คมู่ อื การใชห้ นงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ( E-Book ชดุ ท4่ี
)
ชดุ การปลูกพืชสมุนไพร
กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6
ชดุ ท่ี 4 พืชสมนุ ไพร2
นายสายธาร สาระกลู
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
โรงเรียนไทรเด่ยี ววทิ ยา สงั กัดองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั สระแก้ว
กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย
ก
คำนำ
คู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การปลูกพืชสมุนไพร เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ฉบับน้ี จัดทำข้ึน
เพื่อเป็นคู่มือและเป็นแนวทางในการใช้งาน ซึ่งครูและนักเรียนควรศึกษาให้เข้าใจชัดเจนเพ่ือสามารถเปิดใช้
การจัดการเรียนการสอนได้อย่างถกู ตอ้ งและมีประสิทธิภาพ บรรลตุ ามจุดประสงค์การเรียนรทู้ ่กี ำหนดไว้
คู่มือการใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การขยายพันธุพ์ ชื มที งั้ หมด 13 ชดุ ดังนี้
ชุดท่ี 1 ความหมาย ความสำคญั และประเภทของสมุนไพร
ชุดที่ 2 ความสำคญั และประโยชนข์ องการแปรรูปผลิตภัณฑส์ มุนไพร
ชุดท่ี 3 พืชสมนุ ไพร1
ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2
ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3
ชุดท่ี 6 พืชสมนุ ไพร4
ชุดที่ 7 พชื สมนุ ไพร5
ชุดที่ 8 ความหมาย ความสำคญั และประโยชนข์ องการขยายพันธุ์พืช
ชุดท่ี 9 การขยายพันธ์พุ ชื โดยการเพาะเมลด็
ชุดท่ี 10 การขยายพนั ธ์พุ ืชโดยการปักชำ
ชุดที่ 11 การขยายพนั ธ์พุ ชื โดยการตอนก่งิ
ชุดที่ 12 การเตรยี มดินปลูกและการปลกู พืช
ชุดท่ี 13 การดแู ลรกั ษาและกำจดั ศตั รพู ืช
ค่มู ือเล่มนไ้ี ด้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกบั วธิ ีการใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book ) เพอื่ ให้ครูผสู้ อน
และนักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหาได้ด้วยตนเองตามความสามารถ โดยศึกษาคู่มือการใช้ควบคู่ไปกับหนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book ) ของแตล่ ะชุด เพอ่ื ความเข้าใจมากยง่ิ ขน้ึ
หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครู
นักเรยี นและผูส้ นใจ ท่ีจะนำไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนให้ประสบความสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพต่อไป
นายสายธาร สาระกลู
ข
สารบญั
คำนำ.......................................................................................................................... หนา้
สารบัญ....................................................................................................................... ก
คำแนะนำการใชง้ าน................................................................................................... ข
1
ข้อปฏบิ ตั สิ ำหรบั ครผู ้สู อน............................................................................. 1
ระบบโทรศพั ท์ในการใช้งาน......................................................................... 1
ข้ันในการเปิดใช้หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book )...................................... 2
องคป์ ระกอบของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ ( E–Book ).................................... 12
ภาคผนวก................................................................................................................... 13
หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชดุ ที่ 4 พืชสมนุ ไพร2
1
คำแนะนำในการใชง้ าน
ขอ้ ปฏิบัตสิ ำหรับครู
1. ศึกษาคู่มือการใช้อย่างละเอียด และทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book )
กอ่ นนำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน
2. เตรียมโทรศัพท์สำหรับเปิดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ให้พร้อมใช้ในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนได้อย่างถกู ต้อง
3. แนะนำการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ให้นักเรียนเข้าใจก่อนการใช้งานจริง
และใหค้ วามชว่ ยเหลือเม่ือนักเรียนมีปัญหาหรอื ข้อสงสัย
4. ครูให้นักเรียนนำคูม่ ือการใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) และ คิวอาร์โคด้ ที่มขี ้อมูล
หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ไปศึกษาดว้ ยตนเองเพ่ิมเตมิ
ระบบเครื่องโทรศัพท์ในการใช้งาน
1. เปน็ โทรศัพทแ์ บบ Smart Phone
2. ระบบปฏิบตั กิ ารทน่ี ยิ ม Android , iOS
3. มหี นว่ ยประมวลผลกลาง ( CPU ) ความเร็วอย่างนอ้ ย 1 GHz ขึ้นไป
4. มหี นว่ ยความจำแรมไม่ต่ำกว่า 1 GB
2
ขนั้ ตอนการเปดิ ใช้หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book )
1. เปิดเครื่องโทรศพั ทใ์ หพ้ รอ้ มใชง้ าน
2. เข้าไปที่ Application Line
3. เข้าไปท่ี Line ของครูผู้สอน
3
ข้ันตอนการเปิดใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ ( E–Book ) (ตอ่ )
4. บันทกึ คิวอาร์โค้fหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชดุ ท่ี 4 พืชสมนุ ไพร2ทค่ี รสู ่งมาให้ลงใน
โทรศัพท์
5. เข้าไปทห่ี น้าหลกั และไปทเ่ี พ่มิ เพอื่ น
6. เข้าไปท่ี ควิ อาร์โคด้
ข้นั ตอนการเปิดใช้หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) (ตอ่ ) 4
7. เขา้ ไปเลือกควิ อารโ์ ค้ด
8. เลือกควิ อารโ์ คด้ ทเี่ ราตอ้ งการ
9. ลิงกจ์ ะขึ้นอยดู่ า้ นบน ใหแ้ ตะไปทลี่ ิงคเ์ พอื่ เปิดลิงก์
5
ขั้นตอนการเปิดใช้หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) (ตอ่ )
10. จะเขา้ สู่หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชดุ ท่ี 4 พืชสมนุ ไพร2
6
ข้นั ตอนการทำแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
1. เมื่อเปดิ ถึงหน้า แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และแบบทดสอบหลงั เรยี น จะมีลง้ิ ค์และควิ อาร์โคด้ อยู่
ดา้ นลา่ ง ให้นกั เรยี นแคป็ หน้าจอน้นั ไว้
2. แลว้ กลับเขา้ ไปที่ Application Line
3. เขา้ ไปทห่ี นา้ หลกั และไปท่ีเพ่ิมเพอ่ื น
7
ขน้ั ตอนการทำแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น (ตอ่ )
4. เขา้ ไปที่ คิวอารโ์ ค้ด
5. เขา้ ไปเลือกคิวอารโ์ ค้ด
6. เลือกคิวอาร์โคด้ ที่เราแค็ปหนา้ จอไว้
ขนั้ ตอนการทำแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน (ตอ่ ) 8
9. ลิงกจ์ ะขนึ้ อยดู่ ้านบน ใหแ้ ตะไปทล่ี งิ คเ์ พอื่ เปดิ ลิงก์
10. นกั เรียนทำแบบทดสอบใน Google Forms ได้เลย
9
ข้นั ตอนการทำกิจกรรม
1. เมือ่ เปดิ ถึงหนา้ กิจกรรมที่ 1.1 และกิจกรรมที่ 1.2 จะมลี ง้ิ ค์และควิ อารโ์ ค้ดอย่ดู ้านลา่ ง ใหน้ ักเรยี น
แคป็ หน้าจอนนั้ ไว้
2. แลว้ กลับเขา้ ไปท่ี Application Line
3. เข้าไปทห่ี น้าหลกั และไปทเ่ี พิม่ เพอื่ น
10
ขัน้ ตอนการทำกิจกรรม (ตอ่ )
4. เข้าไปท่ี ควิ อาร์โค้ด
5. เข้าไปเลอื กควิ อาร์โค้ด
6. เลอื กควิ อาร์โคด้ ท่เี ราแคป็ หน้าจอไว้
ขัน้ ตอนการทำกิจกรรม (ตอ่ ) 11
9. ลิงกจ์ ะขึ้นอยดู่ ้านบน ใหแ้ ตะไปทล่ี ิงคเ์ พอื่ เปดิ ลิงก์
10. นักเรยี นทำแบบทดสอบใน Google Forms ได้เลย
องค์ประกอบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) 12
หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) มอี งคป์ ระกอบ ดังนี้
1. ปกหนังสือ
2. ปกในหนังสอื
3. คำนำ
4. สารบญั
5. คำชแ้ี จง
6. วัตถปุ ระสงค์
7. คำชี้แจงสำหรับครู
8. คำชแ้ี จงสำหรบั นกั เรยี น
9. แผนผงั ลำดับข้ันเรยี นรู้
10. แบบทดสอบกอ่ นเรียน / เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
11. มาตรฐานการเรียนรู้
12. กจิ กรรมฝึกทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ / เฉลยกิจกรรมฝึกทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
13. ใบความรู้
14. ใบกิจกรรม / เฉลยใบกิจกรรม
15. แบบทดสอบหลงั เรยี น / เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
16. บรรณานกุ รม
17. ปกหลัง
ภาคผนวก
หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book )
ชดุ ที่ 4 เรื่อง พชื สมนุ ไพร2
ก
คำนำ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การปลูกพืชสมุนไพร รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ผู้สอนได้ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยออกแบบการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการ
เรียนรู้ตามโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา โดยมีเนื้อหาและกิจกรรมท่ีเหมาะสม
กับความรู้ความสามารถของนักเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดให้นักเรียน ผู้สอนจัดทำข้ึนเพื่อใช้ประกอบ
กิจกรรมการเรียนรู้ การปลูกพืชสมุนไพร เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้
และมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามมาตรฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานสากลที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีทักษะชีวิตและการทำงานทักษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
และมีทักษะการปลูกพืชสมนุ ไพรมากข้ึน
ผู้จัดทำหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การปลูกพืชสมุนไพรน้ี จะสามารถ
พัฒนาทักษะและเพ่ิมศักยภาพการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและเป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอน
และผสู้ นใจ เพ่อื นำไปพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ใหม้ ีคณุ ภาพย่ิงข้ึนไป
นายสายธาร สาระกูล
สารบญั ข
คำนำ หน้า
สารบญั ก
คำชแี้ จง ข
วตั ถปุ ระสงค์ 1
คำช้แี จงสำหรับครู 2
คำชีแ้ จงสำหรับนักเรียน 3
แผนผงั ลำดับขัน้ ตอนการเรยี นรู้ 4
แบบทดสอบก่อนเรยี น 5
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 6
ชดุ ที่ 4 พืชสมนุ ไพร2 8
9
มาตรฐานการเรยี นรู้ 9
ผลการเรียนรู้ 9
จุดประสงค์การเรยี นรู้ 9
สาระการเรยี นรู้ 9
ใบความรู้พชื สมุนไพร2 10
ใบกิจกรรมท่ี 1.1 พชื สมนุ ไพร2 20
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.1 พืชสมนุ ไพร2 21
ใบกิจกรรมท่ี 1.2 พชื สมนุ ไพร2 22
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.2 พืชสมนุ ไพร2 23
แบบทดสอบหลงั เรียน 24
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 26
บรรณานุกรม 27
1
คำชี้แจง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชดุ ท่ี 4 พืชสมุนไพร2 จัดทำขึ้นเพ่ือใช้เปน็ ส่อื สำหรับประกอบการ
เรียนการสอน รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชพี เพือ่ เปน็ การส่งเสริมให้นักเรยี นมีศกั ยภาพการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย มีทกั ษะชีวติ และทกั ษะการทำงาน มี
จติ สาธารณะที่ดี และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2 รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี จำนวน 1 แผน เวลาเรยี น 4 ชั่วโมง
2
วตั ถุประสงค์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2 รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ มีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี
1. เพื่อใช้เป็นส่ือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาการปลูกพืชสมุนไพร ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
2. เพอื่ ให้นกั เรียนมที ักษะในการปลูกพืชสมนุ ไพรอยา่ งถกู ต้อง
3. เพ่ือให้นักเรยี นนำความรู้ที่ได้รบั จากการใช้หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E–Book) ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2
ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างถูกต้อง
4. เพื่อให้นักเรียนหรือผู้ท่ีสนใจสามารถนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E–Book) ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2
ไปใชศ้ ึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในยามว่างตามความเหมาะสม
3
คำช้แี จงสำหรับครู
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2 รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ โดยปฏิบตั ิตามลำดบั ดงั น้ี
1. ครูศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ และศึกษาคู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดท่ี 4
พชื สมุนไพร2 ให้เขา้ ใจ
2. ครูเตรยี มคิวอาร์โค้ด และล้ิงค์ของหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชุดท่ี 4 พชื สมุนไพร2
3. ครูส่งคิวอาร์โค้ด และล้ิงค์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดท่ี 4 พืชสมุนไพร2 ไปให้
นักเรียนทาง Line หรอื ทาง Face Book
4. ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามลำดับข้ันตอน ให้คำแนะนำและคอยให้คำปรึกษาแก่
นักเรียนเมื่อมปี ญั หา เนน้ ย้ำใหน้ ักเรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยความตง้ั ใจ ซ่อื สัตย์ มีวนิ ยั มีความรับผดิ ชอบ
5. ครปู ระเมินพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของนกั เรียนตามสภาพจริง บันทกึ คะแนนตามเกณฑ์ ประเมินและ
แจง้ ผลการประเมนิ ใหน้ กั เรียนรับทราบ
6. หากนักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ให้กลับไปศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book )
ชดุ ที่ 4 พืชสมุนไพร2 ศกึ ษาทบทวนด้วยตนเองในเวลาวา่ ง ตามความเหมาะสม
4
คำชแี้ จงสำหรับนักเรยี น
1. นกั เรียนศึกษาและปฏิบตั ิตามแผนผังลำดบั ขัน้ การเรยี นรู้ใหเ้ ขา้ ใจ
2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน โดยคลิ๊กลงิ้ คเ์ ขา้ ไปทำใน Google Forms แลว้ กดส่ง
3. นักเรียนศึกษาใบความรู้ให้เข้าใจด้วยตนเอง หากมีข้อสงสัยการใช้ชุดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
( E–Book ) ใหป้ รกึ ษาครูผสู้ อนเพอื่ ใหค้ ำแนะนำ
4. นกั เรียนทำกิจกรรมท่ี 1.1 และกจิ กรรมท่ี 1.2 โดยคลิ๊กลง้ิ คเ์ ขา้ ไปทำใน Google Forms แล้วกดส่ง
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น โดยคล๊ิกลิ้งคเ์ ข้าไปทำใน Google Forms แล้วกดส่ง
6. ครูจะแจ้งคะแนน ของแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน กิจกรรมที่ 1.1 และกิจกรรม
ที่ 1.2
7. หากนักเรียนคนใดทำแบบทดสอบหลังเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ให้นักเรียนทำการศึกษา
ชุดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ตามลำดับขั้นการเรียนรู้อีกครั้ง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้อง และมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนักเรียนสามารถศึกษาชุดหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ด้วยตนเองในเวลาว่าง
ตามความเหมาะสม
5
แผนผังลำดบั ขั้นตอนการเรียนรู้
นกั เรียน
ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นร้/ู
จุดประสงคก์ ารเรียนร้/ู สาระการเรียนรู้
ศึกษาใบความรู้
ทำกจิ กรรมท่ี 1.1 และ 1.2
ทำแบบทดสอบหลงั เรียน
ไม่ผา่ นเกณฑ์ ผลการประเมิน ผา่ นเกณฑ์
ผา่ นร้อยละ 80
ศึกษาชุดหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชุดตอ่ ไป
6
แบบทดสอบก่อนเรยี น
รายวชิ า การปลกู พชื สมุนไพร รหสั วิชา ง33202 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดที่ 4 พชื สมุนไพร2
คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนโดยเขา้ ไปทำใน Google Forms ( ใช้เวลา 10 นาที )
1. ข้อใดคอื สรรพคุณทางยาของขม้นิ ชัน
ก. แก้โรคผิวหนังผ่ืนคัน
ข. แกไ้ ขต้ วั ร้อน
ค. นำมาพอกแผลนำ้ รอ้ นลวก ไฟไหม้
ง. แก้พยาธผิ วิ หนัง
2. ขอ้ ใดคอื สรรพคุณทางยาของข่า
ก. แก้โรคหนองใน
ข. แกพ้ ยาธิ
ค. รกั ษาผิวท่ีถกู แดดเผา
ง. รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร
3. ข้อใดคือสรรพคุณของกระชาย
ก. โรคหดั
ข. อสี กุ อีใส
ค. ชว่ ยเพมิ่ สมรรถนะทางเพศชาย
ง. บำรุงธาตุไฟ
4. ข้อใดคอื สรรพคณุ ของขงิ
ก. รักษาผิวที่ถูกแดดเผา
ข. แก้จุกเสียด
ค. ชว่ ยเพ่ิมสมรรถนะทางเพศชาย
ง. ขับเสมหะ
5. ข้อใดคือสรรพคุณของวา่ นม่วง
ก. ช่วยขับลมในกระเพาะอาหาร
ข. รักษาผิวที่ถกู แดดเผา
ค. อสี ุกอใี ส
ง. รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
7
6. ขอ้ ใดคอื สรรพคณุ ของกระวาน ข. ใชแ้ กท้ อ้ งอืด
ก. แก้ลมพิษ ง. แกค้ นั
ค. แก้ฮอ่ งกงฟตุ
ข. ตน้ ขับเสมหะในทรวงอก
7. ขอ้ ใดคือสรรพคุณของไพล ง. แก้อาการผมรว่ ง
ก. ขยี้ทาปิดหา้ มเลอื ด
ค. ทำให้ประจำเดือนมาเป็นปกติ ข. ใช้ถอนพษิ ไข้
ง. ชว่ ยเพม่ิ นำ้ หลอ่ ลื่นในชอ่ งคลอดของสตรี
8. ข้อใดคือสรรพคณุ ของว่านชักมดลูก
ก. ขับลมในลำไส้ ข. แกอ้ าการผมร่วง
ค. แกอ้ าการผมร่วง ง. แก้ฮ่องกงฟตุ
9. ขอ้ ใดคือสรรพคณุ ของตะไคร้ ข. เป็นยาอายวุ ัฒนะ
ก. ขบั ปัสสาวะ ง. อสี กุ อีใส
ค. นำมาพอกแผลน้ำรอ้ นลวก ไฟไหม้
10. ข้อใดคอื สรรพคุณของบอระเพ็ด
ก. นำมาค้ันเอานำ้ หยอดแก้ฝใี นหู
ค. ขย้ีทาปดิ หา้ มเลือด
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSfZiFT7syl0iEm1dRKoUiveBAIQ9U5gQdssVNNVgG
Gyf5HwPA/viewform?usp=sf_link
8
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน
รายวชิ าการปลูกพืชสมนุ ไพร รหัสวชิ า ง33202 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
เฉลยคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอื่ ง พชื สมุนไพร2
ขอ้ ท่ี คำตอบ
1ก
2ข
3ค
4ง
5ก
6ข
7ค
8ง
9ก
10 ข
9
มาตรฐานการเรยี นรู้
ชุดท่ี 4 พืชสมุนไพร2
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 การดำรงชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการ
จัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงานรว่ มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพื่อการดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับพชื สมุนไพร
2. นำความรเู้ กี่ยวกบั ประโยชนข์ องสมนุ ไพรไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะทางพฤกษศาสตร์และสรรพคณุ ทางยาของพืชสมนุ ไพรได้ ( K )
2. สามารถประยกุ ต์ใชป้ ระโยชน์ของสมนุ ไพรในชีวติ ประจำวนั ได้ ( P )
3. เห็นความสำคญั ของสมนุ ไพร ( A )
สาระการเรยี นรู้
1. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชสมนุ ไพร
2. สรรพคณุ ทางยาของพืชสมนุ ไพร
10
ใบความรู้
ความหมาพยขชื อสงมกนุ าไรพขรย2ายพันธ์ุพืช
ชือ่ ขมน้ิ ชนั
ลักษณะทว่ั ไป ไมล้ ้มลกุ อายหุ ลายปี สงู 30-95 ซม. มีลำต้นใตด้ นิ เรยี กว่าเหง้า ประกอบด้วยแง่งที่มลี ักษณะ
ตา่ งๆ กนั คอื แงง่ แมห่ รือแง่งหลักจะมลี กั ษณะกลม ซงึ่ จะเป็นทแ่ี ตกของแขนงที่สองและสาม
สรรพคณุ ตอ่ ไป แขนงที่แตกออกมานถ้ี า้ มีลักษณะกลมจะเรียกวา่ หวั และถา้ มีลักษณะยาวคลา้ ยน้ิวมือ
จะเรียกวา่ นว้ิ ซึง่ เป็นที่เกิดของรากฝอย เนอ้ื ในหวั มสี เี หลอื งอมส้มหรือสเี หลอื งจำปาปนสี
แสด และมีกล่นิ หอม สว่ นลำต้นเหนือดินคอื กาบกา้ นใบทเี่ รยี งซอ้ นกนั เปน็ ลำต้นเทียม
เหงา้ : เหง้ารสฝาดหวานเอียด ใช้สำหรับแก้อาการไข้เรอ้ื รงั ผอมเหลอื ง แกโ้ รคผิวหนงั แก้
เสมหะและโลหติ แก้ท้องร่วง สมานแผล แกธ้ าตพุ กิ าร ขับผายลม แกผ้ ่นื คนั ขบั กลน่ิ และส่งิ
สกปรกในรา่ งกาย คมุ ธาตุ หยอดตาแกต้ าบวม ตาแดง น้ำคน้ั จากเหง้าสดทาแก้แผลถลอก
แก้โรคผวิ หนังผื่นคัน ลดอาการอกั เสบ ทำใหผ้ ิวพรรณผุดผ่อง นำมาอดั เม็ดทำเป็นยารกั ษา
อาการทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ ธาตพุ กิ าร อาหารไม่ยอ่ ย กระเพาะอาหารออ่ นแอ รักษาแผลใน
กระเพาะอาหาร แก้ท้องรว่ ง แกบ้ ิด
ผงขม้นิ : (น้ำเหงา้ แหง้ มาบดเปน็ ผง) นำมาเคี่ยวกบั นำ้ มนั พชื ทำน้ำมนั ใส่แผลสด
ขมน้ิ สด : (ใชเ้ หงา้ สดลา้ งใหส้ ะอาด) ตำกบั ดินประสวิ เล็กนอ้ ย ผสมนำ้ ปนู ใสพอกบาดแผล
และแกเ้ คล็ดขดั ยอก เผาไฟ ตำกับน้ำปนู ใส รบั ประทานแกท้ ้องร่วง แก้บดิ
11
พชื สมนุ ไพร2 (ตอ่ )
ชอ่ื ขา่
ลกั ษณะท่ัวไป ข่าเปน็ ไม้ล้มลกุ สูง 1.5-2 เมตรอยเู่ หนือพ้ืนดนิ เหง้ามีขอ้ และปลอ้ งชัดเจน เนอื้ ในสเี หลือง
และมกี ล่ินหอมเฉพาะ ใบเดย่ี วเรยี งสลับ รูปใบหอก รูปวงรหี รือเกอื บขอบขนาน กว้าง 7-9
สรรพคุณ ซม. ยาว 20-40 ซม. ดอก ช่อ ออกที่ยอด ดอกย่อยขนาดเลก็ กลบี ดอกสขี าว โคนติดกนั เป็น
หลอดสั้นๆ ปลายแยกเปน็ 3 กลีบ กลีบใหญ่ท่ีสดุ มรี ้วิ สแี ดง ใบประดับรปู ไข่ ผล เป็นผลแห้ง
แตกได้ ทรงกลม
ขา่ ยงั มฤี ทธท์ิ างยา เหง้าแกแ่ กป้ วดทอ้ ง จกุ เสยี ด แนน่ ทอ้ ง ดอกใช้ทาแกก้ ลากเกล้อื น ผลชว่ ย
ย่อยอาหาร แก้คลื่นเหียน อาเจียน ต้นแก่นำไปเคีย่ วกบั น้ำมันมะพรา้ ว ทาแกป้ วดเมือ่ ย เป็น
ตะคริว ใบมรี สเผ็ดร้อน แก้พยาธิ สารสกดั จากขา่ มฤี ทธ์ิฆ่าเชอื้ แบคทเี รยี นำ้ มนั หอมระเหย
จากข่ามีฤทธ์ทิ ำให้ไข่แมลงฝอ่ กำจัดเชอ้ื ราบางชนิดได้ ใชผ้ สมกบั สะเดาเพ่ือเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการกำจดั แมลง ข่า ลดการบบี ตัวของลำไส้ ขบั น้ำดี ขับลม ลดการ
อักเสบ ยับย้ังแผลในกระเพาะอาหาร ฆา่ เชอ้ื แบคทีเรีย ฆ่าเชอื้ ราใช้รกั ษากลากเกลื้อน
12
พชื สมนุ ไพร2 (ตอ่ )
ช่ือ กระชาย
ลักษณะทวั่ ไป มีถน่ิ กำเนดิ ในเขตร้อนบรเิ วณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจัดเป็นไม้ลม้ ลุก มีเหง้าสนั้ แตก
หน่อได้ มรี ากอวบ เป็นรูปทรงกระบอกหรอื รูปทรงไข่คอ่ นข้างยาว ปลายเรียว มคี วามยาว
สรรพคุณ ประมาณ 4-10 เซนติเมตร และกวา้ งประมาณ 1-2 เซนติเมตร ออกเป็นกระจุก ผิวมสี ี
นำ้ ตาลออ่ น สว่ นเนอ้ื ในมสี เี หลอื งและมกี ลิ่นหอมเฉพาะตวั มกั พบขึ้นในป่าดบิ รอ้ นชื้น
กระชายขาว มสี าร พโิ นสโตบนิ เเละ แพนดรู าทินเอ ท่ีสามารถทำหน้าที่ยับย้งั การ
เจรญิ เตบิ โตของเชอ้ื ไวรสั โควดิ – 19 ได้ กระชายขาวมีสรรพคุณ ชว่ ยต้านอาการหวดั เเก้
วงิ เวียนศรษี ะ เเละลดไขมนั ในเลอื ดได้ สารสกดั จาก กระชายขาว ช่วยตา้ นอนุมูลอสิ ระ เเละ
กระตุ้นการไหลเวยี นของเลือด สารสกดั จากกระชายขาว ชว่ ยเพิ่มสมรรถนะทางเพศชาย
สารสกดั กระชายขาวมีฤทธใ์ิ นการตอ่ ต้านเจรญิ เตบิ โตของแบคทีเรยี ในสำไส้ อนั เป็นสาเหตุ
หนงึ่ ของโรคกระเพราะอาหาร เเละชว่ ยลดการอักเสบของกระเพาะอาหารได้อีกดว้ ย
กระชายขาว สรรพคณุ ชว่ ยลดอาการเหงือกอกั เสบ หรอื มีเเผลในชอ่ งปาก โดยใช้กระชาย
ขาวทบุ ใหล้ ะเอยี ดเเละต้มให้เดือด เเละใช้บ้วนปาก กระชายขาวชว่ ยในการขบั สารพษิ ออก
จากตบั ไดอ้ ีกดว้ ย กระชายขาวมฤี ทธใ์ิ นการชว่ งเเก้อาการท้องรว่ ง ท้องเสยี โดยนำใช้เหงา
กระชายขาวไปปงิ้ ไฟ เเละตำอยา่ งละเอยี ด นำมาผสมกับน้ำปูนใส เเละคนั้ ดื่ม กระชายขาวมี
สรรพคณุ ช่วยแกท้ ้องอดื ทอ้ งเฟอ้ ได้ กระชายขาวมสี รรพคุณ ชว่ ยบำรุงหัวใจ
13
พืชสมนุ ไพร2 (ต่อ)
ช่ือ ขงิ
ลกั ษณะท่ัวไป ขิง เป็นพชื ล้มลกุ มเี หงา้ ใต้ดนิ เปลือกนอกสนี ำ้ ตาลแกมเหลือง เนอ้ื ในสีนวลมีกลิ่นหอม
เฉพาะ แทงหน่อหรอื ลำต้นเทยี มขึ้นเป็นกอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหมุ้ ซอ้ นกัน ใบ เป็น
สรรพคุณ ชนดิ ใบเด่ียว ออกเรียงสลับกนั เป็นสองแถว ใบรปู หอกเกลย้ี ง ๆ กวา้ ง 1.5-2 ซม. ยาว 12-20
ซม. หลังใบห่อจีบเป็นรปู รางน้ำปลายใบสอบเรยี วแหลม โคนใบสอบแคบและจะเปน็ กาบหมุ้
ลำตน้ เทยี ม ตรงชว่ งระหว่างกาบกบั ตัวใบจะหกั โค้งเปน็ ขอ้ ศอก ดอกสขี าว ออกรวมกนั เป็น
ชอ่ รปู เห็ดหรอื กระบองโบราณ แทงขึ้นมาจากเหงา้ ชูกา้ นสงู ขน้ึ มา 15-25 ซม. ทุก ๆ ดอกที่
กาบสเี ขยี วปนแดงรปู โค้ง ๆ หอ่ รองรบั กาบจะปดิ แนน่ เมอ่ื ดอกยังอ่อน
เหง้า : รสหวานเผ็ดรอ้ น ขบั ลม แก้ทอ้ งอดื จกุ เสยี ด แนน่ เฟอ้ คล่ืนไสอ้ าเจยี น แกห้ อบไอ ขับ
เสมหะ แกบ้ ิด เจรญิ อากาศธาตุ สารสำคญั ในน้ำมนั หอมระเหย จะออกฤทธ์ิกระตนุ้ การบบี
ตวั ของกระเพาะอาหารและลำไส้ ใช้เหง้าแก่ทุบหรอื บดเปน็ ผง ชงน้ำด่มื แก้อาการคลื่นไส้
อาเจยี น แก้จุกเสยี ด แน่นเฟอ้ เหง้าสด ตำคนั้ เอานำ้ ผสมกบั นำ้ มะนาว เตมิ เกลือเลก็ นอ้ ย จบิ
แก้ไอ ขับเสมหะ
ต้น : รสเผด็ รอ้ น ขบั ลมให้ผายเรอ แก้จุกเสียด แก้ท้องร่วง
ใบ : รสเผ็ดรอ้ น บำรงุ กำเดา แก้ฟกชำ้ แก้นวิ่ แกข้ ัดปสั สาวะ แก้โรคตา ฆ่าพยาธิ
ดอก : รสเผ็ดรอ้ น แกโ้ รคประสาทซงึ่ ทำใหใ้ จขุน่ มวั ชว่ ยยอ่ ยอาหาร แกข้ ดั ปัสสาวะ
ราก : รสหวานเผด็ รอ้ นขม แกแ้ น่น เจริญอาหาร แก้ลม แก้เสมหะ แกบ้ ิด
ผล : รสหวานเผ็ด บำรงุ น้ำนม แก้ไข้ แก้คอแหง้ เจ็บคอ แก้ตาฟาง เป็นยาอายวุ ฒั นะ
แกน่ : ฝนทำยาแก้คนั
14
พชื สมุนไพร2 (ตอ่ )
ชื่อ วา่ นม่วง (ขมน้ิ ขาว)
ลกั ษณะท่วั ไป ขมนิ้ ขาวมหี วั รปู ไข่ ขนาดประมาณ 3-4 x 2-3 เซนตเิ มตร ภายในมสี ขี าวบริเวณแกนกลาง
หัวมสี ีเหลืองออ่ นจนเกอื บขาว เหงา้ แตกสาขา หนาประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร ขนาดของลำ
สรรพคุณ ตน้ ขมนิ้ ขาวสูงประมาณ 40-80 เซนตเิ มตร ใบมีลักษณะเปน็ ใบเด่ียว กวา้ ง 12-15
เซนตเิ มตร ยาว 30-40 เซนตเิ มตร กา้ นยาวหุ้มตน้ ดอกสเี หลอื งออ่ น กลบี ประดบั สเี ขยี วอม
ชมพูซอ้ นทับกนั หลายกลีบ ดอกขมิน้ ขาวจะออกเปน็ ชอ่ กา้ นช่อยาวแทงจากเหงา้ ใต้ดนิ มัก
ออกดอกในช่วงฤดฝู น
เหงา้ ออ่ นของขมนิ้ ขาวมีกลิ่นหอมจากน้ำมันหอมระเหย และมีสรรพคณุ ชว่ ยย่อยอาหาร
สามารถกินเหงา้ อ่อนสด ๆ แกลม้ กับอาหาร จิม้ กบั น้ำพริก หรือนำเหง้าออ่ นไปตม้ เป็นชาแล้ว
ด่ืมแก้แน่นท้องเน่ืองจากอาหารไม่ย่อย ชว่ ยขับลมในกระเพาะอาหาร โดยเฉพาะหากกนิ เหงา้
ออ่ นของขมน้ิ ขาวสด ๆ จะชว่ ยในการขบั ลมได้เปน็ อย่างดี ชว่ ยขับลมในกระเพาะอาหาร จงึ
มสี ว่ นชว่ ยลดอาการจุกเสียดแน่นทอ้ ง เน่ืองจากกรดเกินในกระเพาะหรืออาหารไม่ยอ่ ย สาร
เคอร์คูมินในขมน้ิ ขาวมฤี ทธิ์รกั ษาแผลในลำไส้ ทงั้ ยังชว่ ยระงับอาการติดเชือ้ หนอง สารเคอร์
คูมินในขมน้ิ ขาวจะชว่ ยจดั การระงับการเจรญิ เตบิ โตของเชอื้ โรคให้ โดยให้นำเหงา้ ขมนิ้ ขาว
ตากแห้งแล้วนำมาตม้ นำ้ อาบ หรอื จะตำเหงา้ สดขมิ้นขาวใหพ้ อแหลกแลว้ มาพอกบริเวณแผล
ก็ไดเ้ ช่นกนั สารเคอรค์ มู นิ และนำ้ มนั หอมระเหยที่มีอยใู่ นขมนิ้ ขาวมสี ว่ นชว่ ยกระตนุ้ การหลั่ง
น้ำดี มีสรรพคณุ รกั ษานว่ิ ในถงุ น้ำดี และลดการอักเสบของบาดแผล
15
พชื สมุนไพร2 (ตอ่ )
ชือ่ กระวาน
ลกั ษณะท่วั ไป เปน็ พืชลม้ ลุก มีลำต้นอยใู่ ต้ดนิ เรียกวา่ เหง้า กา้ นใบท่ีมลี ักษณะเปน็ กาบห้มุ ซ้อนกันแนน่ หนา
แข็งแรง มีความสูงประมาณ 3 เมตร ใบเรยี งสลับกนั แผน่ ใบเรียวแหลม ใบยาวประมาณ 12
สรรพคณุ เซนตเิ มตร ขอบใบเรยี บ ดอกกระวาน เจรญิ ออกมาจากสว่ นเหงา้ ใต้ดิน โผล่ข้นึ มาเหนือ
พน้ื ดนิ เป็นชอ่ กลีบดอกสเี หลอื งออ่ น ผลมีลักษณะกลมเปน็ พวง เปลือกผวิ เกลยี้ ง เป็นพู ๆ มี
สีออกนวล ๆ ผลกระวานจะแกช่ ่วงเดอื นสิงหาคม – พฤศจิกายน เมลด็ กระวานมขี นาดเล็กสี
นำ้ ตาลแก่ มจี ำนวนมาก
กระวานมสี รรพคุณทางสมุนไพรได้ทุก ๆ ส่วน ทั้งราก ลำต้น หนอ่ เปลอื กลำตน้ แกน่ ของลำ
ตน้ ใบ ผลแก่ เมล็ด เหงา้ ออ่ น ใชแ้ ก้ทอ้ งอดื แนน่ จุก เสยี ด ขับเสมหะ รักษาโรคผวิ หนงั แก้
ลม ท้องเสยี ฯลฯ
กระวาน มนี ้ำมันหอมระเหย ซงึ่ มีกลนิ่ หอม ประกอบดว้ ย การบูร (Camphor) ไพนิน
(Pinene) ไลโมนนี (Limonene) เมอร์ซนี (Myrcene)
16
พชื สมนุ ไพร2 (ตอ่ )
ชอ่ื ไพล
ลกั ษณะท่ัวไป ลกั ษณะไพลเปน็ ไมล้ ้มลุกมคี วามสงู ประมาณ 0.7-1.5 เมตร มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เปลอื กมีสี
น้ำตาลแกมเหลอื ง เนอื้ ด้านในมสี ีเหลอื งถงึ สเี หลอื งแกมเขียว แทงหนอ่ หรอื ลำตน้ เทียมข้ึน
สรรพคุณ เป็นกอ โดยจะประกอบไปดว้ ยกาบหรอื โคนใบหมุ้ ซ้อนกันอยู่ เหง้าไพลสดฉ่ำนำ้ รสฝาด
เอยี ด รอ้ นซ่า มกี ล่ินเฉพาะ สว่ นเหงา้ ไพลแก่สดและแห้งจะมีรสเผ็ดเลก็ นอ้ ย ขยายพนั ธด์ุ ว้ ย
วธิ ีการใชเ้ มล็ด แง่ง หรือเหงา้ แตโ่ ดยท่วั ไปแลว้ จะใชส้ ว่ นของเหง้าเปน็ ท่อนพนั ธใ์ุ นการ
เพาะปลูก พรรณไม้ชนดิ นม้ี ีถน่ิ กำเนดิ อยใู่ นเอเชยี แถบประเทศอินเดีย อนิ โดนเี ซีย มาเลเซยี
และไทย ปลูกกันมากในจังหวัดกาญจนบรุ ี สพุ รรณบรุ ี ปราจีนบุรี และสระแก้ว
ดอกไพล สรรพคณุ ชว่ ยขับโลหติ และกระจายเลอื ดเสยี กระจายเลอื ดท่เี ป็นลม่ิ เปน็ ก้อน
(ดอก) ช่วยแก้ธาตุพิการ (ตน้ ไพล) สรรพคณุ สมุนไพรไพล ใบชว่ ยแกไ้ ข้ (ใบ) ชว่ ยแก้อาเจียน
อาการอาเจียนเป็นโลหิต (หวั ไพล) ชว่ ยแก้อาการปวดฟนั (หวั ไพล) ไพลกับสรรพคณุ ทางยา
เหงา้ ชว่ ยขบั โลหิต (เหง้า) ช่วยแกเ้ ลอื ดกำเดาไหลออกทางจมกู (ราก) ชว่ ยรักษาโรคทีบ่ งั เกดิ
แต่โลหติ ออกทางปากและจมกู (เหงา้ )ชว่ ยแกอ้ าการทอ้ งผกู (เหง้า) ชว่ ยสมานแผลในลำไส้
แก้ลำไสอ้ กั เสบ (เหง้า) ช่วยแก้อุจจาระพิการ (ต้นไพล) ชว่ ยขบั ระดู ประจำเดอื นของสตรี ขบั
เลือดร้ายทง้ั หลาย และแก้มุตกดิ ระดขู าว (หวั ไพล, เหงา้ ) ชว่ ยทำให้ประจำเดือนมาเป็นปกติ
(เหง้า) ชว่ ยลดอาการอกั เสบ แก้ปวด บวม เส้นตงึ เม่อื ยขบ (เหงา้ ) ชว่ ยแก้เมื่อย แกอ้ าการ
ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนอื้ ปวดตามรา่ งกาย (ใบ) ชว่ ยรักษาโรคผวิ หนัง (เหง้า)
17
พืชสมนุ ไพร2 (ตอ่ )
ชื่อ ว่านชักมดลูก
ลกั ษณะทว่ั ไป วา่ นชกั มดลกู ท่พี บได้ตามทอ้ งตลาดจะมีอยู่ดว้ ยกัน 2 สายพันธุ์ ได้แก่ วา่ นชกั มดลกู ตวั เมยี
(Curcuma comosa Roxb.) ซ่ึงจะมลี กั ษณะของหวั กลมรตี ามแนวต้งั มแี ขนงสนั้ (ตามภาพ
สรรพคณุ แรก) และวา่ นชักมดลูกตวั ผู้ (Curcuma latifolia Roscoe) จะมลี ักษณะต่างจากตัวเมีย
ตรงที่ หวั ใตด้ ินจะกลมแป้นมากกวา่ และแขนงจะยาวมากกวา่ (ตามภาพทสี่ อง) ทำใหก้ ารซ้อื
มาใชบ้ างครงั้ อาจจะจำแนกลำบาก เพราะบางคร้งั เมือ่ นำมาเทียบกันทัง้ ตัวเมยี และตวั ผจู้ ะ
คลา้ ยกนั มาก
วา่ นชักมดลูกมีความปลอดภยั มากกว่า กวาวเครอื ขาว และยังชว่ ยให้ทำให้กลา้ มเนอื้ กระชบั
ข้นึ ช่วยรักษาอาการมดลูกทรดุ ตวั หรอื มดลกู ตำ่ ไมเ่ ข้าท่ี มสี ่วนชว่ ยเสริมหรอื ขยายหนา้ อก
ชว่ ยทำใหผ้ ิวพรรณเปล่งปล่งั สดใส ขาวนวล และมเี ลอื ดฝาด มสี ่วนชว่ ยลดเลอื นรอยเหย่ี วยน่
ฝ้า และรอยดำ ชว่ ยแกอ้ ารมณแ์ ปรปรวนตา่ ง ๆของสตรี เช่น อารมณ์ฉนุ เฉยี ว จติ ใจหอ่ เหย่ี ว
โกรธง่าย ออ่ นไหวง่าย ใหห้ ายไป ชว่ ยกระชับหนา้ ทอ้ งท่ีหยอ่ นคลอ้ ยหลงั คลอดบตุ ร ชว่ ย
กระชับชอ่ งคลอดภายในของสตรี ชว่ ยให้มดลกู เข้าอ่เู รว็ ขน้ึ ช่วยปอ้ งกันโรคมะเร็งปากชอ่ ง
คลอดหรอื ในมดลูก ชว่ ยทำให้ซสี ตห์ รอื เนอ้ื งอกภายในชอ่ งคลอดฝอ่ ตัวลง ชว่ ยดบั กล่ินภายใน
ช่องคลอดของสตรีใหล้ ดลงหรอื หายไป ชว่ ยเพมิ่ นำ้ หลอ่ ลน่ื ในช่องคลอดของสตรี ชว่ ยรกั ษา
อาการหนว่ งเสียวของมดลกู หรอื อาการเจบ็ ท้องน้อยเปน็ ประจำใหด้ ขี ึ้น ชว่ ยแกป้ ญั หาอาการ
ประจำเดอื นมาไม่ปกติ ชว่ ยรกั ษาอาการปวดท้องระหว่างมปี ระจำเดือน หรอื อาการปวดทอ้ ง
อยา่ งรนุ แรงให้มีอาการดีข้ึน
18
พชื สมนุ ไพร2 (ตอ่ )
ชื่อ ตะไคร้
ลกั ษณะทว่ั ไป ตะไครจ้ ัดเปน็ พชื ล้มลุกตระกลู หญ้า ใบมลี กั ษณะเรยี วยาว ปลายใบมขี นหนาม เปน็ สมุนไพร
ไทยชนิดหน่งึ ท่นี ยิ มนำมาประกอบอาหาร โดยตะไคร้แบง่ ออกเป็น 6 ชนิด ไดแ้ ก่ ตะไครห้ อม
สรรพคุณ ตะไคร้กอ ตะไครต้ ้น ตะไครน้ ้ำ ตะไคร้หางนาค และตะไครห้ างสงิ ห์ ซึง่ เป็นสมุนไพรไทยที่
นิยมปลกู ทัว่ ไปในบา้ นเรา โดยมถี ่ินกำเนดิ ในประเทศอนิ เดยี อินโดนเี ซีย พมา่ ศรลี ังกา และ
ไทย
มีส่วนชว่ ยในการขบั เหงื่อ เปน็ ยาบำรงุ ธาตไุ ฟใหเ้ จริญ (ตน้ ตะไคร้) มีสรรพคุณเป็นยาบำรงุ
ธาตุ ชว่ ยในการเจรญิ อาหาร ช่วยแกอ้ าการเบอื่ อาหาร (ตน้ ) สารสกดั จากตะไครม้ ีส่วนช่วย
ในการป้องกันโรคมะเร็งลำไสใ้ หญ่ แก้และบรรเทาอาการหวัด อาการไอ ช่วยรกั ษาอาการไข้
(ใบสด) ใชเ้ ปน็ ยาแก้ไขเ้ หนอื (ราก) นำ้ มนั หอมระเหยของใบตะไครส้ ามารถบรรเทาอาการ
ปวดได้ ชว่ ยแกอ้ าการปวดศรี ษะ ชว่ ยรักษาโรคความดนั โลหิตสงู (ใบสด) ใชเ้ ป็นยาแก้
อาเจยี นหากนำไปใชร้ ว่ มกบั สมนุ ไพรชนดิ อ่ืน ๆ (หัวตะไคร้) ช่วยแก้อาการกษยั เสน้ และแกล้ ม
ใบ (หัวตะไคร)้ รักษาโรคหอบหดื ด้วยการใชต้ ้นตะไคร้ ช่วยแก้อาการเสยี ดแนน่ แสบบรเิ วณ
หนา้ อก (ราก) ใชเ้ ปน็ ยาแก้อาการปวดทอ้ งและอาการทอ้ งเสีย (ราก) ช่วยแกแ้ ละบรรเทา
อาการปวดทอ้ ง ชว่ ยรักษาอาการท้องอดื ท้องเฟอ้ (หวั ตะไคร)้ ชว่ ยในการขบั นำ้ ดมี าช่วยใน
การยอ่ ยอาหาร น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครม้ สี ว่ นชว่ ยลดการบบี ตัวของลำไสไ้ ด้ มฤี ทธชิ์ ่วย
ในการขบั ปสั สาวะ ชว่ ยแก้อาการปสั สาวะพิการและรักษาโรคนิ่ว (หัวตะไคร้) ชว่ ยแก้อาการ
ขดั เบา (หัวตะไคร้) ใชเ้ ปน็ ยาแก้ขบั ลม (ต้น)
19
พชื สมนุ ไพร2 (ต่อ)
ชื่อ บอระเพด็
ลักษณะทั่วไป ไม้เถา ลำต้นเนอ้ื ออ่ น เลอื้ ยพาดพันไปตามต้นไมอ้ ืน่ ลักษณะเถากลมโตขนาดนว้ิ มอื มไี สเ้ ปน็
เสน้ ยาว มีเปลอื กหุ้มเถาเปน็ ต่มุ เลก็ ๆ กลมๆ ตลอดเถาสีเทาอมดำ เปลือกสามารถลอกออก
สรรพคุณ ได้ ยางมีรสขมจัด
ใบ เปน็ ใบเดี่ยว ลักษณะใบรปู ไขห่ รอื รูปสเ่ี หล่ยี มขา้ วหลามตัด ขอบใบเรยี บ ปลายใบแหลมมี
ลักษณะคลา้ ยใบพลู หรอื ใบโพธ์ิ หรอื บอระเพด็ พงุ ช้างโตขนาดเทา่ ฝา่ มือ โคนเว้าเปน็ ใบรปู
หัวใจ เส้นแขนงใบมองเห็นชดั เจน แผน่ ใบสเี ขยี ว
ดอก ออกเป็นชอ่ ขนาดเล็กมาก ตามซอกใบ สีเขียวอมเหลอื ง ดอกแยกเพศอยู่คนละช่อ
ผล ลักษณะรูปทรงค่อนขา้ งกลม สีเหลอื งหรอื สแี ดง
เถาหรอื ลำต้นรสขมเยน็ ตม้ เคยี่ วกับน้ำใชเ้ ปน็ ยาแกไ้ ข้ ขับเหง่ือ แกก้ ระหายน้ำ แก้รอ้ นใน
เป็นยาขมเจรญิ อาหาร เป็นยาอายวุ ฒั นะ บำรงุ ธาตุ บำรงุ กำลังใบรสขมเมา เปน็ ยาขมเจริญ
อาหาร ชว่ ยขับน้ำยอ่ ยในกระเพาะอาหาร รกั ษาโลหติ พกิ าร ชว่ ยระงบั อาการสะอึก รักษา
โรคพิษฝีดาษ ไขพ้ ษิ ทุกชนิด เป็นยาบำรุงกำลัง บำรงุ ธาตุไฟ แก้โรคพยาธิ แกร้ ำมะนาด ปวด
ฟนั แก้ไข้ โรคผวิ หนงั ทำใหผ้ วิ พรรณผอ่ งใส รักษาโรคผวิ หนังผลรสขม เปน็ ยารักษาโรคไข้
พิษอยา่ งแรง และเสมหะเปน็ พิษรากรสขมเยน็ ดับพษิ รอ้ น แก้ไข้ขึน้ สูงทีม่ อี าการเพ้อคลงั่
ถอนพษิ ไข้ ชว่ ยเจรญิ อาหารทั้งหา้ รสขม เป็นยาอายวุ ัฒนะ แกป้ วดเมอ่ื ย ช่วยเจรญิ อาหาร
รักษารดิ สีดวงทวาร แก้ปวดฟัน แก้รอ้ นใน รกั ษาโรคเบาหวาน แก้ดีพกิ าร แก้เสมหะ
20
กิจกรรมท่ี 1.1
พืชสมุนไพร2
คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง
1. สรรพคณุ ทางยาของขมิน้ ชนั คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. สรรพคุณทางยาของข่า คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. สรรพคณุ ทางยาของกระชาย คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สรรพคุณทางยาของขิง คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. สรรพคุณทางยาของวา่ นมว่ ง คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScvPNVJEaAsxBQa5hEACPZgEthZfY0quBrzL8QGB
P7bRm6SMw/viewform?usp=sf_link
21
เฉลยกจิ กรรมท่ี 1.1
พชื สมนุ ไพร2
คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปนใี้ ห้ถูกต้อง
1. สรรพคุณทางยาของขม้นิ ชนั คือ
ตอบ เหงา้ รสฝาดหวานเอียด ใชส้ ำหรบั แก้อาการไขเ้ รอื้ รัง ผอมเหลอื ง แกโ้ รคผิวหนัง แก้เสมหะและโลหติ แก้
ทอ้ งร่วง สมานแผล แก้ธาตพุ กิ าร ขับผายลม แก้ผื่นคัน ขบั กลิ่นและส่งิ สกปรกในรา่ งกาย คุมธาตุ หยอดตาแก้
ตาบวม ตาแดง น้ำค้ันจากเหงา้ สดทาแกแ้ ผลถลอก แกโ้ รคผวิ หนงั ผ่ืนคัน ลดอาการอักเสบ ทำใหผ้ ิวพรรณผุด
ผอ่ ง
2. สรรพคณุ ทางยาของขา่ คอื
ตอบ เหง้าแกแ่ ก้ปวดท้อง จกุ เสียด แนน่ ทอ้ ง ดอกใช้ทาแก้กลากเกลอื้ น ผลช่วยย่อยอาหาร แกค้ ลื่นเหียน
อาเจยี น ตน้ แกน่ ำไปเคย่ี วกับนำ้ มันมะพร้าว ทาแกป้ วดเมอื่ ย เปน็ ตะคริว ใบมรี สเผ็ดร้อน แก้พยาธิ สารสกัด
จากข่ามฤี ทธิฆ์ ่าเชือ้ แบคทีเรยี นำ้ มนั หอมระเหยจากขา่ มีฤทธทิ์ ำให้ไขแ่ มลงฝ่อ กำจดั เชอื้ ราบางชนดิ ได้
3. สรรพคุณทางยาของกระชาย คือ
ตอบ กระชายขาว มีสาร พิโนสโตบนิ เเละ แพนดูราทนิ เอ ทสี่ ามารถทำหนา้ ท่ียบั ยงั้ การเจรญิ เติบโตของเชอ้ื
ไวรัสโควดิ – 19 ได้ กระชายขาวมสี รรพคุณ ชว่ ยตา้ นอาการหวดั เเก้วิงเวยี นศรีษะ เเละลดไขมันในเลือดได้
สารสกัดจาก กระชายขาว ชว่ ยต้านอนมุ ูลอสิ ระ เเละกระตนุ้ การไหลเวียนของเลอื ด สารสกดั จากกระชายขาว
ชว่ ยเพิม่ สมรรถนะทางเพศชาย
4. สรรพคุณทางยาของขงิ คือ
ตอบ เหงา้ รสหวานเผ็ดร้อน ขบั ลม แก้ทอ้ งอดื จกุ เสียด แนน่ เฟอ้ คลนื่ ไส้อาเจยี น แก้หอบไอ ขับเสมหะ แก้
บดิ เจรญิ อากาศธาตุ สารสำคญั ในน้ำมนั หอมระเหย จะออกฤทธิ์กระตุน้ การบบี ตวั ของกระเพาะอาหารและ
ลำไส้ ใชเ้ หงา้ แกท่ ุบหรอื บดเปน็ ผง ชงน้ำดืม่ แก้อาการคลนื่ ไส้อาเจยี น แกจ้ ุกเสยี ด แนน่ เฟอ้ เหง้าสด ตำคั้นเอา
นำ้ ผสมกบั น้ำมะนาว เติมเกลอื เล็กนอ้ ย จิบแก้ไอ ขบั เสมหะ
5. สรรพคุณทางยาของวา่ นมว่ ง คอื
ตอบ เหง้าอ่อนของขมิ้นขาวมกี ลิน่ หอมจากนำ้ มันหอมระเหย และมีสรรพคุณช่วยยอ่ ยอาหาร สามารถกินเหงา้
อ่อนสด ๆ แกลม้ กับอาหาร จม้ิ กับน้ำพริก หรือนำเหงา้ ออ่ นไปตม้ เป็นชาแลว้ ดมื่ แกแ้ น่นทอ้ งเนือ่ งจากอาหารไม่
ยอ่ ย ชว่ ยขับลมในกระเพาะอาหาร โดยเฉพาะหากกนิ เหง้าออ่ นของขมิน้ ขาวสด ๆ จะช่วยในการขับลมไดเ้ ป็น
อยา่ งดี
เกณฑก์ ารพจิ ารณา (ข้อละ 2 คะแนน) ระดับคณุ ภาพ อยใู่ นระดบั ดีมาก
8 – 10 คะแนน อยใู่ นระดับ ดี
ตอบได้ถกู มากกว่า 80 % ขนึ้ ไป 2 คะแนน 6 – 7 คะแนน อย่ใู นระดับ พอใช้
4 – 5 คะแนน อยู่ในระดบั ปรบั ปรุง
ตอบได้ถูกน้อยกวา่ 80 % 1 คะแนน 0 – 3 คะแนน
ตอบไดไ้ ม่ถกู ตอ้ ง 0 คะแนน
22
กจิ กรรมท่ี 1.2
พืชสมุนไพร2
คำชแ้ี จง ให้นักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ กู ตอ้ ง
1. สรรพคุณทางยาของกระวาน คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. สรรพคุณทางยาของไพล คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. สรรพคุณทางยาของวา่ นชกั มดลกู คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สรรพคุณทางยาของตะไคร้ คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. สรรพคุณทางยาของบอระเพ็ด คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSft_afL3Pv-M8eyfnoqsp-
YqgLK0yDfOBZxL7b5j42xOKhvAw/viewform?usp=sf_link
23
เฉลยกิจกรรมที่ 1.2
พืชสมุนไพร2
1. สรรพคณุ ทางยาของกระวาน คือ
ตอบ กระวานมีสรรพคุณทางสมุนไพรได้ทุก ๆ ส่วน ทง้ั ราก ลำตน้ หนอ่ เปลอื กลำตน้ แก่นของลำต้น ใบ ผล
แก่ เมล็ด เหงา้ ออ่ น ใช้แกท้ ้องอดื แนน่ จกุ เสยี ด ขบั เสมหะ รักษาโรคผวิ หนัง แกล้ ม ทอ้ งเสยี ฯลฯ
2. สรรพคณุ ทางยาของไพล คือ
ตอบ ดอกไพล สรรพคุณช่วยขับโลหิตและกระจายเลอื ดเสยี กระจายเลือดทเี่ ปน็ ล่มิ เป็นกอ้ น ชว่ ยแกธ้ าตพุ กิ าร
ใบช่วยแกไ้ ข้ แกอ้ าเจยี น อาการอาเจยี นเปน็ โลหิต แก้อาการปวดฟนั เหง้าช่วยขับโลหิต แกเ้ ลอื ดกำเดาไหล
ออกทางจมกู
3. สรรพคณุ ทางยาของว่านชกั มดลูก คอื
ตอบ ชว่ ยใหท้ ำให้กลา้ มเนอ้ื กระชบั ขึน้ ชว่ ยรักษาอาการมดลูกทรุดตัว หรอื มดลูกต่ำไมเ่ ขา้ ที่ มสี ่วนชว่ ยเสริม
หรอื ขยายหนา้ อก ชว่ ยทำใหผ้ ิวพรรณเปลง่ ปลัง่ สดใส ขาวนวล และมเี ลอื ดฝาด มสี ว่ นชว่ ยลดเลอื นรอยเหีย่ วย่น
ฝ้า และรอยดำ ชว่ ยแกอ้ ารมณแ์ ปรปรวนตา่ ง ๆของสตรี เชน่ อารมณ์ฉุนเฉยี ว จติ ใจหอ่ เห่ียว โกรธงา่ ย
ออ่ นไหวงา่ ย ใหห้ ายไป ชว่ ยกระชบั หน้าทอ้ งท่ีหยอ่ นคล้อยหลังคลอดบตุ ร ชว่ ยกระชับช่องคลอดภายในของ
สตรี ชว่ ยใหม้ ดลกู เขา้ อู่เร็วขน้ึ
4. สรรพคณุ ทางยาของตะไคร้ คือ
ตอบ มีสว่ นช่วยในการขับเหงอ่ื เปน็ ยาบำรุงธาตุไฟใหเ้ จรญิ มีสรรพคุณเปน็ ยาบำรงุ ธาตุ ชว่ ยในการเจริญ
อาหาร ช่วยแก้อาการเบอื่ อาหาร สารสกัดจากตะไคร้มีสว่ นชว่ ยในการป้องกนั โรคมะเรง็ ลำไส้ใหญ่ แกแ้ ละ
บรรเทาอาการหวดั อาการไอ ชว่ ยรกั ษาอาการไข้ ใช้เป็นยาแก้ไขเ้ หนือ
5. สรรพคุณทางยาของบอระเพด็ คือ
ตอบ เถาหรอื ลำตน้ รสขมเยน็ ตม้ เคย่ี วกับน้ำใชเ้ ปน็ ยาแกไ้ ข้ ขบั เหง่อื แกก้ ระหายน้ำ แก้รอ้ นใน เปน็ ยาขมเจรญิ
อาหาร เปน็ ยาอายวุ ัฒนะ บำรงุ ธาตุ บำรงุ กำลังใบรสขมเมา เป็นยาขมเจรญิ อาหาร ช่วยขบั น้ำยอ่ ยในกระเพาะ
อาหาร รกั ษาโลหติ พกิ าร ชว่ ยระงับอาการสะอกึ รักษาโรคพษิ ฝดี าษ ไขพ้ ิษทุกชนิด
เกณฑก์ ารพจิ ารณา (ขอ้ ละ 2 คะแนน) ระดับคณุ ภาพ
8 – 10 คะแนน
ตอบได้ถกู มากกวา่ 80 % ขน้ึ ไป 2 คะแนน 6 – 7 คะแนน อยู่ในระดบั ดีมาก
4 – 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
ตอบได้ถูกน้อยกวา่ 80 % 1 คะแนน 0 – 3 คะแนน อยใู่ นระดับ พอใช้
อยู่ในระดับ ปรบั ปรงุ
ตอบไดไ้ มถ่ กู ต้อง 0 คะแนน
24
แบบทดสอบหลังเรียน
รายวชิ า การปลูกพืชสมนุ ไพร รหัสวชิ า ง33202 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ชุดท่ี 4 พืชสมุนไพร2
คำชี้แจง ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนโดยเขา้ ไปทำใน Google Forms ( ใช้เวลา 10 นาที )
1. ขอ้ ใดคอื สรรพคณุ ของกระวาน
ก. แก้ลมพษิ
ข. ใช้แก้ทอ้ งอืด
ค. แก้ฮ่องกงฟุต
ง. แก้คนั
2. ขอ้ ใดคอื สรรพคุณของไพล
ก. ขยท้ี าปดิ ห้ามเลือด
ข. ต้นขบั เสมหะในทรวงอก
ค. ทำใหป้ ระจำเดอื นมาเป็นปกติ
ง. แก้อาการผมรว่ ง
3. ขอ้ ใดคือสรรพคุณของวา่ นชักมดลูก
ก. ขบั ลมในลำไส้
ข. ใช้ถอนพษิ ไข้
ค. แก้อาการผมรว่ ง
ง. ช่วยเพมิ่ นำ้ หลอ่ ลื่นในชอ่ งคลอดของสตรี
4. ข้อใดคอื สรรพคณุ ของตะไคร้
ก. ขบั ปสั สาวะ
ข. แก้อาการผมรว่ ง
ค. นำมาพอกแผลนำ้ รอ้ นลวก ไฟไหม้
ง. แก้ฮอ่ งกงฟตุ
5. ข้อใดคือสรรพคุณของบอระเพ็ด
ก. นำมาค้นั เอาน้ำหยอดแกฝ้ ใี นหู
ข. เปน็ ยาอายวุ ัฒนะ
ค. ขยี้ทาปดิ หา้ มเลอื ด
ง. อสี กุ อีใส
25
6. ข้อใดคอื สรรพคุณทางยาของขมิ้นชัน ข. แก้ไข้ตวั ร้อน
ก. แกโ้ รคผวิ หนังผน่ื คัน ง. แกพ้ ยาธผิ วิ หนงั
ค. นำมาพอกแผลนำ้ รอ้ นลวก ไฟไหม้
ข. แกพ้ ยาธิ
7. ข้อใดคือสรรพคุณทางยาของขา่ ง. รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร
ก. แก้โรคหนองใน
ค. รกั ษาผวิ ที่ถูกแดดเผา ข. อีสุกอีใส
ง. บำรุงธาตไุ ฟ
8. ข้อใดคือสรรพคณุ ของกระชาย
ก. โรคหดั ข. แกจ้ กุ เสียด
ค. ช่วยเพม่ิ สมรรถนะทางเพศชาย ง. ขบั เสมหะ
9. ข้อใดคอื สรรพคุณของขิง ข. รักษาผวิ ทถ่ี ูกแดดเผา
ก. รกั ษาผวิ ท่ีถูกแดดเผา ง. รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
ค. ชว่ ยเพ่มิ สมรรถนะทางเพศชาย
10. ข้อใดคอื สรรพคณุ ของว่านมว่ ง
ก. ชว่ ยขับลมในกระเพาะอาหาร
ค. อีสกุ อใี ส
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSdkZIvGRohWkbOhF3B3WEFqD6BGDg-
TGtSGw9OTzryeB1Y5vw/viewform?usp=sf_link
26
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
รายวชิ าการปลูกพืชสมุนไพร รหัสวชิ า ง33202 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
เฉลยคำตอบแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง พืชสมนุ ไพร2
ข้อท่ี คำตอบ
1ข
2ค
3ง
4ก
5ข
6ก
7ข
8ค
9ง
10 ก
27
บรรณานกุ รม
http://203.157.123.7/ssopanom/?news=%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84
%E0%B8%9E%E0%B8%A3
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2
https://www.bigc.co.th/blog/th/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8
%A2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7-
%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93/
https://www.opsmoac.go.th/surin-local_wisdom-preview-422891791854
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%B4%E0%B8%87
https://health.kapook.com/view200885.html
https://www.scimath.org/article-biology/item/495-amomum-krervanh-pierre
https://medthai.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%
B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3/
https://medthai.com/%e0%b9%84%e0%b8%9e%e0%b8%a5/
https://medthai.com/%e0%b8%a7%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%8a%e0%b8%b1%e0
%b8%81%e0%b8%a1%e0%b8%94%e0%b8%a5%e0%b8%b9%e0%b8%81/
https://medthai.com/%e0%b8%95%e0%b8%b0%e0%b9%84%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b9%89/
https://medthai.com/%e0%b8%9a%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0
%b9%87%e0%b8%94/
https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=126