บทเรยี นสำเร็จรูป 3
เรอ่ื ง ประเภทของงานชา่ งพน้ื ฐาน
เลม่ ท่ี 3 งานโลหะพ้ืนฐาน
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
รายวชิ า งานช่างพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ง23201
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
โรงเรียนไทรเดย่ี ววิทยา องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สระแกว้
นายสายธาร สาระกลู
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
เล่มที่ 3 เรอื่ ง งานโลหะพน้ื ฐาน
1
คำนำ
เอกสารบทเรียนสำเรจ็ รปู หน่วยที่ 4 เรือ่ ง ประเภทของงานชา่ งพนื้ ฐาน เลม่ ท่ี 3 งานโลหะพนื้ ฐาน
จดั ทำข้นึ เพ่ือประกอบการเรียนการสอนรายวิชา งานชา่ งพ้นื ฐาน รหสั วชิ า ง23201 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 กลมุ่ สาระ
การเรียนร้กู ารงานอาชีพ สาระเพิ่มเตมิ ซ่ึงผสู้ อนไดจ้ ัดทำขนึ้ เพือ่ ม่งุ เน้นพฒั นานักเรยี นที่เรียนอ่อนและส่งเสริมนกั เรยี น
ท่เี รียนเกง่ โดยให้นักเรียนได้เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง โดยมีครคู อยดูแลและคอยแนะนำ นกั เรียนศึกษาไปทลี ะเล่มตามลำดับ
จนสามารถเขียนแบบพืน้ ฐานด้วยตนเองได้
เอกสาร บทเรียนสำเรจ็ รปู การประเภทของงานช่างพ้ืนฐาน หน่วยท่ี 4 มที ง้ั หมด 7 เลม่ ประกอบดว้ ย
เล่มที่ 1 งานเขียนแบบพน้ื ฐาน
เลม่ ท่ี 2 งานไฟฟา้ พนื้ ฐาน
เลม่ ท่ี 3 งานโลหะพ้ืนฐาน
เลม่ ท่ี 4 งานไม้พ้ืนฐาน
เลม่ ท่ี 5 งานปนู พื้นฐาน
เลม่ ท่ี 6 งานประปาพนื้ ฐาน
เลม่ ที่ 7 งานสพี ้ืนฐาน
การศกึ ษาบทเรียนสำเร็จรูป นกั เรยี นสามารถเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง เน้นให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรดู้ ้วยการปฏบิ ตั ิ
จรงิ ด้วยตนเองตามความสามารถของแต่ละบคุ คล และมกี ารวัดผลประเมินผลดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลายตาม
สภาพจรงิ โดยนักเรยี นจะต้องศกึ ษาอย่างเป็นระบบและทำกิจกรรมเปน็ ขนั้ ตอนดว้ ยความซื่อสตั ย์ ซึ่งจะส่ง
ผลให้นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีดีต่อไป
ผู้สอนหวงั เปน็ อย่างยง่ิ วา่ บทเรียนสำเรจ็ รปู เลม่ นี้เป็นส่วนหน่งึ ของเครื่องมือท่ีจะชว่ ยให้นักเรยี นเกิด
การเรยี นร้อู ยา่ งสมบูรณ์ มีประสิทธภิ าพและเปน็ ประโยชน์แก่นักเรียนหรือผทู้ ส่ี นใจ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการ
ศกึ ษาเรื่องอนื่ ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี
นายสายธาร สาระกูล
เล่มท่ี 3 เรื่อง งานโลหะพนื้ ฐาน
2
สารบญั
คำนำ
สารบญั
คำช้ีแจงเกยี่ วกับบทเรียนสำเร็จรูป
คำช้ีแจงสำหรับครู
คำชี้แจงสำหรบั นักเรยี น
สาระสำคญั และมาตรฐานตวั ชวี้ ัด
แบบทดสอบก่อนเรยี น
กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
กรอบเนอ้ื หา
ความหมายและความสำคัญของงานโลหะ
ประเภทของงานช่างโลหะ
การบัดกรี
การเชื่อมดว้ ยไฟฟ้า
การเช่ือมแก๊ส
กรอบกจิ กรรม
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น
กจิ กรรมฝึกทักษะท่ี 1.1
กจิ กรรมฝึกทักษะที่ 1.2
แบบทดสอบหลงั เรยี น
กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรยี น
บรรณานกุ รม
เล่มที่ 3 เรอื่ ง งานโลหะพน้ื ฐาน
3
สารบญั (ตอ่ )
กรอบกจิ กรรม
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เฉลยกจิ กรรมฝึกทกั ษะท่ี 1.1
เฉลยกจิ กรรมฝึกทักษะที่ 1.2
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เล่มท่ี 3 เร่อื ง งานโลหะพ้ืนฐาน
4
คำชี้แจงเกย่ี วกับบทเรยี นสำเร็จรูป
เอกสารบทเรยี นสำเร็จรูป หน่วยท่ี 4 เรื่อง ประเภทของงานชา่ งพ้ืนฐาน เล่มท่ี 3 งานโลหะพืน้ ฐาน
เลม่ นีใ้ ช้ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนไทรเดย่ี ววิทยา โดยมีข้นั ตอน
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ดังน้ี
1. นกั เรยี นอา่ นคำชีแ้ จงการใช้บทเรยี นสำเรจ็ รูปให้เขา้ ใจ
2. นกั เรียนศกึ ษาขอบข่ายของเน้ือหา สาระสำคัญ และมาตรฐานตัวชีว้ ัด
3. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรูพ้ ืน้ ฐาน
4. นักเรยี นศกึ ษาเนื้อหาสาระโดยละเอียดทลี ะเรื่องตามลำดับและทำกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง
5. ทำแบบทดสอบหลังเรยี นเพ่ือตรวจสอบความกา้ วหน้าหลงั เรียน
เกณฑผ์ า่ นการประเมิน
1. นักเรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนประเมินตนเองหลงั เรียนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
2. ถ้าได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 80 ใหก้ ลับไปทบทวนความรเู้ พ่ิมเติม จนกวา่ จะไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่
รอ้ ยละ 80
3. นักเรยี นต้องไดค้ ะแนนแบบฝึกกิจกรรมที่ 1.1 และกจิ กรรมท่ี 1.2 รวมแล้วไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
เลม่ ท่ี 3 เรอื่ ง งานโลหะพ้นื ฐาน
5
คำชแี้ จงสำหรบั ครู
เอกสารบทเรียนสำเรจ็ รปู เร่ือง ประเภทของงานชา่ งพ้ืนฐาน รายวิชา งานชา่ งพื้นฐาน รหสั วชิ า ง23201
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ เล่มที่ 3 งานโลหะพนื้ ฐาน เล่มน้ใี ชป้ ระกอบการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยมขี ้นั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ดงั นี้
1. ครูแจกบทเรียนสำเรจ็ รปู เร่ือง ประเภทของงานช่างพ้ืนฐาน เล่มท่ี 3 งานโลหะพ้ืนฐาน
2. ครชู ีแ้ จงการใช้บทเรียนสำเรจ็ รูปใหน้ กั เรียนทราบก่อนลงมือปฏิบัติ
3. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อดวู ่านักเรียนมีพ้ืนฐานความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั
เรอื่ งน้ีมากน้อยเพยี งใด
4. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษากรอบเนื้อหาบทเรียนสำเร็จรปู เร่ือง ประเภทของงานชา่ งพ้ืนฐาน เล่มท่ี 3 งานโลหะ
พืน้ ฐาน แลว้ ปฏิบตั ิตามแบบฝกึ กจิ กรรมท่ี 1.1 และกิจกรรมท่ี 1.2 เพ่ือให้นกั เรียนได้ทบทวน
และเกิดความรู้ความเข้าใจถูกตอ้ ง
5. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น เพื่อดูวา่ นักเรียนมีความร้คู วามเข้าใจหลงั เรยี นมากน้อย
เพียงใด
6. ครสู งั เกตพฤติกรรม สมรรถนะหลักของนักเรยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ แล้วบนั ทึกผล
7. ครูตรวจผลงานนักเรยี นและแบบทดสอบ บนั ทึกผลลงในใบเก็บคะแนน
8. ครูแจง้ คะแนนใหน้ ักเรยี นทราบและชมเชยนักเรยี น พร้อมให้คำแนะนำเพิ่มเติม
เล่มท่ี 3 เรื่อง งานโลหะพ้ืนฐาน
6
คำช้แี จงสำหรับนักเรียน
เอกสารบทเรียนสำเรจ็ รปู เรื่อง ประเภทของงานชา่ งพ้ืนฐาน รายวิชา งานชา่ งพื้นฐาน รหสั วชิ า ง23201
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ เล่มที่ 3 งานโลหะพนื้ ฐาน เล่มน้ใี ช้ประกอบการจดั
กิจกรรมการเรยี นการสอน ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนไทรเดยี่ ววิทยาโดยมีข้ันตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี น
การสอนดงั น้ี
1. ศึกษาสาระสำคัญและตัวชว้ี ดั
2. ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพื่อประเมินพ้ืนฐานของนักเรยี นจำนวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
3. ศกึ ษากรอบเนื้อหาอยา่ งละเอยี ดของ เรือ่ ง งานโลหะพน้ื ฐาน
4. ทำแบบฝึกชุดกิจกรรมท่ี 1.1 และกิจกรรมท่ี 1.2
5. ทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพ่อื ประเมนิ ความก้าวหนา้ ของตนเอง
6. ตรวจคำตอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น/แบบฝึกชดุ กิจกรรม/แบบทดสอบหลงั เรียน จากเฉลย
ภาคผนวก
7. สรุปผลคะแนนท่ีได้ลงในกระดาษคำตอบเพอื่ ทราบผลการเรียนและผลการพัฒนา
8. ในการศึกษาทำกจิ กรรมให้นักเรยี นทำดว้ ยความมงุ่ มน่ั ต้งั ใจและมคี วามซ่ือสัตย์ต่อตนเอง โดย
ไม่เปดิ ดเู ฉลยก่อน
9. ให้นักเรยี นใช้เวลาในการศกึ ษาใหเ้ หมาะสมและตรงต่อเวลา
เล่มที่ 3 เร่ือง งานโลหะพื้นฐาน
7
สาระสำคญั
งานโลหะ หมายถงึ งานชา่ งที่ตอ้ งอาศัยทักษะและกระบวนการทางช่างในการใช้เคร่ืองมือ วสั ดุและอปุ กรณ์
ความละเอียดในการสร้างหรอื ผลติ และปรับปรุงชนิ้ งานทที่ ำด้วยโลหะตา่ งๆ ด้วยการเช่อื ม การหลอ่ การกลึง การเคาะ
ขนึ้ รปู หรือทำใหไ้ ดช้ น้ิ งานท่มี ีคุณภาพ งานโลหะสามารถจำแนกตามลักษณะของงาน
งานโลหะเปน็ งานทหี่ นกั มากลักษณะการทำงานมที ง้ั งานในร่มและกลางแจง้ สถานท่ีปฏิบัติงานมที ้ังทต่ี ่ำและ
ท่สี ูง โดยเฉพาะงานโครงสร้างหลังคาที่ ใชเ้ หล็กเป็นโครงสร้างประกอบเพราะมคี วามคงทน แข็งแรงสงู แทนวัสดตุ ่าง ๆ
เช่น ไม้ ซงึ่ นับวันจะหาได้ยาก ลักษณะท่ีดีของช่างโลหะจะต้องเปน็ ผ้มู คี วามขยัน อด ทน สูง้ านเปน็ พเิ ศษ มคี วาม
รอบร้เู กี่ยวกับวสั ดุโลหะตา่ ง ๆ เป็นอยา่ งดีมีประสบการณ์ มที กั ษะจากการปฏบิ ัตงิ านจนเกดิ ความชำนาญ อ่านแบบ
และออกแบบคิดคำนวณไดอ้ ย่าง ถกู ตอ้ ง มีความรับผิดชอบต่องาน ละเอียด รอบคอบ ประณตี และประหยัด
เคร่อื งเรือน อปุ กรณเ์ คร่ืองใชท้ ่ที ำมาจากโลหะนน้ั มหี ลายชนดิ ดว้ ยกันเช่น ทำมาจากเหลก็ อลมู ิเนียมสังกะสี
ทองแดง ทองเหลอื ง สแตนเลส ฯลฯ อปุ กรณเ์ หลา่ นั้นอย่ใู นรูปการใชง้ านท่ีแตกตา่ งกันออกไป เชน่ กอ๊ กนำ้ กระทะ
หม้อ มีด พรา้ เครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ เชน่ เลื่อย ประแจ คีม คอ้ น ฯลฯ โดยผลติ ขึ้นในรูปแบบต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งเหมาะสม
กับการใช้งานที่ต้องการ และอปุ กรณ์เครือ่ งใช้โลหะทุกอยา่ ง เมื่อใชน้ านวันย่อมมกี ารชำรุดเสียหายตอ้ งบำรุงรกั ษา เพ่ือ
ใหใ้ ช้งานตอ่ ไปไดอ้ กี งานโลหะบางชนดิ เช่น งานโลหะแผ่นสามารถนำมาสร้างสรรค์เปน็ เคร่อื งใชเ้ คร่ืองตกแต่งภายใน
บ้านได้ ลักษณะงานโลหะที่เกีย่ วข้องในชีวิตประจำวนั ได้แก่เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการซ่อมแซมดัดแปลงและผลิตใน การบดั กรี
การย้ำหมุด การเช่อื มโลหะ และการเชอื่ มแกส๊
ตัวชี้วดั
1. อธิบายและปฏิบัติงานโลหะพื้นฐานได้
เลม่ ท่ี 3 เรือ่ ง งานโลหะพ้ืนฐาน
8
แบบทดสอบก่อนเรยี น
รายวิชา งานช่างพนื้ ฐาน รหัสวชิ า ง23201 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 บทเรียนสำเร็จรูป
เลม่ ที่ 3 เร่อื ง งานโลหะพน้ื ฐาน
คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นเลอื กตอบขอ้ ท่ถี ูกต้องท่ีสุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเคร่ืองหมาย (x) ลงในกระดาษ
คำตอบ ( ใช้เวลา 10 นาที )
1. ข้อใดคือความหมายของการบดั กรี
ก. การเช่อื มวสั ดเุ ขา้ ด้วยกัน
ข. การตอ่ วงจรเข้าด้วยกัน
ค. การเชื่อมต่อโลหะเข้าดว้ ยกันโดยใช้วสั ดุตัวกลางเป็นตวั เช่ือมประสาน
ง. การนำวัสดุมารวมกนั
2. หวั แรง้ มีโครงสร้างคลา้ ยอุปกรณ์ในข้อใด
ก. หม้อแปลง
ข. หม้อหุงข้าว
ค. เตารดี
ง. มอเตอร์
3. ขอ้ ใดเป็นสาเหตุทำให้รอยบัดกรไี มส่ วยงาม
ก. ใชค้ วามร้อนตำ่ หรือสูงเกินไป
ข. ใชต้ ะกว่ั มากเกินไป
ค. ชิ้นงานสกปรก
ง. ถูกทุกขอ้
4. สงิ่ ท่ีต้องคำนึงถงึ อนั ดับแรกของการเช่ือมดว้ ยไฟฟ้า คือขอ้ ใด
ก. ความสวยงาม
ข. ความสะดวก
ค. ความปลอดภยั
ง. ความลวดเรว็
5. ขอ้ ใดไม่ใชอ่ ุปกรณ์ในการเช่อื มไฟฟ้า
ก. เกจวดั กระแสไฟฟา้ ข. เลนส์กรองแสง
ค. ลวดเชื่อมหมุ้ ฟลัก๊ ง. คอ้ นเคาะสแร็ค
เล่มที่ 3 เรอ่ื ง งานโลหะพืน้ ฐาน
9
6. เครอ่ื งมืออุปกรณ์พืน้ ฐานสำคญั ทใี่ ช้ในกระบวนการเชอ่ื ม คืออะไรบา้ ง
ก. เครอื่ งเชือ่ ม สายไฟเชือ่ ม หัวเชือ่ ม ลวดเชือ่ ม
ข. เคร่อื งเชอ่ื ม หัวเช่ือม สายดิน ลวดเช่อื ม
ค. เครื่องเชือ่ ม ช้ินงาน ลวดเชือ่ ม อุปกรณป์ รบั กระแส
ง. เครือ่ งเช่อื ม หัวเชอื่ ม สายดิน ช้ินงาน
7. วธิ ีการเร่มิ ต้นอารก์ ทีเ่ หมาะสมสำหรบั ผ้ทู ี่ฝึกเชือ่ มใหม่ๆ คือข้อใด
ก. วธิ ีเคาะ
ข. วิธีแตะ
ค. วธิ ีหมุน
ง. วิธขี ดี
8. ในการปฏบิ ตั ิงานโดยทวั่ ๆ ไปส่ิงทตี่ อ้ งพงึ สงั วร อยเู่ สมอคอื อะไร
ก. การใชเ้ ครอ่ื งมือทถ่ี ูกตอ้ ง
ข. ความปลอดภัย
ค. ร่างกายเราไม่มีอะไหล่
ง. การประหยดั วัสด
9. การเชื่อมแกส๊ หมายถงึ การเผาไหมข้ องอะไร
ก. แกส๊ ไฮโดรเจนกับออกซเิ จน
ข. แก๊สบิวเทนกบั ออกซเิ จน
ค. แกส๊ อะเซทลิ นี กับออกซิเจน
ง. นำ้ มันเบนซินกบั ออกซิเจน
10. การตรวจหารอยร่วั ของอุปกรณ์เชอ่ื มแกส๊ ควรใช้ อะไร
ก. นำ้ สบู่
ข. นำ้ มนั
ค. เปลวไฟ
ง. จมกู ดมกลน่ิ
เล่มท่ี 3 เรอ่ื ง งานโลหะพ้ืนฐาน
10
กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น
ชื่อ – สกุล ................................................................ ชน้ั .................. เลขท่ี ..........
ขอ้ ก ข ค ง
1 คะแนนท่ไี ด้
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรุปผลคะแนน
คะแนนเตม็
รวม 10 คะแนน
เล่มที่ 3 เรื่อง งานโลหะพ้นื ฐาน
11
กรอบเนอื้ หา เลม่ ที่ 3
งานโลหะพน้ื ฐาน
เลม่ ที่ 3 เรื่อง งานโลหะพ้นื ฐาน
12
ความหมายของงานโลหะ
งานโลหะหมายถึง การปฏบิ ตั ิงานใด ๆ ทที่ ำกบั วตั ถุที่เป็นโลหะ โดยอาศยั กระบวนการทักษะทางช่าง
ในการใช้เครื่องมือ วสั ดอุ ปุ กรณ์และความละเอยี ดประณีตในการทำงาน เพ่ือสรา้ งหรือผลติ และปรับปรงุ ชิ้นงานที่ทำด้วย
โลหะสนองความต้องการของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี
งานโลหะมีความสำคญั ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ดงั น้ี
1.งานโลหะใช้ในการประดิษฐ์ส่ิงของเครื่องมือ เครื่องจักรกล เครอ่ื งใชต้ า่ ง ๆในชวี ิตประจำวัน เช่น เลื่อย ค้อน กบ สวา่ น
มีด ภาชนะตา่ ง ๆ เครื่องกลึง เคร่ืองไส ตัวถงั รถยนต์ ชิ้นสว่ นเครอ่ื งยนต์ เป็นตน้
2.งานโลหะใช้ในการก่อสร้าง โครงสรา้ งหรอื ส่วนประกอบของสงิ่ ปลูกสรา้ งต่าง ๆแทนวสั ดทุ ่ีทำจากไม้ได้เป็นอย่างดี ชว่ ย
ลดการทำลายปา่ ไม้ เช่น งานโลหะทำโครงหลงั คาอาคารต่าง ๆ ทำสะพานข้ามแม่น้ำ เป็นตน้
3.งานโลหะกอ่ ให้เกิดคุณค่าของงาน และความชำนาญการของชา่ ง ในการพฒั นา
เล่มที่ 3 เรื่อง งานโลหะพ้ืนฐาน
13
ประเภทของงานช่างโลหะ
งานชา่ งที่ตอ้ งอาศัยทักษะและกระบวนการทางช่างในการใชเ้ ครอื่ งมือ วสั ดุและอุปกรณ์ ความละเอียดในการ
สรา้ งหรือผลิตและปรบั ปรุงช้ินงานที่ทำดว้ ยโลหะต่างๆ ดว้ ยการเช่ือม การหลอ่ การกลึง การเคาะข้นึ รูป หรือทำให้ได้
ชน้ิ งานท่มี คี ุณภาพ งานโลหะสามารถจำแนกตามลักษณะของงานได้ 6 ประเภท ดังนี้
1.งานโลหะแผน่ เช่น แผน่ มุงหลงั คา เฟอรน์ ิเจอร์ตา่ งๆ ตูเ้ กบ็ ของ โต๊ะทำงาน เปน็ ตน้
2.งานเคาะขนึ้ รูปโลหะ เช่น งานตวั ถัวรถยนต์ ตวั ถังรถจกั รยานยนต์ เป็นต้น
3.งานเหล็กดดั ขนึ้ รูป เช่น งานเหล็กดัดทว่ั ๆไป เหลก็ ดดั ประตูหนา้ ต่าง โครงหลังคา เป็นตน้
4.งานเชอ่ื มโลหะ เช่น งานเชอ่ื มโลหะด้วยไฟฟ้า งานเชอ่ื โลหะดว้ ยแกส๊ เป็นต้น
5.งานหล่อโลหะ เชน่ แม่พิมพ์งานต่างๆ ช้นิ ส่วนเครอ่ื งจักร เครอื่ งมือเคร่ืองใช้ตา่ งๆ เป็นต้น
6.งานผลติ ภัณฑ์อลมู เิ นียม เช่น โครงเฝา้ เพดาน วงกบประตูหนา้ ต่าง มงุ้ ลวด เป็นต้น
เลม่ ท่ี 3 เร่ือง งานโลหะพื้นฐาน
14
การบดั กรี
การบดั กรี
การบัดกรี (Soldering) คือ การต่อโลหะชน้ิ งานใหย้ ดึ ติดกันด้วยโลหะบัดกรี โดยอาศยั ความร้อนที่ไดจ้ ากการ
เผาหวั แรง้ ใหร้ อ้ น หลอมละลายตวั ประสานท่มี ีจุดหลอมละลายตำ่ โดยที่โลหะชนิ้ งานจะไม่เกดิ การหลอมละลาย เชน่
การบดั กรีรางน้ำฝน เปน็ ตน้
เครือ่ งมอื ที่ใช้ มีดงั น้ี
1. หวั แร้ง (Soldering Iron) หวั แรง้ มีหน้าที่ใหค้ วามร้อนเพื่อละลายตะกัว่
2. ตะกว่ั บัดกรี ตะกว่ั บดั กรีใช้เป็นตัวเชอื่ มอปุ กรณ์ใหต้ ดิ กัน
3. ทีด่ ูดตะกั่ว (Solder sucker) เปน็ เครือ่ งมือทชี่ ว่ ยในการถอดเปลี่ยนอปุ กรณ์
4. ตวั ประสาน (Flux) เปน็ ตัวประสานและยังใช้ในการใช้ล้างหวั แร้ง
5. ทวี่ างหัวแรง้ (Solder Stand) ใช้วางหวั แร้งขณะทำงาน
6. คมี ตดั (คมี ปากนกแก้ว) ใช้ตดั สายไฟท่ีมีและไม่มฉี นวนหุ้ม
7. คีมจบั (คีมปากจงิ้ จก) คีมจับใช้สำหรบั จบั และดัดชน้ิ งาน
8. มดี คตั เตอร์ มดี ใช้สำหรับกรีด ขดู ทำความสะอาดโลหะ ในการทำงานอาจทำให้ใบมีดทอื่ ไดง้ า่ ย
9. ทนิ เนอร์และแปรงสฟี นั .ใชล้ ้างชนิ้ งาน
10. ชนิ้ งานทจ่ี ะบัดกรี เป็นโลหะท่ใี ช้บัดกรีได้
วิธีบดั กรี
1. เสยี บปล๊กั หวั แรง้
2.ในขณะท่รี อใหห้ ัวแรง้ ร้อน เรากต็ ้องเตรยี มผวิ ของชิ้นงานทจ่ี ะบัดกรีเสยี กอ่ น ใหม้ คี วามสะอาด โดยการใชค้ ตั เตอร์
ขูดที่จุดบดั กรใี หส้ ะอาด
3. ใช้หวั แรง้ จ่มุ ท่ีตัวประสานแล้วจีท้ ต่ี ะกั่วบดั กรีจนละลายลงบนชนิ้ งาน และปรบั แต่งช้งิ านให้สวยงาม
เล่มที่ 3 เรอ่ื ง งานโลหะพื้นฐาน
15
การเช่อื มด้วยไฟฟ้า
การเชอื่ มด้วยไฟฟ้า (Arc Welding)
การเชื่อมดว้ ยไฟฟ้าเปน็ ตวั ประกอบในการทำงาน โดยการใชล้ วดเชือ่ ม (Electrode) ซึ่งเปน็ ข้วั บวกมาสัมผัสกบั งานเชอ่ื ม
ซึง่ ข้ัวลบ การเอาประจุไฟฟา้ ลบ (Nagative) วิง่ ไปประทะกับประจไุ ฟฟา้ บวก (Positive) จะเกดิ การสปารค์ (Spark) ข้ึน
ซ่ึงเรยี กว่า อาร์ค (Arc) ในขณะเดยี วกนั ลวดเช่ือมซ่ึงห่อหมุ้ ด้วยสารเคมกี ็หลอมละลายลงไปในงานเช่ือมดว้ ย ทำใหโ้ ลหะ
หรือช้ินงานเชื่อมตดิ เป็นเนอื้ เดียวกันไดต้ ามต้องการ
เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟา้ การเช่อื มด้วยไฟฟ้าจะต้องมเี ครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีจำเปน็ ดงั น้ี
1.เครอ่ื งเชอ่ื มไฟฟ้า (Welding Machine) เป็นแหล่งผลิตหรอื เปล่ยี นพลงั งานไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการเชื่อม
2.หน้ากากเช่อื มไฟฟ้าสว่ นใหญ่มกั ทำด้วยไฟเบอร์ มีเลนสไ์ ว้สำหรับกรองแสงและรังสี 2 แบบคอื แบบมือจับใชก้ บั งาน
ทั่วไป และแบบสวมศีรษะใช้กับงานกอ่ สรา้ ง โครงสร้าง งานสนาม หรืองานทจี่ ำเปน็ ต้องใช้มอื จับงานขณะเช่ือม
3.ค้อนเคาะสแลกทำจากเหลก็ เครือ่ งมือมีคมทหี่ ัวท้ัง 2 ดา้ น ใชส้ ำหรับเคาะสแลกท่ผี วิ เชอื่ มออกจากแนวเชอ่ื ม
4.แปรงลวดเปน็ อุปกรณ์ปัดทำความสะอาดผวิ รอยเช่อื มทั้งกอ่ นและหลงั การเชื่อม
5.ถุงมอื หนังทำดว้ ยหนังอ่อน ใชใ้ สป่ ฏบิ ัติงาน เพอื่ ป้องกนั ความร้อน รงั สี และคมของโลหะ
6.คีมจบั งานรอ้ นใช้คีบจบั งานที่เช่ือมแลว้ และมคี วามร้อนอยู่ ปากคีมขน้ึ อยู่กับรูปร่างของงาน
7.หวั จับลวดเชือ่ มไฟฟ้า ใชส้ ำหรบั คีมจบั ลวดเชื่อมไฟฟ้า ทำจากวัสดุทเ่ี ป็นฉนวนทนความร้อน
· 8.คีมคบี สายดนิ ส่วนใหญท่ ำจากการหล่อทองแดงผสม มีสปริงดันก้านไว้คีบจบั งานเพอ่ื ใหก้ ระแสไฟฟา้ เช่ือมครบวงจร
9.สายเชอื่ มไฟฟา้ เปน็ สายไฟฟ้าขนาดใหญ่ มฉี นวนหุ้มหลายช้ัน สำหรับเครอ่ื งเชอื่ มไฟฟ้าจะใช้ 2 เส้น
· การเชอื่ มด้วยไฟฟา้ มีวิธปี ฏิบตั ิ ดังนี้
1.เลือกเครื่องเชอื่ มแบบท่ีตอ้ งการ D.C. / A.C. และต่อสายดนิ (Ground) ใหถ้ ูกต้อง
2.เลอื กใช้หน้ากากให้เหมาะสมกบั ใบหน้า และชนดิ ของกระจก เพื่อป้องกันรังสี อลุ ตร้าไวโอเลต
3.ตรวจดูสายเชือ่ มและสายดินใหเ้ รียบรอ้ ย ข้อต่อสายต้องแน่นเพื่อป้องกันไฟรว่ั
4.นำสายดนิ คีบช้นิ งาน หรอื โต๊ะทำงานใหแ้ นน่ และสะอาดปราศจากสนมิ
5.หมุนปรับกระแสไฟบนเคร่ืองเช่อื มให้เหมาะสมกับงานเช่ือม ซ่ึงขน้ึ อย่กู บั ชนดิ และความหนาของโลหะ และไมค่ วรปรับ
กระแสไฟขณะเคร่ืองเชือ่ มกำลงั ทำงานอยู่ ควรปดิ สวติ ซก์ อ่ นปรบั กระแสไฟ
6.ใชต้ ัวจับลวดเชอื่ มคบี ลวดเช่อื มให้แน่น ทางดา้ นปลายท่ไี ม่มีฟลั๊กหุ้ม
7.ถอื ลวดเชื่อมให้ตง้ั ตรง แลว้ จ่อไว้ใกล้ ๆ บรเิ วณทีจ่ ะเร่มิ ต้นเชอื่ ม อยา่ ให้แตะชิ้นงาน จนกว่าจะใชห้ นา้ กากบังให้เรียบรอ้ ย
8.จีล้ วดเช่ือมลงบนแผน่ งานเบา ๆ แลว้ รบี ยกมอื กระดกข้นึ เพอ่ื ลวดเชื่อมห่างจากแผน่ งาน โดยเร็วและเดนิ ลวดเชื่อมไป
ขา้ งหน้าชา้ ๆ ฝึกทำจนเช่อื มไดเ้ ปน็ อย่างดี ถ้าลวดเชือ่ มติดช้นิ งานดึงไม่ออก ตอ้ งอ้าหัวจับลวดเชอ่ื มออกหรือปิดสวติ ซ์แลว้
ตีออก แลว้ ทำการเช่ือมใหม่เหมอื นเดมิ
9.ควรถือลวดเช่อื มใหเ้ อียงออกจากแนวเชอ่ื มประมาณ 15 - 30 องศา
10.หลังจากเชือ่ มไดแ้ ลว้ ต้องทำความสะอาดรอยเชอ่ื ม โดยใช้คอ้ นเคาะสแลก็ ทเ่ี กาะอยู่ตามแนวเช่อื ม
เลม่ ท่ี 3 เรื่อง งานโลหะพน้ื ฐาน
16
การเชอื่ มแกส๊
การเชือ่ มแกส๊ คืองานชา่ งรปู แบบหนง่ึ ทใี่ ช้การเผาไหม้ของแกส๊ อเชติลนี ผสมกบั แก๊สออกซิเจนโดยใช้เปลวไฟ
จากการเผาไหม้บรเิ วณปลายหวั เช่อื ม สำหรับละลายโลหะทต่ี อ่ จากน้นั จะเติมลวดเชอื่ มลงไปในบ่อโลหะทถ่ี ูกหลอม
ละลาย อนั นำไปสแู่ นวเช่ือมตามแบบที่วางไว้ ปกติแลว้ งานเช่ือมแกส๊ จะใช้สำหรบั งานเช่ือมโลหะท่ีไม่มีความหนาแนน่
สูง หรือเปน็ งานเบา อาทิ งานเช่ือมท่อเคร่ืองปรบั อากาศ งานเช่ือมสำหรับซ่อมแซมตัวถงั รถยนต์ งานเชือ่ มท่อไอเสีย
หรืองานเชื่อมทอ่ ท่ีใชใ้ นงานอุตสาหกรรมเคมีทัว่ ไป
อุปกรณท์ ่ใี ช้ในการเช่ือมแกส๊ ในงานเชอื่ มแก๊สจะต้องใช้อุปกรณเ์ ครื่องมือช่าง ประกอบด้วย
1. ถังออกซเิ จน เปน็ อปุ กรณ์ทใ่ี ชส้ ำหรับกักเก็บแกส๊ ออกซิเจน
2. ถังอะเซทิลนี เปน็ แกส๊ ทใ่ี ช้งานรว่ มกบั ออกซิเจน มีคุณสมบัตใิ นการเป็นเชือ้ ไฟสำหรับการเชือ่ มโลหะ
3. มาตรวัดความดนั มจี ุดเด่นทีร่ ะบบตัดการไหลเวยี นของแก๊สช่วยลดแรงดนั สูงที่อาจมีมากเกนิ ไป
4. มาตรวดั ออกซิเจน เป็นระบบสำหรบั ตดั การไหลเวยี รของออกซิเจนแรงดันสูง
5. มาตรวัดอะเซทิลีน ใชส้ ำหรับควบคมุ ความดันแกส๊ อะเซทิลนี ทำให้แรงดันภายในถังแกส๊ ซงึ่ ในระดับทีป่ ลอดภยั สำหรับ
การใช้งาน
6. สายยางลำเลยี งแกส๊ เช่อื มระหว่างชดุ หวั ปรับของถงั แกส๊ ออกซิเจนและถงั แก๊สอะเซทลิ นี ปจั จบุ ันแบ่งเปน็ 2 ชนดิ
คือ ชนดิ สายเดี่ยว และสายคู่
7. หัวผสมแกส๊ (ทอรช์ ) ใชส้ ำหรบั เชื่อมโลหะดว้ ยการใช้แก๊สจากถังแกส๊ ออกซิเจนและถังแกส๊ เช้ือเพลงิ
8. หวั เชอื่ ม (หัวทพิ ) ทำหน้าท่ีเปน็ ตัวกำหนดทศิ ทางและปริมาณเปลวไฟ อยู่ในส่วนปลายสดุ ของท่อทางผ่านแกส๊ ที่ผสม
เรียบร้อยแล้ว แบ่งเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ แบบชนิ้ เดยี ว และแบบแยกชิน้
9. อุปกรณ์จุดไฟแก๊ส ใช้สร้างประกายไฟสำหรับจุดไฟบรเิ วณปลายหัวทพิ เช่อื มเพ่ือใชง้ านเช่ือมประเภทต่าง ๆ
การเชื่อมแก๊ส อนั ตรายที่ต้องระวัง
การเชื่อมแกส๊ เปน็ หนึง่ ในงานชา่ งท่ตี ้องกระทำดว้ ยความระมดั ระวังสงู เนื่องจากอุบัตเิ หตุจากแกส๊ ร่ัวไหอาจเกิดขึน้ ได้
ตลอดเวลา ไมว่ ่าจะเป็นปรากฎการณ์ไฟยอ้ นกลับ หรือการระเบิดทท่ี อรช์ ซง่ึ อาจก่อให้เกิดความเสียหายหรืออัคคภี ัยได้
ดว้ ยเหตนุ ้ี ผทู้ ่ที ำงานเชื่อมแก๊สจำเป็นอย่างมากท่จี ะต้องระมดั ระวงั ปรากฎการณ์ Flashback ใหด้ ี เพราะเม่ือเกิด
อุบตั เิ หตุ เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ จะเกิดขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ โดยไม่มโี อกาสไดต้ ัง้ ตวั หรือแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า
เล่มที่ 3 เรอื่ ง งานโลหะพน้ื ฐาน
17
กรอบกจิ กรรม
งานโลหะพนื้ ฐาน
เล่มท่ี 3 เร่ือง งานโลหะพื้นฐาน
18
กิจกรรมที่ 1.1
งานโลหะพื้นฐาน
คำช้แี จง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนใี้ หถ้ ูกต้อง
1. งานโลหะหมายถงึ
................................................................................................................... .........................................
.............................................................................................. ..............................................................
...........................................................................................................................................................
2. งานโลหะสามารถจำแนกตามลักษณะของงานได้กปี่ ระเภท อะไรบา้ ง
...................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
3. การบดั กรี คือ
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... ..
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ชอื่ - นามสกุล ......................................................................... ชั้น ................. เลขที่ ............
เลม่ ที่ 3 เรื่อง งานโลหะพ้นื ฐาน
19
กจิ กรรมที่ 1.2
งานโลหะพ้นื ฐาน
คำชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ต้อง
1. การเชื่อมดว้ ยไฟฟ้าหมายถึง
.............................................................................................................................................. ..............
............................................................................................................ ................................................
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
.............................................................. ........................................................................................ ......
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
2. งานเชื่อมแกส๊ คือ
........................................................................................................................................................ ...
....................................................................................................................... .....................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ช่อื - นามสกลุ ......................................................................... ชั้น ................. เลขที่ ............
เล่มท่ี 3 เรือ่ ง งานโลหะพื้นฐาน
20
แบบทดสอบหลังเรยี น
รายวิชา งานชา่ งพื้นฐาน รหัสวิชา ง23201 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 บทเรียนสำเร็จรูป
เล่มที่ 3 เร่อื ง งานโลหะพน้ื ฐาน
คำช้ีแจง ให้นักเรียนเลอื กตอบขอ้ ทถ่ี กู ต้องทสี่ ดุ เพียงคำตอบเดียว แลว้ ทำเครื่องหมาย (x) ลงในกระดาษ
คำตอบ ( ใช้เวลา 10 นาที )
1. เครอ่ื งมืออุปกรณ์พนื้ ฐานสำคัญทใ่ี ช้ในกระบวนการเช่ือม คืออะไรบ้าง
ก. เครอื่ งเชอ่ื ม สายไฟเชอ่ื ม หวั เช่ือม ลวดเชื่อม
ข. เครอ่ื งเชอ่ื ม หัวเช่ือม สายดนิ ลวดเช่อื ม
ค. เครอื่ งเชอ่ื ม ชิ้นงาน ลวดเช่ือม อุปกรณ์ปรบั กระแส
ง. เครื่องเช่อื ม หวั เชื่อม สายดิน ชนิ้ งาน
2. วิธีการเร่ิมตน้ อารก์ ทีเ่ หมาะสมสำหรับผู้ที่ฝกึ เชอ่ื มใหมๆ่ คือข้อใด
ก. วิธีเคาะ ข. วธิ แี ตะ
ค. วิธีหมนุ ง. วิธีขีด
3. ในการปฏิบตั ิงานโดยทัว่ ๆ ไปส่ิงทตี่ อ้ งพงึ สงั วร อยูเ่ สมอคืออะไร
ก. การใช้เคร่ืองมือท่ถี ูกต้อง ข. ความปลอดภัย
ค. รา่ งกายเราไมม่ ีอะไหล่ ง. การประหยัดวสั ด
4. การเชอ่ื มแกส๊ หมายถงึ การเผาไหม้ของอะไร
ก. แกส๊ ไฮโดรเจนกบั ออกซิเจน
ข. แกส๊ บวิ เทนกับออกซิเจน
ค. แกส๊ อะเซทลิ นี กับออกซเิ จน
ง. น้ำมนั เบนซินกับออกซเิ จน
5. การตรวจหารอยรว่ั ของอปุ กรณเ์ ชือ่ มแก๊สควรใช้ อะไร
ก. นำ้ สบู่ ข. น้ำมนั
ค. เปลวไฟ ง. จมูกดมกลนิ่
เลม่ ที่ 3 เรอ่ื ง งานโลหะพ้นื ฐาน
21
6. ข้อใดคือความหมายของการบดั กรี
ก. การเชอื่ มวัสดุเข้าดว้ ยกนั
ข. การตอ่ วงจรเขา้ ดว้ ยกัน
ค. การเชือ่ มต่อโลหะเขา้ ด้วยกนั โดยใชว้ ัสดตุ ัวกลางเปน็ ตวั เช่อื มประสาน
ง. การนำวสั ดมุ ารวมกัน
7. หวั แร้งมีโครงสร้างคล้ายอุปกรณใ์ นข้อใด
ก. หม้อแปลง
ข. หม้อหงุ ข้าว
ค. เตารีด
ง. มอเตอร์
8. ข้อใดเป็นสาเหตุทำใหร้ อยบัดกรีไม่สวยงาม
ก. ใชค้ วามร้อนตำ่ หรือสูงเกินไป
ข. ใชต้ ะกวั่ มากเกินไป
ค. ชนิ้ งานสกปรก
ง. ถกู ทกุ ข้อ
9. ส่ิงที่ตอ้ งคำนึงถึงอนั ดบั แรกของการเชื่อมด้วยไฟฟ้า คือข้อใด
ก. ความสวยงาม
ข. ความสะดวก
ค. ความปลอดภัย
ง. ความลวดเรว็
10. ข้อใดไมใ่ ช่อุปกรณใ์ นการเช่อื มไฟฟ้า
ก. เกจวดั กระแสไฟฟา้
ข. เลนส์กรองแสง
ค. ลวดเช่อื มหมุ้ ฟล๊กั
ง. คอ้ นเคาะสแร็ค
เล่มที่ 3 เรอ่ื ง งานโลหะพ้ืนฐาน
22
กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น
ชือ่ – สกลุ ................................................................ ชน้ั .................. เลขท่ี ..........
ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรปุ ผลคะแนน
คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้
รวม 10 คะแนน
เลม่ ที่ 3 เรื่อง งานโลหะพื้นฐาน
23
บรรณานกุ รม
ผศ. ชัยนนท์ ศรีสภุ นิ านนท์ 2558.พน้ื ฐานทางช่าง ซีเอ็ดยเู คชนั่ , บมจ. , กรุงเทพฯ. 384 น.
เอกชยั รตั นโน 2559. เขียนแบบเบื้องตน้ Basic Drawing, , กรงุ เทพฯ. 240 น.
มานัส ครรภาฉาย และคณะ . หนังสอื เรยี นสาระการเรยี นรู้พนื้ ฐาน งานชา่ ง ม. 4-5 . กรุงเทพฯ : วัฒนาพานชิ , 2549 .
เล่มที่ 3 เรอ่ื ง งานโลหะพนื้ ฐาน
24
ภาคผนวก
เลม่ ท่ี 3 เรอื่ ง งานโลหะพื้นฐาน
25
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
รายวชิ า งานช่างพื้นฐาน รหสั วิชา ง23201 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3
บทเรียนสำเร็จรปู เรื่อง ประเภทของงานชา่ งพน้ื ฐาน
เลม่ ที่ 3 งานโลหะพนื้ ฐาน
ข้อ ก ข ค ง
1X
2X
3X
4X
5X
6X
7X
8X
9X
10 X
เลม่ ที่ 3 เรอื่ ง งานโลหะพน้ื ฐาน
26
เฉลยกจิ กรรมท่ี 1.1
งานโลหะพื้นฐาน
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถกู ตอ้ ง
1. งานโลหะหมายถงึ
ตอบ การปฏิบัตงิ านใด ๆ ท่ีทำกับวตั ถุที่เป็นโลหะ โดยอาศัยกระบวนการทักษะทางช่าง ในการใช้เคร่ืองมือ วสั ดุอุปกรณ์
และความละเอียดประณีตในการทำงาน เพ่ือสรา้ งหรือผลิตและปรับปรงุ ชิ้นงานท่ีทำด้วยโลหะสนองความต้องการของมนษุ ย์
ไดเ้ ป็นอย่างดี
2. งานโลหะสามารถจำแนกตามลกั ษณะของงานได้กปี่ ระเภท อะไรบา้ ง
ตอบ 6 ประเภท
1.งานโลหะแผน่
2.งานเคาะข้นึ รูปโลหะ
3.งานเหล็กดดั ขึ้นรูป
4.งานเชอ่ื มโลหะ
5.งานหล่อโลหะ
6.งานผลิตภณั ฑ์อลูมเิ นยี ม
3. การบดั กรี คือ
ตอบ การบัดกรี คือ การต่อโลหะช้นิ งานใหย้ ึดตดิ กันดว้ ยโลหะบดั กรี โดยอาศยั ความร้อนท่ไี ดจ้ ากการเผาหวั แรง้ ใหร้ ้อน
หลอมละลายตวั ประสานทีม่ จี ุดหลอมละลายตำ่ โดยท่ีโลหะชนิ้ งานจะไม่เกิดการหลอมละลาย
เลม่ ท่ี 3 เรอ่ื ง งานโลหะพื้นฐาน
27
เฉลยกจิ กรรมที่ 1.2
งานโลหะพ้นื ฐาน
คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนีใ้ หถ้ ูกตอ้ ง
1. การเชื่อมด้วยไฟฟ้าหมายถึง
ตอบ การทำงานโดยการใช้ลวดเชื่อม ซง่ึ เปน็ ขวั้ บวกมาสัมผสั กับงานเช่อื มซ่ึงข้ัวลบ การเอาประจุไฟฟา้ ลบ ว่ิงไปปะทะ
กับประจุไฟฟ้าบวกจะเกดิ การสปารค์ ขึน้ ซง่ึ เรียกวา่ อาร์ค ในขณะเดยี วกันลวดเชือ่ มซึง่ ห่อหุ้มด้วยสารเคมีกห็ ลอมละลาย
ลงไปในงานเช่ือมดว้ ย ทำใหโ้ ลหะหรือชนิ้ งานเชอ่ื มตดิ เปน็ เนอ้ื เดยี วกันไดต้ ามต้องการ
2. งานเชอ่ื มแกส๊ คือ
ตอบ งานเชอื่ มแก๊ส คอื งานช่างรูปแบบหนึ่งท่ีใชก้ ารเผาไหม้ของแก๊สอเชตลิ ีนผสมกบั แก๊สออกซิเจนโดยใชเ้ ปลวไฟจาก
การเผาไหมบ้ รเิ วณปลายหวั เช่ือม สำหรบั ละลายโลหะที่ต่อจากน้นั จะเติมลวดเชือ่ มลงไปในบ่อโลหะท่ถี ูกหลอมละลาย
อนั นำไปส่แู นวเช่ือมตามแบบทวี่ างไว้ ปกติแล้ว งานเชอ่ื มแกส๊ จะใชส้ ำหรับงานเชื่อมโลหะที่ไมม่ ีความหนาแนน่ สงู หรือ
เปน็ งานเบา
เลม่ ท่ี 3 เร่ือง งานโลหะพื้นฐาน
28
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
รายวิชา งานช่างพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ง23201 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
บทเรียนสำเร็จรูป เรอ่ื ง ประเภทของงานช่างพ้นื ฐาน
เลม่ ที่ 3 งานโลหะพน้ื ฐาน
ข้อ ก ข ค ง
1X
2X
3X
4X
5X
6X
7X
8X
9X
10 X
เลม่ ที่ 3 เร่ือง งานโลหะพน้ื ฐาน
โรงเรียนไทรเดีย่ ววทิ ยา สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดสระแกว้
141 หมูท่ ่ี 2 ตำบลไทรเดีย่ ว อำเภอคลองหาด จงั หวัดสระแกว้ 27260
โทรศัพท/์ โทรสาร 037-247896
Facebook : saitan sarakul
เลม่ ที่ 3 เร่ือง งานโลหะพื้นฐาน