The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuansiri thanakorn, 2019-06-27 01:03:13

แบบฝึกปฏิบัติ

0

0

1

คำชีแ้ จง

แบบฝึ กปฏิบัติเทคนิคสร้างงานศิลป์ ด้วยสี กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ศิลปะ (ทัศนศิลป์ )
ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 เล่มน้ี ไดจ้ ดั สร้างข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางให้ผเู้ รียนไดศ้ ึกษา
และลงมือปฏิบตั ิ การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี โดยนาเอาเทคนิควิธีการต่าง ๆ
จากวสั ดุอุปกรณ์รอบ ๆ ตวั มาทดลองเพื่อให้เกิดงานศิลปะ เป็นการคน้ พบวิธีการสร้างภาพใน
รูปแบบใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากรูปแบบเดิม ๆ ตามความรู้สึกนึกคิดของตนเอง ผูเ้ รียนจะมีทกั ษะ
พ้ืนฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ สร้างสรรคง์ านวาดภาพระบายสี อันนาไปสู่ผลผลสัมฤทธ์ิทาง
การเรียนท่ีสูงข้ึน ผูเ้ รียนมีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ท่ีกาหนด ของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ในการจัดสร้างแบบฝึ กปฏิบัติเทคนิคสร้างงานศิลป์ ด้วยสี เป็ นเทคนิคอย่างหน่ึงซ่ึงอยู่
ในกิจกรรมการเรียนการสอน กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทศั นศิลป์ ) ช่วงช้นั ที่ 2 ช้นั ประถมศึกษา
ปี ที่ 4 มีท้งั หมด 17 เทคนิคดว้ ยกนั คอื

เทคนิค 1 การเป่ าสี เทคนิค 10 การหยดสี
เทคนิค 2 การพบั สี เทคนิค 11 การขีดสี
เทคนิค 3 การเทสี เทคนิค 12 การพมิ พส์ ี
เทคนิค 4 การสลดั สี เทคนิค 13 การกนั สี
เทคนิค 5 การลูบสี เทคนิค 14 การเขยี นสี
เทคนิค 6 การดีดสี เทคนิค 15 การแตะสี
เทคนิค 7 การดึงสี เทคนิค 16 การขดู สี
เทคนิค 8 การโรยสี เทคนิค 17 การแตม้ สี
เทคนิค 9 การซบั สี

ซ่ึงแตล่ ะเทคนิคจะกลา่ วถึงวสั ดุอุปกรณ์ในการปฏิบตั ิ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ แบบฝึ กปฏิบตั ิ
กิจกรรมแตล่ ะเทคนิค และการวดั ผลประเมินผล

2

คำแนะนำสำหรับผ้เู รียน

1. นักเรียนอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เขา้ ใจถึงเป้ าหมายของการเรียนของ
แบบฝึกปฏิบตั เิ ทคนิคสร้างงานศิลป์ ดว้ ยสี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทศั นศิลป์ )
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4

2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3. นกั เรียนศึกษาเน้ือหาและฝึกปฏิบตั ติ ามกิจกรรมของแบบฝึก
4. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนของแตล่ ะเทคนิค
5. นกั เรียนนาผลการทดสอบหลงั เรียนของแต่ละเทคนิคมาเปรียบเทียบกบั เกณฑ์

ที่กาหนด
6. กรณีนกั เรียนไดค้ ะแนนหลงั เรียนไมถ่ ึงร้อยละ 80 นกั เรียนกลบั ไปศึกษาทบทวน

แบบฝึกปฏิบตั ิเทคนิคสร้างงานศิลป์ ดว้ ยสี กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ (ทศั นศิลป์ )
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 ของเทคนิคน้ันใหม่อีกคร้ัง เพ่ือจะไดเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิตาม
เกณฑท์ ี่กาหนด
7. ในการใช้แบบฝึ กปฏิบตั ิเทคนิคสร้างงานศิลป์ ดว้ ยสี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
(ทศั นศิลป์ ) ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 นักเรียนควรมีความรับผิดชอบในการทางาน
และมีความซื่อสตั ย์ ตอ่ ตนเอง

3

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

1. บอกข้นั ตอนการปฏิบตั ิเทคนิคสร้างงานศิลป์ ดว้ ยสีได้
2. มีทกั ษะพ้นื ฐานในการใชว้ สั ดุอุปกรณ์สร้างงานศิลปะไดเ้ หมาะสม
3. สามารถปฏิบตั ิเทคนิคสร้างงานศิลป์ ดว้ ยสีได้
4. นาเสนอผลงานของตนเองดว้ ยความภาคภมู ิใจ

4

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์กิ ่อนเรียน

ช้ันประถมศึกษำปี ที่ 4 (ทัศนศิลป์ ) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ
จำนวน 30 ข้อ 30 คะแนน เวลำ 40 นำที

คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนวงกลมลอ้ มรอบคาตอบท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียว

1. เราสามารถใชส้ ีอะไรแทนสีน้าได้ 4. อปุ กรณ์ชนิดใดมีคุณสมบตั ิในการซบั น้าไดด้ ีที่สุด
ก. จานสี
ก. สีโปสเตอร์ ข. ฟองน้า
ข. สีเทียน ค. พกู่ นั
ค. สีน้ามนั ง. กระดาษวาดเขียน
ง. สีเมจิก
.....................................................................
..................................................................... 5. ขอ้ ใดไม่ใช่ข้นั ตอนใน “ การเทสี ”

2. สีชนิดใดเหมาะสมกบั การสร้างงานศิลปะ ก. ผสมสีน้าลงบนจานสี

โดยใชเ้ ทคนิคการเป่ าสีมากที่สุด ข. ใชช้ อ้ นตกั สีเทลงบนกระดาษวาดเขียน
ค. วาดภาพลงบนกระดาษวาดเขียน
ก. สีเทียน ง. เอียงกระดาษใหส้ ีไหลไปมา
ข. สีฝ่ นุ
ค. สีโปสเตอร์ .....................................................................
ง. สีจากธรรมชาติ 6. ขอ้ ควรระวงั ในการสร้างงานศลิ ปะโดยใชเ้ ทคนิค

..................................................................... การสลดั สี
ก. อาจไดร้ ับอนั ตราย
3. สีใดเกิดจากการผสมกนั ของสีเหลือง
ข. อุปกรณ์เสียหายไดง้ ่าย
กบั สีแดง ค. ใชร้ ะยะเวลาในการทางานนาน
ง. การรกั ษาความสะอาด
ก. สีน้าตาล

ข. สีสม้
ค. สีเขียว
ง. สีมว่ ง

5

7. ขอ้ ใดเป็นสีข้นั ท่ี2 ท้งั หมด 11. เทคนิคการสร้างงานศิลป์ ในขอ้ ใดตอ้ งผสมสี
โปสเตอร์ใหเ้ หลวเป็นพเิ ศษ
ก. แดง เหลอื ง
ข. สม้ ฟ้ า ก. เทคนิคการพิมพส์ ี
ค. มว่ ง เขียว ข. เทคนิคการเทสี
ง. สม้ เหลอื ง ค. เทคนิคการพบั สี
ง. เทคนิคการขดู สี
.....................................................................
8. สีชนิดใด เหมาะสมกบั การวาดภาพผนงั โบสถข์ อง .....................................................................
12. ลกั ษณะเด่นของการหยดสีเทียนคือขอ้ ใด
ช่างเขียนไทยในสมยั โบราญ
ก. ภาพมคี วามนูนสวยงาม
ก. สีฝ่ นุ
ข. ภาพมีความเรียบสวยงาม
ข. สีน้า ค. ภาพมลี วดลายสวยงาม
ง. ภาพมสี ีสนั สดใส
ค. สีโปสเตอร์
ง. สีน้ามนั .....................................................................
13. สีในขอ้ ใดอยใู่ นกลมุ่ สีเยน็ ท้งั หมด
.....................................................................
9. ขอ้ ดีของการนาความรู้เร่ืองค่าความอ่อน-แก่ของสี ก. เขียว น้าเงิน แดง
ข. เหลือง แดง น้าเงิน
ไปใชใ้ นการวาดภาพระบายสีคือขอ้ ใด ค. มว่ ง เหลือง สม้
ง. ม่วง น้าเงิน เขียว
ก. ภาพมสี ีท่ีคมชดั
.....................................................................
ข. ภาพมีความสมดุล 14. ใชส้ ีโปสเตอร์ระบายสีภูเขาท่ีอยรู่ ะยะไกลออกไป

ค. ภาพดูมีมติ ิ เช่นรู้สึกต้นื ลึก หนา บาง ควรทาอยา่ งไร
ง. สีในภาพจะใหค้ วามรู้สึกตดั กนั ก. ผสมสีดาใหส้ ีเขม้ ข้ึน
..................................................................... ข. ผสมสีขาวใหส้ ีอ่อนลง
10. ขอ้ ใดเป็นคุณสมบตั ิของสีเทียนเม่อื ไดร้ ับความร้อน ค. ผสมสีสดใส
ก. หลอมละลายสีเปลยี่ นไป ง. ผสมกบั แมส่ ี

ข. หลอมละลายสีเหมือนเดิม
ค. หลอมละลายสีเขม้ กวา่ เดิม
ง. หลอมละลายสีออ่ นลงกวา่ เดิม

6

15. เทคนิคสร้างงานศลิ ป์ ชนิดใด ไมต่ อ้ งใชพ้ กู่ นั ระบาย 19. ตอ้ งการวาดภาพในบรรยากาศกลางคืน ควรเลือกใชส้ ี

ก. การลบู สี ในกลมุ่ ใด

ข. การเขียนสี ก. กลุ่มสีร้อน

ค. การกนั สี ข. กลมุ่ สีตรงขา้ ม
ง การแตม้ สี
..................................................................... ค. กลมุ่ สีเยน็
16. เชือกท่ีนามาใชใ้ น เทคนิคการดึงสีควรมคี ุณสมบตั ิ ง. กลมุ่ สีข้นั ท่ี2
เป็นอยา่ งไร .....................................................................
ก. ดูดซบั สีไดด้ ี 20. เพราะเหตุใด จึงตอ้ งผสมสีใหเ้ หลว ในการสร้างงาน
ข. ระบายสีไดด้ ี ศิลปะ เทคนิคการเป่ าสี
ค. เหนียวและแข็งแรง ก. สามารถเป่ าไปทิศทางต่างๆไดง้ ่าย
ง. ออ่ นนุ่ม และทนทาน
..................................................................... ข. สีจะผสมกนั ขณะท่ีแหง้ สนิท
17. อุปกรณ์สร้างงานศิลปะในขอ้ ใด ต่างจากขอ้ อ่ืน ค. สีจะไมฟ่ ้ งุ กระจาย
ง. สีจะมีความสดใส
ก. ดินสอ
ข. สีน้า .....................................................................
ค. สีโปสเตอร์ 21. หากตอ้ งการสร้างงานศลิ ปะที่ส่ือใหเ้ ห็นพ้นื ผวิ ท่ี
ง. กระดาษวาดเขียน
ขรุขระ ควรเลือกใชเ้ ทคนิคใด
.....................................................................
18. คุณสมบตั ิของสีในขอ้ ใด เหมาะกบั เทคนิคการโรยสี ก. เทคนิคการเทสี
ข. เทคนิคการเป่ าสี
ก. มีความขน้ เหนียว ค. เทคนิคการสลดั สี
ข. เป็นฝ่ นุ ผงละเอียด ง. เทคนิคการหยดสี
ค. ตอ้ งใชค้ วามร้อนในการละลายสี
ง. มีความโปรงใส ตอ้ งผสมน้าก่อนใชง้ าน .....................................................................
22. ขอ้ ใดเป็นการสร้างงานศลิ ปะโดยใชเ้ ทคนิค

การแตะสี

ก. ผสมสีโปสเตอร์ใหข้ น้ พอสมควร

ข. นาสีเทียนไปลนไฟใหล้ ะลาย

ค. ระบายสีลงบนกระดาษทราย

ง. ใชก้ ระดาษหนงั สือพิมพซ์ บั สีที่ไมต่ อ้ งการออก

7

23. ขอ้ ใดคือลกั ษณะที่เหมอื นกนั ระหวา่ งสีน้าและ 27. “ ระยะใกล้ ” ภาพควรเป็นลกั ษณะใด
สีโปสเตอร์ ก. ภาพใหญ่รายละเอียดชดั เจน
ข. ภาพใหญ่รายละเอยี ดไม่ชดั เจน
ก. เวลาสีแหง้ จะมคี วามสดใส
ค. ภาพเลก็ รายละเอยี ดชดั เจน
ข. เวลาใชง้ านตอ้ งผสมน้า ง. ภาพเลก็ รายละเอยี ดไม่ชดั เจน

ค. ความทึบแสง .....................................................................
ง. ความโปร่งแสง 28. เรานาคุณสมบตั ิใดของสีเทียนมาใชใ้ นเทคนิค

..................................................................... การกนั สี
24. ภาพท่ีเกิดจากเทคนิค “ การดีดสี ” มลี กั ษณะ ก. การละลายน้าไดด้ ี
ข. เม่ือระบายสีแลว้ สีเขม้ ข้ึนกวา่ เดิม
อยา่ งไร ค. สีเทียนระบายไดส้ ะดวก
ก. เป็นละอองสีเลก็ ๆกระจายในภาพ ง. สีเทียนกนั ไมใ่ หส้ ีน้าไหลเขา้ หากนั

ข. สีของภาพแยกออกจากกนั .....................................................................
ค. สีไหลไปมาจนเกิดเป็นภาพ
ง. ภาพดา้ นซา้ ยและขวาเหมอื นกนั 29. เราควรมวี ิธีเลอื กวสั ดุอปุ กรณ์ในการสร้างงานศลิ ป์
อยา่ งไร
..................................................................... ก. เลอื กจากวสั ดุธรรมชาติเพราะหาง่าย
25. ขอ้ ใดคือการสร้างจุดสนใจของภาพดว้ ยสี
ข. เลอื กวสั ดุสงั เคราะห์เพราะทนทาน
ก. เลอื กใชส้ ีโทนเดียวกนั ท้งั ภาพ ค. เลือกวสั ดุราคาถกู เพราะประหยดั
ง. เลือกวสั ดุที่เหมาะสมกบั การทางาน
ข. เลอื กใชส้ ีสดใสเท่าน้นั
ค. เลือกใชส้ ีข้นั ที่ 2 และประยกุ ตใ์ ชไ้ ดห้ ลากหลาย
ง. ใชส้ ีคู่ตรงขา้ ม .....................................................................
30. เทคนิคการขดู สี มลี กั ษณะพเิ ศษอยา่ งไร
.....................................................................
26. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องการฝึกทกั ษะเทคนิคสร้าง ก. ภาพเกดิ ข้นั จากการนาสีเดิมออกบางส่วน

งานศิลป์ ดว้ ยสีมากท่ีสุด ข. ภาพเกิดจากความร้อน
ก. ไดเ้ รียนรู้การระบายสีแบบแปลกใหม่ ค. ภาพเกิดจากการทบั กนั ของสี
ง. ภาพเกิดจากการไหลของสี
ข. ไดผ้ ลการเรียนวิชาศลิ ปะดีข้ึน
ค. ไดป้ ระสบการณ์จากการฝึกไปใชใ้ นการ

สร้างงานศิลปะท่ีหลากหลาย

ง. รู้จกั ช่ืออปุ กรณ์ต่างๆในการทางานศิลปะ

8

เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียน

1. ก 11. ข 21. ง
2. ค 12. ก 22. ข
3. ข 13. ง 23. ข
4. ข 14. ข 24. ก
5. ค 15. ก 25. ง
6. ง 16. ก 26. ค
7. ค 17. ง 27. ก
8. ก 18. ข 28. ง
9. ค 19. ค 29. ง
10. ข 20. ก 30. ก

9

ควำมรู้ทว่ั ไปเรื่อง

10

สี (Colour)

สี เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีมีอยใู่ นแสงแดด เป็นคลื่นแสงชนิดหน่ึง ปรากฏใหเ้ ห็นเม่ือแสงแดด

ส่องผา่ นละอองน้าในอากาศ และเกิดการหกั เหทอเป็ นสีรุ้งออกมา สีรุ้งที่เราเห็นบนทอ้ งฟ้ ามีอยู่ 7 สี คือ ม่วง
ม่วงน้าเงิน น้าเงิน เขียว เหลอื ง สม้ แดง สีแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. สีที่เป็นแสง (Spectrum) ไดแ้ ก่สีท่ีเกิดข้นึ จากการหกั เหของแสง
2. สีที่เป็นวตั ถุ (Pigment) ไดแ้ ก่สีที่อยใู่ นธรรมชาติทว่ั ไป เช่น พืช สตั ว์ แร่ธาตุ ฯลฯ สีที่เกิดข้ึนตาม
ธรรมชาติมีบ่อเกิดมาจากการผสมสีเพียง 3 สี จึงเรียกว่าแม่สี คือ สีแดง สีเหลือง สีน้าเงิน และมีการแบ่งสี
ออกเป็นแต่ละข้นั ดงั น้ี

สีขั้นที่ 1 หรือ แม่สี มี3สี คือ สีเหลือง สีแดง สีน้าเงิน หากนาท้งั 3 สีมารวมกนั ในปริมาณท่ี
เท่ากนั ก็จะเกิดเป็น “ สีกลาง” ซ่ึงแยกไม่ออกว่าเป็นสีอะไร

แดง

Red

เหลอื ง สีกลำง

Yellow Neutral

นำ้ เงนิ

Blue

ท่มี า : ชะลูด นิ่มเสมอ . องคป์ ระกอบศลิ ปะ . 2531 . น. 54 - 56

11

สีข้ันท่ี 2 เป็นการนาสีข้นั ท่ี 1 หรือ แมส่ ี มาผสมกนั ที่ละคู่ในปริมาณที่เท่ากนั จนครบทุกสีจะไดส้ ี
ใหม่อกี 3 สี คือ

สีเหลอื ง + สีแดง = สีส้ม
สีแดง + สีนำ้ เงนิ = สีม่วง
สีนำ้ เงนิ + สีเหลอื ง = สีเขยี ว

สีข้นั ท่ี 1 สีขนั้ ที่ 2

เหลือง + แดง ส้ ม

Yellow Red Orange

แดง + น้ำเงนิ ม่วง

Red Blue Violet

น้ำเงนิ + เหลอื ง เขียว

Blue Yellow Green

Blue

12

สีข้ันที่ 3 เป็นการนาเอาสีข้นั ที่ 1 กบั สีข้นั ที่ 2 มาผสมกนั ทีละค่ใู นปริมาณท่ีเท่ากนั จนครบทุกสี จะ

ไดส้ ีที่เกิดข้ึนใหม่อีก 6 สี คือ

สีเหลอื งผสมกบั สีเขียว จะได้ สีเขียวเหลือง

สีเหลอื งผสมกบั สีสม้ จะได้ สีสม้ เหลือง

สีแดง ผสมกบั สีสม้ จะได้ สีสม้ แดง

สีแดง ผสมกบั สีม่วง จะได้ สีม่วงแดง

สีน้าเงิน ผสมกบั สีม่วง จะได้ สีม่วงน้าเงิน

สีน้าเงิน ผสมกบั สีเขียว จะได้ สีเขียวน้าเงิน

สีข้นั ท่ี 1 สีข้นั ท่ี 2 สีข้นั ท่ี 3

สีเหลอื ง เขยี ว Green เขยี วเหลอื Yงellow-Green
ส้ม Orange ส้มเหลอื งYellow-Orange
Yellow ส้ม Orange ส้มแดง Red-Orange
ม่วง Violet ม่วงแดง Red-Violet
สีแดง

Red

สีนำ้ เงนิ ม่วง Violet ม่วงนำ้ เงิน Blue-Violet
Blue เขียว Green เขียวนำ้ เงนิ Blue-Green

13

วรรณะของสี

วรรณะของสี คอื ควำมแตกต่ำงของสีแต่ละสี แบ่งออกเป็ น 2 วรรณะ คอื

วรรณะร้อน จะใหค้ วามรู้สึกอบอุ่น มีชีวิตชวี า ต่นื เตน้ ยนิ ดี
วรรณะเยน็ จะใหค้ วามรู้สึกสงบสนั ติสุข ร่มเยน็ ความรันทดใจ

วรรณะร้อน วรรณะเยน็

เหลือง Yellow ม่วง Violet
ส้มเหลอื ง Yellow-Orange ม่วงน้ำเงนิ Blue-Violet

ส้ม Orange น้ำเงนิ Blue
ส้มแดง Red-Orange เขยี วน้ำเงนิ Blue-Green

แดง Red เขียว Green
ม่วงแดง Red-Violet เขยี วเหลือง Yellow-Green

14

วงจรสีวตั ถุธำตุหรือวงจรสีธรรมชำติ

จากการผสมของแม่สีวตั ถุธาตุ สีข้ันที่ 1 สีข้นั ท่ี 2 และสีข้นั ท่ี 3 ทาใหเ้ กิดสีท้งั หมด12สี
เมอื่ นามาจดั เรียงลาดบั สีออ่ น - แก่ใหส้ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของสีตามธรรมชาติ ในรูปแบบของวงกลม
เรียกวา่ “วงจรสีวตั ถธุ าตุ” หรือ “วงจรสีธรรมชาติ” ดงั น้ี

ที่มา : ชะลดู นิ่มเสมอ . องคป์ ระกอบศลิ ปะ . 2531.

15

สีตรงข้ำมหรือสีตัดกนั แท้จริง

สีตรงขา้ มหรือสีตดั กนั แทจ้ ริง คือสีท่ีอยตู่ รงขา้ มกนั หรือค่กู นั ตามวงจรสีวตั ถุธาตุหรือวงจรสี
ธรรมชาตินน่ั เอง หากตอ้ งการรูว้ า่ ท้งั สองสีเป็นสีตรงขา้ มกนั หรือไม่ ใหเ้ อาท้งั สองสีมาผสมกนั ถา้ ผล
ออกมาเป็นสีกลาง (Neutral) กแ็ สดงว่า ท้งั สองสีน้นั เป็นสีตรงขา้ มแน่นอน

สีตรงข้ำมหรือสีค่กู นั หรือสีตดั กนั แท้จริง

เขยี วเหลอื ง ม่วงแดง

Yellow-Green Red-Violet

เขียว แดง

Green Red

เขยี วน้ำเงิน ส้ มแดง

Blue-Green Red-Orange

นำ้ เงิน ส้ ม

Blue Orange

ม่วงนำ้ เงิน ส้มเหลอื ง

Blue-Violet Yellow-Orange

ม่วง เหลอื ง

Violet Yellow

16

ค่ำของสี

ค่ำของสี หมายถงึ ค่าความออ่ น – แก่ของสี หรือเรียกวา่ “ค่าในนาหนักของสี”ในการนาสีไป
ใชใ้ นงานศลิ ปะต่าง ๆ น้นั หากจะนาเอาสีแท้ (สีท่ียงั ไมไ่ ดถ้ กู ผสม)ไปใชโ้ ดยตรง ก็จะทาใหผ้ ลงานทาง
ศลิ ปะไมน่ ่าดแู ละขาดคุณค่าทางศิลปะ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เก่ียวกบั การสร้างสรรคง์ านศิลปะ สีมีส่วน
ช่วยให้ผลงานเกิดมิติต่าง ๆ เช่น ความรู้สึกต้ืน ลึก หนา บาง ใกล้ และไกลได้ เหตุท่ีเป็ นเช่นน้ี
กเ็ พราะความอ่อน – แก่ของสีที่เราเรียกว่า ค่าของสีหรือน้าหนกั ของสี ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ค่าในน้าหนกั ของสีหลายสี หมายถงึ ค่าน้าหนกั อ่อน – แก่ ในตวั เองของสีแท้ ซ่ึงเรียงลาดบั
ตามวงจรสี สีในวรรณะเดียวกนั มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสีเยน็ และกลมุ่ สีร้อน ดงั น้ี

กล่มุ สีเยน็ (สีแท้)

ม่วง ม่วงน้ำเงนิ น้ำเงนิ เขียวน้ำเงนิ เขยี ว เขยี วเหลอื ง

กล่มุ สีร้อน (สีแท้)

ม่วงแดง แดง ส้มแดง ส้ม ส้มเหลอื ง เหลอื ง

นำ้ หนกั สี 7 ระยะ

สีแท้ สีขำว

นำ้ หนกั สี 9 ระยะ

สีแท้ สีขำว

17

สีฝ่ ุน

สีฝ่ นุ มีลกั ษณะเป็นผงทึบแสงไดม้ าจากวตั ถุตามธรรมชาติโดยตรง ซ่ึงช่างเขียนในสมยั โบราณ
ไดน้ ามาใชเ้ ขียนภาพตามผนงั ภายในโบสถ์ วิหาร เจดีย์ และในสมุดข่อยของไทย ก่อนท่ีจะนาสีฝ่ นุ ไป
ใชใ้ นการเขียนภาพจะตอ้ งผสมสีกบั น้ากาวกระถิน หรือไข่ขาวตามความเหมาะสม เพือ่ ใหส้ ีฝ่ นุ ติดจบั
อยบู่ นผนงั ของวตั ถุไดน้ าน ๆ หากนามาใชร้ ะบายสีจะตอ้ งผสมดว้ ยสีขาวเพ่ือลดความเขม้ ของแต่ละสี
ลงมา และถา้ จะเพิ่มความเขม้ ของสีใหม้ ีน้าหนกั มากข้ึนก็ควรผสม สีดาลงไปตามความเหมาะสม

สีนำ้ มนั

สีน้ามนั มีลกั ษณะทึบแสง เน้ือสีค่อนขา้ งหนา มีส่วนผสมของน้ามนั ลินซีดทุกคร้ังท่ีนาไปใช้
ระบายภาพควรผสมดว้ ยสีขาว เพื่อลดความเขม้ ของสีลงและ ใหไ้ ดน้ ้าหนกั ออ่ น-แก่ หรือนาไปผสมกบั
สีอ่นื ๆ เพื่อใหเ้ กิดสีใหมต่ ามท่ีตอ้ งการ การผสมสีน้ามนั ใหเ้ หลวและเขา้ กนั จาเป็ นตอ้ งใชน้ ้ามนั ลินซีด
ตามความเหมาะสม อยา่ ใหข้ น้ หรือเหลวจนเกินไป สีน้ามนั ใชเ้ ขียนบนผา้ ใบ ผา้ ดิบ หรือวสั ดุอ่ืนๆ ที่
ใชแ้ ทนกนั ได้ สีน้ามนั เป็นสีที่มคี วามคงทนต่อสภาพอากาศไดน้ านไม่หลุดลอกง่าย

ที่มา : เฉลมิ นาคีรักษ์ และคณะ. ศิลปศกึ ษา ป.4. ม.ป.ป.

18

สีโปสเตอร์

สีโปสเตอร์ ลกั ษณะคลา้ ยสีฝ่ นุ คือเป็ นสีทึบแสง เน้ือละเอียดมาก ผสมกบั น้ากาวเหลวบรรจุขวด
มหี ลายสี สามารถนาไปใชไ้ ดท้ นั ที แต่ก่อนใชค้ วรคนใหส้ ีละลายเขา้ กนั ให้ดีเสียก่อน ถา้ ขน้ เกินไปให้เติมน้า
สะอาดลงไปให้พอดีอย่าให้ใสเกินไป สีโปสเตอร์สามารถระบายทับกันไดแ้ ต่ต้องให้สีเดิมแห้งเสียก่อน
และไม่ควรระบายสีทับกนั มากเกินไป เพราะจะทาให้สีของภาพน้นั หนาและเกิดรอยแตกกะเทาะหลุดร่อน
ออกมาไดภ้ ายหลงั สีโปสเตอร์ใชเ้ ขียนลงบนกระดาษวาดเขียน ผา้ หรือวสั ดุชนิดอ่ืน ๆ ที่ใชแ้ ทนกนั ได้

สีเทยี นนำ้ มนั

สีเทียนน้ามนั มีลักษณะเป็ นแท่งมีหลายสีบรรจุอย่ใู นกล่อง เน้ือสีมีส่วนผสมของน้ามนั อยู่ด้วย
สีประเภทน้ีเม่อื นาไปเขียนภาพสามารถใชไ้ ดท้ นั ที ไม่ตอ้ งผสมกบั สีอ่นื ๆก่อน แต่ถา้ ตอ้ งการจะใหส้ ีผสมกนั ให้
ระบายทบั กนั ลงไปในภาพตามความตอ้ งการไดเ้ ลย เลือกใชส้ ีได้ตามความเหมาะสม สีประเภทน้ีใชส้ ะดวก
ไม่เปรอะเป้ื อนมือ แต่ไมเ่ หมาะกบั งานที่ตอ้ งการความละเอียดประณีต ใชเ้ ขียนบนกระดาษวาดเขียนชนิดหนา
พอสมควร หรือบนวสั ดุอนื่ ๆท่ีมีผวิ ค่อนขา้ งหยาบ เพ่ือสีจะไดจ้ บั ติดไดง้ ่าย

ที่มา : เฉลมิ นาคีรักษ์ และคณะ. ศิลปศึกษา ป. 4. ม.ป.ป.

19

สีเมจกิ หรือสี
เคมี

สีเมจิกหรือสีเคมี เน้ือสีมีลกั ษณะโปร่งใสคลา้ ยสีน้าและสีแสตมป์ แต่ราคาถูกกว่า มีหลาย
ลกั ษณะเป็ นน้าบรรจุไวใ้ นหลอดพลาสติก ทาเป็ นแท่งคลา้ ย ดินสอดา ปลายแท่งจะเป็ นไสส้ ักหลาด
สาหรับดูดซึมสี ทาหนา้ ท่ีคลา้ ยปากกาหมกึ ซึม มที ้งั ปลายมนแหลมและปลายแบน พร้อมที่จะนาไปเขียน
และระบายรูปภาพไดท้ นั ทีที่เปิ ด หรือดึงปลอกพลาสติกท่ีครอบไวอ้ อก สีเคมีจะบรรจุเป็ นแท่ง ๆ อย่ใู น
กลอ่ ง สีประเภทน้ีมี 2 ชนิด คือ ชนิดผสมน้ากบั ชนิดผสมดว้ ยแอลกอฮอล์ สีเคมีท่ีสามารถลดความเขม้
ของสีไดค้ ือ ชนิดท่ีผสมดว้ ยน้าเท่าน้นั ซ่ึงอาจจะทาไดโ้ ดยใชเ้ ทคนิคการวาดภาพบนกระดาษวาดเขียนท่ี
กาลงั เปี ยกน้าก็จะทาใหส้ ีคลายความเขม้ ลงไดบ้ า้ ง และสีจะประสานกนั ไดด้ ีข้ึนกว่าการเขียนบนกระดาษ
แหง้ ๆ หรืออีกวิธีหน่ึง คือ ใชส้ ีเคมีระบายลงไปขณะที่สียงั ไม่แหง้ ให้ใชพ้ ่กู นั สีน้าปลายกลมหรือแบน
เบอร์ใหญ่ จุ่มน้าสะอาดแลว้ รีบระบายทบั ลงไปให้ทว่ั สีเคมีเมื่อถกู น้าก็จะละลาย ทาให้สีผสมผสาน

กสดสินลร้ามว่ งผกนสงลรผถืนรา่สคนกสมง์ นัีเาดทขน่าอีภยศงิลางทนพปนบันกะทำ้ำ็จ้ิมมสมะนีัปดฯนั ูรนอละุ่ฯมยเภมนดู่ ซทวลี้ว่ึงอลกไยั ่ืนขมษ้ึนเ่ๆปสณก็นปีอวะอา่ารจนเัเะดปไตเิมด็ นภรจ้าแทายทกทต้นังว่อน่งีเสั้ส้มมีตดุขอ้่อืีหุแภงลนลาขะพำ้ำึนพไยอแืชปสยลชเ่กูะีบนขเับปิยีดรท็ นรตนกัจ่ากภงษอาุ รำะๆยรพูว้จเใู่ ชิสกธนั ่นีใกำกชามลดท้รำออร่ แัรกพงลถไยะมาใเจกชนุ้ดรใ้ไือปบ้ธดสรรไ้ทะรมีมมสนัเ้ ีปชงทลคาีืตอ์ขิกทไอมไ่ีองมผย่ ูู่้้
รอตบ้องๆผตสวั มในกทบั อ้ สงถอี ่ิน่ืนมาๆทกดล่ออนงใชแส้ตรถ่ ้า้งำสตร้อรงคกผ์ ลำงราจนะทใาหง้ศสิลีผปสะมตากมนั คใวหาม้รคะิดบแำลยะทแนบั วกทนั างลขงอไงปตในนเองได้
อภยา่ ำงมพีปตรำะมสิทคธวิภำามพต้องกำรได้เลย เลอื กใช้สไี ด้ตำมควำมเหมำะสม สีประเภทนี ้
สะดวกไมเ่ ปรอะเปื อ้ นมือ แต่ไมเ่ หมำะกบั งำนที่ต้องกำรควำมละเอียดประณีต
ใช้เขียนบนกระดำษวำดเขียนชนิดหนำพอสมควร หรือบนวสั ดอุ ่ืน ๆท่ีมีผิว
คอ่ นข้ำงหยำบ เพอ่ื สจี ะได้จบั ติดได้งำ่ ย

ท่ีมา : เฉลมิ นาคีรักษ์ และคณะ. ศลิ ปศึกษา ป.4. ม.ป.ป.

20

สีนำ้

สีน้าเป็นสีเน้ือละเอียดมีลกั ษณะโปร่งใส ผสมดว้ ยน้า บรรจุเป็ นหลอด หรือทาเป็ นแผ่น
บรรจุในตลบั เป็นสีที่ตอ้ งใชท้ กั ษะในการระบายมากพอสมควร ภาพที่เกิดข้ึนจึงจะดูมีคุณค่า
ทางศลิ ปะ สีน้าใชร้ ะบายลงบนกระดาษวาดเขียน กระดาษสา หรือวสั ดุอื่นๆท่ีใชแ้ ทนกนั ได้
ซ่ึงอาจมลี กั ษณะของพ้นื ผวิ ที่แตกต่างกนั ออกไป เช่น พ้ืนผวิ ละเอยี ด หยาบ
และดูดซึมน้า ฯลฯ ภาพท่ีระบายดว้ ยสีน้าจะมีความนุ่มนวล
และกลมกลืนกนั โดยทว่ั ไปการระบายสีน้าไม่ควรระบายสี
ใหท้ บั กนั หลาย ๆ คร้ัง เพราะจะทาใหส้ ีเป็นสีกลาง สกปรก
สีไม่สดใสและจะลดคุณค่าความงามของภาพไป

ท่ีมา : วงษ์ ดุลสุจริต และดารง ศรีอร่าม. สนุกกบั การทดลองเรื่องสี.2542

21

สีชอล์ก

สีชอลก์ เป็นสีที่มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ชอลก์ ท่ีใชเ้ ขียนกระดานดาทุกประการ ต่างกนั ที่ว่าสี
ชอลก์ สาหรับใชเ้ ขียนภาพ หรือสร้างสรรค์งานทางศิลปะน้ีจะมีเน้ือสีท่ีละเอียดมากกว่า มีหลายสี
จาแนกตามความอ่อน – แก่ไวท้ ุกสี สามารถนาไปใช้ได้ตามความประสงค์โดยไม่ต้องผสมสี
ก่อนนาไปใชห้ ากจะมกี ารผสมกนั บา้ งเลก็ นอ้ ยก็ใหร้ ะบายทบั ผสมกนั ในภาพได้เช่นเดียวกบั สีเทียน
น้ามนั

แต่วธิ ีทา ใหก้ ลมกลนื กนั ใหใ้ ชม้ ือถหู รือลบู เบา ๆ
ฝ่ นุ ของสีชอลก์ ก็จะประสานกลมกลืนกนั ไดด้ ี
ทาใหส้ ีผวิ ของภาพน้นั ดนู ุ่มนวล ใชเ้ ขียนกระดาษสี

สาหรับเขียนสีชอลก์ โดยเฉพาะ

ท่ีมา : เฉลมิ นาคีรักษ์ และคณะ. ศลิ ปศึกษา ป. 4. ม.ป.ป.

22

กำรจดั ภำพ

1. หน่วย หมายถงึ การบรรจุเน้ือหาลงในแผ่นภาพ จะตอ้ งมีลกั ษณะเป็ นเอกภาพไม่กระจดั
กระจาย หรือแบ่งแยกเป็นส่วน ๆ

2. ความสมดุล หมายถงึ ความรู้สึกภายในภาพจะตอ้ งไมม่ ีน้าหนกั เอนเอียงไปขา้ งใดขา้ งหน่ึง
จนมากเกินไป

3. จุดสนใจ หมายถึง ภายในภาพหน่ึง ๆควรมีจุดสนใจเด่นชดั เพียงแห่งเดียวนอกน้ันให้
ความสาคญั ลดหยอ่ นกนั ไป ไมค่ วรมจี ุดสนใจเท่าๆกนั หลายแห่งในภาพเดียวกนั

ท่ีมา : วงษ์ ดุลสุจริต และ ดารง ศรีอร่าม . สนุกกบั การทดลองเร่ืองสี. 2532.

23

บรรณำนุกรม

กนตธ์ ีรา หิรัญยะมาน. กำรสร้ำงแบบฝึ กเพอ่ื พฒั นำกำรรับรู้ทำงศิลปะ สำหรับนักเรียน
ช้ันประถมศึกษำปี ที่ 4. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (สาขาการประถมศกึ ษา). กรุงเทพฯ :
บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, 2552.

กรมวชิ าการ. คู่มอื กำรจดั กำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์
องคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.), 2545.
. กำรจดั สำระกำรเรียนรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพอ์ งคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.), 2546.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สูตรกำรศึกษำข้นั ฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมชนการเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั , 2551 ข.
. หลกั สูตรกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำนกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมชนการเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั , 2551 ก.

จิรพนั ธ์ สมประสงค.์ ศิลปะ ป.4. กรุงเทพฯ : บริษทั สานกั พมิ พแ์ มค็ จากดั , 2548.
ฉตั รชยั อรรถปักษ.์ องค์ประกอบศิลปะ. กรุงเทพฯ : วทิ ยพฒั น์ จากดั , 2548.
เฉลิม นาคีรักษ์ และคณะ. ศิลปศกึ ษำ ป.4. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์, ม.ป.ป.
วฑิ ูรย์ โสแกว้ . ทศั นศิลป์ ช้ันประถมศึกษำปี ท่ี 4. กรุงเทพฯ : วฒั นาพานิช, 2547.
วริ ัตน์ พชิ ญไพบลู ย.์ ควำมเข้ำใจในศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, 2548.
สมชาย พรหมสุวรรณ. หลกั กำรทัศนศิลป์ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลยั , 2548.
สุชาติ เถาทอง และคณะ. หนงั สือเรียนสำระกำรเรียนรู้พนื้ ฐำนกล่มุ สำระกำรเรียนรู้ศิลปะทศั นศิลป์

ป.4-ป.6. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น,์ 2546.
. หลกั กำรทัศนศลิ ป์ . กรุงเทพฯ : นาอกั ษรการพิมพ,์ 2547.

24


Click to View FlipBook Version