The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือทดสอบสมรรถภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dsutheera, 2022-04-28 04:26:44

คู่มือทดสอบสมรรถภาพ

คู่มือทดสอบสมรรถภาพ

กรมพลศกึ ษา

คูม่ อื

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน
สมรรถภาพทางกาย

ของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

•สำ�หรับเด็กและเยาวชน อายุ 7-18 ปี
•สำ�หรับประชาชนทั่วไป อายุ 19-59 ปี
•สำ�หรับผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป

สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา
กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

พ.ศ. 2562

จัดพิมพ์โดย :

สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา
กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ 02-219-2671
โทรสาร 02-219-2671
เว็บไซต์ www.dpe.go.th และ www.sportscience.dpe.go.th

ISBN 978-616-297-547-9

พิมพ์ครั้งที่ 1 : กรกฎาคม 2562
จำ�นวนพิมพ์ 3,000 เล่ม
ออกแบบโดย : บริษัท กู๊ดอีฟนิ่ง ติงค์ จำ�กัด
พิมพ์ที่ : บริษัท เวิลด์ เอ็กซ์เพิร์ท จำ�กัด

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
กรมพลศึกษา. สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา.
คมู่ อื แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน
และประชาชนไทย.-- กรุงเทพฯ : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬา, 2562.
88 หน้า.
1. สมรรถภาพทางกาย--การทดสอบ. I. ชื่อเรื่อง.
613.7

ค�ำ น�ำ

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีพันธกิจหลัก
ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน ซึ่งนับเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างให้
คนไทยมีสุขภาวะที่ดี สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา เป็นหน่วยงานในสังกัด
กรมพลศึกษา ได้มีการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของ
เด็ก เยาวชน และประชาชนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งการวัดสมรรถภาพ
ทางกายนี้ ถอื วา่ เปน็ การประเมนิ ความแขง็ แรงของรา่ งกายไดท้ างหนึง่ และ
ในปี พ.ศ. 2562 นี้ สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ได้ดำ�เนินการจัดทำ�
คู่มือแบบทดสอบ และเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเยาวชน
และประชาชนไทย ตั้งแต่อายุ 7 – 69 ปี เพื่อเผยแพร่ให้กับสถานศึกษา
หน่วยงานและประชาชน ได้นำ�ไปใช้ประโยชน์ในการประเมินสมรรถภาพ
ทางกายของนักเรียน บุคลากรในหน่วยงาน รวมถึงประเมินตนเอง
ด้วยแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐานที่เหมาะสม
ตามวัย ทำ�ให้ทราบข้อมูลพื้นฐานด้านสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับ
สุขภาพและเป็นข้อมูลท่จี ะเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมการออกกำ�ลังกาย
การเล่นกีฬาสำ�หรับประชาชน อันจะเป็นแนวทางหนึ่งในการเสริมสร้าง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของชาติต่อไป

ผู้จัดทำ�

สารบัญ CONTENT

ความหมายของสมรรถภาพทางกาย............................................................... 6
สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ........................................................ 7
สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับทักษะ........................................................... 10

รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำ�หรับประชาชนไทยอายุ 7-69 ป.ี ................... 12

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำ�หรับเด็กและเยาวชน อายุ 7-18 ป.ี ..................... 13
ชั่งน้ำ�หนัก (Weight)............................................................................... 14
วัดส่วนสูง (Height)................................................................................ 15
ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI)................................................. 16
นั่งงอตัวไปข้างหน้า (Sit and Reach)........................................................ 18
ดันพื้นประยุกต์ 30 วินาที (30 Seconds Modified Push Ups)................... 21
ลุก-นั่ง 60 วินาที (60 Seconds Sit Ups)................................................ 24
ยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที (3 Minutes Step Up and Down)........................... 27

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำ�หรับประชาชนทั่วไป อายุ 19-59 ป.ี .................... 31
ชั่งน้ำ�หนัก (Weight)............................................................................... 32
วัดส่วนสูง (Height)................................................................................ 33
ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI)................................................. 34
นั่งงอตัวไปข้างหน้า (Sit and Reach)........................................................ 36
แรงบีบมือ (Grip Strength)..................................................................... 39
ยืน-นั่ง บนเก้าอี้ 60 วินาที (60 Seconds Chair Stand).............................. 41
ยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที (3 Minutes Step Up and Down)........................... 44

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำ�หรับผู้สูงอายุ อายุ 60-69 ป.ี ........................... 48
ชั่งน้ำ�หนัก (Weight)............................................................................... 49
วัดส่วนสูง (Height)................................................................................ 50
ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI)................................................. 51
แตะมือด้านหลัง (Back Scratch)............................................................. 53
ยืน-นั่ง บนเก้าอี้ 30 วินาที (30 Seconds Chair Stand).............................. 56
เดินเร็วอ้อมหลัก (Agility Course)........................................................... 59
ยืนยกเข่าขึ้นลง 2 นาที (2 Minutes Step Up and Down)........................... 63

ข้อปฏิบัติในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย........................................................ 67

หลักการในการจัดโปรแกรมการออกกำ�ลังกาย เพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย
สำ�หรับผู้สูงอาย.ุ ............................................................................................ 72

เกณฑ์มาตรฐานรายการดัชนีมวลกาย (กิโลกรัม/ตารางเมตร)............................ 74
เกณฑ์มาตรฐานรายการนั่งงอตัวไปด้านหน้า (เซนติเมตร)................................... 75
เกณฑ์มาตรฐานรายการยกเข่า ขึ้น-ลง 3 นาที (ครั้ง).......................................... 76
เกณฑ์มาตรฐานรายการยกเข่า ขึ้น-ลง 2 นาที (ครั้ง).......................................... 77
เกณฑ์มาตรฐานรายการยืน-นั่งบนเก้าอี้ 60 วินาที (ครั้ง).................................... 77
เกณฑ์มาตรฐานรายการยืน-นั่งบนเก้าอี้ 30 วินาที (ครั้ง).................................... 77
เกณฑ์มาตรฐานรายการดันพื้นประยุกต์ 30 วินาที (ครั้ง).................................... 78
เกณฑ์มาตรฐานรายการลุก-นั่ง 60 วินาที (ครั้ง)............................................... 79
เกณฑ์มาตรฐานรายการแรงบีบมือ (กิโลกรัมต่อน้ำ�หนักตัว)................................ 80
เกณฑ์มาตรฐานรายการแตะมือด้านหลัง มือขวาอยู่บน (เซนติเมตร)..................... 81
เกณฑ์มาตรฐานรายการแตะมือด้านหลัง มือซ้ายอยู่บน (เซนติเมตร)..................... 81
เกณฑ์มาตรฐานรายการเดินเร็วอ้อมหลัก (วินาที).............................................. 81

เอกสารอ้างอิง............................................................................................... 82
ผู้จัดทำ�......................................................................................................... 85
คณะทำ�งาน................................................................................................... 86

สมรรถภาพทางกาย

(Physical Fitness)

ความหมายของสมรรถภาพทางกาย

สมรรถภาพทางกาย (Physical fitness) หมายถึง สภาวะของ
ร่างกายที่อยู่ในสภาพที่ดี เพื่อช่วยให้บุคคลสามารถทำ�งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ลดอัตราเสี่ยงของปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุจากการ
ออกกำ�ลังกายสร้างความสมบูรณ์และแข็งแรงของร่างกายในการเข้าร่วม
กิจกรรมการออกกำ�ลังกายได้อย่างหลากหลาย บุคคลที่มีสมรรถภาพ
ทางกายดจี ะสามารถปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั การออกก�ำ ลงั กาย
การเลน่ กฬี า และการแกไ้ ขสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งดี สมรรถภาพทางกาย
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ
(Health-related physical fitness) และสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์
กับทักษะ (Skill-related physical fitness) (สุพิตร, 2541)

6 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

สมรรถภาพทางกายทส่ี มั พันธก์ ับสุขภาพ
(Health-related physical fitness)

สมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพ หมายถงึ สมรรถภาพทางกาย
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพและเพิ่มความสามารถในการทำ�งานของ
ร่างกาย ซ่งึ จะมีส่วนช่วยในการลดปัจจัยเส่ยี งในการเกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจอดุ ตนั โรคความดนั โลหติ สงู โรคปวดหลงั ตลอดจนปญั หา
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จากการขาดการออกก�ำ ลงั กาย (สพุ ติ ร, 2541) ซง่ึ ประกอบดว้ ย

1. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength)

เป็นความสามารถของกล้ามเนื้อหรือกลุ่มกล้ามเนื้อที่ออกแรงด้วย
ความพยายามในครั้งหนึ่ง ๆ เพื่อต้านกับแรงต้านทาน ความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อจะทำ�ให้เกิดความตึงตัว เพื่อใช้แรงในการดึงหรือยกของต่าง ๆ
ความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ จะชว่ ยท�ำ ใหร้ า่ งกายทรงตวั เปน็ รปู รา่ งขึน้ มาได้
หรือที่เรียกว่า ความแข็งแรงเพื่อรักษาทรวดทรง ซึ่งจะเป็นความสามารถ
ของกล้ามเนื้อที่ช่วยให้ร่างกายทรงตัวต้านกับแรงโน้มถ่วงของโลกให้อยู่ได้
โดยไม่ล้ม เป็นความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อทีใ่ ชใ้ นการเคลื่อนไหวขัน้ พื้นฐาน
เช่น การวิ่ง การกระโดด การเขย่ง การกระโจน การกระโดดขาเดียว การ
กระโดดสลับเท้า เป็นต้น ความแข็งแรงอีกชนิดหนึ่งของกล้ามเนื้อเรียกว่า
ความแขง็ แรง เพือ่ เคลื่อนไหวในมมุ ตา่ ง ๆ ได้แก่ การเคลือ่ นไหวแขนและขา
ในมุมต่าง ๆ เพื่อเล่นเกมกีฬา การออกกำ�ลังกาย หรือการเคลื่อนไหวใน
ชวี ติ ประจ�ำ วนั เปน็ ตน้ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ในการเกรง็ เปน็ ความสามารถ
ของร่างกายหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายในการต้านทานแรงที่มา
กระทำ�จากภายนอกโดยไม่ล้มหรือสูญเสียการทรงตัวไป

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 7

2. ความทนทานของกล้ามเนื้อ (Muscle Endurance)

เปน็ ความสามารถของกลา้ มเนอ้ื ทจ่ี ะรกั ษาระดบั การใชแ้ รงปานกลาง
ได้เป็นเวลานาน โดยการออกแรงที่ทำ�ให้วัตถุเคลื่อนที่ติดต่อกันเป็นเวลา
นาน ๆ หรือหลายครั้งติดต่อกัน ความอดทดของกล้ามเนื้อสามารถเพิ่มได้
มากขึ้นโดยการเพิ่มจำ�นวนครั้งในการปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัย
เช่น อายุ เพศ ระดับสมรรถภาพทางกาย และชนิดของการออกกำ�ลังกาย

3. ความอ่อนตัว (Flexibility)

เป็นความสามารถของข้อต่อต่าง ๆ ของร่างกายที่เคลื่อนไหวได้
เต็มช่วงของการเคลื่อนไหวการพัฒนาด้านความอ่อนตัวทำ�ได้โดยการ
ยืดเหยียดกล้ามเนื้อและเอ็นหรือการใช้แรงต้านทานในกล้ามเนื้อและเอ็น
ต้องทำ�งานมากขึ้น การยืดเหยียดของกล้ามเนื้อทำ�ได้ทั้งแบบอยู่กับที่หรือ
มกี ารเคลอ่ื นไหว เพอ่ื ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ ควรใชก้ ารเหยยี ดของของกลา้ มเนอ้ื
ในลักษณะอยู่กับที่ นั่นคืออวัยวะส่วนแขนและขาหรือลำ�ตัวจะต้องเหยียด
จนกวา่ กลา้ มเนอ้ื จะรสู้ กึ ตงึ และจะตอ้ งอยใู่ นทา่ เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื ในลกั ษณะน้ี
ประมาณ 10-15 วินาที

4. ความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด (Cardiovascular
Endurance)

เป็นความสามารถของหัวใจและหลอดเลือดที่จะลำ�เลียงออกซิเจน
และสารอาหารไปยังกล้ามเนื้อที่ใช้ในการออกแรงไปยังกล้ามเนื้อขณะ
ทำ�งานให้ทำ�งานได้เป็นระยะเวลานาน และขณะเดียวกันก็นำ�สารอาหารท่ี
ไมต่ อ้ งการซง่ึ เกดิ ขน้ึ ภายหลงั การท�ำ งานของกลา้ มเนอ้ื ออกจากกลา้ มเนอ้ื ทีใ่ ช้
ในการออกแรง ในการพฒั นาหรอื เสรมิ สรา้ งจะตอ้ งมกี ารเคลือ่ นไหวรา่ งกาย
โดยใช้ระยะเวลาติดต่อกันประมาณ 10 - 15 นาที ขึ้นไป

8 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

5. องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition)

เปน็ สว่ นตา่ ง ๆ ทป่ี ระกอบขน้ึ เปน็ น�ำ้ หนกั ตวั ของรา่ งกาย โดยแบง่ เปน็
2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นไขมัน (Fat mass) และส่วนท่ีปราศจากไขมัน
(Fat-free mass) เช่น กระดูก กล้ามเนื้อ และแร่ธาตุต่าง ๆ ในร่างกาย
โดยทั่วไปองค์ประกอบของร่างกายจะเป็นดัชนีประมาณค่าที่ทำ�ให้ทราบ
ถึงร้อยละของน้ำ�หนักที่เป็นส่วนของไขมันที่มีอยู่ในร่างกาย ซึ่งอาจจะหา
ค�ำ ตอบทเ่ี ปน็ สดั สว่ นกนั ไดร้ ะหวา่ งไขมนั ในรา่ งกายกบั น�ำ้ หนกั ของสว่ นอน่ื ๆ
ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น ส่วนของกระดูก กล้ามเนื้อ และอวัยวะต่าง ๆ
การรักษาองค์ประกอบในร่างกายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมจะช่วยทำ�ให้ลด
โอกาสเสี่ยงการเกิดโรคอ้วนซึ่งโรคอ้วนจะเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นโรคที่
เสี่ยงต่ออันตรายต่อไปอีกมาก เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หัวใจวาย และ
โรคเบาหวาน เป็นต้น

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 9

สมรรถภาพทางกายท่สี ัมพันธ์กับทกั ษะ
(Skill-related physical fitness)

สมรรถภาพทางกายทีส่ มั พนั ธก์ บั ทกั ษะ (Skill-Related Physical
Fitness) เป็นสมรรถภาพภาพทางกายที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนให้เกิด
ระดับความสามารถและทักษะในการแสดงออกของการเคลื่อนไหว และ
การเลน่ กฬี ามปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ซงึ่ นอกจากจะประกอบดว้ ยสมรรถภาพ
ทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพ ไดแ้ ก่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ความทนทาน
ของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด และ
องค์ประกอบของร่างกายแล้ว ยังประกอบด้วยสมรรถภาพทางกายในด้าน
ต่อไปนี้ คือ (สุพิตร, 2539)

1. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถ

ในการเคลื่อนไหวไปสู่เป้าหมายที่ต้องการโดยใช้
ระยะเวลาสั้นที่สุด ซึ่งกล้ามเนื้อจะต้องออกแรง
และหดตัวด้วยความเร็วสูงสุด

2.ก�ำ ลงั ของกลา้ มเนอื้ (MusclePower)หมายถงึ

ความสามารถของกล้ามเนื้อในการทำ�งานโดย
การออกแรงสูงสุดในช่วงที่สั้นที่สุด ซึ่งจะต้องมี
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความเร็วเป็น
องค์ประกอบหลัก

10 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

3. ความคล่องแคล่วว่องไว (Agility) หมายถึง

ความสามารถในการเปลีย่ นทศิ ทาง และต�ำ แหนง่
ของร่างกายในขณะที่กำ�ลังเคลื่อนไหวโดยใช้
ความเร็วได้อย่างเต็มที่ จัดเป็นสมรรถภาพ
ทางกายที่จำ�เป็นในการนำ�ไปสู่การเคลื่อนไหว
ขัน้ พืน้ ฐาน ส�ำ หรบั ทกั ษะในการเลน่ กฬี าประเภท
ต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ

4. การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถใน

การควบคุมรักษาตำ�แหน่งและท่าทางของร่างกายให้อยู่ใน
ลักษณะตามที่ต้องการได้ทั้งขณะที่อยู่กับที่หรือในขณะที่มี
การเคลื่อนไหว

5. เวลาปฏิกิริยา (Reaction Time) หมายถึง

ระยะเวลาที่เร็วที่สุดที่ร่างกายมีการตอบสนอง
หลังจากที่ได้รับการกระตุ้น ซึ่งเป็นความสามารถ
ของระบบประสาทเมื่อรับรู้การถูกกระตุ้นแล้ว
สามารถสั่งการให้อวัยวะที่ทำ�หน้าที่เกี่ยวข้องกับ
การเคลื่อนไหวให้มีการตอบสนองอย่างรวดเร็ว

6. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบประสาทและ
ระบบกล้ามเนื้อ (Coordination) หมายถึง

ความสัมพันธ์ในการทำ�งานของระบบประสาท
และระบบกล้ามเนื้อในการที่จะปฏิบัติกิจกรรม
ทางกลไกลที่สลับซับซ้อนในเวลาเดียวกัน
อย่างราบรื่นและแม่นยำ�

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 11

12 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายส�ำ หรบั ประชาชนไทยอายุ 7-69 ปี

รายการ องค์ประกอบของ สำ�หรบั เด็กและเยาวชน รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย สำ�หรบั ผูส้ ูงอายุ
ท่ี สมรรถภาพทางกาย อายุ 7-18 ปี สำ�หรบั ประชาชนท่วั ไป อายุ 60 - 69 ปี
อายุ 19 – 59 ปี

1 องค์ประกอบของ ดัชนีมวลกาย ดัชนีมวลกาย ดัชนีมวลกาย
ร่างกาย (Body mass index: BMI) (Body mass index: BMI) (Body mass index: BMI)
(Body Composition) - ชั่งน้ำ�หนัก(Weight) - ชั่งน้ำ�หนัก(Weight) - ชั่งน้ำ�หนัก(Weight)
- วัดส่วนสูง(Height) - วัดส่วนสูง(Height) - วัดส่วนสูง(Height)

2 ความอ่อนตัว นั่งงอตวั ไปขา้ งหน้า นั่งงอตวั ไปข้างหนา้ นง่ั งอตวั ไปข้างหนา้
(Flexibility) (Sit and Reach) (Sit and Reach) (Sit and Reach)

3 ความแข็งแรงและความ ดันพื้นประยุกต์ 30 วินาที แรงบีบมือ
ทนทานของกล้ามเนื้อ (30 Seconds Modified Push Ups) (Hand Grip Strength)
(Muscle Strength
and Endurance) ลุก-นั่ง 60 วินาที ยืน-นั่ง บนเก้าอี้ 60 วินาที ยืน-นั่ง บนเก้าอี้ 30 วินาที
(60 Seconds Sit Ups) (60 Seconds Chair Stand) (30 Seconds Chair Stand)

4 ความทนทานของระบบ ยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที ยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที ยืนยกเข่าขึ้นลง 2 นาที
หัวใจและไหลเวียนเลือด (3 Minutes Step Up and Down) (3 Minutes Step Up and Down) (2 Minutes Step Up and Down)
(Cardiovascular
Endurance)

5. การทรงตัว (Balance) เดินเร็วอ้อมหลัก
(Agility Course)

สำ�หรแับบเบดท็กดแสลอะบเสยมารวรชถนภาอพาทยางุ ก7า-ย18 ปี

ประกอบด้วยรายการทดสอบจำ�นวน 6 รายการ ดังนี้ คือ

รายการท่ี รายการทดสอบ องค์ประกอบทต่ี อ้ งการวดั เพอ่ื

1 ชั่งน้ำ�หนัก เพื่อนำ�ไปประเมินสัดส่วนของร่างกาย
(Weight) ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body
mass index: BMI)

2 วัดส่วนสูง เพื่อนำ�ไปประเมินสัดส่วนของร่างกาย
(Height) ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body
mass index: BMI)

3 นั่งงอตัวไปข้างหน้า เพื่อตรวจประเมินความอ่อนตัวของ
(Sit and Reach) ข้อไหล่ หลัง ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อ
ต้นขาด้านหลัง

4 ดันพื้นประยุกต์ 30 วินาที เพื่อตรวจประเมินความแข็งแรงและ
(30 Seconds Modified ความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและ
Push Ups) กล้ามเนื้อส่วนบนของร่างกาย

5 ลุก-นั่ง 60 วินาที เพื่อตรวจประเมินความแข็งแรงและ
(60 Seconds Sit Ups) ความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง

6 ยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที เพื่อตรวจประเมินความอดทนของ
(3 Minutes Step Up and ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
Down)

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 13

ช่ังน้�ำ หนัก (Weight)

วตั ถุประสงค์ อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการทดสอบ

เพื่อประเมินน้ำ�หนักของร่างกาย เครื่องชั่งน้ำ�หนัก
สำ�หรับนำ�ไปคำ�นวณสัดส่วน
รา่ งกายในสว่ นของดชั นมี วลกาย
(Body Mass Index: BMI)

วธิ กี ารปฏิบัติ

1 ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และ
สวมเสื้อผ้าที่เบาที่สุดและนำ�สิ่งของต่าง ๆ
ที่อาจจะทำ�ให้น้ำ�หนักเพิ่มขึ้นออกจาก
กระเป๋าเสื้อและกางเกง
2 ทำ�การชั่งน้ำ�หนักของผู้รับการทดสอบ

ระเบียบการทดสอบ

ไม่ทำ�การชั่งน้ำ�หนักหลังจาก
รับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ

การบนั ทกึ ผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม

14 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

วดั สว่ นสูง (Height)

วตั ถุประสงค์

เพื่อประเมินส่วนสูงของร่างกาย สำ�หรับ
นำ�ไปคำ�นวณสัดส่วนร่างกายในส่วนของ
ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI)

อุปกรณท์ ่ีใช้ในการทดสอบ

เครื่องวัดส่วนสูง

วธิ กี ารปฏิบัติ

1 ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า
2 ทำ�การวัดส่วนสูงของผู้รับการทดสอบ
ในท่ายืนตรง

การบันทึกผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของส่วนสูงเป็นเมตร

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 15

ดชั นีมวลกาย (Body Mass Index : BMI)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินองค์ประกอบของ
ร่างกายในด้านความเหมาะสม
ของสัดส่วนของร่างกาย ระหว่าง
น้ำ�หนักกับส่วนสูง

คุณภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.96
ค่าความเที่ยงตรง 0.89

อุปกรณท์ ี่ใช้ในการทดสอบ

1. เครื่องชั่งน้ำ�หนัก
2. เครื่องวัดส่วนสูง
3. เครื่องคิดเลข

16 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

วิธกี ารปฏบิ ตั ิ

1 ใหท้ �ำ การชง่ั น�ำ้ หนกั ของผรู้ บั การทดสอบเปน็ กโิ ลกรมั และวดั สว่ นสงู
ของผู้รับการทดสอบเป็นเมตร
2 นำ�น้ำ�หนักและส่วนสูงมาคำ�นวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยนำ�
ค่าน้ำ�หนักที่ชั่งได้เป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูงที่วัดได้เป็นเมตร
ยกกำ�ลังสอง (เมตร2)

ระเบียบการทดสอบ

ในการชั่งน้ำ�หนักและวัดส่วนสูง ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และ
สวมชุดที่เบาที่สุด

การบันทึกผลการทดสอบ

ค่าดัชนีมวลกายมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ตารางเมตร ได้มาจากการ
ชัง่ น้�ำ หนกั ตวั และวดั สว่ นสงู ของผูร้ บั การทดสอบ แลว้ น�ำ คา่ น้�ำ หนกั ตวั
ทีบ่ นั ทึกค่าเปน็ กิโลกรมั แสะส่วนสูงที่บันทึกค่าเปน็ เมตร มาแปลงเป็น
ค่าดัชนีมวลกาย จากสมการต่อไปนี้

ดัชนีมวลกาย (BMI) = น้ำ�หนักตัว (กิโลกรัม)
ส่วนสูง (เมตร)2

ตัวอย่าง
เช่น ผู้รับการทดสอบมีน้ำ�หนักตัว 50 กิโลกรัม มีส่วนสูง 1.50 เมตร
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) = 50/1.502
= 50/2.25
= 22.22 กิโลกรัม/ตารางเมตร

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 17

นัง่ งอตัวไปขา้ งหนา้ (Sit and Reach)

วตั ถปุ ระสงค์ คุณภาพของรายการทดสอบ

เพื่อประเมินความอ่อนตัวของ ค่าความเชื่อมั่น 0.95
ข้อไหล่ หลัง ข้อสะโพก และ ค่าความเที่ยงตรง 1.00
กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง

อปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทดสอบ

กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว
ขนาดสูง 30 เซนติเมตร มีสเกล
ของระยะทางตง้ั แต่ คา่ ลบ ถงึ คา่ บวก
เป็นเซนติเมตร

วธิ กี ารปฏบิ ัติ

1 ให้ผู้รับการทดสอบยืดเหยียดกล้ามเนื้อแขน ขา และหลัง
(ก่อนทดสอบให้ถอดรองเท้า)

2 ผูร้ บั การทดสอบนัง่ ตวั ตรง เหยยี ดขาตรงไปขา้ งหนา้ ให้
เข่าตึง ฝ่าเท้าทั้งสองข้างตั้งขึ้นในแนวตรงและให้ฝ่าเท้า
วางราบชิดติดกับผนังกล่องวัดความอ่อนตัว ฝ่าเท้าวาง
ห่างกันเท่ากับความกว้างของช่วงสะโพกของผู้รับการ
ทดสอบ

18 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

3 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกแขนทั้ง 2 ข้างขึ้น
ในท่าข้อศอกเหยียดตรงและคว่ำ�มือใหฝ้ ่ามอื ทัง้ สองขา้ งวางคว่�ำ ซ้อนทบั กัน
พอดี แลว้ ยน่ื แขนตรงไปขา้ งหนา้ ใหผ้ รู้ บั การทดสอบคอ่ ย ๆ กม้ ล�ำ ตวั ไปขา้ งหนา้
พรอ้ มกบั เหยยี ดแขนทม่ี อื คว�ำ่ ซอ้ นทบั กนั ไปวางไวบ้ นกลอ่ งวดั ความออ่ นตวั
ให้ได้ไกลที่สุดจนไม่สามารถก้มลำ�ตัวลงไปได้อีก ให้ก้มตัวค้างไว้ 3 วินาที
แล้วกลับมาสู่ท่านั่งตัวตรง ทำ�การทดสอบจำ�นวน 2 ครั้งติดต่อกัน

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 19

ระเบียบการทดสอบ

ในการทดสอบจะต้องถอดรองเท้า ทั้งนี้การทดสอบจะไม่สมบูรณ์และ
ต้องทำ�การทดสอบใหม่ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ต่อไปนี้

1 มีการงอเข่าในขณะที่ก้มลำ�ตัวเพื่อยื่นแขนไปข้างหน้าให้ได้
ไกลที่สุด
2 มีการโยกตัวตัวช่วยขณะที่ก้มลำ�ตัวลง
3 นิ้วกลางของมือทั้งสองข้างไม่อยู่ในตำ�แหน่งที่เท่ากัน

การบนั ทกึ ผลการทดสอบ

1 บันทึกระยะทางที่ทำ�ได้เป็นเซนติเมตร โดยบันทึกค่าที่ดีที่สุดจาก
การทดสอบ 2 ครั้ง
2 การบันทึกกรณีที่เศษของจุดทศนิยมมีค่าตั้งแต่ 0.5 เซนติเมตร
ขึ้นไปหรือมากกว่า เช่น วัดค่าได้ 15.5 เซนติเมตร หรือ 15.7
เซนติเมตร ให้บันทึกผลการทดสอบเป็น 16.0 เซนติเมตร และในกรณี
เศษของจุดทศนิยมมีค่าตั้งแต่ 0.5 เซนติเมตร ลงมาหรือน้อยกว่าไป
เช่น วัดค่าได้ 15.3 เซนติเมตร หรือ 15.4 เซนติเมตร ให้บันทึก
ผลการทดสอบเป็น 15.0 เซนติเมตร

20 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

ดนั พื้นประยกุ ต์ 30 วนิ าที

(30 Seconds Modified
Push Ups)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและ
กล้ามเนื้อส่วนบนของร่างกาย

คุณภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.95
ค่าความเที่ยงตรง 1.00

อปุ กรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

1. เบาะฟองน้ำ� หรือโฟมรองพื้น
2. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที

วิธีการปฏิบตั ิ

1 ให้ผู้รับการทดสอบนอนคว่ำ�ลำ�ตัวเหยียดตรงบนเบาะฟองน้ำ�หรือ
เบาะรองอื่น ๆ ไขว้ขาเกี่ยวกันแล้วงอขึ้นประมาณ 90 องศา
2 ฝ่ามือทั้งสองข้างวางคว่ำ�ราบกับพื้นในระดับเดียวกับหัวไหล่
ให้ปลายนิ้วชี้ตรงไปข้างหน้า โดยให้ฝ่ามือทั้งสองข้างห่างกันเท่ากับ
ช่วงไหล่ ข้อศอกงอแนบอยู่ข้างลำ�ตัว (ไม่ควรให้มือทั้งสองวางเลยไหล่
ขึ้นไปจะส่งผลต่อการยกและยุบลำ�ตัวขึ้นลงในขณะทำ�การทดสอบ)

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 21

22 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

3 ในขณะเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ ให้ผู้รับการทดสอบออกแรงดันพื้น
ยกลำ�ตัวขึ้นโดยหัวเข่าติดพื้นและให้แขนทั้งสองเหยียดตึง ตั้งตรงกับพื้น
ล�ำ ตวั เหยยี ดตรงเปน็ แนวเดยี วกบั สะโพกและตน้ ขา เขา่ ทง้ั สองขา้ งชดิ ตดิ กนั
ใช้เป็นจุดหมุนของการเคลื่อนไหว ขณะทำ�การทดสอบ สะโพกและต้นขาให้
ยกขึ้นทำ�มุมประมาณ 45 องศากับพื้น โดยให้เป็นแนวเส้นตรงกับลำ�ตัว
4 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยุบข้อศอกลงให้ข้อศอก
ทั้งสองข้างงอทำ�มุม 90 องศา ในขณะที่แขนท่อนบนขนานกับพื้น แล้วให้
เหยียดศอกและดันลำ�ตัวกลับขึ้นไปเหยียดตรงอยู่ในท่าเดิม นับเป็น 1 ครั้ง
ปฏิบัติต่อเนื่องกันจนครบ 30 วินาที โดยให้ผู้รับการทดสอบพยายามทำ�ให้
ได้จำ�นวนครั้งมากที่สุด

ระเบียบการทดสอบ

1 ผู้ทดสอบจะต้องสังเกตลำ�ตัวของผู้เข้ารับการทดสอบ ต้องให้
เหยียดตรงเป็นแนวเดียวกับสะโพก และต้นขา แขนทั้งสองอยู่ในท่า
เหยียดขึ้นให้ตึงก่อนจะยุบข้อศอกให้งอ เพื่อการดันพื้นขึ้น-ลง
2 เข่าทั้งสองข้างของผู้รับการทดสอบจะต้องชิดติดกัน (หน้าขา
สว่ นบนตอ้ งไมส่ มั ผสั พน้ื และล�ำ ตวั ตอ้ งไมแ่ อน่ ) และงอเขา่ ยกปลายเทา้ ขน้ึ
ให้ลอยพ้นพื้นและไขว้กันอยู่ตลอดเวลา
3 ในขณะที่ยุบข้อศอกลงดันพื้น บริเวณหน้าอกของผู้เข้ารับการ
ทดสอบจะต้องลดต่ำ�ลงจนต้นแขนทั้งสองข้างขนานกับพื้น และลำ�ตัว
จะต้องตรงตลอดเวลา
4 ผู้เข้ารับการทดสอบสามารถหยุดพักระหว่างการทดสอบและ
สามารถปฏิบัติต่อได้ตามเวลาที่เหลือ

การบันทกึ คะแนน

บันทึกจำ�นวนครั้งที่ทำ�ได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที โดยให้
ผู้เข้ารับการทดสอบปฏิบัติเพียงครั้งเดียว

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 23

ลกุ -นง่ั 60 วินาที (60 Seconds Sit Ups)

วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อประเมินความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.89
ค่าความเที่ยงตรง 0.92

อปุ กรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

1. เบาะฟองน้ำ� หรือโฟมรองพื้น
2. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที

วิธกี ารปฏิบัติ

1 ให้ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย ชันเข่าขึ้นให้เข่าทั้งสองงอเป็น
มุมประมาณ 90 องศา ฝ่าเท้าทั้งสองข้างวางราบกับพื้นโดยวางชิดกัน
ให้ส้นเท้าทั้งสองข้างวางเป็นเส้นตรงในแนวระดับเดียวกัน แขนทั้งสอง
เหยียดตรง ในท่าคว่ำ�มือวางแนบไว้ข้างลำ�ตัว
2 ให้ผู้ช่วยทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ และใช้เข่า
ทั้งสองวางแนบชิดกับเท้าทั้งสองของผู้เข้ารับทดสอบ ใช้มือทั้งสองจับ
ยึดไว้ที่บริเวณใต้ข้อพับเข่าของผู้รับการทดสอบเพื่อป้องกันไม่ให้ลำ�ตัว
ขา และเท้าเคลื่อนที่

24 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

3 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกลำ�ตัวขึ้นเคลื่อนไปสู่
ท่านั่งก้มลำ�ตัว พร้อมกับยกแขนทั้งสองขา้ งเหยียดตรงไปข้างหน้าให้ปลาย
นิ้วมือไปแตะที่เส้นตรงที่อยู่ในแนวระดับเดียวกับส้นเท้าทั้งสองข้าง แล้ว
นอนลงกลบั สู่ ทา่ เริม่ ตน้ ใหส้ ะบกั ทัง้ สองข้างแตะพืน้ นับเป็น 1 ครัง้ ปฏิบัติ
ต่อเนื่องกันจนครบเวลา 60 วินาที โดยให้ผู้รับการทดสอบพยายามทำ�ให้
ได้จำ�นวนครั้งมากที่สุด

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 25

4 ผู้รับการทดสอบสามารถหยุดพักระหว่างการทดสอบและสามารถ
ปฏิบัติต่อได้ตามเวลาที่เหลือผลการทดสอบให้นับจำ�นวนครั้งที่ทำ�ได้
อย่างถูกต้องต่อเนื่อง

ระเบียบการทดสอบ

ในการทดสอบจะไม่นับจำ�นวนครั้งในกรณีต่อไปนี้
1 มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่พื้นข้างลำ�ตัว เหมือนกับท่าเริ่มต้น
2 ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักทั้งสองข้างไม่แตะพื้น
3 ปลายนิว้ มอื ทัง้ สองขา้ งยืน่ ไปแตะไมถ่ งึ เสน้ ทีอ่ ยูแ่ นวเดยี วกบั ระดบั
ส้นเท้าได้
4 ผู้รับการทดสอบใช้มือในการช่วยยกตัวขึ้น เช่น ใช้มือดึงหรือเกี่ยว
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายหรือกางเกงที่สวมใส หรือใช้ส่วนใดส่วนหนึ่ง
ของแขนดันพื้น เพื่อช่วยในการยกลำ�ตัวขึ้น

การบันทกึ คะแนน

บันทึกจำ�นวนครั้งที่ทำ�ได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 60 วินาที โดยให้
ผู้รับการทดสอบปฏิบัติเพียงครั้งเดียว

26 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

ยืนยกเข่าขน้ึ ลง 3 นาที

(3 Minutes Step
Up and Down)

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อประเมินความอดทนของระบบหัวใจ
และไหลเวียนเลือด

คุณภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.89
ค่าความเที่ยงตรง 0.88

อปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทดสอบ

1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
2. ยางหรือเชือกยาว สำ�หรับกำ�หนดระยะความสูงของการยกเข่า

วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ

1 ให้ผู้รับการทดสอบ
เตรียมพร้อมในท่ายืนตรง
เ ท้ า ส อ ง ข้ า ง ห่ า ง กั น
เท่ากับความกว้างของ
ช่วงสะโพกของผู้รับการ
ทดสอบ ให้มือทั้งสองข้าง
ท้าวจับไว้ที่เอว

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 27

ยกเข่าขึ้นสูงจนแตะกับ
ยางหรือเชือกที่ขึงไว้
28 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

2 กำ�หนดความสูงสำ�หรับการยกเข่าของผู้รับการทดสอบแต่ละคน โดย
กำ�หนดให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกเข่าขึ้นสูงให้ต้นขาขนานกับระดับพื้น
(เข่างอทำ�มุมกับสะโพก 90 องศา) ให้ใช้ยางเส้นหรือเชือกขึงไว้เพื่อเป็น
จุดอ้างอิงระดับความสูงสำ�หรับการยกเข่าในแต่ละครั้ง
3 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกเข่าขึ้นสูงจนแตะกับ
ยางที่ขึงไว้ (ต้นขาขนานกับระดับพื้น กึ่งกลางต้นขาสัมผัสกับแนวยางเส้น
หรือเชือกที่ขึงไว้) แล้ววางลง สลับกับการยกขาอีกข้างขึ้น ปฏิบัติ
เชน่ เดยี วกนั นบั เปน็ 1 ครง้ั ใหย้ กเขา่ ขน้ึ -ลงสลบั ขวา-ซา้ ยอยกู่ บั ท่ี (หา้ มวง่ิ )
ปฏิบัติต่อเนื่องกันไปจนครบ 3 นาที โดยให้ผู้เข้ารับการทดสอบพยายาม
ยกให้ได้จำ�นวนครั้งมากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้
4 หากผู้เข้ารับการทดสอบมีอาการเหนื่อย สามารถหยุดพักระหว่าง
การทดสอบเมื่อหายเหนื่อยแล้วสามารถปฏิบัติการทดสอบได้ต่อตามเวลา
ที่เหลือ ผลของการทดสอบให้นับจำ�นวนครั้งที่ทำ�ได้อย่างถูกต้องต่อเนื่อง

ระเบียบการทดสอบ

การทดสอบไม่สมบูรณ์ในกรณีดังต่อไปนี้
1 ผู้รับการทดสอบยกเข่าแต่ละข้างสูงไม่ถึงระดับแนวยางเส้นหรือ
เชือกที่ขึงกำ�หนดไว้
2 ผู้เข้ารับการทดสอบใช้การวิ่งยกเข่าสูงแทน

การบันทกึ คะแนน

บันทึกจำ�นวนครั้งที่สามารถยกเข่าถึงระดับความสูงที่กำ�หนดให้
ภายในเวลา 3 นาที โดยนับจำ�นวนครั้งจากขาที่ยกทีหลังสัมผัสพื้น
ให้ผู้รับการทดสอบปฏิบัติเพียงครั้งเดียว

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 29

30 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

สำ�หรบัแบปบรทะดชสาอชบนสทมรั่วรไถปภอาพาทยาุ ง1ก9าย-59 ปี

ประกอบด้วยรายการทดสอบจำ�นวน 6 รายการ ดังนี้ คือ

รายการท่ี รายการทดสอบ องคป์ ระกอบทตี่ ้องการวัดเพอ่ื

1 ชั่งน้ำ�หนัก เพื่อนำ�ไปประเมินสัดส่วนของร่างกาย
(Weight) ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body
mass index: BMI)

2 วัดส่วนสูง เพื่อนำ�ไปประเมินสัดส่วนของร่างกาย
(Height) ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body
mass index: BMI)

3 นั่งงอตัวไปข้างหน้า เพื่อตรวจประเมินความอ่อนตัวของ
(Sit and Reach) ข้อไหล่ หลัง ข้อสะโพก และกล้ามเนื้อ
ต้นขาด้านหลัง

4 แรงบีบมือ เพื่อตรวจประเมินความแข็งแรงของ
(Grip Strength) กล้ามเนื้อมือและแขนท่อนล่าง

5 ยืน-นั่งบนเก้าอี้ 60 วินาที เพื่อตรวจประเมินความแข็งแรงและ
(60 Seconds Chair ความอดทนของกล้ามเนื้อขา
Stand)

6 ยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที เพื่อตรวจประเมินความอดทนของ
(3 Minutes Step Up and ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
Down)

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 31

ชงั่ น�้ำ หนกั (Weight)

วตั ถุประสงค์

เพื่อประเมินน้ำ�หนักของร่างกาย สำ�หรับนำ�ไปคำ�นวณสัดส่วนร่างกาย
ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ เครื่องชั่งน้ำ�หนัก
วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ

1 ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และ
สวมเสื้อผ้าที่เบาที่สุดและนำ�สิ่งของต่างๆ
ที่อาจจะทำ�ให้น้ำ�หนักเพิ่มขึ้นออกจาก
กระเป๋าเสื้อและกางเกง
2 ทำ�การชั่งน้ำ�หนักของผู้รับการทดสอบ

ระเบียบการทดสอบ

ไม่ทำ�การชั่งน้ำ�หนักหลังจากรับประทาน
อาหารอิ่มใหม่ ๆ

การบนั ทกึ ผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม

32 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

วดั ส่วนสงู (Height)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินส่วนสูงของ
ร่างกาย สำ�หรับนำ�ไป
คำ � น ว ณ สั ด ส่ ว น ร่ า ง ก า ย
ในส่วนของดัชนีมวลกาย
(Body Mass Index: BMI)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

เครื่องวัดส่วนสูง

วิธกี ารปฏิบตั ิ

1 ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า
2 ทำ�การวัดส่วนสูงของผู้รับการทดสอบ ในท่ายืนตรง

การบนั ทึกผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของส่วนสูงเป็นเมตร

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 33

ดชั นมี วลกาย (Body Mass Index : BMI)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินองค์ประกอบของ
ร่างกายในด้านความเหมาะสม
ของสัดส่วนของร่างกาย ระหว่าง
น้ำ�หนักกับส่วนสูง

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.96
ค่าความเที่ยงตรง 0.89

อปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทดสอบ

1. เครื่องชั่งน้ำ�หนัก
2. เครื่องวัดส่วนสูง
3. เครื่องคิดเลข

34 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

วธิ ีการปฏบิ ัติ

1 ให้ทำ�การชั่งน้ำ�หนักของผู้รับการทดสอบเป็นกิโลกรัม และ
วัดส่วนสูงของผู้รับการทดสอบเป็นเมตร
2 นำ�น้ำ�หนักและส่วนสูงมาคำ�นวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยนำ�
ค่าน้ำ�หนักที่ชั่งได้เป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูงที่วัดได้เป็นเมตร
ยกกำ�ลังสอง (เมตร2)

ระเบยี บการทดสอบ

ในการชั่งน้ำ�หนักและวัดส่วนสูง ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และ
สวมชุดที่เบาที่สุด

การบนั ทึกผลการทดสอบ

ค่าดัชนีมวลกายมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ตารางเมตร ได้มาจากการ
ชัง่ น้�ำ หนกั ตวั และวดั สว่ นสงู ของผูร้ บั การทดสอบ แลว้ น�ำ คา่ น้�ำ หนกั ตวั
ทีบ่ นั ทกึ ค่าเป็นกโิ ลกรัม แสะส่วนสงู ทีบ่ นั ทึกคา่ เป็นเมตร มาแปลงเป็น
ค่าดัชนีมวลกาย จากสมการต่อไปนี้

ดัชนีมวลกาย (BMI) = น้ำ�หนักตัว (กิโลกรัม)
ส่วนสูง (เมตร)2

ตัวอย่าง
เช่น ผู้รับการทดสอบมีน้ำ�หนักตัว 50 กิโลกรัม มีส่วนสูง 1.50 เมตร
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) = 50/1.502
= 50/2.25
= 22.22 กิโลกรัม/ตารางเมตร

แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 35

น่งั งอตวั ไปขา้ งหน้า (Sit and Reach)

วัตถปุ ระสงค์ คณุ ภาพของรายการทดสอบ

เพื่อประเมินความอ่อนตัวของ ค่าความเชื่อมั่น 0.95
ข้อไหล่ หลัง ข้อสะโพก และ ค่าความเที่ยงตรง 1.00
กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง

อุปกรณ์ท่ีใช้ในการทดสอบ

กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว
ขนาดสูง 30 เซนติเมตร มีสเกล
ของระยะทางตง้ั แต่ คา่ ลบ ถงึ คา่ บวก
เป็นเซนติเมตร

วิธีการปฏิบัติ

1 ให้ผู้รับการทดสอบยืดเหยียดกล้ามเนื้อแขน ขา และหลัง
(ก่อนทดสอบให้ถอดรองเท้า)
2 ผูร้ บั การทดสอบนัง่ ตวั ตรง เหยยี ดขาตรงไปขา้ งหนา้
ให้เข่าตึง ฝ่าเท้าทั้งสองข้างตั้งขึ้นในแนวตรงและให้
ฝ่าเท้าวางราบชิดติดกับผนังกล่องวัดความอ่อนตัว
ฝ่าเท้าวางห่างกันเท่ากับความกว้างของช่วงสะโพกของ
ผู้รับการทดสอบ

36 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

3 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกแขนทั้ง 2 ข้างขึ้น
ในท่าข้อศอกเหยียดตรงและคว่ำ�มือใหฝ้ ่ามอื ทัง้ สองขา้ งวางคว่�ำ ซ้อนทบั กัน
พอดี แลว้ ยน่ื แขนตรงไปขา้ งหนา้ ใหผ้ รู้ บั การทดสอบคอ่ ย ๆ กม้ ล�ำ ตวั ไปขา้ งหนา้
พรอ้ มกบั เหยยี ดแขนทม่ี อื คว�ำ่ ซอ้ นทบั กนั ไปวางไวบ้ นกลอ่ งวดั ความออ่ นตวั
ให้ได้ไกลที่สุดจนไม่สามารถก้มลำ�ตัวลงไปได้อีก ให้ก้มตัวค้างไว้ 3 วินาที
แล้วกลับมาสู่ท่านั่งตัวตรง ทำ�การทดสอบจำ�นวน 2 ครั้งติดต่อกัน

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย 37

ระเบียบการทดสอบ

ในการทดสอบจะต้องถอดรองเท้า ทั้งนี้การทดสอบจะไม่สมบูรณ์และ
ต้องทำ�การทดสอบใหม่ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ต่อไปนี้

1 มีการงอเข่าในขณะที่ก้มลำ�ตัวเพื่อยื่นแขนไปข้างหน้าให้ได้
ไกลที่สุด
2 มีการโยกตัวตัวช่วยขณะที่ก้มลำ�ตัวลง
3 นิ้วกลางของมือทั้งสองข้างไม่อยู่ในตำ�แหน่งที่เท่ากัน

การบนั ทกึ ผลการทดสอบ

1 บันทึกระยะทางที่ทำ�ได้เป็นเซนติเมตร โดยบันทึกค่าที่ดีที่สุดจาก
การทดสอบ 2 ครั้ง
2 การบันทึกกรณีที่เศษของจุดทศนิยมมีค่าตั้งแต่ 0.5 เซนติเมตร
ขึ้นไปหรือมากกว่า เช่น วัดค่าได้ 15.5 เซนติเมตร หรือ 15.7
เซนติเมตร ให้บันทึกผลการทดสอบเป็น 16.0 เซนติเมตร และในกรณี
เศษของจุดทศนิยมมีค่าตั้งแต่ 0.5 เซนติเมตร ลงมาหรือน้อยกว่าไป
เช่น วัดค่าได้ 15.3 เซนติเมตร หรือ 15.4 เซนติเมตร ให้บันทึก
ผลการทดสอบเป็น 15.0 เซนติเมตร

38 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

แรงบบี มือ (Grip Strength)

วตั ถปุ ระสงค์ คณุ ภาพของรายการทดสอบ

เพื่อประเมินความแข็งแรงของ ค่าความเชื่อมั่น 0.89
กล้ามเนื้อแขน ค่าความเที่ยงตรง 0.92

อปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทดสอบ

เครื่องวัดแรงบีบมือ
(Hand Grip Dynamometer)

วธิ ีการปฏบิ ตั ิ

1 ใหผ้ รู้ บั การทดสอบยนื ล�ำ ตวั ตรง เหยยี ดแขนทง้ั สองขา้ งไวข้ า้ งล�ำ ตวั
ท�ำ การทดสอบในแขนขา้ งทีถ่ นดั โดยใหข้ อ้ ศอกเหยยี ดตงึ แขนวางแนบ
ข้างลำ�ตัวในท่าคว่ำ�มือ
2 ใหผ้ รู้ บั การทดสอบถอื เครื่องวัดแรงบีบมือโดยใชน้ ว้ิ ทง้ั 4 นว้ิ จบั ที่
คานสำ�หรับบีบเครื่องมือ นิ้วหัวแม่มือจับที่คานบน และสอบถาม
ผู้เข้ารับการทดสอบเกี่ยวกับระยะของความห่างของนิ้วว่ามีระยะ
ความห่างพอดีหรือถนัดหรือไม่ ถ้าระยะไม่พอดีหรือไม่ถนัด ให้ปรับ
แกนเลอ่ื นของเครอ่ื งวดั แรงบบี มอื ใหพ้ อดกี บั นว้ิ มอื ขอ้ ท่ี 2 แลว้ กางแขน
ออกจากลำ�ตัวด้านข้างประมาณ 15 องศา เมื่อผู้ทดสอบให้สัญญาณ
“เริ่ม” ให้ออกแรงบีบเครื่องวัดแรงบีบมือให้แรงมากที่สุด แล้วปล่อย

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 39

การบันทึกคะแนน

วัดแรงบีบมือที่ได้เป็นกิโลกรัม โดยให้ปฏิบัติจำ�นวน 2 ครั้ง โดยเมื่อ
บบี ครัง้ แรกแลว้ ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การทดสอบพกั ประมาณ 20-30 วนิ าทแี ลว้
จึงให้บีบครั้งที่สอง และบันทึกผลการทดสอบของครั้งที่บีบมือได้แรง
มากทส่ี ดุ แลว้ น�ำ คา่ ทบ่ี บี ไดม้ าหารดว้ ยน�ำ้ หนกั ตวั บนั ทกึ คา่ แรงบบี มอื
เป็นกิโลกรัม/น้ำ�หนักตัว

40 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

ยนื -นงั่ บนเกา้ อี้ 60 วนิ าที

(60 Seconds Chair Stand)

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อประเมินความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อขา

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.91
ค่าความเที่ยงตรง 0.96

อุปกรณท์ ี่ใช้ในการทดสอบ

1. เก้าอี้ที่มีพนักพิง สูง 17 นิ้ว (43.18 เซนติเมตร)
2. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที

วิธกี ารปฏิบตั ิ

1 จัดเก้าอี้สำ�หรับการทดสอบ
ยืน-นั่ง ให้ติดผนังที่เรียบและมี
ความทนทาน เพื่อป้องกันการ
เลื่อนไหลของเก้าอี้

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 41

42 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

2 ใหผ้ รู้ บั การทดสอบนง่ั บรเิ วณตรงกลางของเกา้ อ้ี (ไมช่ ดิ พนกั พงิ เพอ่ื ให้
สะดวกต่อการลุกขึ้นยืน) เท้าทั้งสองข้างวางราบกับพื้นให้ปลายเท้าชี้ตรง
ไปข้างหน้าตั้งฉากกับแนวลำ�ตัว และให้ห่างกันประมาณช่วงไหล่ของ
ผู้รับการทดสอบ โดยให้เข่าทั้งสองข้างวางห่างกันเล็กน้อย หลังตรง
แขนไขว้ประสานบริเวณอก และให้มือทั้งสองข้างแตะไหล่ไว้
3 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบลุกขึ้นจากเก้าอี้ ยืนตรง
ขาเหยยี ดตงึ แลว้ กลบั ลงนง่ั ในทา่ เรม่ิ ตน้ นบั เปน็ 1 ครง้ั ปฏบิ ตั ติ อ่ เนอ่ื งกนั
จนครบ 60 วินาที โดยปฏิบัติให้ได้จำ�นวนครั้งมากที่สุด
4 ผู้เข้ารับการทดสอบสามารถหยุดพักระหว่างการทดสอบและสามารถ
ปฏิบัติต่อตามเวลาที่เหลือ ผลการทดสอบให้นับจำ�นวนครั้งที่ทำ�ได้
อย่างถูกต้องต่อเนื่อง

ระเบียบการทดสอบ

ผู้รับการทดสอบจะต้องปฏิบัติให้เต็มความสามารถ ในระหว่าง
การทดสอบ การย่อตัวนั่งลงนั้น ปฏิบัติเพียงให้ก้นสัมผัสเก้าอี้
ไม่ลงน้ำ�หนักเต็มที่ แล้วรีบเหยียดเข่ายืนขึ้น ในการทดสอบจะไม่นับ
จำ�นวนครั้งในกรณีต่อไปนี้

1 ในขณะยืน ขาและลำ�ตัวไม่เหยียดตรง
2 ในขณะนั่ง ก้นไม่สัมผัสเก้าอี้

การบันทกึ ผลการทดสอบ

บันทึกจำ�นวนครั้งที่ผู้เข้ารับการทดสอบลุกขึ้นยืนตรงและนั่งลง
อย่างถูกต้อง ภายในเวลา 60 วินาทีโดยให้ผู้รับการทดสอบปฏิบัติ
เพียงครั้งเดียว

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 43

ยืนยกเข่าขึน้ ลง 3 นาที

(3 Minutes Step
Up and Down)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินความอดทนของระบบหัวใจ
และไหลเวียนเลือด

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมั่น 0.89
ค่าความเที่ยงตรง 0.88

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
2. ยางหรือเชือกยาว สำ�หรับกำ�หนดระยะความสูงของการยกเข่า

วิธกี ารปฏบิ ตั ิ

1 ให้ผู้รับการทดสอบ
เตรียมพร้อมในท่ายืนตรง
เ ท้ า ส อ ง ข้ า ง ห่ า ง กั น
เท่ากับความกว้างของ
ช่วงสะโพกของผู้รับการ
ทดสอบ ให้มือทั้งสองข้าง
ท้าวจับไว้ที่เอว

44 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

ยกเข่าขึ้นสูงจนแตะกับ
ยางหรือเชือกที่ขึงไว้
แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 45

2 กำ�หนดความสูงสำ�หรับการยกเข่าของผู้รับการทดสอบแต่ละคน
โดยกำ�หนดให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกเข่าขึ้นสูงให้ต้นขาขนานกับระดับพื้น
(เข่างอทำ�มุมกับสะโพก 90 องศา) ให้ใช้ยางเส้นหรือเชือกขึงไว้เพื่อเป็น
จุดอ้างอิงระดับความสูงสำ�หรับการยกเข่าในแต่ละครั้ง
3 เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกเข่าขึ้นสูงจนแตะกับ
ยางที่ขึงไว้ (ต้นขาขนานกับระดับพื้น กึ่งกลางต้นขาสัมผัสกับแนวยางเส้น
หรือเชือกที่ขึงไว้) แล้ววางลง สลับกับการยกขาอีกข้างขึ้น ปฏิบัติ
เช่นเดียวกัน นับเป็น 1 ครั้ง ให้ยกเข่าขึ้น-ลงสลับขวา-ซ้ายอยู่กับที่
(ห้ามวิ่ง) ปฏิบัติต่อเนื่องกันไปจนครบ 3 นาที โดยให้ผู้เข้ารับการทดสอบ
พยายามยกให้ได้จำ�นวนครั้งมากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้
4 หากผู้เข้ารับการทดสอบมีอาการเหนื่อย สามารถหยุดพักระหว่าง
การทดสอบเมื่อหายเหนื่อยแล้วสามารถปฏิบัติการทดสอบได้ต่อตามเวลา
ที่เหลือ ผลของการทดสอบให้นับจำ�นวนครั้งที่ทำ�ได้อย่างถูกต้องต่อเนื่อง

ระเบียบการทดสอบ

การทดสอบไม่สมบูรณ์ในกรณีดังต่อไปนี้
1 ผู้รับการทดสอบยกเข่าแต่ละข้างสูงไม่ถึงระดับแนวยางเส้นหรือ
เชือกที่ขึงกำ�หนดไว้
2 ผู้เข้ารับการทดสอบใช้การวิ่งยกเข่าสูงแทน

การบนั ทึกคะแนน

บันทึกจำ�นวนครั้งที่สามารถยกเข่าถึงระดับความสูงที่กำ�หนดให้
ภายในเวลา 3 นาที โดยนับจำ�นวนครั้งจากขาที่ยกครั้งหลังสัมผัสพื้น
ให้ผู้รับการทดสอบปฏิบัติเพียงครั้งเดียว

46 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 47

สำ�หแบรบับทผดสู้สอูงบอสามยรุรอถาภยาพุ 6ท0าง-ก6าย9 ปี

ประกอบด้วยรายการทดสอบจำ�นวน 6 รายการ ดังนี้ คือ

รายการที่ รายการทดสอบ องค์ประกอบท่ตี อ้ งการวดั เพอื่

1 ชั่งน้ำ�หนัก เพื่อนำ�ไปประเมินสัดส่วนของร่างกาย
(Weight) ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body
mass index: BMI)

2 วัดส่วนสูง เพื่อนำ�ไปประเมินสัดส่วนของร่างกาย
(Height) ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body
mass index: BMI)

3 แตะมือด้านหลัง เพื่อตรวจประเมินความอ่อนตัวของ
(Back Scratch Test) เอ็นข้อต่อและกล้ามเนื้อรอบหัวไหล่

4 ยืน-นั่ง บนเก้าอี้ 30 วินาที เพื่อตรวจประเมินความแข็งแรงและ
(Chair Stand 30 Seconds) ความอดทนของกล้ามเนื้อขา

5 เดินเร็วอ้อมหลัก เพื่อตรวจประเมินความวัดคล่องแคล่ว
(Agility Course) ว่องไวและความสามารถในการทรงตัว
แบบเคลื่อนที่

6 ยืนยกเข่าขึ้นลง 2 นาที เพื่อตรวจประเมินความอดทนของ
(2 Minutes Step Up and ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
Down)

48 แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย

ช่งั น�ำ้ หนกั (Weight)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินน้ำ�หนักของร่างกาย สำ�หรับนำ�ไปคำ�นวณสัดส่วนร่างกาย
ในส่วนของดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI)

อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการทดสอบ เครื่องชั่งน้ำ�หนัก
วิธกี ารปฏบิ ัติ

1 ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และ
สวมเสื้อผ้าที่เบาที่สุดและนำ�สิ่งของต่างๆ
ที่อาจจะทำ�ให้น้ำ�หนักเพิ่มขึ้นออกจาก
กระเป๋าเสื้อและกางเกง
2 ทำ�การชั่งน้ำ�หนักของผู้รับการทดสอบ

ระเบียบการทดสอบ

ไม่ทำ�การชั่งน้ำ�หนักหลังจากรับประทาน
อาหารอิ่มใหม่ๆ

การบนั ทกึ ผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของน้ำ�หนักเป็นกิโลกรัม

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเดก็ เยาวชน และประชาชนไทย 49


Click to View FlipBook Version