คมู่ อื การใชห้ นงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ( E-Book ชดุ ท5่ี
)
ชดุ การปลูกพืชสมุนไพร
กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6
ชดุ ท่ี 5 พืชสมนุ ไพร3
นายสายธาร สาระกลู
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
โรงเรียนไทรเด่ยี ววทิ ยา สงั กัดองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั สระแก้ว
กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย
ก
คำนำ
คู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การปลูกพืชสมุนไพร เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ฉบับน้ี จัดทำข้ึน
เพื่อเป็นคู่มือและเป็นแนวทางในการใช้งาน ซึ่งครูและนักเรียนควรศึกษาให้เข้าใจชัดเจนเพ่ือสามารถเปิดใช้
การจัดการเรียนการสอนได้อย่างถกู ตอ้ งและมีประสิทธิภาพ บรรลตุ ามจุดประสงค์การเรียนรทู้ ่กี ำหนดไว้
คู่มือการใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การขยายพันธุพ์ ชื มที งั้ หมด 13 ชดุ ดังนี้
ชุดท่ี 1 ความหมาย ความสำคญั และประเภทของสมุนไพร
ชุดที่ 2 ความสำคญั และประโยชนข์ องการแปรรูปผลิตภัณฑส์ มุนไพร
ชุดท่ี 3 พืชสมนุ ไพร1
ชุดที่ 4 พืชสมุนไพร2
ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3
ชุดท่ี 6 พืชสมนุ ไพร4
ชุดที่ 7 พชื สมนุ ไพร5
ชุดที่ 8 ความหมาย ความสำคญั และประโยชนข์ องการขยายพันธุ์พืช
ชุดท่ี 9 การขยายพันธ์พุ ชื โดยการเพาะเมลด็
ชุดท่ี 10 การขยายพนั ธ์พุ ืชโดยการปักชำ
ชุดที่ 11 การขยายพนั ธ์พุ ชื โดยการตอนก่งิ
ชุดที่ 12 การเตรยี มดินปลูกและการปลกู พืช
ชุดท่ี 13 การดแู ลรกั ษาและกำจดั ศตั รพู ืช
ค่มู ือเล่มนไ้ี ด้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกบั วธิ ีการใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book ) เพอื่ ให้ครูผสู้ อน
และนักเรียนสามารถศึกษาเนื้อหาได้ด้วยตนเองตามความสามารถ โดยศึกษาคู่มือการใช้ควบคู่ไปกับหนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book ) ของแตล่ ะชุด เพอ่ื ความเข้าใจมากยง่ิ ขน้ึ
หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครู
นักเรยี นและผูส้ นใจ ท่ีจะนำไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนให้ประสบความสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพต่อไป
นายสายธาร สาระกลู
ข
สารบญั
คำนำ.......................................................................................................................... หนา้
สารบัญ....................................................................................................................... ก
คำแนะนำการใชง้ าน................................................................................................... ข
1
ข้อปฏบิ ตั สิ ำหรบั ครผู ้สู อน............................................................................. 1
ระบบโทรศพั ท์ในการใช้งาน......................................................................... 1
ข้ันในการเปิดใช้หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book )...................................... 2
องคป์ ระกอบของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ ( E–Book ).................................... 12
ภาคผนวก................................................................................................................... 13
หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชดุ ที่ 5 พืชสมนุ ไพร3
1
คำแนะนำในการใชง้ าน
ขอ้ ปฏิบัตสิ ำหรับครู
1. ศึกษาคู่มือการใช้อย่างละเอียด และทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book )
กอ่ นนำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน
2. เตรียมโทรศัพท์สำหรับเปิดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ให้พร้อมใช้ในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนได้อย่างถกู ต้อง
3. แนะนำการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ให้นักเรียนเข้าใจก่อนการใช้งานจริง
และใหค้ วามชว่ ยเหลือเม่ือนักเรียนมีปัญหาหรอื ข้อสงสัย
4. ครูให้นักเรียนนำคูม่ ือการใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) และ คิวอาร์โคด้ ที่มขี ้อมูล
หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ไปศึกษาดว้ ยตนเองเพ่ิมเตมิ
ระบบเครื่องโทรศัพท์ในการใช้งาน
1. เปน็ โทรศัพทแ์ บบ Smart Phone
2. ระบบปฏิบตั กิ ารทน่ี ยิ ม Android , iOS
3. มหี นว่ ยประมวลผลกลาง ( CPU ) ความเร็วอย่างนอ้ ย 1 GHz ขึ้นไป
4. มหี นว่ ยความจำแรมไม่ต่ำกว่า 1 GB
2
ขนั้ ตอนการเปดิ ใช้หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book )
1. เปิดเครื่องโทรศพั ทใ์ หพ้ รอ้ มใชง้ าน
2. เข้าไปที่ Application Line
3. เข้าไปท่ี Line ของครูผู้สอน
3
ข้ันตอนการเปิดใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ ( E–Book ) (ตอ่ )
4. บันทกึ คิวอาร์โค้fหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชดุ ท่ี 5 พืชสมนุ ไพร3ทค่ี รสู ่งมาให้ลงใน
โทรศัพท์
5. เข้าไปทห่ี น้าหลกั และไปทเ่ี พ่มิ เพอื่ น
6. เข้าไปท่ี ควิ อาร์โคด้
ข้นั ตอนการเปิดใช้หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) (ตอ่ ) 4
7. เขา้ ไปเลือกควิ อารโ์ ค้ด
8. เลือกควิ อารโ์ คด้ ทเี่ ราตอ้ งการ
9. ลิงกจ์ ะขึ้นอยดู่ า้ นบน ใหแ้ ตะไปทลี่ ิงคเ์ พอื่ เปิดลิงก์
5
ขั้นตอนการเปิดใช้หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) (ตอ่ )
10. จะเขา้ สู่หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชดุ ท่ี 5 พืชสมนุ ไพร3
6
ข้นั ตอนการทำแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
1. เมื่อเปดิ ถึงหน้า แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และแบบทดสอบหลงั เรยี น จะมีลง้ิ ค์และควิ อาร์โคด้ อยู่
ดา้ นลา่ ง ให้นกั เรยี นแคป็ หน้าจอน้นั ไว้
2. แลว้ กลับเขา้ ไปที่ Application Line
3. เขา้ ไปทห่ี นา้ หลกั และไปท่ีเพ่ิมเพอ่ื น
7
ขน้ั ตอนการทำแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น (ตอ่ )
4. เขา้ ไปที่ คิวอารโ์ ค้ด
5. เขา้ ไปเลือกคิวอารโ์ ค้ด
6. เลือกคิวอาร์โคด้ ที่เราแค็ปหนา้ จอไว้
ขนั้ ตอนการทำแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน (ตอ่ ) 8
9. ลิงกจ์ ะขนึ้ อยดู่ ้านบน ใหแ้ ตะไปทล่ี งิ คเ์ พอื่ เปดิ ลิงก์
10. นกั เรียนทำแบบทดสอบใน Google Forms ได้เลย
9
ข้นั ตอนการทำกิจกรรม
1. เมือ่ เปดิ ถึงหนา้ กิจกรรมที่ 1.1 และกิจกรรมที่ 1.2 จะมลี ง้ิ ค์และควิ อารโ์ ค้ดอย่ดู ้านลา่ ง ใหน้ ักเรยี น
แคป็ หน้าจอนนั้ ไว้
2. แลว้ กลับเขา้ ไปท่ี Application Line
3. เข้าไปทห่ี น้าหลกั และไปทเ่ี พิม่ เพอื่ น
10
ขัน้ ตอนการทำกิจกรรม (ตอ่ )
4. เข้าไปท่ี ควิ อาร์โค้ด
5. เข้าไปเลอื กควิ อาร์โค้ด
6. เลอื กควิ อาร์โคด้ ท่เี ราแคป็ หน้าจอไว้
ขัน้ ตอนการทำกิจกรรม (ตอ่ ) 11
9. ลิงกจ์ ะขึ้นอยดู่ ้านบน ใหแ้ ตะไปทล่ี ิงคเ์ พอื่ เปดิ ลิงก์
10. นักเรยี นทำแบบทดสอบใน Google Forms ได้เลย
องค์ประกอบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) 12
หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) มอี งคป์ ระกอบ ดังนี้
1. ปกหนังสือ
2. ปกในหนังสอื
3. คำนำ
4. สารบญั
5. คำชแ้ี จง
6. วัตถปุ ระสงค์
7. คำชี้แจงสำหรับครู
8. คำชแ้ี จงสำหรบั นกั เรยี น
9. แผนผงั ลำดับข้ันเรยี นรู้
10. แบบทดสอบกอ่ นเรียน / เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
11. มาตรฐานการเรียนรู้
12. กจิ กรรมฝึกทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ / เฉลยกิจกรรมฝึกทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
13. ใบความรู้
14. ใบกิจกรรม / เฉลยใบกิจกรรม
15. แบบทดสอบหลงั เรยี น / เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
16. บรรณานกุ รม
17. ปกหลัง
ภาคผนวก
หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ( E–Book )
ชดุ ที่ 5 เรื่อง พชื สมนุ ไพร3
ก
คำนำ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การปลูกพืชสมุนไพร รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ผู้สอนได้ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยออกแบบการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการ
เรียนรู้ตามโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา โดยมีเนื้อหาและกิจกรรมท่ีเหมาะสม
กับความรู้ความสามารถของนักเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดให้นักเรียน ผู้สอนจัดทำข้ึนเพื่อใช้ประกอบ
กิจกรรมการเรียนรู้ การปลูกพืชสมุนไพร เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้
และมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามมาตรฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานสากลที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีทักษะชีวิตและการทำงานทักษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
และมีทักษะการปลูกพืชสมนุ ไพรมากข้ึน
ผู้จัดทำหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุด การปลูกพืชสมุนไพรน้ี จะสามารถ
พัฒนาทักษะและเพ่ิมศักยภาพการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและเป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอน
และผสู้ นใจ เพ่อื นำไปพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ใหม้ ีคณุ ภาพย่ิงข้ึนไป
นายสายธาร สาระกูล
สารบญั ข
คำนำ หน้า
สารบญั ก
คำชแี้ จง ข
วตั ถปุ ระสงค์ 1
คำช้แี จงสำหรับครู 2
คำชีแ้ จงสำหรับนักเรียน 3
แผนผงั ลำดับขัน้ ตอนการเรยี นรู้ 4
แบบทดสอบก่อนเรยี น 5
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 6
ชดุ ที่ 5 พืชสมนุ ไพร3 8
9
มาตรฐานการเรยี นรู้ 9
ผลการเรียนรู้ 9
จุดประสงค์การเรยี นรู้ 9
สาระการเรยี นรู้ 9
ใบความรู้พชื สมุนไพร3 10
ใบกิจกรรมท่ี 1.1 พชื สมนุ ไพร3 20
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.1 พืชสมนุ ไพร3 21
ใบกิจกรรมท่ี 1.2 พชื สมนุ ไพร3 22
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.2 พืชสมนุ ไพร3 23
แบบทดสอบหลงั เรียน 24
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 26
บรรณานุกรม 27
1
คำชี้แจง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชดุ ท่ี 5 พืชสมุนไพร3 จัดทำขึ้นเพ่ือใช้เปน็ ส่อื สำหรับประกอบการ
เรียนการสอน รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชพี เพือ่ เปน็ การส่งเสริมให้นักเรยี นมีศกั ยภาพการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย มีทกั ษะชีวติ และทกั ษะการทำงาน มี
จติ สาธารณะที่ดี และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3 รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี จำนวน 1 แผน เวลาเรยี น 4 ชั่วโมง
2
วตั ถุประสงค์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3 รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ มีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี
1. เพื่อใช้เป็นส่ือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาการปลูกพืชสมุนไพร ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
2. เพอื่ ให้นกั เรียนมที ักษะในการปลูกพืชสมนุ ไพรอยา่ งถกู ต้อง
3. เพ่ือให้นักเรยี นนำความรู้ที่ได้รบั จากการใช้หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E–Book) ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3
ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างถูกต้อง
4. เพื่อให้นักเรียนหรือผู้ท่ีสนใจสามารถนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E–Book) ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3
ไปใชศ้ ึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในยามว่างตามความเหมาะสม
3
คำช้แี จงสำหรับครู
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดที่ 5 พืชสมุนไพร3 รายวิชา ง33202 การปลูกพืชสมุนไพร
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ โดยปฏิบตั ิตามลำดบั ดงั น้ี
1. ครูศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ และศึกษาคู่มือการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดท่ี 5
พชื สมุนไพร3 ให้เขา้ ใจ
2. ครูเตรยี มคิวอาร์โค้ด และล้ิงค์ของหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชุดท่ี 5 พชื สมุนไพร3
3. ครูส่งคิวอาร์โค้ด และล้ิงค์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ชุดท่ี 5 พืชสมุนไพร3 ไปให้
นักเรียนทาง Line หรอื ทาง Face Book
4. ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามลำดับข้ันตอน ให้คำแนะนำและคอยให้คำปรึกษาแก่
นักเรียนเมื่อมปี ญั หา เนน้ ย้ำใหน้ ักเรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยความตง้ั ใจ ซ่อื สัตย์ มีวนิ ยั มีความรับผดิ ชอบ
5. ครปู ระเมินพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของนกั เรียนตามสภาพจริง บันทกึ คะแนนตามเกณฑ์ ประเมินและ
แจง้ ผลการประเมนิ ใหน้ กั เรียนรับทราบ
6. หากนักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ให้กลับไปศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book )
ชดุ ที่ 5 พืชสมุนไพร3 ศกึ ษาทบทวนด้วยตนเองในเวลาวา่ ง ตามความเหมาะสม
4
คำชแี้ จงสำหรับนักเรยี น
1. นกั เรียนศึกษาและปฏิบตั ิตามแผนผังลำดบั ขัน้ การเรยี นรู้ใหเ้ ขา้ ใจ
2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน โดยคลิ๊กลงิ้ คเ์ ขา้ ไปทำใน Google Forms แลว้ กดส่ง
3. นักเรียนศึกษาใบความรู้ให้เข้าใจด้วยตนเอง หากมีข้อสงสัยการใช้ชุดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
( E–Book ) ใหป้ รกึ ษาครูผสู้ อนเพอื่ ใหค้ ำแนะนำ
4. นกั เรียนทำกิจกรรมท่ี 1.1 และกจิ กรรมท่ี 1.2 โดยคลิ๊กลง้ิ คเ์ ขา้ ไปทำใน Google Forms แล้วกดส่ง
5. นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น โดยคล๊ิกลิ้งคเ์ ข้าไปทำใน Google Forms แล้วกดส่ง
6. ครูจะแจ้งคะแนน ของแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน กิจกรรมที่ 1.1 และกิจกรรม
ที่ 1.2
7. หากนักเรียนคนใดทำแบบทดสอบหลังเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ให้นักเรียนทำการศึกษา
ชุดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ตามลำดับขั้นการเรียนรู้อีกครั้ง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้อง และมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนักเรียนสามารถศึกษาชุดหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ( E–Book ) ด้วยตนเองในเวลาว่าง
ตามความเหมาะสม
5
แผนผังลำดบั ขั้นตอนการเรียนรู้
นักเรียน
ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นร้/ู
จุดประสงคก์ ารเรยี นร้/ู สาระการเรียนรู้
ศึกษาใบความรู้
ทำกจิ กรรมท่ี 1.1 และ 1.2
ทำแบบทดสอบหลงั เรียน
ไม่ผา่ นเกณฑ์ ผลการประเมิน ผา่ นเกณฑ์
ผ่านร้อยละ 80
ศึกษาชุดหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ( E–Book ) ชุดตอ่ ไป
6
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
รายวชิ า การปลกู พชื สมนุ ไพร รหัสวิชา ง33202 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6
ชุดที่ 5 พชื สมุนไพร3
คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนโดยเขา้ ไปทำใน Google Forms ( ใชเ้ วลา 10 นาที )
1. ขอ้ ใดคือสรรพคณุ ทางยาของดปี ลี
ก. แก้โรคผวิ หนงั ผ่นื คัน
ข. แก้ไข้ตัวร้อน
ค. นำมาพอกแผลนำ้ รอ้ นลวก ไฟไหม้
ง. ชว่ ยแกล้ มอมั พฤกษ์
2. ขอ้ ใดคอื สรรพคณุ ทางยาของพริกไทย
ก. แก้โรคหนองใน
ข. แกพ้ ยาธิ
ค. รกั ษาผิวท่ีถูกแดดเผา
ง. ป้องกนั การเกิดโรคอัลไซเมอรใ์ นผสู้ งู อายุ
3. ขอ้ ใดคอื สรรพคุณของกานพลู
ก. โรคหดั
ข. อีสุกอีใส
ค. ชว่ ยรกั ษาโรครำมะนาด
ง. บำรุงธาตุไฟ
4. ขอ้ ใดคือสรรพคุณของอบเชย
ก. รักษาผวิ ที่ถูกแดดเผา
ข. แกจ้ ุกเสยี ด
ค. แก้ปวดศีรษะ
ง. ขบั เสมหะ
5. ขอ้ ใดคือสรรพคุณของอบเชย
ก. ช่วยขับลมในกระเพาะอาหาร
ข. ชว่ ยบำรุงกำลงั
ค. อสี กุ อีใส
ง. รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
7
6. ข้อใดคือสรรพคุณของฝาง ข. เป็นยารักษาวัณโรค
ก. แก้ลมพษิ ง. แกค้ ัน
ค. แก้ฮอ่ งกงฟตุ
ข. ตน้ ขบั เสมหะในทรวงอก
7. ข้อใดคือสรรพคณุ ของโป๊ยกกั๊ ง. แกอ้ าการผมร่วง
ก. ช่วยเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค
ค. ทำใหป้ ระจำเดอื นมาเป็นปกติ ข. ใชถ้ อนพษิ ไข้
ง. ช่วยเพ่ิมน้ำหลอ่ ล่ืนในชอ่ งคลอดของสตรี
8. ข้อใดคือสรรพคณุ ของกวาวเคลอื ขาว
ก. ลดการหลดุ รว่ งของเส้นผม ข. แก้อาการผมร่วง
ค. แก้คนั ง. แก้ฮ่องกงฟตุ
9. ขอ้ ใดคอื สรรพคณุ ของเพชรสงั ฆาต ข. ชว่ ยแกต้ านซางในเด็ก
ก. แกเ้ ลอื ดเสียในสตรี ง. อีสุกอใี ส
ค. นำมาพอกแผลนำ้ รอ้ นลวก ไฟไหม้
10. ข้อใดคือสรรพคณุ ของตานหม่อน
ก. นำมาคน้ั เอาน้ำหยอดแก้ฝใี นหู
ค. ขย้ีทาปดิ หา้ มเลือด
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSdsWZtOAf8mWsaLNpt0TPaOnVI2oGneRSBakG8F
gWbBldgD3Q/viewform?usp=sf_link
8
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
รายวชิ าการปลูกพืชสมนุ ไพร รหัสวชิ า ง33202 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6
เฉลยคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอื่ ง พชื สมุนไพร3
ขอ้ ท่ี คำตอบ
1ง
2ง
3ค
4ค
5ข
6ข
7ก
8ก
9ก
10 ข
9
มาตรฐานการเรยี นรู้
ชุดท่ี 5 พืชสมุนไพร3
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 การดำรงชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการ
จัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงานรว่ มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพื่อการดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับพชื สมุนไพร
2. นำความรเู้ กี่ยวกบั ประโยชนข์ องสมนุ ไพรไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะทางพฤกษศาสตร์และสรรพคณุ ทางยาของพืชสมนุ ไพรได้ ( K )
2. สามารถประยกุ ต์ใชป้ ระโยชน์ของสมนุ ไพรในชีวติ ประจำวนั ได้ ( P )
3. เห็นความสำคญั ของสมนุ ไพร ( A )
สาระการเรยี นรู้
1. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชสมนุ ไพร
2. สรรพคณุ ทางยาของพืชสมนุ ไพร
10
ใบความรู้
ความหมาพยขืชอสงมกนุ าไรพขรย3ายพันธ์ุพชื
ชอ่ื ดปี ลี
ลกั ษณะท่ัวไป เป็นไม้เถามรี ากฝอยออกบริเวณขอ้ เพอื่ ใชย้ ึดเกาะและเลอ้ื ยพนั เถาค่อนขา้ งเหนยี วและแขง็
มขี ้อนนู แตกกงิ่ กา้ นสาขามาก เจรญิ เติบโตได้ดีในทช่ี มุ่ ชนื้ มีแสงแดดรำไร มีใบเปน็ ใบเดี่ยว
สรรพคุณ ลักษณะเปน็ รปู ไขแ่ กมขอบขนาน ใบมสี เี ขียวเข้มเป็นมัน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบ
เรียบเปน็ คลนื่ เลก็ นอ้ ย ใบกวา้ งประมาณ 3-5 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 7-10 เซนตเิ มตร
มเี ส้นใบออกจากโคนประมาณ 3-5 เส้น ส่วนกา้ นใบยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ผลสดมี
สีเขยี ว เมือ่ สกุ แลว้ จะเปลย่ี นเปน็ สีแดง ลกั ษณะของผลอดั กนั แน่นเป็นชอ่ รูปทรงกระบอก
โคนใหญก่ ว่าปลายไม่มาก ปลายเล็กมน ผลมคี วามยาวประมาณ 2.5-7.5 เซนตเิ มตร
เชอื่ กนั วา่ ดปี ลีมีสรรพคุณเป็นยาบำรุงกำลังและชว่ ยบำรงุ กำหนดั (ไม่ระบุสว่ นท่ีใช)้ ใชเ้ ปน็ ยา
อายวุ ฒั นะ ดว้ ยการใช้ดอกดปี ลี 10 ดอก หวั แหว้ หมู 10 หวั พรกิ ไทย 10 เม็ด นำมาตำให้
ละเอียดผสมกับนำ้ ผง้ึ แท้ ใช้รบั ประทานก่อนนอนทกุ คืน ดอกดีปลชี ว่ ยบำรุงธาตใุ นร่างกาย
ผลแก่จดั ชว่ ยบำรงุ ธาตไุ ฟ แกธ้ าตไุ ฟหยอ่ นหรอื พกิ าร ช่วยรักษาอาการกำเริบของธาตนุ ำ้ และ
ธาตุลม ชว่ ยแกธ้ าตพุ ิการ แก้ธาตุไมป่ กติ แก้ปฐวธี าตพุ กิ าร แกว้ ิสติปฏั ฐี แก้ปัถวธี าตุ 20
ประการ ใชเ้ ปน็ ยากระจายลม ระบายความเจ็บปวด ชว่ ยทำให้เจรญิ อาหาร ผงของผลมกี ลิน่
หอมเฉพาะตวั มรี สเผ็ด ขม ปรา่ สรรพคุณชว่ ยขับน้ำลายและทำใหล้ นิ้ ชา ชว่ ยแกล้ มอมั
พฤกษ์ ชว่ ยแก้ลมวงิ เวียน ดว้ ยการใช้ดอกแก่นำมาตม้ น้ำดื่ม
11
พืชสมุนไพร3 (ตอ่ )
ช่ือ พรกิ ไทย
ลกั ษณะท่ัวไป เปน็ ต้นไม้ท่ีมีอายยุ ืน จัดอยใู่ นประเภทไม้เลอื้ ย สงู ประมาณ 5 เมตร ลกั ษณะของลำต้นจะ
เปน็ ข้อ ๆ ลักษณะของใบพรกิ ไทยจะมสี เี ขยี วสด ใบใหญ่คล้ายใบโพ สว่ นลกั ษณะของดอก
สรรพคณุ พรกิ ไทยจะมขี นาดเลก็ จะออกช่อตรงขอ้ ของลำตน้ มีลักษณะเปน็ พวง ซ่งึ จะมเี มล็ดกลม ๆ
ตดิ กนั อยูเ่ ป็นพวง มถี ่ินกำเนดิ ในประเทศอินเดีย บรเิ วณเทอื กเขาทางภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้
สำหรับบ้านเราพรกิ ไทยถือเปน็ พชื เศรษฐกิจที่สำคญั ชนิดหนึง่ โดยนิยมปลูกพรกิ ไทยกนั มาก
ในจังหวัดจันทบรุ ี ตราด และระยอง
เมลด็ พริกไทยมีสารฟนี อลกิ และสารพเิ พอรีน ซ่ึงชว่ ยตอ่ ต้านอนมุ ูลอสิ ระ เมล็ดพริกไทยมสี า
รพิเพอรีน (Piperine) ซึ่งเป็นสารอลั คาลอยด์ทีม่ ีสว่ นช่วยรกั ษาและปอ้ งกนั การเกดิ โรคอลั ไซ
เมอร์ในผสู้ งู อายุได้ ชว่ ยปอ้ งกันและตอ่ ต้านสารก่อมะเรง็ ช่วยเร่งการทำงานของตบั ให้
ทำลายสารพษิ ไดม้ ากข้ึน เมล็ดพรกิ ไทยมฤี ทธ์ิในการชว่ ยกระตุ้นประสาท ชว่ ยแกโ้ รค
ลมบ้าหมหู รอื ลมชักได้ ช่วยบำรงุ ธาตใุ นร่างกาย ชว่ ยทำใหเ้ จรญิ อาหาร ทำใหล้ นิ้ ของผสู้ งู อายุ
รบั รสได้ดยี ง่ิ ขึ้น ชว่ ยบรรเทาอาการนอนไม่หลับ ชว่ ยเพ่มิ ความอบอนุ่ ให้กบั ร่างกายและเสริม
ภมู ติ ้านทานไปดว้ ยในตวั ชว่ ยแก้ตาแดงเน่อื งจากความดันโลหติ สูง
12
พชื สมุนไพร3 (ตอ่ )
ชื่อ กานพลู
ลักษณะทว่ั ไป เปน็ ไมย้ ืนตน้ และเป็นสมุนไพรชนิดหน่ึงที่นา่ ใจ มสี รรพคุณทางยาหลากหลาย มีกล่ินหอม
เฉพาะตัว เป็นสมุนไพรไทยทม่ี รี สเผ็ด โดยมีการเพาะปลกู และเก็บเกีย่ วมากทส่ี ดุ ในประเทศ
สรรพคณุ อนิ โดนีเซยี อนิ เดีย ปากสี ถาน และศรีลังกา เปน็ ต้น
กานพลูมีสารประกอบอย่างฟโี นลิกในปริมาณมาก ซง่ึ มสี รรพคุณชว่ ยเร่ืองการตอ่ ต้านอนมุ ูล
อสิ ระในรา่ งกาย ใบกานพลูมสี ่วนชว่ ยเผาผลาญแคลอรี ชว่ ยลดความอยากนำ้ ตาล และชว่ ย
ลดและควบคุมระดบั นำ้ ตาลในเลอื ด กานพลแู ก้ปวดฟัน ดว้ ยการใช้นำ้ มันทีก่ ลั่นมาจากดอก
ตมู ของดอกกานพลปู ระมาณ 5 หยด แลว้ ใชส้ ำลพี นั ปลายไม้จ่มุ น้ำมันนำมาอุดในรทู ่ีปวดฟัน
จะชว่ ยบรรเทาอาการปวดฟนั ได้ หรอื จะนำดอกมาเคีย้ วแล้วอมไวต้ รงบรเิ วณที่มอี าการปวด
ฟนั กไ็ ด้ หรือจะนำดอกกานพลูมาตำใหแ้ หลก ผสมกับเหลา้ ขาวเล็กน้อยพอใหแ้ ฉะ แล้วนำมา
อุดฟนั บรเิ วณทป่ี วด หรอื จะใช้ดอกตมู ที่แห้งแล้วนำมาแช่เหลา้ เอาสำลชี ุบอดุ รูฟนั กไ็ ดเ้ ชน่ กัน
ชว่ ยรกั ษาโรครำมะนาด หรอื โรคท่มี ีการอักเสบของอวยั วะรอบ ๆ ฟันนัน่ เอง ด้วยการนำดอก
มาเคีย้ วแลว้ อมไว้ตรงบรเิ วณที่มอี าการของโรค ชว่ ยระงบั กลิ่นปาก ดบั กล่นิ เหล้าได้เปน็
อย่างดี ดว้ ยการใชด้ อกตมู ของกานพลปู ระมาณ 3 ดอก อมไวใ้ นปากจะชว่ ยลดกล่ินปากลงไป
ไดบ้ า้ ง และยงั เป็นสว่ นผสมในนำ้ ยาบว้ นปากหลายชนดิ ชว่ ยบรรเทาอาการคล่ืนไสอ้ าเจยี น
หนา้ มดื ตาลาย ชว่ ยแกอ้ าการสะอกึ แกซ้ างตา่ ง ๆ
13
พืชสมุนไพร3 (ตอ่ )
ชื่อ อบเชย
ลักษณะทวั่ ไป เป็นไมย้ นื ต้นขนาดเลก็ ถึงขนาดกลางที่ไม่ผลดั ใบ เปลอื กลำตน้ เปน็ สเี ทาและหนา ก่ิงขนานกับ
พ้ืนและต้ังชนั ขึ้น ใบเปน็ ใบเดย่ี วออกเรยี งสลบั กันตามลำตน้ ลักษณะของใบเปน็ รปู ไข่หรอื รูป
สรรพคุณ หอก ปลายใบแหลม โคนใบแหลม สว่ นขอบใบเรยี บ มีเสน้ ใบ 3 เส้น ใบค่อนขา้ งหนา ผวิ ใบ
เรยี บเปน็ มนั สเี ขยี มเขม้ ออกดอกเปน็ ชอ่ ตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเลก็ เปน็ สเี หลืองและมี
กลนิ่ หอม ผลเปน็ สีดำมีลกั ษณะคล้ายรูปไข่ ผวิ เปลือกเรยี บบาง หนาประมาณ 2-3 มิลลเิ มตร
ชนิดนม้ี าจากประเทศอนิ เดียและศรีลังกา
ปลือกต้นและเนอื้ ไม้ มรี สเผ็ด หวานชุ่ม มีกลิน่ หอม เปน็ ยารอ้ นออกฤทธ์ิต่อไต ม้าม และ
กระเพาะปสั สาวะ ใช้เปน็ ยาบำรงุ รา่ งกาย ทำใหร้ ่างกายอบอุน่ ช่วยกระจายความเยน็ ใน
ร่างกาย ทำให้เลอื ดหมุนเวียนดี เปลอื กตน้ ใช้ปรงุ ผสมเปน็ ยาหอมและยานตั ถุ์ ทำให้สดช่ืน
แก้ปวดศีรษะ แก้อาการออ่ นเพลีย ชว่ ยบำรงุ ดวงจิต บำรงุ ธาตุ ชว่ ยชกู ำลงั แก้อาการ
อ่อนเพลยี สว่ นใบอบเชยต้นมสี รรพคุณเปน็ ยาบำรุงธาตุ และบำรงุ กำลัง
14
พืชสมนุ ไพร3 (ตอ่ )
ชอ่ื กฤษณา
ลกั ษณะทัว่ ไป ลกั ษณะของเน้อื ไม้กฤษณาจะมที ั้งแบบเน้ือไมป้ กติและแบบเนือ้ ไม้หอมทม่ี ีน้ำมนั กฤษณา
โดยเนื้อไม้ปกตจิ ะมสี ขี าวนวลเมื่อตัดใหม่ ๆ และตอ่ มาจะเปลยี่ นเป็นสนี ้ำตาลออ่ น เนื้อไม้
สรรพคุณ เป็นเสยี้ นตรง หยาบปานกลาง เลือ่ ยไดง้ า่ ย ขัดเงาได้ไม่ดี ไม่คอ่ ยทนทานนัก เมอ่ื นำมาแปร
รปู เสร็จกค็ วรรบี กองผง่ึ ใหแ้ หง้ โดยเรว็ ส่วนเนือ้ ไมห้ อมทมี่ ีนำ้ มันจะมีสีดำ หนักและจมนำ้ ได้
ซงึ่ คุณภาพของเนอ้ื ไม้ชนิดนีจ้ ะขึ้นอยู่กับปรมิ าณของน้ำมันภายในเซลล์ต่าง ๆ ของเนอ้ื ไม้
ใช้เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ ช่วยบำรงุ กำลงั ไมล้ ูกแกน่ เม่ือนำมาใชเ้ ผาจนเกิดกลนิ่ หอม ใช้สดู ดมจะ
ชว่ ยทำใหเ้ กิดกำลงั วงั ชา ชว่ ยบำรงุ ธาตุ คมุ ธาตใุ นร่างกาย ช่วยบำรุงโลหิต เนอ้ื ไมม้ รี สขม
หอม ใช้เป็นยาบำรุงหวั ใจ บำรุงโลหิตในหวั ใจ ชว่ ยบำรุงสมอง ใชร้ ะงบั อารมณโ์ มโหดุรา้ ย
ชว่ ยผอ่ นคลายความตึงเครยี ด ทำใหม้ อี ารมณ์สนุ ทรยี ์ ใช้รบั ประทานชว่ ยทำให้หวั ใจชุ่มชนื่
นำ้ จากใบสามารถนำมาใชเ้ พอ่ื รกั ษาโรคเบาหวานได้ ช่วยเสริมสมรรถภาพทางเพศ ชว่ ยแก้
ลมวงิ เวยี นศีรษะหนา้ มืด ใช้ปรุงเป็นยาหอมแกอ้ าการหนา้ มืดวงิ เวยี น
15
พชื สมนุ ไพร3 (ต่อ)
ช่ือ ฝาง
ลักษณะท่ัวไป เป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดกลาง หรอื เป็นไมพ้ ุม่ หรือไมพ้ ุ่มกง่ึ ไมเ้ ถาผลดั ใบ มคี วามสูงของตน้
ประมาณ 5-13 เมตร ลำต้นและก่ิงมหี นามแขง็ และโคง้ สั้น ๆ อยทู่ วั่ ไป ถา้ เนือ้ ไม้หรอื แกน่
สรรพคุณ เป็นสีแดงเข้มและมีรสขมหวานจะเรยี กว่า “ฝางเสน” แตถ่ า้ แก่นไม้เป็นสเี หลอื งสม้ และมรี ส
ฝาดขืน่ จะเรยี กวา่ “ฝางสม้ ” พรรณไมช้ นดิ น้ีเป็นไมก้ ลางแจง้ ขยายพนั ธโุ์ ดยใชเ้ มลด็
เจรญิ เติบโตได้ดีในดนิ ที่รว่ นซยุ มกั จะพบพรรณไม้ชนดิ นี้ไดต้ ามป่าละเมาะ ป่าเตง็ รัง ปา่ ดบิ
แล้ง และตามเขาหนิ ปนู
เน้อื ไมแ้ ละแกน่ เป็นยาแก้ธาตพุ ิการ เมลด็ แกแ่ ห้งนำไปต้มกบั นำ้ ดมื่ เป็นยารกั ษาโรคความดัน
โลหติ สงู หรอื อาจบดเป็นผงกนิ ก็ได้ เปลือกลำต้นและเนอื้ ไม้ สามารถนำมาใชต้ ม้ รบั ประทาน
เป็นยารักษาวณั โรคได้ ตำรับยาบำรุงร่างกายทงั้ บรุ ษุ และสตรี แกป้ ระดง ระบใุ ห้ใช้แกน่ ฝาง
แกน่ ไม้แดง รากเดื่อหอมอยา่ งละเท่ากัน นำมาต้มกนิ ตำรบั ยาบำรงุ กำลงั ระบุให้ใช้แก่นตาก
แห้งผสมกับเปลอื กตน้ นางพญาเสอื โครง่ ตานเหลอื ง ข้าวหลามดง โด่ไมร่ ลู้ ม้ ตม้ น้ำ ม้า
กระทืบโรง มะตนั ขอ ไม้มะดกู หวั ขา้ วเย็น และลำตน้ ฮอ่ สะพายควาย ด่มื เป็นยาบำรงุ กำลัง
แก้อาการปวดเม่ือย
16
พืชสมนุ ไพร3 (ตอ่ )
ช่อื โป๊ยกกั๊
ลกั ษณะทั่วไป เปน็ ไม้ยืนตน้ ขนาดเลก็ แตม่ ีความสงู ไดถ้ ึง 18 เมตร ลักษณะของใบเปน็ รูปใบหอกกลับถงึ รูป
รแี คบ โคนใบสอบ ปลายใบแคบเปน็ แถบยาว สว่ นปลายสดุ เวา้ หรอื แหลม ดอกเปน็ ดอกเดยี ว
สรรพคุณ มีสีเหลอื ง บางครง้ั อาจแตม้ ดว้ ยสชี มพถู งึ สีแดง ลกั ษณะของดอกเป็นรูปทรงกลมแกมรปู ถว้ ย
กลบี ดอกมี 10 กลบี กลบี มีลักษณะเป็นรูปรกี วา้ ง ขอบกลบี มขี นและเป็นกระพ้งุ ก้านดอกมี
ความยาวไดถ้ ึง 4 เซนติเมตร ผลมีลกั ษณะเปน็ กลีบโดยรอบ มองเห็นไดเ้ ปน็ รปู ดาว มี
ประมาณ 5-13 กลบี แตท่ ่พี บมากโดยสว่ นใหญ่มกั จะเปน็ 8 กลบี ผลแห้งมกี ลบี หนาแข็ง มสี ี
นำ้ ตาลเข้ม ในกลบี แตล่ ะกลบี จะมเี มลด็ 1 เมลด็ มีลักษณะเป็นรปู ไขแ่ ละแบน ผวิ มีสีนำ้ ตาล
เรยี บและเปน็ เงา ผลมกี ลน่ิ หอมและมีรสรอ้ น
ชว่ ยบำรุงธาตใุ นร่างกาย ชว่ ยเพม่ิ ภมู ิตา้ นทานโรคต่าง ๆ ใหก้ ับรา่ งกาย ด้วยการใชผ้ งโป๊ยกัก๊
1 ชอ้ นชา นำมาชงกบั นำ้ อ่นุ สกุ ดม่ื แต่สำหรบั เด็กเล็กมากให้ใชน้ ้ำมันโปย๊ กก๊ั มาทาบรเิ วณฝา่
เท้า จะทำใหเ้ ท้าอ่นุ ชว่ ยเสรมิ ภูมคิ มุ้ กนั โรคได้ดีนัก ชว่ ยแก้ธาตุพิการ โปย๊ กกั๊ มคี ุณสมบตั ิ
เปน็ หยาง ชว่ ยเพิม่ ความอบอนุ่ ใหก้ ับร่างกายในชว่ งอากาศเยน็ ช้ืน มรี สรอ้ นนดิ เจอื หวาน
เลก็ นอ้ ย ไม่เผ็ดร้อนมากจนเกนิ ไปเหมอื นสมุนไพรชนดิ อ่นื ๆ วิธีการรับประทานก็ใหใ้ ชผ้ ง
โป๊ยกก๊ั 1 ชอ้ นชาชงกับนำ้ อุน่ 1 แกว้ กาแฟ ใช้ดม่ื หลังอาหารในชว่ งเชา้ หรือเย็น หรอื ในชว่ งที่
มีอากาศเย็น ชว่ ยขบั เสมหะ
17
พืชสมนุ ไพร3 (ตอ่ )
ชื่อ กวาวเครอื ขาว
ลักษณะทวั่ ไป เปน็ ไมเ้ ลอ้ื ยหรอื พชื ในตระกูลถั่ว โดยเป็น 1 ใน 4 ชนดิ ของกวาวเครือทั้งหมด มหี ัวอยู่ใตด้ ิน
ลกั ษณะกลม มหี ลายขนาด ถ้าหวั ที่มอี ายุมากอาจหนกั ถึง 20 กโิ ลกรมั เมอ่ื เอามดี ผ่าออกจะ
สรรพคณุ มียางสขี าวคลา้ ยน้ำนม เนื้อในจะมสี ขี าวคล้ายมันแกว เนอ้ื เปราะ มเี สน้ มาก ส่วนหวั เลก็ เนือ้
ในจะละเอียด มนี ำ้ มาก และนยิ มเพาะปลูกหรอื พบมากทางภาคเหนอื และอสี านของประเทศ
ประโยชน์ของกวาวเครอื ขาวชว่ ยบำรุงผวิ พรรณใหเ้ ต่งตึง เปล่งปล่ังสดใส นมุ่ นวลเรียบเนยี น
เป็นสมุนไพรอายวุ ัฒนะ มสี ว่ นชว่ ยในการชะลอวยั ประโยชน์กวาวเครอื ขาวชว่ ยชะลอการ
เกิดริว้ รอยแห่งวัย และลดเลอื นรว้ิ รอยบริเวณผวิ หนา้ และผิวกาย กวาวเครอื ขาวมสี รรพคณุ
ช่วยขยายทรวงอกให้มีขนาดใหญ่ขน้ึ แก้ปัญหาทรวงอกหยอ่ นคล้อยใหก้ ลบั มาเต่งตงึ
เหมอื นเดมิ ชว่ ยเพิม่ ปรมิ าณเสน้ ผมและช่วยใหเ้ ส้นผมดกดำ ช่วยใหผ้ มขาวกลับคนื สภาพ
ปกติ ลดการหลุดรว่ งของเส้นผม ฮอรโ์ มนท่ีเพ่มิ ขึ้นมสี ่วนชว่ ยลดความมันบนใบหนา้ มสี ว่ นใน
การชว่ ยลดสวิ ฝา้ กระ ช่วยสมานริ้วรอยบนใบหนา้ จากความหยาบกรา้ น ชว่ ยเพ่ิมความ
กระชุ่มกระชวยใหก้ บั ร่างกาย
18
พืชสมุนไพร3 (ต่อ)
ชื่อ เพชรสงั ฆาต
ลกั ษณะทั่วไป เปน็ ไม้เถา เถาออ่ นสเี ขยี วเปน็ สเ่ี หลยี่ มเปน็ ข้อตอ่ กัน ใบเปน็ ใบเดยี่ วรปู สามเหล่ียม แผน่ ใบ
เรียบสเี ขยี วเป็นมนั ออกเรียงสลบั ตามข้อต้น ปลายใบมน โคนใบเว้า ขอบใบหยักมนห่าง ๆ
สรรพคุณ ก้านยาว 2-3 เซนตเิ มตร ดอกเปน็ สีเขยี วออ่ น ออกเปน็ ชอ่ ตามขอ้ ตรงขา้ มกบั ใบ กลีบดอกมี
4 กลบี โคนดา้ นนอกสแี ดง ด้านในเขยี วออ่ น เมือ่ ดอกบานเตม็ ทจ่ี ะงองมุ้ ไปดา้ นลา่ ง ทีด่ อกมี
เกสรเพศผู้ 4 อนั ผลเป็นรปู ทรงกลม ผิวเรียบเป็นมัน ผลออ่ นสีเขยี ว ผลสุกสแี ดงออกดำ ใน
ผลมเี มลด็ กลมสีน้ำตาล 1 เมลด็ โดยสว่ นที่นำมาใช้เปน็ ยาสมุนไพร ไดแ้ ก่ เถา ราก ใบยอด
อ่อน และน้ำจากต้น
เพชรสังฆาตใช้ปรุงเป็นยาธาตุ ชว่ ยใหเ้ จรญิ อาหาร นำ้ จากตน้ เพชรสังฆาตใชห้ ยอดหู แก้
น้ำหนวกไหล น้ำจากต้นเพชรสงั ฆาตใช้หยอดจมูก แกเ้ ลือดเสยี ในสตรี ประจำเดอื นไมป่ กติ
ชว่ ยขบั น้ำเหลอื งเสีย ใชเ้ ถาเพชรสังฆาตค้นั เอาน้ำมาดื่มแก้โรคลกั ปดิ ลักเปิดหรือโรค
เลอื ดออกตามไรฟันได้ ชว่ ยรกั ษาโรคลำไสท้ ่ีเก่ยี วกบั อาหารไม่ยอ่ ย เพชรสงั ฆาตมีสรรพคณุ
ช่วยขับลมในลำไส้ แก้อาการประจำเดอื นมาไม่ปกติ แก้กระดกู แตก หกั ซ้น ใช้เป็นยาพอก
เมอ่ื กระดกู หกั ใชเ้ ป็นยารักษาริดสีดวง
19
พชื สมุนไพร3 (ตอ่ )
ชื่อ ตานหมอ่ น
ลักษณะทัว่ ไป เป็นไม้เถาเลอ้ื ยพาดพนั กับตน้ ไมอ้ ่ืนและพยงุ ตวั ข้ึนไป เปลอื กเถาเรยี บเป็นสนี ำ้ ตาล ตามกง่ิ
ออ่ นและยอดออ่ นมีขนสีขาวปกคลุมอยหู่ นาแน่น ลำต้นแตกกิ่งกา้ นยาวเรียว แตกลำไดใ้ หม่
สรรพคุณ จากลำตน้ ทท่ี อดไปตามพนื้ ดนิ ขยายพนั ธุด์ ว้ ยวิธกี ารใชเ้ มลด็ และวธิ กี ารปักชำต้น ใบเปน็ ใบ
เด่ยี วออกเรียงสลบั ลักษณะของใบเปน็ รูปรแี กมรูปไขก่ ลบั ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบ
ใบเรยี บหรอื บางครั้งเปน็ หยักห่าง ๆ ใบมขี นาดกว้างประมาณ 3-4 เซนตเิ มตรและยาว
ประมาณ 6-10 เซนติเมตร ใบเปน็ สีเขยี วเข้ม แผน่ ใบเรยี บหนาคล้ายหนัง หลงั ใบเกลยี้ ง ส่วน
ท้องใบมขี นสีเงนิ หรอื สขี าวนวล ดอกเป็นชอ่ กระจุกแนน่ ตามซอกใบหรือท่ปี ลายยอด ดอก
ยอ่ ยเปน็ สขี าวนวล กลบี ดอกเปน็ เสน้ เล็ก ๆ จำนวนมาก ดอกมีกลีบเลยี้ ง 5 กลบี โคนกลบี
เชอ่ื มตดิ กัน ด้านนอกมีขน ผลเปน็ ผลแหง้ ไม่แตก ผลมีสัน 5 สนั เมล็ดล่อนเป็นสีดำ ลักษณะ
เปน็ รปู กระสวย
รากตานหม่อนชว่ ยคมุ ธาตใุ นร่างกาย ตน้ ชว่ ยแก้ตานซาง รากชว่ ยแก้พษิ ตานซาง สว่ นราก
ดอก และใบชว่ ยแกต้ านซางในเด็ก ช่วยรกั ษาลำไส้ ต้นมรี สเบ่อื เอยี น ใชเ้ ปน็ ยาขับพยาธิ สว่ น
รากมีรสหวานชุ่ม ใชเ้ ป็นยาขบั พยาธไิ สเ้ ดอื น ส่วนราก ดอก และใบมีสรรพคณุ ชว่ ยฆา่ พยาธิ
รากชว่ ยบำรงุ เนอื้ หนังใหส้ มบรู ณ์ ใบสดนำมาใช้เป็นยาห้ามเลือด ดว้ ยการนำใบมาขยี้ใหช้ ำ้ ๆ
หรือตำพอหยาบ ๆ แลว้ นำมาปดิ แผลในขณะทเี่ ลอื ดออก เลือดจะหยดุ ไหลทันที
20
กิจกรรมที่ 1.1
พืชสมนุ ไพร3
คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ใี หถ้ ูกต้อง
1. สรรพคุณทางยาของดปี ลี คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. สรรพคุณทางยาของพรกิ ไทย คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. สรรพคณุ ทางยาของกานพลู คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สรรพคุณทางยาของอบเชย คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. สรรพคณุ ทางยาของกฤษณา คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSce3EMDUzB7GdZIdzbmGdqluHPQWEaJ_FSvkFGi
m5dfPEPb7Q/viewform?usp=sf_link
21
เฉลยกจิ กรรมที่ 1.1
พืชสมนุ ไพร3
คำชี้แจง ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ต้อง
1. สรรพคุณทางยาของดปี ลี คือ
ตอบ ดอกดีปลีชว่ ยบำรงุ ธาตใุ นรา่ งกาย ผลแกจ่ ัดชว่ ยบำรุงธาตไุ ฟ แกธ้ าตไุ ฟหย่อนหรือพกิ าร ชว่ ยรกั ษาอาการ
กำเริบของธาตุนำ้ และธาตลุ ม ชว่ ยแกธ้ าตพุ กิ าร แกธ้ าตไุ มป่ กติ แก้ปฐวธี าตุพิการ แกว้ สิ ติปัฏฐี แก้ปัถวธี าตุ 20
ประการ ใช้เปน็ ยากระจายลม ระบายความเจบ็ ปวด ชว่ ยทำใหเ้ จรญิ อาหาร
2. สรรพคณุ ทางยาของพรกิ ไทย คอื
ตอบ เมล็ดพรกิ ไทยมสี ารฟีนอลิกและสารพเิ พอรนี ซง่ึ ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ เมลด็ พรกิ ไทยมสี ารพิเพอรนี
(Piperine) ซงึ่ เปน็ สารอลั คาลอยด์ทมี่ ีส่วนชว่ ยรกั ษาและปอ้ งกันการเกดิ โรคอลั ไซเมอรใ์ นผสู้ ูงอายุได้ ชว่ ย
ป้องกันและตอ่ ตา้ นสารก่อมะเรง็ ชว่ ยเรง่ การทำงานของตบั ใหท้ ำลายสารพษิ ได้มากขึ้น
3. สรรพคณุ ทางยาของกานพลู คอื
ตอบ กานพลูมสี ารประกอบอย่างฟโี นลกิ ในปรมิ าณมาก ซึ่งมสี รรพคุณชว่ ยเรอ่ื งการตอ่ ตา้ นอนมุ ูลอสิ ระใน
รา่ งกาย ใบกานพลมู สี ว่ นชว่ ยเผาผลาญแคลอรี ชว่ ยลดความอยากน้ำตาล และชว่ ยลดและควบคุมระดับ
น้ำตาลในเลือด กานพลแู ก้ปวดฟัน
4. สรรพคุณทางยาของอบเชย คือ
ตอบ เปลอื กตน้ และเนื้อไม้ มีรสเผด็ หวานชุม่ มีกลิ่นหอม เป็นยารอ้ นออกฤทธิ์ตอ่ ไต มา้ ม และกระเพาะ
ปัสสาวะ ใชเ้ ป็นยาบำรงุ ร่างกาย ทำให้รา่ งกายอบอุ่น ชว่ ยกระจายความเย็นในร่างกาย ทำให้เลอื ดหมุนเวียนดี
เปลือกต้นใชป้ รุงผสมเปน็ ยาหอมและยานตั ถุ์
5. สรรพคณุ ทางยาของกฤษณา คอื
ตอบ ใช้เป็นยาอายุวฒั นะ ชว่ ยบำรุงกำลัง ไม้ลกู แกน่ เมอื่ นำมาใช้เผาจนเกิดกลน่ิ หอม ใช้สดู ดมจะชว่ ยทำให้
เกดิ กำลังวงั ชา ชว่ ยบำรุงธาตุ คุมธาตุในร่างกาย ชว่ ยบำรุงโลหติ เน้อื ไมม้ รี สขม หอม ใชเ้ ป็นยาบำรุงหวั ใจ
บำรุงโลหิตในหวั ใจ ชว่ ยบำรงุ สมอง ใชร้ ะงบั อารมณ์โมโหดรุ ้าย
เกณฑก์ ารพิจารณา (ข้อละ 2 คะแนน) ระดับคุณภาพ
8 – 10 คะแนน
ตอบได้ถกู มากกวา่ 80 % ขน้ึ ไป 2 คะแนน 6 – 7 คะแนน อยู่ในระดบั ดีมาก
4 – 5 คะแนน อยใู่ นระดับ ดี
ตอบได้ถูกน้อยกวา่ 80 % 1 คะแนน 0 – 3 คะแนน อยูใ่ นระดับ พอใช้
อยใู่ นระดบั ปรบั ปรงุ
ตอบได้ไม่ถกู ตอ้ ง 0 คะแนน
22
กจิ กรรมที่ 1.2
พืชสมุนไพร3
คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ใหถ้ กู ตอ้ ง
1. สรรพคณุ ทางยาของฝาง คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. สรรพคุณทางยาของโปย๊ กกั๊ คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. สรรพคณุ ทางยาของกวาวเคลอื ขาว คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สรรพคณุ ทางยาของเพชรสงั ฆาต คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. สรรพคุณทางยาของตานหมอ่ น คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSck-
uezpJjOOnlkr6q5UNCSKeEa46TXoj_sGD9J_kgQvFGFGg/viewform?usp=sf_link
23
เฉลยกิจกรรมที่ 1.2
พืชสมนุ ไพร3
1. สรรพคุณทางยาของฝาง คอื
ตอบ เนื้อไมแ้ ละแกน่ เปน็ ยาแกธ้ าตพุ กิ าร เมล็ดแกแ่ ห้งนำไปตม้ กบั น้ำดม่ื เปน็ ยารักษาโรคความดนั โลหิตสงู หรอื
อาจบดเป็นผงกนิ ก็ได้ เปลือกลำต้นและเนอื้ ไม้ สามารถนำมาใช้ต้มรับประทานเปน็ ยารกั ษาวณั โรคได้ ตำรบั ยา
บำรุงรา่ งกายท้งั บรุ ษุ และสตรี แก้ประดง
2. สรรพคุณทางยาของโป๊ยกกั๊ คือ
ตอบ ชว่ ยเสรมิ ภูมคิ ุม้ กนั โรคได้ดนี กั ช่วยแก้ธาตุพกิ าร โปย๊ ก๊ักมคี ุณสมบตั ิเปน็ หยาง ชว่ ยเพ่มิ ความอบอุ่นใหก้ บั
ร่างกายในชว่ งอากาศเยน็ ช้นื มีรสร้อนนดิ เจอื หวานเล็กนอ้ ย ไมเ่ ผ็ดร้อนมากจนเกินไปเหมือนสมุนไพรชนิดอ่ืน
ๆ วธิ กี ารรับประทานกใ็ หใ้ ชผ้ งโปย๊ กัก๊ 1 ช้อนชาชงกับน้ำอนุ่ 1 แก้วกาแฟ ใชด้ ืม่ หลงั อาหารในชว่ งเชา้ หรือเยน็
หรือในชว่ งที่มอี ากาศเยน็ ชว่ ยขบั เสมหะ
3. สรรพคณุ ทางยาของกวาวเคลือขาว คอื
ตอบ ประโยชน์ของกวาวเครอื ขาวช่วยบำรุงผวิ พรรณให้เตง่ ตงึ เปลง่ ปล่งั สดใส นุ่มนวลเรียบเนยี น เปน็ สมุนไพร
อายุวัฒนะ มีสว่ นชว่ ยในการชะลอวัย ประโยชน์กวาวเครอื ขาวช่วยชะลอการเกดิ รว้ิ รอยแหง่ วยั และลดเลอื นร้ิว
รอยบรเิ วณผวิ หนา้ และผวิ กาย
4. สรรพคณุ ทางยาของเพชรสังฆาต คือ
ตอบ เพชรสังฆาตใช้ปรุงเปน็ ยาธาตุ ชว่ ยใหเ้ จรญิ อาหาร นำ้ จากต้นเพชรสงั ฆาตใช้หยอดหู แกน้ ้ำหนวกไหล น้ำ
จากต้นเพชรสงั ฆาตใช้หยอดจมกู แกเ้ ลือดเสียในสตรี ประจำเดอื นไม่ปกติ ชว่ ยขับนำ้ เหลืองเสีย ใชเ้ ถา
เพชรสังฆาตคน้ั เอานำ้ มาด่ืมแก้โรคลกั ปดิ ลักเปิดหรอื โรคเลอื ดออกตามไรฟันได้
5. สรรพคุณทางยาของตานหม่อน คือ
ตอบ รากตานหม่อนชว่ ยคมุ ธาตุในรา่ งกาย ตน้ ชว่ ยแกต้ านซาง รากช่วยแกพ้ ษิ ตานซาง ส่วนราก ดอก และใบ
ช่วยแก้ตานซางในเด็ก ชว่ ยรกั ษาลำไส้ ต้นมรี สเบอื่ เอียน ใชเ้ ป็นยาขับพยาธิ สว่ นรากมีรสหวานชุ่ม ใช้เปน็ ยา
ขับพยาธิไสเ้ ดอื น สว่ นราก ดอก และใบมสี รรพคุณชว่ ยฆ่าพยาธิ รากชว่ ยบำรุงเน้ือหนงั ให้สมบูรณ์
เกณฑก์ ารพิจารณา (ข้อละ 2 คะแนน) ระดบั คณุ ภาพ
8 – 10 คะแนน
ตอบได้ถกู มากกวา่ 80 % ขน้ึ ไป 2 คะแนน 6 – 7 คะแนน อยใู่ นระดบั ดมี าก
4 – 5 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
ตอบได้ถูกน้อยกวา่ 80 % 1 คะแนน 0 – 3 คะแนน อยู่ในระดบั พอใช้
อยูใ่ นระดับ ปรบั ปรุง
ตอบไดไ้ มถ่ กู ต้อง 0 คะแนน
24
แบบทดสอบหลงั เรียน
รายวิชา การปลกู พชื สมนุ ไพร รหัสวิชา ง33202 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6
ชุดที่ 5 พชื สมนุ ไพร3
คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนโดยเข้าไปทำใน Google Forms ( ใช้เวลา 10 นาที )
1. ข้อใดคอื สรรพคุณของฝาง
ก. แก้ลมพษิ
ข. เป็นยารกั ษาวัณโรค
ค. แก้ฮอ่ งกงฟุต
ง. แก้คนั
2. ขอ้ ใดคอื สรรพคณุ ของโปย๊ ก๊กั
ก. ชว่ ยเสรมิ ภมู ิคุ้มกนั โรค
ข. ต้นขับเสมหะในทรวงอก
ค. ทำใหป้ ระจำเดือนมาเปน็ ปกติ
ง. แกอ้ าการผมรว่ ง
3. ข้อใดคือสรรพคณุ ของกวาวเคลอื ขาว
ก. ลดการหลุดรว่ งของเสน้ ผม
ข. ใช้ถอนพษิ ไข้
ค. แก้คัน
ง. ช่วยเพมิ่ นำ้ หล่อลืน่ ในชอ่ งคลอดของสตรี
4. ขอ้ ใดคอื สรรพคณุ ของเพชรสังฆาต
ก. แกเ้ ลือดเสยี ในสตรี
ข. แก้อาการผมรว่ ง
ค. นำมาพอกแผลน้ำรอ้ นลวก ไฟไหม้
ง. แก้ฮ่องกงฟุต
5. ข้อใดคอื สรรพคณุ ของตานหม่อน
ก. นำมาคน้ั เอานำ้ หยอดแกฝ้ ใี นหู
ข. ช่วยแก้ตานซางในเด็ก
ค. ขยีท้ าปดิ หา้ มเลอื ด
ง. อีสกุ อีใส
25
6. ขอ้ ใดคือสรรพคุณทางยาของดีปลี ข. แก้ไขต้ วั ร้อน
ก. แก้โรคผิวหนังผ่นื คนั ง. ช่วยแก้ลมอมั พฤกษ์
ค. นำมาพอกแผลนำ้ รอ้ นลวก ไฟไหม้
ข. แก้พยาธิ
7. ข้อใดคือสรรพคุณทางยาของพริกไทย ง. ปอ้ งกันการเกิดโรคอลั ไซเมอรใ์ นผสู้ ูงอายุ
ก. แกโ้ รคหนองใน
ค. รกั ษาผวิ ที่ถกู แดดเผา ข. อีสุกอีใส
ง. บำรงุ ธาตุไฟ
8. ข้อใดคือสรรพคณุ ของกานพลู
ก. โรคหดั ข. แกจ้ ุกเสียด
ค. ช่วยรกั ษาโรครำมะนาด ง. ขบั เสมหะ
9. ขอ้ ใดคือสรรพคณุ ของอบเชย ข. ชว่ ยบำรุงกำลัง
ก. รักษาผวิ ที่ถกู แดดเผา ง. รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
ค. แกป้ วดศรี ษะ
10. ขอ้ ใดคือสรรพคุณของอบเชย
ก. ชว่ ยขับลมในกระเพาะอาหาร
ค. อีสุกอีใส
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScnJxO9a4Sqpo06LJDvmkBCnFDSMOjSrCOZEXuy
ElhCOESWVA/viewform?usp=sf_link
26
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
รายวชิ าการปลูกพืชสมุนไพร รหัสวชิ า ง33202 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6
เฉลยคำตอบแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง พืชสมนุ ไพร3
ข้อท่ี คำตอบ
1ข
2ก
3ก
4ก
5ข
6ง
7ง
8ค
9ค
10 ข
27
บรรณานกุ รม
https://medthai.com/%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%9b%e0%b8%a5%e0%b8%b5/
https://medthai.com/%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b9%84%e0
%b8%97%e0%b8%a2/
https://medthai.com/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%9e%e0%b8%a5%e0
%b8%b9/
https://medthai.com/%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b9%80%e0%b8%8a%e0%b8%a2/
https://medthai.com/%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%89%e0%b8%81%e0%b8%a4%e0
%b8%a9%e0%b8%93%e0%b8%b2/
https://medthai.com/%e0%b8%9d%e0%b8%b2%e0%b8%87/
https://medthai.com/%e0%b9%82%e0%b8%9b%e0%b9%8a%e0%b8%a2%e0%b8%81%e0
%b8%b1%e0%b9%8a%e0%b8%81/
https://medthai.com/%e0%b8%81%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0
%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%82%e0%b8%b2%e0%b8%a7/
https://medthai.com/%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b8%8a%e0%b8%a3%e0%b8%aa%e0
%b8%b1%e0%b8%87%e0%b8%86%e0%b8%b2%e0%b8%95/
https://medthai.com/%e0%b8%95%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%ab%e0%b8%a1%e0
%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%99/