทางเพศ
ทางเพศได้อยา่ งเหมาะสม
ความตอ้ งการทางเพศ
4 ทกั ษะการเคลอื่ นไหวแบบตา่ งๆ
สามารถแสดงทักษะการ ความหมาย ความสำคัญ หลกั การ 10
เคลือ่ นไหวในลกั ษณะผสมผสาน รูปแบบของทักษะการเคลอื่ นไหว
ได้ตามลำดบั ทั้งแบบอยกู่ ับท
ี่ แบบตา่ งๆ
แบบเคลอื่ นที่ และแบบอุปกรณ์
ในการเข้ารว่ มกิจกรรมทางกาย
และกฬี า
5 การเคลอ่ื นไหวตามหลัก สามารถจำแนกหลักการการ วิธีการเคล่อื นไหวท่ถี ูกต้อง
5
วทิ ยาศาสตร
์ เคลอ่ื นไหวในเรอื่ งการรับแรง
ตามหลกั วิทยาศาสตร์
การใชแ้ รงความสมดุลและม
ี
สว่ นร่วมในกจิ กรรมทางกาย
และเล่นเกมได้อย่างปลอดภยั
และสนกุ สนาน
6 สุขภาพกับสิ่งแวดล้อม
อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง 1. สภาพแวดล้อมกบั
5
พฤตกิ รรมสขุ ภาพ สงิ่ แวดล้อม การส่งเสรมิ สุขภาพ
และชวี ติ ความเปน็ อยู่ทีด่ รี วมทัง้
2. วิธีจดั สภาพแวดล้อมของ
วิเคราะห์ผลการมพี ฤติกรรม ครอบครัวที่เออื้ ตอ่ สขุ ภาพ
สุขภาพทด่ี ี
7 การดูแลสขุ ภาพตนเองและผอู้ น่ื
อธบิ ายความสำคัญของการมี 1. ความหมาย และความสำคญั
10
พฤตกิ รรมสุขภาพท่ดี ี ตลอดจน ของการมสี ขุ ภาพด
ี
ปฏบิ ตั ิจนเป็นกิจนิสัย
2. หลกั การดูแลสขุ ภาพเบื้องตน้
3. การป้องกัน การสง่ เสรมิ
การรกั ษาพยาบาลเบ้อื งตน้
และการฟ้ืนฟูสุขภาพ
4. กลวิธนี ำไปสกู่ ารมพี ฤติกรรม
สุภาพทีด่
ี
30 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท ่ี หัวเรอ่ื ง ตัว ชว้ี ัด เนอ้ื หา
จำนวน
(ชัว่ โมง)
8 การป้องกัน หลีกเลีย่ งโรค
สามารถปอ้ งกัน หลกี เล่ียงโรค การป้องกนั หลีกเลีย่ งโรค อาการ 5
อาการผดิ ปกตทิ างกาย ทางจติ อาการผดิ ปกตทิ างกาย ทางจิต ผดิ ปกตทิ างกาย ทางจิต สารเสพตดิ
สารเสพตดิ เอดส์ และโรคท
่ี สารเสพตดิ เอดส์ และโรคท่ีพบ เอดส์ และโรคทีพ่ บบ่อยใน
พบบ่อยในครอบครัวและชมุ ชน
บอ่ ยในครอบครวั และชุมชน
ครอบครัวและชมุ ชน
9 สุขภาพบรโิ ภค
สามารถเลือกบรโิ ภคอาหารและ 1. การเลอื กใช้ภมู ิปญั ญาไทย 10
ผลติ ภัณฑ์สุขภาพ ขอ้ มูลข่าวสาร และสมุนไพรเพอื่ สขุ ภาพ
และบรกิ ารสุขภาพ ไดอ้ ย่าง 2. ข้อมูลข่าวสารผลิตภณั ฑแ์ ละ
เหมาะสม
บริการสุขภาพ
3. สทิ ธผิ บู้ รโิ ภคและกฎหมาย
ท่เี กี่ยวข้อง
10 การบริหารจัดการชวี ติ
1. สามารถการวางแผนชวี ติ 1. การวางแผนชวี ิตเพื่อการมี 10
เพอ่ื สุขภาพ
เพ่ือการมีสุขภาพท่ดี
ี สุขภาพที่ดี
2. สามารถตรวจสอบและ 2. การตรวจสอบและประเมนิ
ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ
ภาวะสขุ ภาพ
3. สามารถปรบั พฤตกิ รรม 3. การปรับพฤตกิ รรมสขุ ภาพ
สุขภาพ
11 ข้อมลู สารสนเทศ และ
1. อธิบายความหมาย และ 1. ความหมาย และความสำคญั 5
แหล่งบริการดา้ นสุขภาพ
ความสำคัญของขอ้ มูล
ของข้อมูลสารสนเทศ
ความปลอดภัย การออกกำลังกาย สารสนเทศ
และการเล่นกฬี า
2. สามารถบอกแหล่งข้อมูล
2. ขอ้ มูลสารสนเทศและแหล่ง
สารสนเทศ และแหลง่ บริการ บริการด้านสุขภาพ การออก
ด้านสุขภาพ การออกกำลงั กาย กำลงั กายและการเลน่ กฬี า
และการเล่นกีฬา
3. อธบิ ายวิธีแสวงหาและ
3. วธิ ีแสวงหาและวิธเี ลือกใช้
วิธีเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศ
ข้อมูลสารสนเทศ
4. สามารถเผยแพร่ข้อมลู
4. การเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร
ข่าวสาร ด้านสุขภาพ
ด้านสขุ ภาพ การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายและ
และการเลน่ กฬี า
การเล่นกีฬา
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
31
ตามหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
12 การทดสอบและสรา้ งเสรมิ 1. อธบิ ายความหมาย
1. ความหมาย ความสำคัญ
10
สมรรถภาพทางกายเพอื่ สขุ ภาพ ความสำคญั ของสมรรถภาพ ของสมรรถภาพทางกาย
เบอื้ งต้น
ทางกาย
2. หลักการวิธกี ารทดสอบ
2. อธิบายหลักการ วิธกี าร และสรา้ งเสริมสมรรถภาพ
ทดสอบ และสรา้ งเสริม ทางกาย เพ่อื สขุ ภาพเบ้ืองตน้
สมรรถภาพทางกาย
เพ่อื สขุ ภาพเบอ้ื งต้น
13 ความปลอดภยั ในชวี ิต และ
1. สามารถบอกปัจจยั เส่ยี ง
1. ปัจจัยเส่ียงในการดำรงชวี ิต
15
การปอ้ งกัน หลกี เลยี่ งและการให้ ในการดำรงชวี ิต
2. การปอ้ งกันและหลีกเลี่ยง
ความชว่ ยเหลือเม่ือเกดิ อบุ ตั ิเหตุ 2. อธิบายการป้องกนั และ
ปัจจยั เสย่ี ง
การเกิดอัคคีภัย มลพษิ และ
หลกี เล่ยี งปจั จัยเสี่ยง
3. การป้องกนั หลีกเลี่ยงและ
สารเคมี
3. อธบิ ายพฤตกิ รรมที่จะนำไปสู่ การใหค้ วามช่วยเหลือเม่ือ
ความเสี่ยงตอ่ สุขภาพการเกิด เกดิ อุบัติเหตุ การเกิดอัคคีภยั
อุบัตเิ หตุ การเกิดอคั คภี ัยและ มลพษิ และสารเคมี
สามารถหลีกเล่ยี งได้
14 หลกั และวธิ กี ารปฐมพยาบาล สามารถป้องกัน ชว่ ยเหลือ
หลักและวธิ กี ารปฐมพยาบาล 10
เบ้ืองต้น
ดูแลตนเองจากอุบตั ิเหต ุ
เบือ้ งตน้
มลพิษ สารเคมี และสามารถ
ปฐมพยาบาลได้
32 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
เข้าสู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
คำอธิบายรายวชิ า ทช12006 ศิลปศกึ ษา จำนวน 3 หน่วยกิต
ระดบั ประถมศกึ ษา
มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
ทางทศั นศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศิลปพ์ นื้ บา้ น และสามารถวิเคราะห์วิพากษว์ ิจารณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเรือ่ งต่อไปนี้
การสื่อความคิด จินตนาการความรู้สึก และความประทับใจ ด้วยองค์ประกอบทัศนศิลป์ วิธีการ
ทางศลิ ปะ การเลอื กใช้วัสดอุ ุปกรณใ์ นการทำกจิ กรรมทัศนศลิ ป์ การนำความรู้และวธิ กี ารทัศนศิลป์ การสบื ทอดงาน
ศิลปะไปใชใ้ นหมวดวิชาอ่นื ๆ และในชวี ติ ประจำวัน
ความแตกตา่ งของเสยี ง เคร่อื งดนตรีชนิดต่างๆ การใช้เสยี งดนตรีในการสอื่ ความรู้สึก การบรรเลงเดีย่ ว
และบรรเลงเป็นวง การขบั รอ้ งและบรรเลงดนตรี การใช้และการเก็บรกั ษาเครอื่ งดนตรี การนำความร้ขู องดนตรไี ปใช้
ในหมวดวิชาอื่นๆ และในชวี ติ ประจำวนั
การแสดงออกอยา่ งอิสระ หลกั การและการแสดงนาฏศลิ ปจ์ ากประสบการณ์ การฝกึ ฝน และการสงั เกต
การนำความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับละครสร้างสรรค์ และนาฏศิลปไ์ ปใช้ในหมวดวชิ าอน่ื ๆ และในชีวิตประจำวนั
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ แลกเปล่ียนความรู้ซ่ึงกันและกัน ฝึกทักษะเก่ียวกับทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์
จดบันทึกสรุปองค์ความรู้ และนำความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้เรียนรู้ ในหมวดวิชาอ่ืนๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
อยา่ งสรา้ งสรรค์
การวัดและประเมินผล
ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคดิ เห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดยวธิ กี ารทดสอบ สงั เกต สมั ภาษณ์
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
33
ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ สู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า ทช12006 ศลิ ปศกึ ษา จำนวน 3 หน่วยกติ
ระดบั ประถมศึกษา
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม
ทางทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน และสามารถวิเคราะหว์ ิพากษ์วิจารณ์ได้อย่างเหมาะสม
ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา
จำนวน
(ชั่วโมง)
1 ทศั นศิลป์
สอื่ ความคิด จนิ ตนาการ
1. การส่อื ความคดิ จนิ ตนาการ 5
ความร้สู ึกและความประทบั ใจ
ความร้สู ึกและความประทบั
ดว้ ยวิชาการตา่ งๆอยา่ งมน่ั ใจ
ใจด้วยองคป์ ระกอบทศั นศิลป
์
2. วิธกี ารทางศลิ ปะ
เลอื กใช้วัสดุ อปุ กรณใ์ นการทำ การเลือกใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ในการ 15
กิจกรรมทัศนศิลปไ์ ด้อย่าง
ทำกจิ กรรมทัศนศลิ ปเ์ กย่ี วกบั
เหมาะสมปลอดภัย และมีความ
งานเขียน งานปน้ั งานออกแบบ
รบั ผิดชอบ
และงานประดิษฐ
์
นำความรู้และวธิ กี ารทางทศั น 1. การนำความร้แู ละวธิ ีการทาง 10
ศลิ ป์ไปใชก้ ับหมวดวิชาอ่ืนๆ
ทัศนศลิ ปไ์ ปใชใ้ นการเรยี นรู้
และชีวิตประจำวนั
กบั หมวดวชิ าอ่นื
2. การนำความรู้ และวธิ กี าร
ทางทัศนศิลปไ์ ปใช้ในชวี ิต
ประจำวัน
2 ดนตรี
1. อธบิ ายความแตกต่างของ 1. เสยี งของเครอ่ื งดนตรีชนดิ 5
เสียงเครอื่ งดนตรชี นิดตา่ งๆ ต่างๆ ทง้ั บรรเลงเดย่ี วและ
ท้งั บรรเลงเดีย่ ว และบรรเลง บรรเลงเปน็ วง
เปน็ วง
2. อธบิ ายการใช้เสียงดนตรีใน 2. การใช้เสยี งดนตรใี นการส่อื
การสือ่ ความรูส้ กึ
ความรสู้ กึ
34 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
เขา้ สู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท่ี หัวเร่ือง ตัว ชีว้ ดั เนื้อหา
จำนวน
(ชั่วโมง)
ขับรอ้ งและบรรเลงดนตรี โดยใช้ 1. องคป์ ระกอบของดนตร ี
20
องค์ประกอบดนตรี และเทคนิค และเทคนิคเบอ้ื งต้น
เบอ้ื งต้นให้ไดผ้ ลตามความ 2. หลกั การขับร้อง
ตอ้ งการ
3. การฝึกปฏบิ ัติการขบั ร้อง
4. หลกั การบรรเลงดนตร
ี
5. การฝึกปฏิบตั ิการบรรเลง
ดนตร
ี
ใชแ้ ละการเกบ็ รักษาเคร่ืองดนตรี 1. วธิ ีใช้เครื่องดนตรี
5
ได้อยา่ งถกู ต้อง และปลอดภยั
2. การเก็บรักษาเครื่องดนตร
ี
แสดงออกทางดนตรอี ยา่ ง ก ารนำความร้ขู องดนตรไี ปใช้
10
สรา้ งสรรค์ และนำความรทู้ าง กับวิชาอน่ื และชวี ิตประจำวนั
ดา้ นดนตรไี ปใช้กับวิชาอืน่ ๆ
และชีวติ ประจำวนั
3 นาฏศิลป์
การแสดงออกอย่างอสิ ระ
1. หลักการแสดงออกอย่างอิสระ 5
ตามจินตนาการ หรือเรอื่ งแต่ง
ตามจินตนาการ เรอ่ื งแตง่
หรอื ประสบการณ์ชีวิต
หรอื ประสบการณช์ ีวติ ในรปู
ในรปู แบบตา่ งๆ
แบบของการแสดงตา่ งๆ
2. การฝึกแสดงออกอยา่ งอิสระ
ตามจินตนาการ เร่ืองแต่ง
หรอื ประสบการณช์ ีวิต
ในรูปแบบต่างๆ
รำ เตน้ เบอ้ื งตน้ และการ 1. ความร้พู ื้นฐานเกย่ี วกับการรำ 10
แสดงออกตามลักษณะ
และการเตน้ เบ้อื งตน้
และรูปแบบ
2. การแสดงออกตามลักษณะ
และรปู แบบ
แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
35
ตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที่ หัวเรื่อง ตัว ชี้วดั เนอ้ื หา
จำนวน
(ชว่ั โมง)
แสดงนาฏศิลปจ์ ากประสบการณ์ 1. หลกั การแสดงนาฏศิลปจ์ าก 20
การฝึกฝน และการสังเกต
ประสบการณ์ การฝกึ ฝนและ
การสังเกต
2. การแสดงนาฏศิลป์จาก
ประสบการณ์ การฝกึ ฝน
และการสังเกต
เชอื่ มโยงความรู้ ความเขา้ ใจ
1. การนำความรู้ ความเขา้ ใจ 15
เกีย่ วกบั ละครสร้างสรรค์ และ
เก่ยี วกบั ละครสร้างสรรค์ และ
นาฏศิลป์ ไปใชใ้ นการเรียนรู้ นาฏศลิ ปไ์ ปใช้ในการเรยี นรู้
หมวดวิชาอืน่ ๆ และชีวติ ประจำวัน
หมวดวิชาอื่น
2. การนำความรู้ความเขา้ ใจ
เกยี่ วกับละครสรา้ งสรรค์
และนาฏศลิ ปไ์ ปใชใ้ นชวี ติ
ประจำวนั
36 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
คำอธบิ ายรายวิชาเลอื ก
และรายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชาเลอื ก
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
คำอธิบายรายวชิ า พท22010 ภาษาไทยเสริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
การฟงั การด ู
1. สามารถสรุปความ จับประเด็นสำคญั ของเรื่องท่ฟี ังและดู
2. วเิ คราะห์ แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ คดิ เห็นและจุดประสงคข์ องเรือ่ งทีฟ่ ังและด ู
3. สามารถแสดงทรรศนะและความคดิ เห็นต่อผพู้ ดู อย่างมีเหตผุ ล
4. มมี ารยาทในการฟงั และด
ู
การพูด
1. สามารถพดู นำเสนอความรู้ แสดงความคิดเห็น สร้างความเข้าใจ โนม้ น้าวใจ ปฏิเสธเจรจาตอ่ รอง
ดว้ ยภาษากริ ิยาทา่ ทางท่ีสภุ าพในโอกาสต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
2. มมี ารยาทในการพดู
การอ่าน
1. สามารถอา่ นได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. จับใจความสำคญั แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี า่ น
3. สามารถอา่ นหนงั สือและสอื่ สารสนเทศได้อยา่ งกวา้ งขวาง เพอื่ พัฒนาตนเอง
4. มมี ารยาทในการอา่ นและมนี ิสยั รักการอา่ น
การเขียน
1. สามารถเลือกใชภ้ าษาในการนำเสนอตามรูปแบบของงานเขยี นประเภทตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
2. สามารถใชแ้ ผนภาพความคิด จัดลำดับความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน
3. สามารถแต่งบทรอ้ ยกรองตามความสนใจได้ถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณแ์ ละลักษณะคำประพันธ
์
4. สามารถเขยี นส่อื สารเร่อื งราวต่างๆ ได
้
5. มีมารยาทในการเขียนและมนี ิสยั รักการเขยี น
หลกั การใช้ภาษา
1. รู้และเข้าใจชนิดและหน้าที่ของคำ พยางค์ วลี ประโยค และสามารถอ่าน เขียน ได้ถูกต้องตาม
หลักเกณฑข์ องภาษา
2. สามารถใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน อกั ษรยอ่ คำราชาศพั ท์
3. สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งภาษาพดู และภาษาเขียน
4. รู้และเข้าใจสำนวน สภุ าษติ คำพังเพยในการพูดและเขียน
วรรณคดี วรรณกรรม
ร้แู ละเขา้ ใจความแตกต่างของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ตลอดจนเห็นคุณค่า
38 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรือ่ งตอ่ ไปนี
้
ความหมาย ลักษณะ และคุณค่าของเพลงพื้นบ้านและบทเพลงกล่อมเด็ก หลักการพูดเป็นทางการ
และไม่เป็นทางการ เช่น การนำเสนอความรู้ การแสดงความคิดเห็น การอภิปราย การโต้วาที การพูดในโอกาส
ต่างๆ หลักการอ่านคำควบกล้ำ คำบาลี คำสันสกฤต คำสมาส คำราชาศัพท์ คำพ้องรูป คำพ้องเสียง ลักษณะ
คำประพันธ์และคำสัมผัสทำนองเสนาะ กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ประเภทและหลักการแต่งคำประพันธ์ท้องถิ่น
ประวัติอักษรไทย การเขียนตัวเลขไทย ลักษณะของภาษาไทย คำยืมภาษาต่างประเทศ ภาษาที่ใช้ในสาขาวิชา
หรืออาชีพต่างๆ ของแต่ละท้องถ่ิน การใช้คำราชาศัพท์ คำสุภาพ พจนานุกรมและสารานุกรม หลักการจัดประชุม
การอภปิ ราย การโต้วาที ความหมาย ความสำคัญ คุณค่า ประเภทของวรรณคดีและวรรณกรรม
การจดั ประสบการณก์ ารเรียนร
ู้
อธิบายความหมาย ลักษณะ และคุณค่าของเพลงพ้ืนบ้านและบทกล่อมเด็ก หลักการพูดเป็นทางการ
และไม่เปน็ ทางการ หลักการอ่านคำควบกล้ำ คำบาลี คำสนั สกฤต คำสมาส คำราชาศัพท์ คำพ้องรูป คำพ้องเสยี ง
ลักษณะ คำประพันธ์และคำสัมผัสทำนองเสนาะ กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ประเภทและหลักการแต่ง
คำประพันธ์ท้องถ่ิน ประวัติอักษรไทย การเขียนตัวเลขไทย ลักษณะของภาษาไทย คำยืมภาษาต่างประเทศ ภาษา
ท่ีใช้ในสาขาวิชา หรืออาชีพต่างๆ ของแต่ละท้องถ่ิน การใช้คำราชาศัพท์ คำสุภาพ พจนานุกรมและสารานุกรม
หลกั การจดั ประชมุ การอภิปราย การโต้วาที ความหมาย ความสำคญั คณุ คา่ ประเภทของวรรณคดีและวรรณกรรม
และฝกึ ปฏบิ ตั
ิ
การวัดและประเมินผล
1. การสงั เกต
2. การฝึกปฏิบตั ิ
3. แบบประเมิน/แบบทดสอบ
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
39
ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544
เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
รายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา พท22010 ภาษาไทยเสริม จำนวน 1 หน่วยกิต
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ
การฟังการดู 1. สามารถสรุปความ จับประเดน็ สำคญั ของเรือ่ งทีฟ่ งั และด
ู
2. วิเคราะห์ แยกแยะขอ้ เทจ็ จริง ข้อคิดเหน็ และจุดประสงคข์ องเรือ่ งทีฟ่ งั และดู
3. สามารถแสดงทรรศนะและความคดิ เหน็ ตอ่ ผู้พูดอยา่ งมเี หตุผล
4. มีมารยาทในการฟงั และดู
การพดู 1. สามารถพดู นำเสนอความรู้ แสดงความคิดเห็น สรา้ งความเข้าใจ โนม้ นา้ วใจ ปฏิเสธเจรจาตอ่ รอง
ด้วยภาษากิริยาทา่ ทางท่สี ุภาพในโอกาสต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
2. มมี ารยาทในการพูด
การอา่ น 1. สามารถอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. จบั ใจความสำคญั แยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองทอ่ี า่ น
3. สามารถอ่านหนงั สือและสอื่ สารสนเทศไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เพ่ือพัฒนาตนเอง
4. มีมารยาทในการอ่านและมนี สิ ยั รักการอ่าน
การเขยี น 1. สามารถเลอื กใช้ภาษาในการนำเสนอตามรปู แบบของงานเขียนประเภทตา่ งๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค ์
2. สามารถใช้แผนภาพความคิด จัดลำดบั ความคดิ เพือ่ พัฒนางานเขยี น
3. สามารถแต่งบทรอ้ ยกรองตามความสนใจไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักไวยากรณแ์ ละลกั ษณะคำประพนั ธ์
4. สามารถเขยี นส่ือสารเรื่องราวตา่ งๆ ได
้
5. มมี ารยาทในการเขยี นและมนี สิ ยั รักการเขยี น
หลกั การใช้ภาษา
1. รู้และเข้าใจชนิดและหน้าที่ของคำ พยางค์ วลี ประโยค และสามารถอ่าน เขียน ได้ถูกต้องตาม
หลักเกณฑ์ของภาษา
2. สามารถใช้เคร่อื งหมายวรรคตอน อักษรยอ่ คำราชาศัพท์
3. สามารถวเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาพดู และภาษาเขยี น
4. ร้แู ละเข้าใจสำนวน สภุ าษติ คำพงั เพยในการพูดและเขยี น
วรรณคดี วรรณกรรม
รแู้ ละเขา้ ใจความแตกต่างของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และวรรณกรรมทอ้ งถิ่น ตลอดจนเหน็ คณุ คา่
40 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544
เขา้ ส่หู ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเร่อื ง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา
จำนวน
(ชัว่ โมง)
1 การฟัง การด
ู 1. อธิบายความหมาย และ ความหมาย ลักษณะ และ
3
ลกั ษณะของเพลงพน้ื บา้ น
คุณคา่ ของเพลงพื้นบ้าน
และบทกล่อมเดก็ ในท้องถ่นิ
และบทกล่อมเดก็
2. บอกถึงคณุ ค่าของเพลง
พืน้ บา้ นและบทกลอ่ มเดก็
ในทอ้ งถิ่น
2 การพดู
นำเสนอความรู้ แสดงความคิด หลกั การพูดแบบเป็นทางการและ 5
เหน็ และพดู ในโอกาสต่างๆ
ไมเ่ ปน็ ทางการ เชน่ การนำเสนอ
ได้อยา่ งเหมาะสม ถูกกาลเทศะ
ความรู้ การแสดง ความคดิ เหน็
การอภปิ ราย การโตว้ าที
3 การอ่าน
1. อ่านคำควบกล้ำ คำบาลี
1. หลักการอา่ นคำควบกล้ำ
8
คำสันสกฤต คำสมาส
คำบาลี คำสนั สกฤต
คำราชาศพั ท์ คำพอ้ งรูป
คำสมาส คำราชาศัพท ์
คำพ้องเสียงไดอ้ ย่างถูกต้อง
คำพอ้ งรูป คำพ้องเสียง
2. อ่านคำประพันธไ์ ด้อย่าง 2. หลักการอ่านทำนองเสนาะ
หลากหลายและถูกตอ้ ง
กาพย์ กลอน โคลง ฉนั ท์
4 การเขยี น
1. อธบิ ายลักษณะ และบอก 1. ลกั ษณะคำประพนั ธ์และ
8
ประเภท หลกั การแตง่
คำสมั ผสั ประเภทกาพย์
คำประพันธป์ ระเภทตา่ งๆ
กลอน โคลง ฉนั ท์
ได้อย่างถูกต้อง
2. เขียนร้อยแก้วประเภทต่างๆ
2. ประเภทและหลักการแต่ง
คำประพนั ธท์ อ้ งถนิ่
3. บอกลกั ษณะการใชค้ ำครุ ลหุ 3. การเขยี นร้อยแก้วประเภท
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
ตา่ งๆ เช่น ประกาศ แจ้ง
ความ จดหมายราชการ
จดหมายธุรกจิ การเขียน
แสดงความคดิ เห็น การเขยี น
สารคดี การเขียนโครงการ
4. ลักษณะการใชค้ ำครุ ลหุ
แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน
41
ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เข้าสู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที่ หวั เรอ่ื ง ตัว ช้วี ดั เน้ือหา
จำนวน
(ช่ัวโมง)
5. หลกั การใชภ้ าษา
1. บอกประวัติของอกั ษรไทย
1. ประวตั อิ ักษรไทย
10
2. อธิบายลกั ษณะของภาษาไทย
2. ลักษณะของภาษาไทย
3. อธิบายโครงสรา้ งประโยค
3. โครงสร้างประโยค ได้แก่
ชนดิ และหน้าท่ีของประโยค
4. นำคำภาษาต่างประเทศ
4. คำยมื ภาษาตา่ งประเทศ
มาใชใ้ นภาษาไทย
5. อธบิ ายการใชค้ ำราชาศพั ท์ 5. การใชค้ ำราชาศัพทแ์ ละ
และคำสภุ าพได้ถูกต้องตาม คำสภุ าพ
ฐานะของบุคคล
6. อธบิ ายวิธกี ารใชพ้ จนานกุ รม 6. การใชพ้ จนานกุ รมและ
และสารานุกรมใหเ้ กิด สารานุกรม
ประโยชนต์ ่อตนเอง
7. อธบิ ายการจัดกิจกรรมทใี่ ช้ 7. หลกั การจดั ประชุม
ทักษะทางภาษา
การอภิปราย การโตว้ าท
ี
8. อธิบายการใชภ้ าษาในสาขา 8. ภาษาท่ีใช้ในสาขาวิชา หรือ
วิชาและอาชพี ต่างๆ ได้อยา่ ง อาชีพต่างๆ ของแต่ละทอ้ งถนิ่
เหมาะสมกบั สถานการณ์
บคุ คล วฒั นธรรมประเพณี
9. เห็นคณุ ค่าและความสำคญั 9. การเขยี นตวั เลขไทย
ของการเขียนตวั เลขไทย
6. วรรณคดแี ละวรรณกรรม
1. บอกความหมาย ความสำคัญ 1. ความหมาย ความสำคญั 6
คณุ ค่า ประเภทของวรรณคดี คุณค่า ประเภทของวรรณคดี
และวรรณกรรม
และวรรณกรรม
2. เลอื กศกึ ษาวรรณคดีและ 2. ศกึ ษาวรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยปัจจบุ นั และ วรรณกรรมไทยท้องถิ่น
วรรณกรรมท้องถน่ิ ทัง้ ร้อยแกว้ ท้ังรอ้ ยแก้ว รอ้ ยกรองทสี่ ะทอ้ น
ร้อยกรองทีส่ ะทอ้ นวิถชี ีวิต
วถิ ชี วี ติ เช่น ลิลิตพระลอ
หนังสือทไี่ ดร้ บั การยกยอ่ ง
3. รอ้ งเลน่ หรอื ถ่ายทอดเพลง 3. เพลงพื้นบา้ นและบทกลอ่ ม
พื้นบ้านและบทกล่อมเด็ก เดก็ ในท้องถิน่
ในทอ้ งถนิ่ ไดอ้ ย่างเหน็ คณุ คา่
42 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น
ตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544
เข้าส่หู ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
คำอธบิ ายรายวชิ า พต22010 ภาษาองั กฤษใกลต้ ัว จำนวน 1 หน่วยกิต
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเก่ยี วกับภาษาทา่ ทาง การฟงั พดู อ่าน เขยี นภาษาตา่ งประเทศ
ด้วยประโยคที่ซ้ำซ้อนในชีวิตประจำวัน และงานอาชีพของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษาวัฒนธรรมและกาลเทศะ
ของเจ้าของภาษา
ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกับเรื่องต่อไปนี้
1. ภาษาท่ีเป็นประโยชนแ์ ละเกี่ยวข้องกบั อาชพี ของตนเอง และชุมชน
2. ภาษาเพื่อส่ือสารกบั บุคคลในชมุ ชนและสังคม
3. ศัพท์ และสำนวนท่ใี ช้ในการแสวงหาความรทู้ ีส่ ัมพันธ์กบั รายวชิ าต่างๆ
4. กจิ กรรมส่งเสรมิ ภาษาองั กฤษในรปู แบบตา่ งๆ
การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
1. ฝกึ ฟงั พูด อา่ น เขียน ภาษาอังกฤษในสถานการณต์ ่างๆ โดยใชส้ ถานการณ์จำลอง และ/หรือส่ือ
ท่ีเหมาะสม
2. ฝึกฟัง พูด อ่าน เขียน จากสถานการณ์จำลองโดยใช้สื่อต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับ
สถานการณ
์
การวัดและประเมินผล
1. ตรวจสอบจากการนำไปใชไ้ ด้ถูกต้องและเหมาะสมตามสถานการณ์
2. สามารถใช้ภาษาในการส่อื สารไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสมกบั สถานการณ
์
แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
43
ตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544
เข้าสู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา พต22010 ภาษาอังกฤษใกล้ตัว จำนวน 1 หนว่ ยกติ
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ
มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคตเิ กย่ี วกบั ภาษาท่าทาง การฟงั พูด อ่าน เขยี น ภาษาต่างประเทศ
ด้วยประโยคที่ซ้ำซ้อนในชีวิตประจำวัน และงานอาชีพของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษาวัฒนธรรม และกาลเทศะ
ของเจ้าของภาษา
ที ่ หัวเรอื่ ง ตวั ช้วี ดั เนื้อหา
จำนวน
(ช่ัวโมง)
1 ภาษาทเี่ ปน็ ประโยชน์และ ใช้ภาษาเพ่อื การสือ่ สารตาม ภาษาที่เปน็ ประโยชนแ์ ละ 10
เกีย่ วข้องกับอาชพี ของตนเอง
สถานการณ์ตา่ งๆ เก่ียวกบั อาชพี
เก่ยี วข้องกบั อาชีพของตนเอง
และชมุ ชน
และชมุ ชน เชน่ ชา่ งทำผม/
นวดแผนโบราณ
1. Hair-shampoo : 50 baht.
2. Hair-cut : 80 baht.
3. Foot massage 100 baht/hour.
Etc.
ใ ชภ้ าษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร ภ าษาเพือ่ การสื่อสารตาม 10
2 ภาษาเพ่อื สอ่ื สารกับบุคคลใน ตามสถานการณ์ต่างๆ
สถานการณต์ ่างๆ ในศนู ย
์
การเรยี นชุมชน และสงั คม
ชุมชนและสังคม
1. การซือ้ -ขาย เช่น
- How much is it?
It’s 20 baht a kilogram.
2. การบอกระยะทาง เชน่
- How far is it from Bangkok
to Ayutthaya?
It’s about 85 kilometres.
3. การพดู โทรศพั ท์ เชน่
- Hello’ may I speak to Sam?
Hello, this is Sam.
44 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544
เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551