The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narakornz1999, 2022-05-25 13:59:56

55555 (1)

55555 (1)

âä
¼ÔÇ

˹§Ñ ·่¾Õ ºã¹Ë¹ŒÒ

คำนำ

หนงั สื่อเลม น้ี จัดทำเพอ่ื เปน สวนหนึง่ ของโครงการออกแบบหนังสืออเิ ล็คทอรน คิ E-book
6โรคผวิ หนงั ทพี่ บในหนา รอ นเพือ่ เปนความรูไดศ กึ ษาในเร่อื งของ 6โรคผิวหนังท่สี ว น
มากจะพบในหนารอ นในตวั หนังส่อื จะมขี อมูลตางๆในแตล ะโรค ท้งั ขอมูลเบือ้ งตน
สาเหตุ อาการ วธิ ีปอ งกัน วธิ ีรกั ษา

ÊÒúÞÑ

àÃ่Í× § ˹ŒÒ àÃÍ×่ § ˹ŒÒ

1. âä¡ÅÒ¡ 4.1 âäÀÁÙ áÔ ¾¼Œ ÔÇ˹§Ñ 19
2 - ¢ÍŒ ÁÅÙ
- ¢ŒÍÁÙÅ 20
- ÊÒà˵Ø
- ÍÒ¡Òà 3 - ÊÒà赯 21
- ÇÔ¸»Õ ͇ §¡Ñ¹
- ÇÔ¸ÕÃÑ¡ÉÒ 4 - ÍÒ¡ÒÃ 22

2. âä¼´ÃÍŒ ¹ 5 - ÇԸջ͇ §¡¹Ñ 23
- ¢ÍŒ ÁÙÅ
- ÊÒà赯 6 - Ç¸Ô ÕÃ¡Ñ ÉÒ 24
- ÍÒ¡ÒÃ
- ÇԸջ͇ §¡¹Ñ 5.7 âä¼ÔÇäËÁጠ´´ 25
- Ç¸Ô ÃÕ Ñ¡ÉÒ
8 - ¢ŒÍÁÙÅ 26
3. âäà¡Å้Í× ¹
9 - ÊÒà赯 27
- ¢ÍŒ ÁÅÙ
- ÊÒà赯 10 - ÍÒ¡Òà 28
- ÍÒ¡ÒÃ
- Ç¸Ô Õ»‡Í§¡Ñ¹ 11 - ÇÔ¸Õ»‡Í§¡Ñ¹ 29
- ÇÔ¸ÃÕ Ñ¡ÉÒ
12 - Ç¸Ô ÃÕ Ñ¡ÉÒ 30

6.13 âä¡ÅÔ่¹µÑÇ 31

14 ¢ÍŒ ÁÅÙ 32
15 ÊÒà赯 33
16 ÍÒ¡ÒÃ 34
17 Ç¸Ô Õ»‡Í§¡Ñ¹ 35
18 Ç¸Ô ÕÃÑ¡ÉÒ 36

1

โรค
กลาก

(Dermatophytosis)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นิชานนท
(คลนิ กิ นายแพทยสมาธิ โรคผิวหนัง ภมู ิแพ ศรสี ะเกษ)

2

กลาก

กลาก (Ringworm) เปนโรคตดิ เชอื้ ราบนผิวหนงั ที่ปรากฏเปน วงแดงหรอื ขยุ สขี าว
และอาจมอี าการอักเสบคลายผน่ื แดงรว มดว ยได กลากสามารถขึน้ ตามสวนตา งๆ
ของรางกาย ต้ังแตห นงั ศรี ษะ ใบหนา มอื เทา เลบ็ และขาหนีบ.โดยพบไดทุกเพศทุกวัย
แตม กั จะพบบอยในเด็ก

3

สาเหตุ

โรคกลากเกดิ จากเชื้อราทผ่ี ิวหนังในกลุมเดอมาโทไฟท (Dermatophytes)
เชื้อราเหลานีจ้ ะอาศยั อยูบนช้ันเน้อื เยอ่ื โปรตีนเคราตนิ บนผวิ หนงั ท่ีตายแลว
เทานนั้ แตมกั จะไมเขา สูรา งกายหรอื เย่อื บผุ วิ อยา งปากหรอื จมกู
เชื้อราเปนสปอรเลก็ ๆที่มคี วามคงทนและสามารถอยูร อดบนผิวหนังของมนุษย
ในพนื้ ดิน หรอื ตามสง่ิ ของตา งๆไดเปน เวลาหลายเดือนและยงั เจรญิ เตบิ โตไดใ น
สภาพอากาศรอ นชืน้ อยางเชนในประเทศไทย จึงเกิดการแพรกระจายไดง า ย
.โดยสามารถตดิ จากคนและสัตวด ว ยการสัมผสั การจับส่งิ ของที่มกั มเี ชอื้ รานี้
เกาะอยู เชน เสอ้ื ผา ผา เช็ดตวั หวี และแปรงสีฟน หรอื ตดิ จากดินในกรณีทต่ี อ ง
ทำงานหรือยนื เทา เปลาบนพื้นดินทม่ี เี ช้อื รา

บคุ คลตอไปน้อี าจเสยี่ งตอ การตดิ เชอ้ื ราไดง าย
1.เด็กออ นหรือผสู ูงอายุท่อี ายมุ ากแลว
2.ผูทม่ี ีน้ำหนักเกนิ กวามาตรฐานมาก
3.ผูทม่ี ภี มู คิ มุ กันออ นแอ เชนผตู ิดเช้ือเอชไอวี
4.ผูเขา รับการรักษาโรคท่ีสงผลใหร ะบบภมู คิ มุ กนั
ออ นแอลง เชน การทำเคมีบำบัด หรือใชย าสเตียรอยด
5.เคยตดิ เช้อื รามากอ น
6.ผปู ว ยโรคเบาหวานชนิดที่ 1
7.ผูปว ยโรคหลอดเลอื ดแดงแขง็
8.มกี ารหมุนเวียนของโลหิตไมด ี
โดยเฉพาะผทู ี่มีภาวะหลอดเลอื ดดำบกพรอ งทหี่ ลอด
เลอื ดดำในขามปี ญ หาในการพาเลือดกลับไปยังหวั ใจ

4

อาการ

1. 2.

กลากท่ีหนังศรี ษะมกั เกิดกับเด็ก กลาก ท่ใี บหนา และลำคอ
ชว งวยั ใกลโตหรอื วัยรุน อาการ อาจไมป รากฏเปนดวงคลา ยวงแหวน
โดยทวั่ ไปมกั ทำใหห นังศีรษะตก อยา งกลากชนดิ อื่นๆแตเกิดเปน อาการ
สะเกด็ เปนจุดเล็กๆเจ็บเมื่อสมั ผสั คนั บวมและแหง จนเปน สะเกด็ ซึง่ หากเกิด
เสน ผมรว งเปน หยอ มๆและคัน ท่บี รเิ วณหนวดอาจทำใหหนวดหลดุ รว ง
หนงั ศีรษะ เปน หยอมได

3. 4.

กลากที่เทา (เช้ือราที่เทา )รูจักกนั ในช่อื น้ำกัดเทา กลากทม่ี อื ทำใหผ วิ หนงั บริเวณ
หรือฮอ งกงฟุตเปน โรคทางผิวหนังทีพ่ บไดบอย ฝามอื และงา มนวิ้ หนาขึน้
มากการติดเชื้อราท่ีเทา อาจทำใหเ กิดอาการแหง
คัน มีผืน่ แดงเปนแผน บรเิ วณงา มนว้ิ .โดยอาจเปนขางเดียวหรือเปนทัง้ 2 ขาง
พรอมกนั แตสว นใหญม ักพบแคข างเดยี ว
.โดยเฉพาะนิว้ นางและนิ้วกอ ยหรอื ในระดบั
ท่รี ุนแรงอาจมีอาการผิวหนงั แตกแหง เปนตมุ พอง
เปน ขยุ สะเก็ดผวิ หนังบวมแสบหรือเจบ็ ๆคันๆ
ทีผ่ วิ หนงั และอาจมผี ิวหนงั แหง เปน ขยุ รอบๆ

5

วิธีปอ� งกนั

ปองกนั ตนเองจากผูป วยหรือสัตวที่มกี ารตดิ เช้ือโรคกลากกลากในสัตวมักปรากฏ
เปนรอยขนรวงเปนหยอ ม หรอื อาจไมสามารถสงั เกตไดเลยผเู ลย้ี งสัตวควรนำสัตว
เลย้ี งไปตรวจเพอ่ื ปองกนั การเกิดโรคและตดิ เชื้อ

1 ลา งมอื เปนประจำ 2
เพื่อปอ งกันการแพรก ระจายของเชื้อ
หม่ันทำความสะอาด
3 รักษาความสะอาดของรางกาย พ้ืนที่สวนรวมท่ีใชร ว มกนั
โดยเฉพาะตามโรงเรียน
เช็ดตัวและศีรษะใหแหงอยาสวมใสเ สื้อผา ท่ชี ้ืน ศนู ยเล้ยี งดูเด็ก
โรงยมิ และสระวา ยน้ำ

4 5

อาบนำ้ ทำความสะอาดรา งกายทกุ ครั้ง ควรสวมใสร องเทา
หลงั จากการออกกำลังกายหรือทำกิจกรรม เมอื่ เดนิ ในหอ งล็อคเกอร
ท่ีตองสัมผัสรา งกายผูอ ่นื หอ งน้ำหรืออาบนำ้ สาธารณะ

6

หลีกเลย่ี งการใชข องใชสวนตวั รว มกนั ไมวาจะเปน เส้อื ผา
แปรงสฟี น ผาเชด็ ตัว หรือขาวของอื่น ๆ

6

วิธรี กั ษา

เชอ้ื ราท่หี นังศีรษะสามารถรักษา.โดยการรบั ประทานยาตา นเช้อื ราไดเ ชนเดยี วกบั เชอ้ื รา
ตามผิวหนัง ตัวยาที่แพทยมักใช ไดแก กรซิ ีโอฟูลวิน ระยะเวลาท่แี นะนำใหร ับประทานคอื
8-12 สปั ดาหและเทอรบ นิ าฟนรับประทานเปน เวลา 4 สปั ดาห ยาตานเชือ้ ราทหี่ นังศีรษะ
อาจใชค วบคไู ปกบั ครมี หรือแชมพูตานเชอ้ื รา เชน แชมพูคีโตโคนาโซลแชมพซู ลี เี นยี มหรือ
ครีมเทอรบ ินาฟน.โดยควรใชสัปดาหละ2 ครั้ง เปน เวลาติดตอ กนั 2 สัปดาห

นอกจากการใชยาทารกั ษาผปู วยเองยงั สามารถบรรเทาโรคกลากไดดวยการปรบั
สุขอนามยั งายๆไดแก เล่ยี งการสวมใสเ สอ้ื ผา ทีก่ อ ใหเกิดการระคายเคอื งบรเิ วณทต่ี ิด
เชื้อซกั ทำความสะอาดเคร่ืองนอนและเสื้อผา ทุกวัน รวมถงึ ทำความสะอาดและเชด็ ผวิ
ใหแหง เปนประจำ

แพทยอ าจสง่ั จา ยยาตามความรนุ แรงของการตดิ เชอ้ื ของผปู ว ย
โดยอาจจา ยยาทนี่ ยิ มใชรกั ษาการตดิ เชอ้ื รา ไดแ ก คีโตโคนาโซล(Ketoconazole)
โคลไตรมาโซล(Clotrimazole)ยาไมโคนาโซล(Miconazole)หรอื อาจใชย าท่หี าซือ้ ได
เองตามรา นขายยากไ็ ด ซึง่ มักเปน ยาท่ีมีสว นประกอบของยา ดังกลา ว การใชยาทา
รกั ษาอาจตองใชร ะยะเวลานาน 2-4 สปั ดาห เพอ่ื ใหแนใจไดว า ฆา เชอ้ื ราท่ีทำใหเกิดโรค
ไดห มดและลดการเส่ียงกลับไปตดิ เชือ้ อีกครั้ง

âä 7
¼´ÃŒÍ¹

(Heat Rash)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นชิ านนท์
(คลินิกนายแพทยส์ มาธิ โรคผิวหนงั ภมู แิ พ้ ศรีสะเกษ)

8

¼´
Ì͹

ผดร้อน เป็นตมุ่ คันขนาดเลก็ เกิดจากตอ่ มเหงอื่ ทีอ่ ุดตันใตผ้ วิ หนัง

โดยเฉพาะเม่อื เหง่อื ออก หรืออยู่ในสภาพอากาศทรี่ อ้ นและชืน้ ซึ่ง ผดร้อน

อาจปรากฏข้ึนไดท้ ่วั รา่ งกาย เช่น บริเวณใบหนา้ คอ หลงั อก และต้นขา

เป็นตน้ แมผ้ ดร้อนเป็นภาวะทางผวิ หนังท่ไี มอ่ ันตราย และอาจหายไดเ้ อง

เม่ืออากาศเย็นลงแต่คนท่วั ไปควรศกึ ษา ขอ้ มูลเพือ่ ปอ้ งกันหรือรบั มอื

หากเกดิ ผดรอ้ นขึ้นกบั ตนเอง

ÊÒà赯 9

1 ภูมิอากาศเขตร้อน รา่ งกายสมั ผสั แสงแดดหรือสภาพ
อากาศที่ร้อนและชื้นจนมเี หงื่อออกมาก

ตอ่ มเหง่ือพฒั นาไม่สมบรู ณ์ อาจเกิดขน้ึ ไดก้ ับทารกแรกเกิด

2 ที่มีอายเุ พยี ง1 สปั ดาห์เพราะต่อมเหงอ่ื อาจยงั เจริญไมเ่ ต็มท่ี
จงึ อาจทำให้เหงอ่ื ติดอยู่ใต้ผวิ หนัง.โดยเฉพาะเมอื่ อยูใ่ นตอู้ บ
เดก็ หรอื เป็นไข้

3 การปกปิดร่างกาย เช่น การปดิ ผิวหนังดว้ ยพลาสเตอร์
การใสเ่ สือ้ ผ้าทอ่ี บอุ่นและหนาเกินไป หรือการนอนใต้ผา้
หม่ ไฟฟ้าที่ทำใหเ้ กดิ ความรอ้ น

4 การทำกิจกรรมที่ใช้แรง เช่น การออกกำลังกายหนกั ๆ
หรอื ทำกิจกรรมอน่ื ๆที่ทำใหม้ ีเหงือ่ ออกมาก

ภาวะท่ไี ม่สามารถเคลือ่ นไหวได้เมื่อเกดิ อาการปว่ ยต่างๆ

5 โดยเฉพาะเมื่อมีไข้ อาจทำใหต้ ัวร้อนและมีเหงื่อออกขณะ
นอนพกั รกั ษาตวั หรอื มปี ญั หาสุขภาพอื่นๆ ท่ที ำให้ต้อง
นอนอย่บู นเตียงเปน็ เวลานาน

ÍÒ¡ÒÃ 10

อาการคนั และมตี ุ่มเลก็ ๆขนึ้ ตามร่างกายเปน็ อาการที่พบได้ท่วั ไป
ของผดร้อน.โดยมกั ปรากฏขน้ึ บรเิ วณใต้ร่มผ้าหรือ บริเวณใบหน้า
คอ หลงั อกและต้นขาส่วนเด็กเล็กมักเกิดผดร้อนบรเิ วณคอหัวไหล่
และหน้าอกและบางครงั้ อาจปรากฏอาการบริเวณรกั แร้ ข้อพับแขน
และขาหนบี ได้ ซึง่ ผดรอ้ นอาจเกิดขึน้ ได้หลายรปู แบบ เชน่

ตุ่มนำ้ ใสขนาด 1-2 มลิ ลเิ มตร ไม่แสดงอาการเจบ็ หรือคนั แต่อาจ
แตกเป็นสะเกด็ ไดง้ า่ ย มักเกดิ จากการอดุ ตนั ในผวิ หนังชน้ั ทต่ี น้ื ท่สี ดุ
ทำให้เหงื่อทร่ี ว่ั ออกมาจากท่อเหงอื่ สะสมอยูใ่ ต้ผวิ หนัง
บรเิ วณน้นั ซ่ึงถูกปกคลมุ ด้วยผวิ หนงั บาง ๆ

ผดแดง ซึ่งทำใหร้ ้สู ึกคนั เจ็บแสบ หรือระคายเคอื ง และมักเกิดขนึ้
บรเิ วณผวิ หนังท่มี ีการเสยี ดสี เชน่ อก คอ หลัง และขอ้ พบั

ต่มุ สเี นอ้ื ขนาด 1-3 มิลลิเมตรลักษณะคลา้ ยผิวหา่ นและไมแ่ สดง
อาการอน่ื ๆเกดิ จากการรัว่ ของตอ่ มเหงือ่ ชนั้ หนงั แท้ ซ่งึ มกั เกดิ ใน
เวลาไม่ก่ีช่วั โมงหลังสมั ผัสความร้อน

11

Ç¸Ô Õ»‡Í§¡¹Ñ

1 หลีกเลี่ยงสภาพอากาศร้อนเกนิ ไป
โดยเฉพาะในฤดรู ้อน อยู่ในห้องท่ีอากาศเยน็ สบาย

2 หลีกเลยี่ งการทาครมี หรอื โลชั่น
ท่กี อ่ ให้เกิดการอดุ ตนั ประเภทน้ำมันและข้ีผ้งึ

3 สวมใส่เสอื้ ผ้าเน้ือบางๆ
ไม่รัดรปู ระบายอากาศได้ดี เชน่ ผ้าฝ้าย

4 อาบนำ้ เยน็ หรอื เช็ดตวั
ชว่ ยคลายร้อนใช้สบู่ทไี่ มท่ ำให้ผิวหนังแหง้

12

Ç¸Ô ÃÕ Ñ¡ÉÒ

1 อาบนำ้ ด้วยนำ้ เยน็ และสบู่ท่ไี มท่ ำให้ผวิ แหง้ และปลอ่ ย
ใหผ้ วิ แห้งเองหลงั อาบน้ำเสรจ็ ไม่ใช้ผา้ ขน หนูเชด็ ตวั
เพื่อ ลดการเสียดสีจนเกดิ ผดรอ้ น อกั เสบเพิม่ ขนึ้

2 อยู่ในบริเวณทม่ี อี ากาศเย็นหรอื มเี ครื่องปรับอากาศ
ประคบผา้ เย็นบรเิ วณผวิ หนงั เพ่ือช่วยลดความร้อน

3 หลกี เลยี่ งการทำงานหรอื ออกกำลงั
กลางแจ้งทอี่ าจทำใหเ้ กดิ เหงือ่ ออก
มาก

4 หลกี เล่ียงการใช้พลาสเตอรป์ ดิ ทบั ผิวหนงั
หรือไมส่ วมใสเ่ สือ้ ผ้ารัดรปู เพือ่ ปอ้ งกันการ
อุดตนั ของตอ่ มเหงื่อ

13

โรค
เกลอื้ น

(Tinea versicolor)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นชิ านนท์
(คลนิ ิกนายแพทย์สมาธิ โรคผวิ หนัง ภูมแิ พ้ ศรสี ะเกษ)

14

เกล้อื น

เกลื้อน (Tinea Versicolor)
เปน็ โรคติดเชอื้ ราทผี่ วิ หนงั ท่วั ไปชนิดหน่ึง เกดิ จากราทอ่ี าศัยอยตู่ ามผิวหนัง
ปรากฏในลักษณะเปน็ ดวงเลก็ ๆ ทอี่ าจมีสเี ข้มหรือสอี อ่ นกว่าสผี ิวปกตบิ รเิ วณรอบ

โดยมักเกิดขนึ้ ที่ลำตัวหรอื ต้นแขน และหากปล่อยไว้ไม่ไดร้ บั การรักษา
ก็จะสามารถรวมตวั กันและขยายเป็นดวงใหญ่ขน้ึ

15

1

อากาศรอ นและชนื้

2

มีเหงือ่ ออกมากเกินไป

สาเหตุ

เกลื้อนเกดิ จากเช้ือรามาลาสซเี ซีย (Malassezia)ท่อี ยู่ตามผวิ หนงั โดยปกติผวิ ของคนเรา
ส่วนใหญจ่ ะมีเช้อื ราชนิดน้ีอยแู่ ลว้ แตจ่ ะสง่ ผลใหต้ ิดเชื้อกต็ ่อเมอื่ มมี ากกว่าปกติ ซ่งึ สาเหตุ
ทท่ี ำใหเ้ ช้ือรานเี้ ตบิ โตขึน้ กย็ ังไม่แน่ชดั แต่สันนษิ ฐานวา่ มปี ัจจัยท่ีเปน็ ตวั เร่ง ได้แก่

3

ระบบภมู คิ ุม กันออนแอ

4

เช้ือรา

ท้ังนกี้ ารเกดิ ของเกลอ้ื นไม่เกี่ยวกับการไม่รกั ษาสขุ อนามยั แตอ่ ย่างใด .โดยสามารถเกดิ ได้
กับทกุ เพศทุกวัย แต่พบได้บ่อยในวยั รุ่นและวัยผใู้ หญ่ตอนตน้ และจะไมแ่ พรไ่ ปส่ผู ้อู ่ืนเพราะ
คนส่วนใหญม่ กั มียีสตม์ าลาสซีเซยี อย่บู นผวิ หนังอยแู่ ล้ว

16

1

ดวงเกลือ้ นอาจจางลงหรอื หายไปเมอ่ื สภาพอากาศเยน็
หรืออาการอาจแยล งหากอากาศรอนหรือชื้น

2

อาจทำใหผ วิ แหง ตกสะเกด็ หรือคนั

อาการ

ลกั ษณะของการตดิ เชอ้ื ราเกลื้อนอาจสงั เกตได้ดงั นี้

3

มีดวงขนึ้ เปน สีขาว ชมพู แดง หรือนำ้ ตาล
โดยจะมีสเี ขม หรือออ นกวา ผิวหนงั ปกตบิ ริเวณรอบ

อาจขน้ึ เปน ดวงเดยี วหรอื หลายดวงก็ได

4

บางคนทเี่ ปนเกล้อื น
ผวิ หนงั อาจไมไดแ สดงการเปล่ียนแปลง

ลักษณะหรอื สีอยางเหน็ ไดชดั

1 17

เลยี่ งการเผชิญแสงแดดเทา่ ที่จะทำได้ เนือ่ งจากจะกระตุ้น
ให้อาการแย่ลงและเหน็ เกลอื้ นชัดข้นึ อาจใชห้ มวกหรือผา้ คลุมกันแดด

2

เล่ยี งการทำให้เหงอ่ื ออกมาก

วธิ ีป้องกนั

โรคเกลื้อนมโี อกาสกลบั ไปเป็นอีกครง้ั ได้ง่ายแมว้ า่ จะรักษาหายไปแล้ว โดยเฉพาะช่วงหนา้ ร้อนหรอื เมือ่ อากาศร้อนชื้น
การปอ้ งกันการตดิ เชือ้ ราอีกครง้ั สามารถทำไดด้ ้วยการใชแ้ ชมพขู จดั เชอ้ื ราเป็นประจำทกุ 2-4 สปั ดาหห์ รอื วนั ละ 1 ครั้ง
ในชว่ ง 2-3 วันก่อนออกไปทำกจิ กรรมที่ตอ้ งสัมผัสอากาศรอ้ นนานๆหรือทำใหม้ ีเหง่อื ออกมาก นอกจากการใชแ้ ชมพู
ขจดั เชอื้ ราทำความสะอาดเป็นประจำแลว้ ยงั มขี ้อปฏบิ ัติทีท่ ำไดด้ งั นี้

3

เลือกสวมเส้อื ผา้ ท่ีระบายความรอ้ น
และความช้นื เพ่อื ลดเหงอ่ื ออก เช่น ผา้ ฝ้าย

4

ควรทาครมี กนั แดดทุกวนั
เลอื กใชส้ ูตรทม่ี ีความมันนอ้ ย และมี SPF 30 ข้นึ ไป

วธิ รี ักษา 18

1

ครมี หรอื เจลขจดั เช้อื รากรณที ผ่ี วิ หนังตดิ เชอ้ื ราเพียงจุดเลก็ ๆ อาจรกั ษาดว้ ยครมี ขจดั เช้ือรา
โดยทาวันละ 1-2 ครัง้ ลงบนผวิ หนงั เช่นเดยี วกบั การใชแ้ ชมพแู ตไ่ ม่ต้องลา้ งออกครมี ต้านเช้ือรา
นบ้ี างครงั้ อาจก่อให้เกิดอาการแสบรอ้ นที่ผวิ หนังแตพ่ บได้ไมบ่ ่อยคร้ังยาต้านเช้อื ราประเภทครมี
ได้แก่โคลไตรมาโซล(Clotrimazole)ไมโครนาโซล(Miconazole)และเทอรบ์ ินาฟีน(Terbinafine)

2เป็นตน้

แชมพขู จดั เชอื้ รา ในขั้นแรกของการรกั ษาแพทย์มักแนะนำใหใ้ ช้แชมพขู จดั เชื้อราท่ีประกอบดว้ ย
ตัวยาต้านเชื้อราเช่น คโี ตโคนาโซล(Ketoconazole)หรอื ซลี เี นยี มซลั ไฟด์ (Selenium sulphide)
ซงึ่ แพทย์อาจส่งั จ่ายแชมพนู ้ีให้ผปู้ ว่ ยหรือหาซือ้ ไดต้ ามรา้ นขายยาท่วั ไปก็ได้

3

ยาต้านเช้อื ราผวิ หนังที่ติดเชอ้ื ราเป็นบริเวณกวา้ งหรอื การใชแ้ ชมพแู ละครมี ไม่ไดผ้ ลผปู้ ่วยอาจได้
รับยาชนดิ รับประทานจากแพทย์ เชน่ ฟลโู คนาโซล(Fluconazole)ไอทราโคนาโซล(Itraconazole)
เป็นระยะเวลา1-4 สปั ดาห์ ซงึ่ สว่ นใหญย่ านี้มกั ไมค่ ่อยพบผลขา้ งเคียงการใช้แต่หากมีกอ็ าจทำใหม้ ี
ผื่นคนั รสู้ กึ ปว่ ยและปวดทอ้ งในระหว่างทรี่ ับประทานยานี้

4

ยา ครีม และแชมพขู จดั รังแคเหล่านอ้ี าจตอ้ งใช้เวลาหลายสปั ดาหห์ รือ เปน็ เดอื นกว่า
ผิวหนังจะกลบั มาเปน็ สปี กติ หรืออาจตอ้ งรักษาซำ้ หากเป็นนานหรือกลบั ไปเปน็ อกี คร้ัง

19

โรคผิ�
ไหม�แ�ด

(PHOTODERMATOSES)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นชิ านนท
(คลนิ กิ นายแพทยส มาธิ โรคผวิ หนงั ภมู ิแพ ศรสี ะเกษ)

20

ผิวไห��แดด

ผิวไหมแ ดด (Sunburn)คอื ภาวะของผิวที่เกิดการอกั เสบ แดง และแสบรอน
จากการรบั รงั สีอลั ตราไวโอเลตหรือรงั สยี ูวี (UV) ที่มากหรอื นานเกนิ ไป ซ่ึง
อาการไหมแ ดดสามารถเกิดข้ึนบนผวิ หนงั ทวั่ ไปและบรเิ วณรา งกายทโ่ี ดนรัง
สยี ูวีได เชน หนงั ศีรษะ ริมฝป าก ดวงตา เปนตน

ผวิ ไหมแ ดดไมไดเ กิดจากแสงแดดเพียงอยา งเดยี วเทานัน้ แตย ังสามารถเกดิ
จากรังสียวู เี ทียม อยา งหลอดไฟยวู ี ตูหรือเตียงอบผวิ แทนแมอาการผิวไหม
แดดสวนใหญส ามารถหายไดเ อง แตหากไดรับรงั สนี ้มี ากเกนิ ไปกอ็ าจเกิดอา
การอนื่ ๆที่สงผลเสยี ตอผิวหนงั เชน ผวิ ไหม ผิวลอกตมุ พองเปนตนรวมทง้ั
อนั ตรายจากรงั สียูวกี เ็ ปนหน่ึงในสาเหตุของการเกิดร้วิ รอยตางๆและโรครา ย
แรงอยางมะเรง็ ผิวหนงั ไดอ ีกดว ย

สาเหตุ 21

ผิวไหมแดด
เกิดจากรังสอี ัลตราไวโอเลตหรือรงั สยี ูวีท้ัง จากแหลงธรรมชาตแิ ละ
จากรงั สยี ูวีเทียมอยา งเตียงอบผวิ แทนหรือหลอดไฟยูวี รวมไปถงึ พน้ื
ผวิ ตางๆ อยา งทรายหรอื น้ำกส็ ามารถสะทอนรังสยี ูวมี าสูรา งกายได
ทำใหไมวาจะเปนสภาพอากาศหนาว หรือรอ นกอ็ าจเกิดผวิ ไหมแดดได

ปกติแลว รางกายของมนุษยจะมกี ระบวน การปอ งกนั รงั สยี ูวอี ยู
โดยรางกายจะผลติ เม็ดสีท่มี ีช่ือวาเมลานนิ (Melanin)ออกมามาก
กวาปกติทผ่ี ิวหนงั ชั้นนอกและทำใหผ วิ คล้ำข้นึ ซง่ึ เมลานนิ จะเปน ตัว
ชวยในการปอ งกนั ผิวจากรังสียูวที ่ีมากเกนิ ไป และ ปอ งกันไมใหผ ิว
เกิดการไหมแ ดดแตกระบวนการนีส้ ามารถชว ยไดใ นระดับหนงึ่ เทา นน้ั

แสงไฟยูวีเอ (UVA)
ยูวเี อเปนรังสีทมี่ คี วามรนุ แรงนอ ยกวายูวีบี แตเปนรงั สีท่ี
สามารถทะลุเขา ไปทำลายเซลลใหมๆ ท่ีเกิดขึ้นในช้ันผวิ หนงั
แทและชน้ั ไขมนั ทส่ี ะสมอยใู ตผ ิวหนังและการรบั รงั สยี ูวเี อสะสม
เปนเวลานานก็จะทำใหผิวเกิดร้วิ รอยรอ งลกึ ตางๆ ตามมา

แสงไฟยวู บี ี (UVB)
ยวู บี มี ผี ลตอชั้นหนงั กำพรา ทอ่ี ยูน อก สุดของรา งกายกอใหเกิด
รอยแดงที่เปน สญั ญาณเริ่มตน ของอาการผวิ ไหมแดดการรับรงั
สยี วู บี สี ะสมเปนเวลานานก็เปน สาเหตขุ องการเกดิ รว้ิ รอยตางๆ
รวมไปถงึ มะเร็งผิวหนงั ชนดิ เมลาโนมา (Melanoma)และชนดิ
ไมใชเ มลาโนมา (Non-melanoma)

22 อาการ

ผวิ ไหมแ ดด มกั จะเริม่ มอี าการหลงั จากทโี่ ดนแดดไปประมาณ
2-6 ชัว่ โมง โดยมกั จะพบอาการแสบรอ นตามผวิ หนงั ทีโ่ ดนแดด
ผิวเรม่ิ เปล่ียนเปนสีแดงหลงั จากนั้นประมาณ 24 ช่ัวโมงข้ึนไปผิว
ทไี่ หมแดดจะเรม่ิ เกดิ อาการอ่นื ๆ ตามระดบั ความรุนแรง .โดยอาจ
พบวา ผวิ เรม่ิ มีอาการระคายเคืองหรอื เจ็บปวด

ผวิ ไหมแดดอาจเกดิ ไดก บั ผิวหนงั สวนทม่ี เี สื้อผาปกคลมุ อยหู ากเนื้อผา
บางเกนิ ไปหรอื ไมสามารถกนั รังสียูวีได รวมถึงบรเิ วณสว นอน่ื ของรา ง
กายทโ่ี ดนแดดไดอยางดวงตาทำใหแสบตา เจ็บตา ระคายเคืองตา หรอื
รูส กึ คลายมีเมด็ ทรายอยใู นดวงตา

ควรไปพบแพทยหากอาการผิวไหมแ ดดไมดขี ้ึนหรอื แยล งใน 2-3 วนั
เชนผวิ เริม่ บวมมากข้นึ แผลพุพองเพ่มิ ข้ึนทั่วรางกายหรอื มีอาการตดิ
เชื้อจากตุมแผลทแี่ ตกสงผลใหมีอาการเจบ็ มีหนองและรอยแดงกระจาย
บรเิ วณรอบๆแผล เปน ตน

ถามีสัญญาณของภาวะขาดน้ำ(Dehydration)ภาวะไมส มดลุ ของเกลือแร
ในรางกาย(Electrolyte Imbalances)หรอื เปนลมแดด(Heatstroke)ควรรีบ
ไปพบแพทยท นั ทเี พราะอาจเปนอันตรายถงึ ชวี ติ .โดยสังเกตไดห ลังจากการ
โดนแดดแลว รา งกายมีอณุ หภมู ิขน้ึ สูงเกนิ 39 องศาเซลเซียสรสู กึ วงิ เวยี น
ศีรษะคลืน่ ไสเ ปน ลมตัวซีด หายใจถี่ ชพี จรเตน เร็วกระหายนำ้ ไมค อยปสสาวะ
เบา ตาลึก

วธิ ปี ��งกนั 23

การปอ งกนั ผวิ ไหมแ ดดทดี่ ีที่สดุ จงึ เปน การหลีกเลย่ี งกจิ กรรมในทโี่ ลง
แจง ท่ตี อ งโดนแสงแดดจดั .โดยเฉพาะชวงเวลา 10.00-16.00น.หาก
เลย่ี งไมไดควรเลอื กปฏบิ ัติตามวธิ ีตา งๆที่ชว ยปอ งกนั หรอื ลดโอกาส
ไหมแดดเชน

หม่ันทาครีมกนั แดดและลิปบาลม อยเู สมอ.โดยเลอื กใช
ผลติ ภณั ฑทมี่ ีคา SPF 30 ขน้ึ ไปควรทากอ นออกแดดประมาณ
15 ถงึ 30 นาทแี ละทาซ้ำทกุ ๆ 2 ช่วั โมงหรอื หลังวายนำ้ และเหงื่อ
ออก

กางรมและสวมแวน กนั แดดทสี่ ามารถกันรังสยี วู หี รอื เลอื กสวม
เครือ่ งแตงกายท่ีสามารถปกปดรา งกายไดมดิ ชดิ เชน เส้อื หรอื
กางเกงขายาว.โดยเลอื กเสอ้ื ผา ทม่ี ีสีโทนมืดเพราะสามารถกัน
รงั สยี ูวไี ดม ากกวาเส้อื ผา ที่มีสโี ทนออ น

ดื่มน้ำและดืม่ วิตามนิ Cใหมากและหลีกเลี่ยงการดมื่ แอลกอฮอล
เพราะจะย่ิงทำใหร างกายเสี่ยงตอการเกดิ ภาวะขาดน้ำ

ทาครมี หรอื เจลวานหางจระเขหรือคาลาไมน เพ่ือเพิม่ ความชมุ ช้ืน

24

หากเปนผวิ ไหมแ ดดในระดับไมร นุ แรงอาการจะหายไดเอง วธิ ีรก� ษา
ตามธรรมชาต.ิ โดยผิวชัน้ บนจะเร่ิมลอกออกในชวง2-3วัน
หลังการไหมแดดหรอื อาจนานกวานนั้ และผวิ ใหมทข่ี ึน้ มา
อาจจะยงั มีสีท่ไี มส ม่ำเสมอแตจะดีข้ึนไดเองเมือ่ เวลาผาน
ไปนอกจากน้ีผปู วยยังสามารถใชว ธิ ตี า งๆ เพอ่ื ชว ยบรรเทา
อาการ เชน

ใชผ าเยน็ หรือผาชุบน้ำประคบลงบนผวิ
แตค วรหลีกเล่ยี งนำ้ ทมี่ ีอุณหภูมเิ ยน็ จดั

ทาครมี หรือเจลวานหางจระเข หรือคาลาไมน
เพือ่ เพ่ิมความชมุ ชน้ื

ดื่มน้ำเปลา หรือเคร่ืองดื่มท่ีไมม แี อลกอฮอลห รือคาเฟ
อนี เพ่ือชดเชยและปอ งกนั การสญู เสยี นำ้ ของรา งกาย

อยใู นทรี่ มหลีกเล่ียงการออกแดด

หลีกเลยี่ งยาทีท่ ำใหผวิ เกดิ การระคายเคอื งหรอื แพได

25

โรค ภูมิแพ�ผวิ หนงั

(Atopic dermatitis)

ภาพจาก.นพ.สมาธิ นิชานนท์
(คลินิกนายแพทยส์ มาธิ โรคผวิ หนัง ภมู ิแพ้ ศรีสะเกษ)

26

โรคภมู ิแพผ� วิ หนัง

ผื�นภมู แิ พ้ผวิ หนงั คอื โรคทางผวิ หนังประเภทหน�งึ อันเกดิ จากรา่ งกายมีปญ� หาใน
เรื�องของภูมคิ มุ้ กนั บกพร่องเปน� ทนุ เดิมอยแู่ ลว้ (ภมู ิแพ้)แสดงออกมาผ่านทาง
ผวิ หนงั โรคน�ไี มว่ า่ เด็ก ผ้ใู หญ่ หรอื เพศไหนก็เกดิ ขึ�นไดส้ ่วนใหญเ่ ม�อื เกดิ ข�ึนแลว้
มักมอี าการคนั รว่ มด้วย

ป�จจุบันแม้ยังไมม่ วี ิธีรักษาใหห้ ายขาดสนิทแตก่ ถ็ อื วา่ แนวทางการแพทย์จะชว่ ยลด
ความรนุ แรงของโรคได้ ซงึ� ตรงนต�ี อ้ งอาศัยการดูแลสขุ ภาพของตนเองดว้ ย
หากต้องการควบคุมอาการไม่ใหก้ ำเริบข�ึนมาอีก

27

สาเหตุ

โรคผ่ืนภมู ิแพผวิ หนัง เกิดจากสาเหตุไดห ลายอยา งแตป จจัยหลกั ๆมัก
เริม่ ตน มาจากรา งกายของตนเองมีปญหาเรอื่ งภูมิคุมกนั มากอ นสงผล
ใหเมื่อผิวหนังพบเจอกบั สิ่งแวดลอ มภายนอกก็มักเกดิ อาการแพจนมีผ่ืน
แดงคันข้นึ ตามสวนตา งๆ ของผวิ หนงั ซ่ึงปจจยั ภายนอกทสี่ รา งปญหา
ของโรคนไ้ี ดบ อ ยเชน การอยูในผืน่ ทฝ่ี นุ ละออง เกสรดอกไม ไรฝนุ ขนสตั ว
ท่ีสัมผสั กับผิวโดยตรง ฯลฯ

สภาพอากาศท่ีแหงในฤดูหนาวมักทำใหผวิ แหง ตามอันเปน อกี สาเหตุของ
การเกดิ โรค การทานอาหารบางชนิดท่ไี ปกระตุน ใหเ กิดโรค รวมถึงการได
รับสารเคมีบางชนิดท้ังทางตรงและทางออม อาทิ สารเคมีจากสบูยาสระ
ผมผงซกั ฟอก เปน ตน

28

อาการ

โรคภูมแิ พผ ิวหนงั มกั เกดิ รว มกบั โรคภมู ิแพระบบทางเดินหายใจเชน โรคหอบหืด แพอ ากาศ
สาเหตุโรคไมแนช ดั แตเ ชอ่ื วา สาเหตจุ ากพนั ธกุ รรมซึ่งโรคน้เี กี่ยวขอ งกบั ระบบภูมิคมุ กนั ของ
รา งกายท่ตี อบสนองตอ ส่งิ เรา ตา ง ๆ ไวกวาปกติ ทำใหเกดิ อาการแพขึน้

1 หากเปน เรื้อรงั ผิวหนังจะหนาและมีรอยคล้ำ

2 ผื่นแดง 3 แหง เปนขยุ

4 คนั ยุบยบิ 5 คนั มากขึ้นเม่ือเหง่อื ออก

29

วิธีป�องกนั

ผื่นภมู แิ พผิวหนังรักษา และปองกนั เบ้ืองตน ไดด ว ยการเลือกใชผ ลิตภัณฑใหความชมุ ชื้น
กบั ผวิ หนงั .โดยเฉพาะกลมุ มอยสเจอรไรซ่งิ เน่อื งจากเมือ่ ผิวหนังมคี วามชุม ชน้ื มากขึ้น
อาการของโรคมักไมคอยกำเริบออกมามากนกั อกี ทง้ั สารใหความชุมชื้นเหลา นย้ี ังชว ย
ปองกันไมใ หป จ จัยภายนอกเขามากระทบกับผวิ โดยตรงจนกอใหเ กิดอาการแพรุนแรงดวย

1 ทำความสะอาดรา งกายและลา งมืออยูเสมอ

2 ใชสบูออน ๆ ไมมนี ำ้ หอม ไมม ีสารกันเสยี และออนโยนตอผวิ

3หลีกเลยี่ งสถานทีท่ ีม่ ีฝุนละอองแมลง และยุงชุกชุม

หลกี เลี่ยงการใสเ สื้อผา ทีร่ ดั มากเนอ้ื หยาบหนา

4หรอื ผา ขนสตั ว ซ่ึงทำใหเกดิ การระคายเคอื งตอผิว

30

วิธีรกั ษา

อาการของโรคน้ยี ังไมม ีวธิ ีรักษาใหหายขาดได
ซ่งึ แพทยจะใชวธิ บี รรเทาโรคตามอาการทเี่ กดิ ขึน้ เชน

การทายาประเภทสเตยี รอยดพอื่ ลดความอกั เสบ

1 ทีเ่ กดิ ขึน้ กับผิวในกรณีที่ลกุ ลามมากๆ

บางรายท่ีอาการหนกั มากจริงๆแพทยอ าจเลือก 2
ใชว ธิ ีรกั ษาดว ยการฉายแสงอาทิตยเ ทียมการใหท าน
ยากดภมู ิ ยาปฏิชีวนะตา งๆ

การรักษาทางการแพทยแ ลวสว นใหญยงั มักไดร บั คำ

3 แนะนำใหห ลกี เล่ยี งปจ จัยเส่ยี งทีม่ ักทำใหเ กิดโรคนี้ เชน
การสัมผัสกบั ส่ิงแวดลอ มภายนอกท่มี กั กอใหเกดิ ความ
ระคายเคือง ควรเลือกสวมใสเส้อื ผาระบายอากาศไดดี

ใชครีมบำรุงผิวทีม่ สี ว นผสมของมอยสเจอรไ รเซอรท ่ี 4
ชวยฟนบำรุงปราการผิวออนโยนและไมมีสารเคมที ่ีไป
กระตุนการเกิดโรค

31

โรคกลนิ่ ตวั

(smell disease)

32

กลนิ่ ตวั

กล่นิ ตวั คอื กล่นิ เหมน็ หรอื กลิน่ ไมพงึ ประสงคทีม่ กั เกิดข้ึน
ในชว งวัยหนมุ สาวเปน ผลมาจากตอมเหง่อื ทีท่ ำงานมากข้นึ
เพอ่ื ควบคุมอณุ หภมู ใิ นรา งกายทำใหร างกายขับเหงื่อออก
มาก .โดยเฉพาะทบี่ ริเวณรกั แร ฝา มือ เทา หรือขาหนีบใน
ระหวางออกกำลังกายรวมถงึ การทำกิจกรรมในทีท่ ีม่ ี
อากาศรอน เม่อื เหงือ่ สัมผัสกบั เชอ้ื แบคทเี รียบนผิวหนังจงึ
ทำใหเกดิ กล่ินตัวหรอื กลนิ่ ทไ่ี มพึงประสงคข้นึ

33

สาเหตุ ผิวหนงั ของมนุษยจ ะประกอบไปดวยตอ มเหง่ือทส่ี ำคัญ 2
ตอ มดวยกนั คือตอมเอกไครน และตอ มอะโพไครน ซึ่งแตละตอม
จะมหี นาทีแ่ ตกตา งกันออกไป โดยมีรายละเอียดดังตอ ไปนี้

ตอมเอกไครน
เปน ตอ มทอี่ ยบู นผิวหนัง มหี นาที่ผลติ เหงื่อ
เมือ่ อุณหภูมใิ นรา งกายสูงขน้ึ เพ่อื คลายความรอนในรา งกาย
ในเหงอ่ื จะมนี ำ้ และเกลือเปน สว นประกอบหลักและจะระเหยเมอื่
อุณหภูมิในรา งกายเย็นตวั ลง

ตอ มอะโพไครน
เปน ตอ มท่ีอยูใ นบริเวณท่มี ีขนขึ้นมาก
เชน รกั แร หรือขาหนีบ จะผลติ ของเหลวสีขาวขนุ คลา ยนำ้ นม
ออกมาเม่อื เกิดความเครยี ด และเมือ่ สัมผสั กับเชือ้ แบคทเี รียบน
ผิวหนังจะทำใหเ กิดกลิ่นขึน้

34

อาการ ผูท เ่ี ปนโรคกล่ินตัวเหม็นมักเปนโรคน้ีมาตั้งแตเกดิ
แตส ว นใหญอ าการจะมาปรากฏตอนโตทพ่ี บบอย
คอื ในชว งเขาสวู ยั เจรญิ พนั ธหุ รือ วัยหนมุ สาว(Puberty)
.โดยอาการเดียวทเี่ กดิ ขนึ้ ก็คือ กลิน่ ตัวท่เี หมน็ คลุง คลาย
กลิ่นปลาเนา ซง่ึ ออกมาทางลมหายใจ เหง่ือ ปสสาวะ
อสุจิ สารคัดหลงั่ ในชอ งคลอด

บางคนอาจมีกลิ่นเหม็นคลงุ ตลอดเวลาแตส ว นใหญ
แลว กล่ินจะมาๆหายๆและมคี วามรุนแรงแตกตา งกนั ไป
ขึ้นอยูกบั ส่งิ กระตุน บางอยาง

.โดยปจจัยท่สี ามารถทำใหกลน่ิ เหม็นรนุ แรงขน้ึ ได
เชน การมีเหงอ่ื ออก ความเครยี ด อาหารบางชนิด
(เชน ปลา ไข ถ่วั )หรอื หากเปนผูหญิง ชวงมปี ระจำเดือน
และการกินยาคมุ กอ็ าจกระตนุ ใหอ าการของโรคกลนิ่ ตัว
เหม็นรนุ แรงขึ้นไดเชนกนั

35

วิธี ปจจบุ นั ยังไมมีวิธหี รอื ยารกั ษาโรคกลิน่ ตวั เหมน็
ปองกนั โดยเฉพาะ แตอ าการที่เกิดขึ้นสามารถดีขน้ึ ไดดว ยการปรบั เปลยี่ น
พฤตกิ รรมดังตอ ไปน้ี
และ
รกั ษา ใชย า
โรคกลิน่ ตัว หากจำเปน คณุ หมออาจใหคุณใชยาปฏิชีวนะในขนาดยาต่ำๆ
เพอ่ื ลดปริมาณแบคทเี รียในลำไสและกดการสรา งไตรเมทลิ ามนี
แตคณุ ไมค วรใชย าปฏิชีวนะติดตอ กันนานเกินไป และควรปรกึ ษา
แพทยเพอื่ เปลี่ยนยาหรอื หาวธิ ีรักษาใหมท กุ 2 อาทิตย
เพอ่ื ปอ งกนั แบคทเี รียดื้อยา

รักษาความสะอาด
ใชแชมพู สบู หรอื ครีมอาบน้ำทีม่ ีคา pH ระหวา ง 5.5-6.5
เพ่ือกำจดั กลน่ิ ตัวที่เกิดจากไตรเมทิลามีน.โดยไมทำลายสมดลุ
ความเปน กรด-ดางของผิว

ลดเหง่ือและลดเครยี ดดว ยการออกกำลงั กายเบาๆ
แทนการออกกำลังกายอยา งหนักหนวงจนเหงือ่ ออกมาก
และพยายามอยาวติ กกังวลหรือเครียดเกินไป เพราะสามารถ
สง ผลใหอาการของโรคกลิ่นตวั เหมน็ รนุ แรงข้ึนได

36

วธิ ี อาบนำ้ อยา งนอ ยวนั ละ 2 ครง้ั
ปอ งกัน เพือ่ ลางเหงือ่ และกำจัดแบคทีเรียบนผิวของคุณ
เพราะอาจมแี บคทีเรียที่อาศยั อยูบนผวิ ของคณุ
และ ผสมกับเหง่อื พวกมนั จะทวีคณู อยางรวดเรว็ และทำให
รกั ษา
โรคกล่นิ ตวั ใชส บูตา นเช้ือแบคทีเรยี
(ตอ) การอาบนำ้ ใหสะอาดดว ยสบูตา นเชื้อแบคทเี รีย
จะชว ยกำจัดแบคทเี รียอนั เปน สาเหตุของกล่ินตัว
และกำจดั กล่นิ รักแรอันไมพึงประสงคได

ลดอาหารหรอื เคร่อื งดม่ื บางชนิดสิง่ ท่ีคุณกิน
มผี ลตอกล่ินตัวของคุณเชน พริกเผ็ดหรืออาหารรสเผ็ดอ่นื ๆ
อาจทำใหเหง่อื ออกงายข้ึนและกลิน่ ของอาหารอยางหวั หอม
หรือกระเทียมกส็ ามารถขับออกมาทางเหงื่อได เชนกัน

เช็ดตัวดวยผา ขนหนใู หแหง สนิท
เช็ดตวั ใหแ หงสนทิ ทกุ ครั้งหลงั อาบน้ำ
โดยใหค วามสนใจกับจดุ ซอนเรน ทเี่ หงอ่ื ออกมากๆเชน รกั แร

ขอขอบคณุ ขอ มลู จาก
(https://www.pobpad.com)


Click to View FlipBook Version