The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narakornz1999, 2022-05-29 15:18:36

202 (1)

202 (1)

คำนำ

หนงั ส่อื เลมน้ี จดั ทำเพอื่ เปน สว นหนง่ึ ของโครงการ
ออกแบบหนังสอื อเิ ลค็ ทอรน ิค (E-book 6โรคผวิ หนัง)
ทีพ่ บในหนา รอ น เพื่อเปนความรูไดศ ึกษาในเรอ่ื งของ
6โรคผิวหนงั ท่ีสวนมากจะพบในหนารอนในตัวหนังสือ่
จะมีขอ มูลตา งๆในแตล ะโรค ทง้ั ขอ มลู เบือ้ งตน .สาเหตุ
อาการ วิธีปองกนั วธิ รี กั ษา

นรากร เดชเชยี ร

ÊÒúÑÞ

àÃ่Í× § ˹ŒÒ àÃ่Í× § ˹Ҍ

1. âä¡ÅÒ¡ 4.1 âäÀÁÙ áÔ ¾¼Œ ÔÇ˹ѧ 19
2 ¢ŒÍÁÙÅ
¢ŒÍÁÅÙ 20
ÊÒà˵Ø
ÍÒ¡Òà 3 ÊÒà赯 21
Ç¸Ô »Õ ͇ §¡¹Ñ
ÇÔ¸ÃÕ Ñ¡ÉÒ 4 ÍÒ¡Òà 22

2. âä¼´ÃÍŒ ¹ 5 Ç¸Ô Õ»Í‡ §¡¹Ñ 23
¢ŒÍÁÅÙ
ÊÒà赯 6 ÇÔ¸ÕÃ¡Ñ ÉÒ 24
ÍÒ¡ÒÃ
Ç¸Ô »Õ ‡Í§¡¹Ñ 5.7 âä¼ÇÔ äËÁŒá´´ 25
ÇÔ¸ÕÃ¡Ñ ÉÒ
8 ¢ŒÍÁÙÅ 26
3. âäà¡Å้×͹
9 ÊÒà赯 27
¢ÍŒ ÁÙÅ
ÊÒà赯 10 ÍÒ¡Òà 28
ÍÒ¡ÒÃ
ÇÔ¸Õ»‡Í§¡Ñ¹ 11 ÇԸջ͇ §¡¹Ñ 29
ÇÔ¸ÃÕ ¡Ñ ÉÒ
12 ÇÔ¸ÃÕ Ñ¡ÉÒ 30

6.13 âä¡Å่Ô¹µÑÇ 31

14 ¢ŒÍÁÅÙ 32
15 ÊÒà赯 33
16 ÍÒ¡ÒÃ 34
17 ÇÔ¸»Õ ‡Í§¡Ñ¹ 35
18 ÇÔ¸ÕÃÑ¡ÉÒ 36

1

โรค
กลาก

(Dermatophytosis)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นิชานนท
(คลินกิ นายแพทยส มาธิ โรคผิวหนงั ภมู แิ พ ศรีสะเกษ)

2

กกลากก

กลาก (Ringworm) เปน โรคตดิ เชอ้ื ราบนผิวหนังทปี่ รากฏ
เปนวงแดงหรอื ขยุ สีขาว และอาจมีอาการอกั เสบคลา ยผื่น
แดงรว มดวยได กลากสามารถขึ้นตามสว นตา งๆ ของราง
กาย ตั้งแตห นงั ศีรษะ ใบหนา มอื เทา เลบ็ และขาหนบี .โดย
พบไดทกุ เพศทกุ วัยแตม กั จะพบบอยในเด็ก

3

สาเหตุ

โรคกลากเกดิ จากเชือ้ ราท่ีผวิ หนงั ในกลุมเดอมาโทไฟท (Dermatophytes)เช้ือรา
เหลา นจี้ ะอาศยั อยูบนชั้นเนอ้ื เย่ือโปรตนี เคราตินบนผิวหนังท่ตี ายแลว เทา นนั้ แตมกั
จะไมเขา สูร างกายหรือเย่ือบุผิวอยางปากหรอื จมูก
เชอื้ ราเปนสปอรเลก็ ๆท่มี ีความคงทนและสามารถอยูรอดบนผิวหนังของมนุษย
ในพ้นื ดิน หรอื ตามสิ่งของตางๆไดเปนเวลาหลายเดอื นและยงั เจรญิ เติบโตไดใ น
สภาพอากาศรอนช้นื อยาง เชน ในประเทศไทย จึงเกดิ การแพรกระจายไดง า ย
.โดยสามารถติดจากคนและสัตวดวยการสมั ผัส การจบั สิ่งของทม่ี ักมเี ชอื้ ราน้ี
เกาะอยู เชน เสื้อผา ผา เช็ดตวั หวแี ละแปรงสีฟนหรอื ตดิ จากดนิ ในกรณีที่ตอง
ทำงานหรอื ยืนเทา เปลาบนพ้ืนดนิ ที่มเี ชื้อรา
บุคคลตอไปนีอ้ าจเส่ียงตอการติดเช้อื ราไดงา ย
1.เดก็ ออ นหรือผูสงู อายทุ ี่อายุมากแลว 2.ผทู ี่มนี ำ้ หนกั เกนิ กวา มาตรฐานมาก
3.ผทู มี่ ภี ูมิคุมกันออนแอ เชน ผตู ดิ เชือ้ เอชไอวี 4.ผูเขารับการรกั ษาโรคทีส่ ง ผล
ใหระบบภูมิคมุ กันออ นแอลง เชน การทำเคมีบำบัด หรอื ใชยาสเตียรอยด 5.เคย
ตดิ เชือ้ รามากอ น 6.ผปู ว ยโรคเบาหวานชนิดท่1ี 7.ผปู ว ยโรคหลอดเลือดแดงแขง็
8.มกี ารหมุนเวยี นของโลหติ ไมดี โดยเฉพาะผูท่มี ีภาวะหลอดเลอื ดดำบกพรอ งท่ี
หลอดเลอื ดดำในขามีปญหาในการพาเลือดกลบั ไปยังหัวใจ

4

อาการ

1. 2.

กลากทหี่ นงั ศีรษะมกั เกดิ กบั เดก็ กลาก ทใี่ บหนา และลำคอ
ชว งวัยใกลโตหรอื วัยรนุ อาการ อาจไมป รากฏเปนดวงคลา ย
โดยท่ัวไปมกั ทำใหห นังศรี ษะตก วงแหวนอยางกลากชนิดอ่ืนๆ
สะเกด็ เปน จุดเล็กๆเจบ็ เมื่อสมั ผัส แตเ กิดเปน อาการคันบวมและ
เสนผมรว งเปน หยอมๆและคนั ศรี ษะ แหง จนเปน สะเกด็ ซ่งึ หากเกิดท่ี
บริเวณหนวดอาจทำใหหนวด
3. หลุดรว งเปนหยอ มได

กลากทีเ่ ทา (เชือ้ ราที่เทา)รจู กั กนั ในชอ่ื น้ำกดั 4.
เทา หรือฮองกงฟุตเปน โรคทางผวิ หนงั ที่พบ
ไดบ อ ยมากการตดิ เชื้อราท่ีเทา อาจทำใหเกิด กลากทีม่ ือ ทำใหผวิ หนัง
อาการแหง คนั มีผืน่ แดงเปนแผน บรเิ วณงา ม บรเิ วณฝามอื และงามนิ้ว
นว้ิ .โดยเฉพาะน้ิวนางและน้วิ กอยหรือในระดบั หนาขนึ้ .โดยอาจเปนขา ง
ที่รุนแรงอาจมอี าการผิวหนังแตกแหง เปน ตมุ เดียวหรือเปน ทง้ั 2 ขาง
พองเปน ขุยสะเก็ดผิวหนังบวมแสบหรือเจ็บๆ พรอมกันแตสว นใหญมัก
คนั ๆที่ผิวหนงั และอาจมีผิวหนังแหง เปน ขยุ รอบๆ พบแคข า งเดยี ว

5

วิธีปอ� งกัน

ปองกันตนเองจากผปู ว ยหรอื สัตวท ่มี กี ารติดเชื้อโรคกลากกลาก

ในสตั วม ักปรากฏเปนรอยขนรวงเปน หยอ ม หรอื อาจไมส ามารถ

สังเกตไดเ ลยผูเล้ียงสตั วค วรนำสตั วเลีย้ งไปตรวจเพื่อปอ งกันการ

เกิดโรคและติดเช้ือ 2.

1. ลางมอื เปนประจำ หม่นั ทำความสะอาด
เพื่อปองกนั การ พ้ืนท่ีสว นรวมทใี่ ชรว ม
แพรกระจายของเชอื้ กนั .โดยเฉพาะตามโรง
เรียน ศนู ยเล้ียงดูเด็ก
3. รกั ษาความสะอาด โรงยมิ และสระวายนำ้

ของรางกายเช็ดตัว 5.
และศรี ษะใหแ หง อยา
สวมใสเสอื้ ผา ทชี่ น้ื ควรสวมใสร องเทา
เมือ่ เดนิ ในหองล็อค

4. อาบน้ำทำความสะอาด เกอร หอ งน้ำหรือ
อาบนำ้ สาธารณะ

รา งกายทุกครัง้ .หลัง 6.

จากการออกกำลังกาย หลีกเลีย่ งการใชของใช

หรอื ทำกจิ กรรมทีต่ อง สว นตวั รวมกันไมวาจะ
สมั ผสั รางกายผอู ื่น เปน เส้ือผา แปรงสีฟน

ผาเชด็ ตวั หรือขา วของ

อืน่ ๆ

6

วิธรี กั ษา

เชื้อราทห่ี นงั ศีรษะสามารถรักษา.โดยการรบั ประทานยาตานเช้ือราได
เชนเดยี วกับเชื้อราตามผิวหนงั ตัวยาท่ีแพทยมกั ใช ไดแ ก กรซิ ีโอฟูลวนิ
ระยะเวลาทีแ่ นะนำใหร บั ประทานคือ 8-12 สปั ดาหและเทอรบ นิ าฟน รบั
ประทานเปน เวลา 4 สปั ดาห ยาตานเช้ือราท่ีหนงั ศรี ษะอาจใชควบคูไ ป
กับครมี หรอื แชมพตู านเชื้อรา เชน แชมพคู ีโตโคนาโซลแชมพซู ีลีเนยี ม
หรือครมี เทอรบินาฟน.โดยควรใชสัปดาหละ2 ครัง้ เปน เวลาติดตอ กนั
2 สัปดาห
นอกจากการใชยาทารักษาผูป วยเองยังสามารถบรรเทา โรคกลาก
ไดดวยการปรบั สุขอนามยั งา ยๆ ไดแก เลี่ยงการสวมใสเสื้อผา ท่ีกอ ให
เกิดการระคายเคืองบรเิ วณทต่ี ิดเชอ้ื ซักทำความสะอาดเครอื่ งนอนและ
เส้อื ผา ทุกวัน รวมถงึ ทำความสะอาดและเช็ดผวิ ใหแหงเปน ประจำ

แพทยอาจสั่งจายยาตามความรนุ แรงของการติดเชื้อของ ผูป วย
โดยอาจจา ยยาทีน่ ิยมใชร กั ษาการติดเชอื้ รา ไดแก คีโตโคนาโซล(Keto
conazole)โคลไตรมาโซล(Clotrimazole)ยาไมโคนาโซล(Miconazole)
หรอื อาจใชย าทห่ี าซอ้ื ไดเองตามรา นขายยาก็ได ซง่ึ มักเปน ยาทม่ี ีสวน
ประกอบของยา ดงั กลาว การใชยาทารกั ษาอาจตองใชระยะเวลานาน
2-4 สปั ดาห เพื่อใหแนใจไดว า ฆาเช้อื ราที่ทำใหเกิดโรคไดหมดและลดการ
เส่ียงกลับไปติดเชอื้ อกี ครั้ง

7

â伴Ì͹

(Heat Rash)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นชิ านนท
(คลินิกนายแพทยส มาธิ โรคผวิ หนงั ภมู ิแพ ศรสี ะเกษ)

8

¼´
Ì͹

ผดรอ น เปนตุมคันขนาดเลก็ เกิดจากตอ มเหง่ือทอ่ี ดุ ตนั ใตผิวหนงั

โดยเฉพาะเมือ่ เหง่ือออกหรอื อยูในสภาพอากาศทีร่ อ นและชน้ื ซึ่ง ผดรอน

อาจปรากฏขนึ้ ไดท ว่ั รา งกาย เชน บริเวณใบหนา คอ หลงั อก และตน ขา

เปนตน แมผ ดรอนเปนภาวะทางผวิ หนงั ท่ีไมอ นั ตราย และอาจหายไดเอง

เม่ืออากาศเย็นลงแตค นทว่ั ไปควรศกึ ษา ขอ มูลเพอื่ ปอ งกนั หรอื รับมือ

หากเกิดผดรอนขนึ้ กับตนเอง

9

ÊÒà˵Ø

สาเหตหุ ลักของผดรอน คือ เหง่ือโดยเฉพาะเม่ืออยใู นสภาพอากาศที่รอ นและชน้ื
เพราะเหงือ่ ปริมาณมากจะทำใหตอ มเหง่ือใตผิวหนงั อุดตนั และไมสามารถระเหย
ออกมาได และเมื่อทอ สง เหงอ่ื อดุ ตัน อาจทำใหเ กดิ การรั่วของเหง่ือสะสมอยใู นช้นั
ผวิ หนงั เกดิ เปน ตุม น้ำจนกลายเปนผดรอนหรือเกดิ การอักเสบตามมาไดใ นปจจบุ นั
ยังไมอ าจระบุสาเหตุท่ีทำใหต อมเหง่อื อดุ ตนั ไดช ัดเจน แตเ ปนไปไดวา อาจเกิดข้ึนจาก
สาเหตตุ าง ๆ ดังตอ ไปนี้

1 ภมู ิอากาศเขตรอ น รา งกายสมั ผัสแสงแดดหรอื สภาพ
อากาศท่ีรอ นและชื้นจนมีเหงอ่ื ออกมาก

ตอมเหงอื่ พฒั นาไมสมบรู ณ อาจเกิดขึ้นไดก บั ทารกแรกเกิด

2 ทม่ี ีอายุเพียง1 สปั ดาหเ พราะตอมเหง่ืออาจยังเจริญไมเตม็ ท่ี
จงึ อาจทำใหเ หงอื่ ติดอยูใตผ วิ หนงั .โดยเฉพาะเม่อื อยใู นตอู บ
เดก็ หรอื เปนไข

3 การปกปดรางกาย เชน การปด ผิวหนังดว ยพลาสเตอร
การใสเ สือ้ ผา ทอี่ บอุน และหนาเกินไป หรือการนอนใตผ า
หมไฟฟาทีท่ ำใหเ กดิ ความรอ น

4 การทำกจิ กรรมทใ่ี ชแ รง เชน การออกกำลังกายหนกั ๆ
หรือทำกิจกรรมอื่นๆทท่ี ำใหม ีเหงือ่ ออกมาก

ภาวะที่ไมส ามารถเคลือ่ นไหวไดเ ม่ือเกิดอาการปวยตา งๆ

5 โดยเฉพาะเมื่อมีไข อาจทำใหต วั รอ นและมเี หงื่อออกขณะ
นอนพักรักษาตัว หรือมีปญ หาสขุ ภาพอื่นๆ ทีท่ ำใหต อ ง
นอนอยบู นเตยี งเปนเวลานาน

ÍÒ¡ÒÃ 10

อาการคนั และมตี ุมเลก็ ๆขนึ้ ตามรางกายเปน อาการท่พี บไดท ่ัวไปของผดรอน
.โดยมกั ปรากฏขึ้นบรเิ วณใตร มผา หรอื บรเิ วณใบหนา คอ หลัง อกและตนขาสว น
เด็กเล็กมกั เกิดผดรอ นบรเิ วณคอหวั ไหลแ ละหนา อกและบางครงั้ อาจปรากฏอาการ
บริเวณรกั แร ขอ พบั แขนและขาหนีบได ซง่ึ ผดรอ นอาจเกดิ ขนึ้ ไดห ลายรูปแบบ

ตมุ น้ำใสขนาด 1-2 มิลลิเมตร ไมแสดงอาการเจ็บหรือคนั แต
อาจแตกเปนสะเกด็ ไดง า ย มกั เกดิ จากการอดุ ตันในผิวหนังชัน้ ที่
ต้ืนท่สี ุดทำใหเ หงื่อที่ร่วั ออกมาจากทอ เหง่ือสะสมอยใู ตผวิ หนัง
บรเิ วณนน้ั ซงึ่ ถูกปกคลุมดวยผิวหนังบาง ๆ

ผดแดง ซึง่ ทำใหรสู ึกคัน เจ็บแสบ หรอื ระคายเคอื ง และมกั เกดิ
ข้นึ บรเิ วณผวิ หนงั ทมี่ กี ารเสียดสี เชน อก คอ หลงั และขอ พับ

ตุมสีเนอื้ ขนาด 1-3 มลิ ลเิ มตรลักษณะคลายผวิ หา นและไมแ สดง
อาการอืน่ ๆเกดิ จากการรวั่ ของตอ มเหง่อื ชั้นหนงั แท ซึง่ มกั เกิด
ในเวลาไมก ่ีชัว่ โมงหลงั สมั ผสั ความรอน

ÇԸջ͇ §¡¹Ñ 11

1 หลกี เล่ยี งสภาพอากาศรอ นเกนิ ไป
โดยเฉพาะในฤดรู อ น อยูในหองที่
อากาศเย็นสบาย

2 หลีกเลี่ยงการทาครีมหรือโลชั่น
ที่กอใหเกดิ การอดุ ตนั ประเภทนำ้ มันและขี้ผ้งึ

3 สวมใสเส้อื ผา เน้ือบางๆไมรัดรูป
ระบายอากาศไดด ี เชน ผาฝาย

4 อาบน้ำเย็นหรือเชด็ ตัวชวยคลาย
รอนใชสบทู ไี่ มท ำใหผิวหนงั แหง

ÇÔ¸ÃÕ ¡Ñ ÉÒ 12

1 อาบน้ำดวยน้ำเยน็ และสบทู ไ่ี มทำใหผวิ แหงและปลอ ยให
ผวิ แหง เองหลังอาบน้ำเสร็จไมใชผ าขน หนูเชด็ ตวั เพอ่ื
ลดการเสยี ดสีจนเกิดผดรอ น อักเสบเพม่ิ ข้นึ

2 อยใู นบรเิ วณทีม่ อี ากาศเยน็ หรือมีเครือ่ งปรับอากาศ
ประคบผาเยน็ บรเิ วณผวิ หนัง เพอ่ื ชว ยลดความรอ น

3 หลกี เล่ียงการทำงานหรือออกกำลังกลางแจง
ที่อาจทำใหเกดิ เหงือ่ ออกมาก

4 หลกี เล่ยี งการใชพ ลาสเตอรป ดทบั ผวิ หนังหรือไมสวม
ใสเ สือ้ ผารัดรปู เพอื่ ปอ งกนั การอดุ ตนั ของตอ มเหงือ่

13

โรคเกลอ้ื น

(Tinea versicolor)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นิชานนท
(คลนิ ิกนายแพทยสมาธิ โรคผิวหนัง ภูมแิ พ ศรสี ะเกษ)

เกลอ้ื น

เกล้ือน (Tinea Versicolor)
เปนโรคติดเช้อื ราทผี่ วิ หนังทว่ั ไปชนิดหน่ึง เกิดจากราทีอ่ าศัยอยูตามผวิ หนัง
ปรากฏในลกั ษณะเปน ดวงเล็กๆ ท่อี าจมสี เี ขมหรือสอี อนกวาสีผวิ ปกตบิ รเิ วณรอบ

โดยมกั เกดิ ขึน้ ท่ีลำตวั หรือตน แขน และหากปลอยไวไมไ ดรับการรกั ษา
กจ็ ะสามารถรวมตัวกันและขยายเปนดวงใหญข น้ึ

15

1

อากาศรอนและช้นื

2

มเี หงอ่ื ออกมากเกนิ ไป

สาเหตุ

เกลอ้ื นเกดิ จากเชอ้ื รามาลาสซเี ซีย (Malassezia)ทอี่ ยตู ามผวิ หนัง
โดยปกติผวิ ของคนเราสวนใหญจ ะมเี ช้อื ราชนดิ น้ีอยแู ลวแตจะสงผล
ใหต ิดเชื้อก็ตอเมอ่ื มีมากกวาปกติ ซงึ่ สาเหตทุ ท่ี ำใหเชอื้ รานีเ้ ตบิ โตขนึ้
กย็ ังไมแนชดั แตส นั นษิ ฐานวามีปจ จัยทีเ่ ปน ตัวเรง ไดแ ก

3

ระบบภมู ิคมุ กนั ออ นแอ

4

เช้ือรา

ทั้งนก้ี ารเกดิ ของเกลอื้ นไมเ กย่ี วกับการไมรักษาสขุ อนามยั แตอยา งใด
โดยสามารถเกดิ ไดกบั ทกุ เพศทกุ วัยแตพ บไดบ อ ยในวยั รุนและวัยผใู หญ
ตอนตน และจะไมแพรไปสผู ูอนื่ เพราะคนสวนใหญมกั มียีสตม าลาสซีเซีย
อยบู นผิวหนังอยูแลว

16

1

ดวงเกล้ือนอาจลดลงหรือหายไปเมือ่ สภาพ
อากาศเย็นหรอื อาการอาจแยล งหากอากาศรอนหรือช้ืน

2

อาจทำใหผ วิ แหง ตกสะเก็ด หรือคัน

อาการ

ลักษณะของการตดิ เชอ้ื ราเกลื้อนอาจสังเกตไดดังนี้

3

มีดวงข้ึนเปน สขี าว ชมพู แดง หรือนำ้ ตาล
โดยจะมสี เี ขมหรอื ออ นกวา ผวิ หนงั ปกติบรเิ วณ
รอบ อาจข้ึนเปน ดวงเดยี วหรือหลายดวงก็ได

4

บางคนที่เปน เกลอ้ื นผิวหนังอาจไมไดแสดงการ
เปลีย่ นแปลงลักษณะหรือสอี ยา งเหน็ ไดช ัด

17

1

เลี่ยงการเผชญิ แสงแดดเทาทจ่ี ะทำได เนอ่ื ง
จากจะกระตนุ ใหอ าการแยล งและเห็นเกลือ้ น
ชดั ข้ึน อาจใชห มวกหรอื ผาคลุมกนั แดด

2

เลย่ี งการทำใหเ หงือ่ ออกมาก

วิธีป้องกนั

โรคเกล้อื นมีโอกาสกลบั ไปเปนอีกครั้งไดง า ยแมว า จะรกั ษาหายไปแลว .โดยเฉพาะ
ชว งหนา รอ นหรือเมอ่ื อากาศรอนชืน้ การปองกนั การตดิ เชื้อราอกี ครั้งสามารถทำได
ดว ยการใชแชมพขู จดั เช้ือราเปนประจำทกุ 2-4 สัปดาหห รอื วันละ1 คร้งั ในชว ง 2-3 วัน
กอนออกไปทำกิจกรรมท่ตี อ งสัมผสั อากาศรอ นนานๆหรอื ทำใหมีเหง่ือออกมาก นอก
จากการใชแชมพูขจดั เชอ้ื ราทำความสะอาดเปน ประจำแลว ยังมีขอปฏบิ ัติทท่ี ำไดดงั นี้

3

เลือกสวมเสือ้ ผาทรี่ ะบายความรอ น
และความชนื้ เพอ่ื ลดเหง่อื ออก เชน ผาฝาย

4

ควรทาครมี กันแดดทุกวัน เลอื กใชสูตร
ทม่ี คี วามมันนอยและมี SPF 30 ข้ึนไป

18

1

ครมี หรือเจลขจดั เชื้อรากรณีท่ีผวิ หนังติดเช้ือราเพียงจุดเลก็ ๆอาจรักษาดวย
ครมี ขจัดเช้อื รา โดยทาวนั ละ 1-2 คร้ังลงบนผิวหนงั เชน เดียวกบั การใชแ ชมพู
แตไมต อ งลางออกครมี ตา นเช้อื รานบี้ างครงั้ อาจกอ ใหเ กิดอาการแสบรอนท่ี
ผิวหนังแตพ บไดไ มบอยคร้ังยาตา นเช้อื ราประเภทครมี ไดแ กโ คลไตรมาโซล
(Clotrimazole) ไมโครนาโซล(Miconazole)และเทอรบนิ าฟน (Terbinaf ine)

2

แชมพขู จดั เชื้อรา ในข้นั แรกของการรกั ษาแพทยมักแนะนำใหใชแชมพขู จัดเชอ้ื
ราท่ีประกอบดวยตัวยาตานเชื้อราเชน คีโตโคนาโซล(Ketoconazole)หรือซีลี
เนียมซลั ไฟด (Selenium sulphide)ซึ่งแพทยอ าจสั่งจายแชมพูนใ้ี หผูป ว ยหรือ
หาซอื้ ไดต ามราน ขายยาทวั่ ไปก็ได

วธิ ีรักษา

ยาตา นเชอ้ื รา 3

ผวิ หนังที่ติดเชื้อราเปน บริเวณกวา งหรือการใชแ ชมพแู ละ

ครมี ไมไดผ ลผปู วยอาจไดร ับยาชนิดรบั ประทานจากแพทย เชน ฟลูโคนาโซล

(Fluconazole)ไอทราโคนาโซล(Itraconazole)เปน ระยะเวลา1-4 สปั ดาห ซึ่ง

สวนใหญย านี้มักไมคอยพบผลขา งเคยี งการใชแตหากมกี ็อาจทำใหมผี นื่ คนั

รสู กึ ปว ยและปวดทองในระหวา งที่รบั ประทานยานี้

4

ยา ครมี และแชมพขู จดั รังแคเหลา น้ีอาจตอ งใชเวลาหลายสปั ดาห หรือ เปน

เดอื นกวา ผวิ หนงั จะกลับมาเปนสีปกติ หรอื อาจตอ งรักษาซำ้ หากเปน นาน

หรอื กลับไปเปนอีกครัง้

19

âä¼ÇÔ
äËÁŒá´´

(PHOTODERMATOSES)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นิชานนท
(คลนิ ิกนายแพทยส มาธิ โรคผวิ หนัง ภมู ิแพ ศรีสะเกษ)

20

¼ÇÔ äËÁጠ´´

ผิวไหมแดด(Sunburn) คอื ภาวะของผิวท่เี กดิ การอกั เสบ แดง และแสบรอ น
จากการรบั รังสอี ลั ตราไวโอเลตหรอื รงั สยี ูวี (UV) ท่มี ากหรอื นานเกินไป ซ่งึ
อาการไหมแดดสามารถเกดิ ขึน้ บนผวิ หนงั ท่ัวไปและบรเิ วณรา งกายทโี่ ดนรงั
สียูวไี ด เชน หนงั ศรี ษะ รมิ ฝปาก ดวงตา เปนตน
ผวิ ไหมแดดไมไดเ กดิ จากแสงแดดเพยี งอยา งเดยี วเทา นั้นแตย ังสามารถเกิด
จากรงั สียวู เี ทียม อยา งหลอดไฟยูวี ตหู รือเตยี งอบผิวแทนแมอ าการผวิ ไหม
แดดสวนใหญส ามารถหายไดเอง แตหากไดร บั รงั สีนมี้ ากเกินไปกอ็ าจเกดิ อา
การอน่ื ๆท่ีสง ผลเสียตอ ผิวหนัง เชน ผิวไหม ผวิ ลอกตมุ พองเปนตน รวมทง้ั
อนั ตรายจากรงั สียวู กี เ็ ปน หนึง่ ในสาเหตุของการเกดิ ริ้วรอยตางๆและโรครา ย
แรงอยา งมะเรง็ ผวิ หนงั ไดอ กี ดวย

21

ÊÒà赯 ผวิ ไหมแ ดดเกดิ จากรงั สอี ลั ตราไวโอเลตหรือรังสยี ูวีทั้ง จากแหลง ธรรม
ชาติและจากรงั สียวู เี ทียมอยางเตียงอบผวิ แทนหรอื หลอดไฟยูวี รวมไป
ถงึ พ้นื ผวิ ตา งๆ อยา งทรายหรือนำ้ ก็สามารถสะทอนรงั สียวู มี าสรู างกาย
ได ทำใหไ มว าจะเปน สภาพอากาศหนาว หรอื รอนก็อาจเกิดผวิ ไหมแดดได

ปกตแิ ลวรา งกายของมนุษยจ ะมีกระบวน การปอ งกนั รงั สยี ูวีอย.ู โดย
รา งกายจะผลิตเม็ดสีที่มีชอื่ วา เมลานนิ (Melanin)ออกมามากกวา ปกติ
ท่ีผวิ หนังชนั้ นอกและทำใหผ ิวคล้ำขน้ึ ซ่งึ เมลานนิ จะเปนตัวชวยใน การ
ปองกนั ผวิ จากรังสียวู ที ม่ี ากเกนิ ไป และ ปองกันไมใ หผ ิวเกิดการไหม
แดดแตกระบวนการนีส้ ามารถชว ยไดใ นระดบั หนึ่งเทานนั้

แสงไฟยูวีเอ (UVA)ยวู ีเอเปนรงั สีทีม่ คี วามรนุ แรงนอยกวา ยวู ีบแี ตเ ปน
รังสที ี่สามารถทะลุเขา ไปทำลายเซลลใหมๆท่เี กดิ ขึน้ ในชัน้ ผิวหนังแท
และชัน้ ไขมันท่สี ะสมอยใู ตผิวหนังและการรับรงั สยี วู เี อสะสมเปนเวลา
นานก็จะทำใหผ ิวเกดิ รวิ้ รอยรอ งลกึ ตา งๆ ตามมา

แสงไฟยูวบี ี (UVB)ยวู บี ีมีผลตอ ชัน้ หนังกำพรา ทอ่ี ยูนอกสดุ ของรา งกาย
กอใหเกดิ รอยแดงทเ่ี ปน สัญญาณเร่มิ ตนของอาการผิวไหมแดดการรบั
รังสยี วู บี สี ะสมเปน เวลานานกเ็ ปน สาเหตุของการเกิดร้ิวรอยตางๆรวม
ไปถึงมะเรง็ ผวิ หนังชนดิ เมลาโนมา (Melanoma)และชนิดไมใชเ มลาโนมา
(Non-melanoma)

22

ผวิ ไหมแ ดด มกั จะเรม่ิ มีอาการหลงั จากท่ี โดนแดดไปประมาณ อาการ
2-6 ช่วั โมง โดยมกั จะพบอาการแสบรอ นตามผิวหนังท่โี ดน แดด
ผิวเริ่มเปลี่ยนเปน สีแดงหลังจากน้ันประมาณ 24 ชวั่ โมงขึ้นไปผวิ
ท่ไี หมแ ดดจะเรมิ่ เกิดอาการอ่นื ๆตามระดบั ความรุนแรง .โดยอาจ
พบวา ผวิ เรมิ่ มอี าการระคายเคอื งหรือเจบ็ ปวด
ผิวไหมแ ดดอาจเกดิ ไดก บั ผวิ หนงั สว นท่มี เี สื้อผา ปกคลมุ อยหู าก
เนื้อผา บางเกนิ ไปหรอื ไมสามารถกันรังสยี ูวีได รวมถึงบริเวณ สว น
อื่นของรางกายทโี่ ดนแดดไดอยางดวงตาทำใหแสบตาเจ็บตาระคาย
เคอื งตาหรือรูสกึ คลา ยมีเม็ดทรายอยูใ นดวงตา

ควรไปพบแพทยหากอาการผิวไหมแ ดดไมดีขนึ้ หรือแยล งใน 2-3 วนั
เชนผิวเริ่มบวมมากขนึ้ แผลพุพองเพ่มิ ขน้ึ ทว่ั รา งกายหรอื มอี าการ
ตดิ เช้อื จากตมุ แผลที่แตกสงผลใหมอี าการเจ็บมหี นองและรอยแดง
กระจายบริเวณรอบๆแผล เปนตน

ถามีสญั ญาณของภาวะขาดนำ้ (Dehydration)ภาวะไมสมดลุ ของ
เกลือแรใ นรางกาย (Electrolyte Imbalances) หรือเปนลมแดด
(Heatstroke) ควรรีบไปพบแพทยทันทีเพราะอาจเปน อนั ตรายถงึ
ชีวิต .โดยสังเกตไดห ลังจากการ .โดนแดดแลวรา งกายมอี ุณหภูมิ
ข้ึนสงู เกิน 39 องศาเซลเซยี สรสู ึกวงิ เวียนศีรษะคลน่ื ไสเ ปน ลมตวั
ซดี หายใจถี่ ชีพจรเตนเร็วกระหายนำ้ ไมค อยปส สาวะเบาตาลึก

23

การปอ งกนั ผิวไหมแดดที่ดีที่สุดจึงเปนการหลีกเลย่ี งกจิ กรรมในท่โี ลง
แจง ทตี่ อ งโดนแสงแดดจดั .โดยเฉพาะชว งเวลา 10.00-16.00น.หาก
เลยี่ งไมไ ดควรเลือกปฏบิ ัติตามวธิ ตี า งๆทีช่ วยปองกันหรอื ลดโอกาส
ไหมแ ดดเชน

วธิ ปี �องกนั หม่ันทาครีมกนั แดดและลิปบาลมอยเู สมอ.โดยเลอื กใชผลิตภัณฑท ม่ี ี
คา SPF 30 ขึ้นไปควรทากอนออกแดดประมาณ15 ถึง 30 นาทแี ละ
ทาซ้ำทกุ ๆ 2 ชัว่ โมงหรอื หลงั วายน้ำและเหง่อื ออก

กางรม และสวมแวนกนั แดดทส่ี ามารถกันรงั สยี ูวีหรอื เลอื กสวม
เครื่องแตงกายทสี่ ามารถปกปดรา งกายไดมดิ ชิดเชน เสือ้ หรอื
กางเกงขายาว.โดยเลือกเส้อื ผาทมี่ สี โี ทนมืดเพราะสามารถกนั
รังสียูวไี ดมากกวา เส้ือผาท่ีมสี ีโทนออน

ดื่มน้ำและดื่มวิตามนิ Cใหมากและหลกี เล่ยี งการด่มื แอลกอฮอล
เพราะจะยง่ิ ทำใหร า งกายเสีย่ งตอการเกิดภาวะขาดน้ำ

ทาครมี หรอื เจลวานหางจระเขหรอื คาลาไมน เพื่อเพ่มิ ความชุมช้นื

24

หากเปน ผิวไหมแดดในระดับไมรนุ แรงอาการจะหายไดเอง ÇÔ¸ÃÕ ¡Ñ ÉÒ
ตามธรรมชาต.ิ โดยผิวชัน้ บนจะเร่ิมลอกออกในชวง2-3วนั
หลังการไหมแดดหรอื อาจนานกวา นนั้ และผิวใหมทข่ี ึ้นมา
อาจจะยงั มีสีท่ีไมสมำ่ เสมอแตจะดขี น้ึ ไดเ องเมอื่ เวลาผาน
ไปนอกจากนี้ผูป วยยังสามารถใชวธิ ีตา งๆ เพื่อชวยบรร
เทาอาการ เชน
ใชผาเยน็ หรอื ผา ชุบนำ้ ประคบลงบนผิว
แตควรหลกี เล่ยี งนำ้ ที่มอี ณุ หภมู เิ ย็นจดั

ทาครมี หรอื เจลวานหางจระเขห รือคาลาไมน
เพื่อเพม่ิ ความชุมชืน้
ด่มื นำ้ เปลา หรอื เครื่องดื่มที่ไมมแี อลกอฮอลห รอื คาเฟ
อีนเพอ่ื ชดเชยและปอ งกนั การสูญเสยี นำ้ ของรา งกาย

อยูในที่รมหลีกเล่ียงการออกแดด

หลกี เลีย่ งยาท่ที ำใหผวิ เกดิ การระคายเคืองหรอื แพไ ด

25

โรคภมู แิ พ�ผวิ หนงั (Atopic dermatitis)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นิชานนท (คลนิ กิ นายแพทยสมาธิ โรคผิวหนัง ภมู ิแพ ศรีสะเกษ)

26

ภมู แิ พ�ผิวหนัง

ผน่ื ภมู แิ พผวิ หนัง คอื โรคทางผวิ หนงั ประเภทหนง่ึ อันเกดิ จากรางกายมปี ญหาในเรอื่ ง
ของภูมิคมุ กันบกพรอ งเปน ทุนเดมิ อยแู ลว(ภมู แิ พ)แสดงออกมาผานทางผิวหนงั โรคน้ี
ไมว า เด็ก ผูใหญ หรอื เพศไหนก็เกดิ ข้ึนไดส วนใหญเ มอื่ เกดิ ขึน้ แลว มักมอี าการคนั รวมดว ย

ปจ จุบนั แมยังไมม ีวธิ รี ักษาใหห ายขาดสนิทแตกถ็ อื วาแนวทางการแพทยจ ะชว ยลดความ
รุนแรงของโรคได ซง่ึ ตรงนีต้ องอาศัยการดแู ลสุขภาพของตนเองดว ยหากตอ งการควบ
คุมอาการไมใ หก ำเรบิ ขึ้นมาอีก

27

สาเหตุ

.โรคภูมิแพผ วิ หนัง เกดิ จากสาเหตุไดห ลายอยา งแตป จจัยหลักๆมกั เรมิ่ ตน
มาจากรา งกายของตนเองมีปญ หาเร่อื งภมู ิคุม กันมากอนสง ผลใหเ มื่อผิว
หนงั พบเจอกบั สง่ิ แวดลอมภายนอกก็มักเกดิ อาการแพจ นมีผนื่ แดงคนั ขึ้น
ตามสวนตางๆ ของผิวหนงั ซง่ึ ปจจยั ภายนอกทส่ี รา งปญหาของโรคน้ีได
บอยเชน การอยใู นผ่ืนทฝ่ี ุนละอองเกสรดอกไม ไรฝนุ ขนสัตวท่ีสัมผัสกับผิว
โดยตรง ฯลฯ

สภาพอากาศทแี่ หง ในฤดูหนาวมักทำใหผ ิวแหง ตามอันเปน อกี สาเหตขุ อง
การเกดิ โรค การทานอาหารบางชนดิ ทีไ่ ปกระตุนใหเกดิ โรค รวมถงึ การได
รับสารเคมบี างชนิดทง้ั ทางตรงและทางออม อาทิ สารเคมจี ากสบยู าสระ
ผมผงซกั ฟอก เปนตน

28

อาการ

โรคภูมิแพผ วิ หนัง มกั เกดิ รว มกบั โรคภูมิแพระบบทางเดิน

หายใจเชน โรคหอบหดื แพอากาศสาเหตโุ รคไมแ นชดั แตเ ชอ่ื

วาสาเหตุจากพนั ธุกรรมซึ่งโรคนี้เกย่ี วขอ งกับระบบภูมิคุม
กนั ของรา งกายท่ีตอบสนองตอสง่ิ เรา ตางๆ ไวกวา ปกติ
.ทำใหเกิดอาการแพขึน้

1. หากเปน เรอ้ื รังผวิ หนงั จะหนาและมีรอยคลำ้

2. ผื่นแดง 3. แหง เปนขุย

4. คนั ยุบยิบ 5. คนั มากขึ้นเม่ือเหงื่อออก

29

วธิ ปี �องกนั

โรคภูมแิ พผิวหนัง รกั ษา และปองกนั เบอ้ื งตนไดด ว ยการเลือกใชผ ลติ ภณั ฑ
ใหค วามชมุ ชื้นกบั ผิวหนงั .โดยเฉพาะกลมุ มอยสเจอรไรซ่งิ เนอื่ งจากเม่ือผวิ
หนงั มคี วามชุมชืน้ มากข้ึนอาการของโรคมกั ไมค อยกำเริบออกมามากนกั
อกี ทัง้ สารใหค วามชุมชื้นเหลาน้ยี งั ชว ยปอ งกันไมใ หป จจยั ภายนอกเขา มา
กระทบกับผิวโดยตรงจนกอใหเ กิดอาการแพรนุ แรงดว ย

1. ทำความสะอาดรางกายและลางมอื อยูเสมอ
2. ใชส บอู อ นๆ ไมม นี ำ้ หอม ไมมสี ารกันเสียและออนโยนตอผิว

3.หลีกเล่ียงสถานท่ีท่มี ีฝุนละอองแมลง และยุงชุกชุม

หลกี เลย่ี งการใสเ สือ้ ผา ที่รัดมากเนือ้ หยาบหนา

4.หรอื ผาขนสัตว ซึ่งทำใหเกดิ การระคายเคอื งตอ ผิว

30

วธิ ีรกั ษา

อาการของโรคนีย้ งั ไมมวี ธิ รี กั ษาใหหายขาดได ซงึ่ แพทย

จะใชวิธีบรรเทาโรคตามอาการที่เกดิ ข้นึ เชน

1. การทายาประเภทสเตยี รอยดพ ่ือลดความอกั เสบทเี่ กดิ

ข้นึ กับผวิ ในกรณที ลี่ ุกลามมากๆ

บางรายทอ่ี าการหนกั มากจรงิ ๆแพทยอาจเลือกใชวิธิ 2.
รักษาดวยการฉายแสงอาทติ ยเทยี มการใหท านยากด
ภูมิ ยาปฏิชีวนะตางๆ

3. การรกั ษาทางการแพทยแลว สว นใหญย งั มกั ไดรับคำ
แนะนำใหห ลีกเล่ยี งปจ จัยเส่ียงที่มกั ทำใหเกดิ โรคนี้ เชน
การสมั ผสั กับส่งิ แวดลอมภายนอกทมี่ ักกอใหเ กิดความ
ระคายเคอื ง ควรเลอื กสวมใสเสื้อผา ระบายอากาศไดดี

ใชครีมบำรงุ ผิวทม่ี สี วน ผสมของมอยสเจอรไ รเซอรท ่ี 4.
ชว ยฟนบำรงุ ปราการผิวออ นโยนและไมม ีสารเคมีท่ไี ป
กระตุนการเกดิ โรค

31

โรคกลิ่นตัว
(smell disease)

32

กลน่ิ ตัว กล่นิ ตวั คือกลิ่นเหมน็ หรอื กล่ินไมพึงประสงคท่มี ักเกดิ ขนึ้

ในชวงวัยหนุมสาวเปน ผลมา จากตอ มเหงื่อทีท่ ำงานมากขนึ้
เพื่อควบคุมอุณหภูมใิ นรา งกายทำใหรางกาย ขบั เหงื่อออก
มาก .โดยเฉพาะท่บี รเิ วณรกั แร ฝามือ เทา หรือขาหนีบใน
ระหวา งออกกำลงั กายรวมถงึ การทำกจิ กรรมในทีท่ ่มี ี
อากาศรอ น เมอื่ เหง่อื สัมผัสกบั เชอื้ แบคทเี รียบนผวิ หนังจงึ
ทำใหเ กิดกล่นิ ตวั หรอื กลิน่ ทไ่ี มพ งึ ประสงคขึ้น

33

สาเหตุ ผวิ หนงั ของมนษุ ยจ ะประกอบไปดว ยตอ มเหงื่อท่สี ำคัญ 2
ตอมดวยกนั คอื ตอมเอกไครน และตอ มอะโพไครน ซ่ึงแต
ละตอ มจะมีหนาท่ีแตกตา งกนั ออกไป โดยมรี ายละเอียด
ดงั ตอ ไปนี้

ตอ มเอกไครน เปนตอมท่ีอยูบนผวิ หนัง มหี นาท่ผี ลิตเหงื่อ
เมอ่ื อณุ หภมู ใิ นรางกายสงู ขนึ้ เพือ่ คลายความรอ นในรา ง
กายในเหง่อื จะมนี ้ำและเกลอื เปน สว นประกอบหลกั และจะระ
เหยเมือ่ อุณหภมู ใิ นรางกายเยน็ ตัวลง

ตอ มอะโพไครน เปน ตอ มทอี่ ยใู นบรเิ วณท่ีมีขนขนึ้ มาก เชน
รกั แร หรือขาหนบี จะผลิตของเหลวสีขาวขนุ คลายน้ำนมออก
มาเม่ือเกดิ ความเครยี ดและเมือ่ สมั ผัสกับเชื้อแบคทเี รียบนผิว
หนังจะทำใหเ กดิ กล่ินข้ึน

34

ผูท่เี ปน โรคกล่นิ ตวั เหมน็ มักเปนโรคน้มี าตงั้ แตเ กดิ

แตสว นใหญอ าการจะมาปรากฏ ตอนโตท่ีพบบอย

คือ ในชวงเขาสวู ยั เจรญิ พันธุหรอื วัยหนมุ สาว

(Puberty) .โดยอาการเดียวที่เกิดขนึ้ ก็ คือ กลิ่นตวั

ทีเ่ หมน็ คลงุ คลายกลิ่นปลาเนา ซึ่งออกมาทางลม

หายใจ เหงอื่ ปสสาวะ อสจุ ิ สารคดั หล่งั ในชอ งคลอด

อาการ บางคนอาจมีกลิ่นเหมน็ คลุง ตลอดเวลาแตสว นใหญ
แลวกลนิ่ จะมาๆหายๆและมีความรุนแรงแตกตา งกนั
ไปขึ้นอยกู ับสง่ิ กระตุนบางอยา ง

โดยปจ จยั ทสี่ ามารถทำใหกลน่ิ เหม็นรนุ แรงขนึ้ ได เชน
การมเี หงอ่ื ออก ความเครยี ด อาหารบางชนิด(เชน
ปลา ไข ถ่ัว)หรือหากเปน ผูหญิง ชวงมปี ระจำเดือน
และการกนิ ยาคมุ ก็อาจกระตนุ ใหอาการของโรคกลิ่น
ตวั เหมน็ รนุ แรงข้ึนไดเชน กนั

35

วิธี ปจ จุบัน ยังไมม ีวิธีหรือยารกั ษาโรคกลนิ่ ตวั เหมน็ .โดยเฉพาะ
ป้องกนั แตอาการทีเ่ กิดขนึ้ สามารถดีข้นึ ไดด ว ย การปรับเปลย่ี น
พฤตกิ รรมดงั ตอ ไปน้ี
และ
รกั ษา ใชย าหากจำเปน คุณหมออาจใหค ุณใชยาปฏิชีวนะในขนาด
โรคกลิ่นตวั ยาต่ำๆ เพ่ือลดปรมิ าณแบคทเี รียในลำไสแ ละกดการสรา งไตร
เมทลิ ามีน แตค ุณไมควรใชย าปฏชิ วี นะตดิ ตอกนั นานเกนิ ไปและ
ควรปรึกษาแพทยเพื่อเปลี่ยนยาหรือหาวธิ ีรักษาใหมท กุ 2
อาทิตย เพื่อปองกันแบคทีเรยี ด้ือยา

รกั ษาความสะอาดใชแ ชมพู สบู หรือครมี อาบนำ้ ท่มี ีคา pH
ระหวา ง 5.5-6.5 เพื่อกำจัดกลิน่ ตัวท่ีเกดิ จากไตรเมทลิ ามีน
โดยไมทำลายสมดุลความเปนกรด-ดางของผวิ

ลดเหงอ่ื และลดเครียดดว ยการออกกำลังกายเบาๆ แทน
การออกกำลงั กายอยา งหนกั หนว งจนเหงื่อออกมากและ
พยายามอยา วิตกกงั วลหรือเครียดเกนิ ไป เพราะสามารถ
สง ผลใหอ าการของโรคกล่นิ ตัวเหม็นรนุ แรงขนึ้ ได

36

วธิ ี อาบน้ำอยางนอ ยวนั ละ 2 ครงั้ เพอ่ื ลา งเหง่ือ
ปอ้ งกัน และกำจัดแบคทเี รยี บนผิวของคณุ เพราะอาจ
มแี บคทเี รียที่อาศัยอยูบนผิวของคุณผสมกบั
และ เหง่อื พวกมนั จะทวีคูณอยางรวดเร็วและทำให
รกั ษา
โรคกลนิ่ ตัว ใชสบตู านเชอื้ แบคทเี รียการอาบนำ้ ใหส ะอาด
(ตอ่ ) ดวยสบูต านเชือ้ แบคทีเรยี จะชวยกำจัดแบค
ทเี รยี อนั เปน สาเหตุของกลิ่นตัวและกำจดั กลน่ิ
รกั แรอ ันไมพงึ ประสงคไ ด

ลดอาหารหรือเคร่อื งดื่มบางชนิดส่ิงทีค่ ุณ
กินมผี ลตอกลนิ่ ตวั ของคณุ เชน พริกเผด็ หรือ
อาหารรสเผ็ดอ่นื ๆอาจทำใหเ หงื่อออกงายขน้ึ
และกล่ินของอาหารอยางหวั หอมหรือกระเทยี ม
ก็สามารถขับออกมาทางเหงือ่ ได เชนกัน

เช็ดตัวดว ยผา ขนหนูใหแ หง สนิทเชด็ ตวั ใหแหง
สนทิ ทุกครงั้ หลังอาบน้ำ .โดยใหค วามสนใจกับ
จดุ ซอนเรน ที่เหงอื่ ออกมากๆเชน รกั แร

ขอขอบคณุ ขอมลู จาก
(https://www.pobpad.com)


Click to View FlipBook Version