The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worayut1011, 2021-11-29 23:11:19

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศ

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศ 3

44

ภาพท่ี 78 ขอ้ มูลค่า Journal Impact
2. การค้นหาขอ้ มลู ทีบ่ ทความนามาอา้ งอิง Cited Reference Search
2.1 สบื ค้นผลงานของบุคคล โดยดูว่ามกี ารถูกนาไปอ้างองิ มากน้อยอยา่ งไร

ใส่ช่ือผ้แู ตง่ ที่ไดร้ บั การอา้ งถึง โดยใชน้ ามสกลุ และอักษรตัวแรกของชอื่ ในการสืบค้น
2.2 หรือเลือกท่ี Select from index และระบุขอบเขตในชอ่ งด้านหลงั เปน็ Cited Author

ดงั ภาพที่ 79

2.1
2.2

ภาพที่ 79 การระบขุ อบเขตในการสบื คน้

45
2.3 พมิ พ์นามสกุลท่ีต้องการสืบคน้ แลว้ คลกิ Move To ดงั ภาพท่ี 80
2.4 ระบบจะแสดงรายการนามสกุลทม่ี ีช่อื สะกดต่างกันท้ังหมดทอี่ ยู่ในฐานนีค้ ลกิ Add หนา้
รายการที่ต้องการ (ก่รี ายการก็ได)้

2.4

2.5

ภาพท่ี 80 แสดงผลการสบื ค้นบุคคลจากนามสกุล
2.6 รายการท่ี Add จะปรากฏในช่องด้านลา่ ง จากนัน้ คลิก OK ดงั ภาพที่ 81

2.6

ภาพท่ี 81 ขัน้ ตอนการเลอื กรายการนามสกุล

46
2.7 ระบบจะเชื่อมคาคน้ ให้อัตโนมัตโิ ดยใชห้ ลกั การ ตรรกบูลนี จากนั้นคลกิ Search ดังภาพท่ี 82

2.7

ภาพที่ 82 กระบวนการสืบค้น

2.8 ระบบจะแสดงหน้าจอผลการสืบคน้ ขนึ้ มาโดยจะมรี ายละเอยี ด ดงั ภาพที่ 83
2.8.1 Cited Author รายช่ือผู้แต่งที่ได้รับการอา้ งองิ
2.8.2 Cited Work ช่อื ขงสิ่งพมิ พ์ ซงึ่ สามารถเรยี กแสดงช่ือเรื่องไปพรอ้ มกันดว้ ย สามารถ

คลิกได้ท่ี Show Expanded Titles
2.8.3 Year ปที พี่ ิมพ์
2.8.4 Volume: เลข Volume
2.8.5 Page: เลขหนา้
2.8.6 Citing Articles: จานวนครั้งทบี่ ทความ (Record) น้ีไดร้ บั การอ้างถงึ

2.4.1 2.4.2 2.4.3 2.4.5
2.4.4
2.4.6

ภาพที่ 83 แสดงผลการสืบค้น

47

2.8 หากต้องการดวู ่าแต่ละบทความมีใครนาไปอา้ งบา้ ง ให้คลิกทหี่ นา้ รายการบทความที่ตอ้ งการ
ดู แล้วคลิก finish Search ดังภาพที่ 84

2.8

ภาพที่ 84 เลือกรายการเพ่ือดูรายละเอียด

ภาพที่ 85 รายการบทความทน่ี ารายการดังกล่าวไปอา้ ง

3. ตรวจสอบวา่ วารสารของมหาวทิ ยาลัยมกี ารถูกนาไปอ้างองิ มากนอ้ ยเพยี งใด
3.1 ใสช่ ่อื ของสิง่ พิมพท์ ่ีไดร้ ับการอา้ งองิ เช่น ชือ่ วารสาร ชอ่ื หนงั สือ เป็นต้น และระบุ

ขอบเขตในชอ่ งด้านหลงั เปน็ Cited Work
3.2 หรอื เลือก Cited Work แล้วตรวจสอบที่ Select from Index ดงั ภาพท่ี 86

48

3.1

ภาพท่ี 86 ข้นั ตอนการสืบค้นจากชือ่ วารสาร
3.3 พิมพ์ชื่อวารสาร บางส่วน จากนน้ั คลิก Move To ดงั ภาพที่ 87

3.3

ภาพที่ 87 ขนั้ ตอนการสบื ค้นจากรายช่อื วารสาร
3.4 ระบบจะเชอ่ื มคาคน้ ให้อัตโนมัตโิ ดยใชห้ ลักการ ตรรกบลู ีน จากน้นั คลกิ Search ดงั

ภาพท่ี 88

3.4

ภาพที่ 88 กระบวนการสบื ค้น

49

ภาพที่ 89 แสดงผลการสืบค้น

50

การใชง้ านฐานข้อมลู ACM Digital Library

ACM Digital Library เป็นฐานข้อมูลทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ จาก
ส่ิงพิมพ์ต่อเนื่อง จดหมายข่าว และเอกสารในการประชุมวิชาการ ที่จัดทาโดย ACM (Association
for Computing Machinery) ซ่ึงเน้ือหาเอกสารประกอบด้วยข้อมูลท่ีสาคัญ เช่น รายการ
บรรณานุกรม สาระสังเขป article reviews และบทความฉบับเต็ม ให้ข้อมูลย้อนหลังต้ังแต่ปี 1985-
ปัจจุบัน สัญลักษณ์ฐานข้อมูล ACM Digital Library แสดงดังภาพที่ 90 และสามารถเข้าใช้งานท่ี
http://library.lru.ac.th หรือ https://dl.acm.org/ ดงั ภาพท่ี 91

ภาพท่ี 90 สญั ลกั ษณฐ์ านข้อมลู ACM Digital Library
ท่ีมา : dl.acm.org (2561)

ภาพท่ี 91 ฐานข้อมลู ACM Digital Library
ท่ีมา : dl.acm.org (2561)

51

การสบื ค้นขอ้ มูลฐานข้อมูล ACM Digital Library
ฐานข้อมูล ACM Digital Library แบ่งการสืบค้นข้อมูลออกเป็น 3 แบบ คือ การสืบค้นข้ัน
พ้ืนฐาน (Quick Search), การสืบค้นข้ันสูง (Advanced Search) และการสืบค้นแบบไล่เรียง
(Browse Publications) ดังภาพท่ี 92

1

2

3

ภาพที่ 92 รปู แบบการสบื ค้นฐานข้อมลู ACM Digital Library
แบบที่ 1 การสืบค้นขั้นพ้ืนฐาน (Quick Search) เป็นทางเลือกในการสืบค้นข้อมูลอย่าง

รวดเร็วโดยการใช้คา วลี ประโยคงา่ ย ๆ มขี ้นั ตอนดังน้ี
1. ระบุคาคน้ หรือวลลี งในช่องวา่ ง
2. คลิกที่ Search
3. ผลการสบื คน้ จากคาสืบค้น ดังภาพท่ี 93

52

12

3

ภาพท่ี 93 การสืบคน้ แบบพน้ื ฐาน Quick Search
แบบท่ี 2 การสืบค้นข้ันสูง (Advanced Search) เป็นการสืบค้นแบบขั้นสงู สามารถสืบค้น

ได้จาก ชื่อผู้แต่ง Author , ปีท่ีพิมพ์ Publication Year และเลขเฉพาะของบทความวารสาร DOI มี
ขน้ั ตอนดงั น้ี

1. คลิกที่ Advanced Search
2. ใส่คาสืบคืน ไม่จาเป็นจะต้องระบุคาเชื่อม And , Or , Not ด้วยตนเอง เพราะระบบของ
ฐานข้อมูล ACM จะระบคุ าเช่อื มไว้ให้เรยี บร้อย
3. คลิกที่ Search ดงั ภาพที่ 69
4. ผลการสบื ค้นแบบขัน้ สูง Advanced Search ดงั ภาพท่ี 94

53

1
2

3

ภาพที่ 94 การสบื คน้ ขนั้ สูง Advanced Search

4

ภาพท่ี 95 ผลการสบื คน้ ฐานข้อมูล ACM Digital Library

54

แบบที่ 3 การสบื คน้ แบบไลเ่ รียง (Browse Publications)
1. คลกิ เลอื กประเภทสิ่งพิมพ์ ดงั ภาพท่ี 96

1

ภาพที่ 96 การสืบคน้ แบบไลเ่ รียง (Browse Publication)
2. คลิกชอื่ สิ่งพมิ พ์และเลือกบทความทส่ี นใจจาก ACM ดังภาพที่ 97

ภาพที่ 97 กระบวนการเลือกบทความ
3. คลิกเมนู Publication Archive ดังภาพท่ี 98

3

ภาพท่ี 98 เมนู Publication Archive

55

4. คลิกเลือกเล่มและฉบบั ทีต่ ้องการ ดงั ภาพที่ 99

4

ภาพท่ี 99 การเลอื กเล่มและฉบบั ท่ีของวารสาร

5. คลิกดูสารบัญ Table of Contents
6. คลิกดเู อกสารทต่ี ้องการ ดังภาพท่ี 100

5

6

ภาพท่ี 100 รายช่ือบทความท่ตี พี ิมพใ์ นวารสาร

56

7. เอกสารฉบบั เต็ม (Full text) เลอื กสั่งพิมพ์ (Print) หรือ บันทึก (Save) ดงั ภาพที่ 101

7

ภาพท่ี 101 รายละเอยี ดฉบบั เตม็ (Full text) ของบทความ

การนาออกเอกสาร Export Citation
การนาออกรายการบรรณานุกรมเพื่อต้องการนาบทความท่ีเลอื กไว้ไปอ้างองิ
1. คลิกเลอื กท่ี Export Formats ดังภาพท่ี 102

1

ภาพท่ี 102 ขั้นตอนการนาออกเอกสาร Export Citation
2. คลิกรายการบรรณานุกรม ดงั ภาพท่ี 103

2

ภาพที่ 103 รายละเอียดบรรณานกุ รม

57

การใช้งานฐานข้อมลู EBSCO Discovery Service

ฐานข้อมูล EBSCO เป็นฐานข้อมูลท่ีสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาบอกรับ และ
ครอบคลุมสหสาขาวิชา เช่น ศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วิทยาการจัดการ ที่
มีดรรชนี หรือสาระสังเขปบทความวารสาร และเอกสารและบทความวารสารฉบับเต็ม(Full text)
ของวารสาร สัญลักษณ์ฐานข้อมูล EBSCO Discovery Service ดังภาพที่ 104 และสามารถเข้าใช้
งานท่ี http://library.lru.ac.th หรอื http://eds.a.ebscohost.com/eds ดังภาพท่ี 105

ภาพท่ี 104 สญั ลักษณ์ฐานข้อมูล EBSCO Discovery Service
ที่มา : eds.a.ebscohost.com (2561)

ภาพท่ี 105 ฐานข้อมูล EBSCO Discovery Service
ทม่ี า : eds.a.ebscohost.com (2561)

58
การสบื คน้ ฐานข้อมูล EBSCO Discovery Service
1. เลอื กฐานข้อมลู EBSCO Discovery Service Plus Full Text ดงั ภาพท่ี 106

1

ภาพที่ 106 ข้นั ตอนการเลือกฐานข้อมูล EBSCO
2. การสืบค้นขอ้ มูล สามารถสืบคน้ ไดจ้ ากเขตข้อมลู 3 เขตข้อมลู ไดแ้ ก่
2.1 การสบื คน้ แบบใช้คาสาคัญ (Keyword) ดังภาพท่ี 107

2.1

ภาพท่ี 107 การสบื คน้ แบบใช้คาสาคญั (Keyword)

59

2.2 ใสค่ าสาคญั ในช่องสืบคน้ คลกิ Search ดงั ภาพท่ี 108

2.2

ภาพที่ 108 ตวั อยา่ งการสบื ค้นดว้ ยคาสาคญั (Keyword)
2.3 เลอื กรายการทรัพยากรท่ีตอ้ งการอ่าน ดังภาพท่ี 109

2.3

ภาพที่ 109 ผลการสบื ค้นฐานข้อมลู EBSCO Discovery Service

60
2.4 รายละเอียดบรรณานุกรม ชื่อผแู้ ตง่ แหลง่ ท่ีมา ช่อื เร่ือง สาระสงั เขป สามารถใชใ้ น
การทาบรรณานุกรม อา้ งองิ ได้ ดังภาพที่ 110

2.4

ภาพที่ 110 รายละเอยี ดบรรณานกุ รมทรพั ยากร
2.5 สามารถบันทึกเป็นไฟล์ PDF และสามารถคลกิ เพ่ือดาวน์โหลดเกบ็ ไวไ้ ด้

ดังภาพที่ 111

ภาพท่ี 111 ตัวอยา่ งบทความ

61

3. การสืบคน้ วารสาร (Publication Search)
3.1 เลอื กเมนสู ืบคน้ วารสาร (Publication) ดงั ภาพท่ี 112

3.2ภาพท่ี 112 หน้าจอหลกั ฐานข้อมลู EBSCO Discovery Service
3.1
3.2 ระบบจะแสดงหนา้ ตา่ งการสบื ค้นแบบพืน้ ฐาน ผูใ้ ช้สามารสืบค้นได้จาก ชื่อเรอ่ื ง คาสาคญั
หรือเลข ISSN/ISBN หรอื เลือกได้จากรายชื่อด้านล่าง ดังภาพท่ี 113

ภาพท่ี 113 ขัน้ ตอนการสบื ค้น

3.3 ระบบจะแสดงรายชื่อวารสารทต่ี พี ิมพข์ องรายชอ่ื สานักพิมพน์ ้ันๆ ท่ีเลือก เลือก Full Text
Access เพื่อดรู ายละเอยี ดภายในเลม่ ดังภาพท่ี 114 และภาพท่ี 115

3.3 62
ภาพที่ 114 ผลการสืบค้น
ภาพที่ 115 รายละเอยี ดวารสาร

63

ฐานขอ้ มูลภาษาไทย
การใช้สหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบนั อดุ มศกึ ษาไทย (UCTAL)

ฐานข้อมลู สหบรรณานกุ รมสาหรับหอ้ งสมุดสถาบันอดุ มศกึ ษาของประเทศไทย เปา้ หมายเพื่อ
ช่วยสนับสนุนการดาเนินงานเก่ียวกับเลขมาตรฐานสากลของหนังสือ/วารสาร การจัดทารายการ
สิ่งพิมพ์สาเร็จรูป การจัดการระเบียนบรรณานุกรม การควบคุมระเบียนรายการหลักฐาน และการใช้
รายการร่วมกัน อันจะช่วยรองรับการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ลดความซ้าซ้อนในการจัดทารายการ
บรรณานุกรม และใช้ประโยชน์ในการยืมระหว่างห้องสมุดของสถาบันอุดมศึกษาไทย รวมท้ังอานวย
ความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ ท้ังนักศึกษา อาจารย์และนักวิชาการในการค้นหาหนังสือที่ต้องการโดยที่
ไมต่ อ้ งเขา้ เว็บไซตข์ องแต่ละห้องสมดุ

หน่วยวิจัยนวัตกรรมด้านสารสนเทศ สานกั วชิ าสารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ มี
ภารกิจสาคัญในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล (Database System) ให้สามารถรองรับการดาเนินงาน
สหรายการบรรณานุกรม (Union catalog) ของห้องสมุดสมาชิกเครือข่าย ThaiLis รวมท้ังพัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ (Application) บนพื้นฐานมาตรฐานสากลในการควบคุมรายการบรรณานุกรม
(Bibliographic control) เพ่ือให้สามารถรองรับการทารายการ การตรวจสอบและควบคุม และการ
ใช้รายการร่วมกัน (Copy & Shared catalog) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สัญลักษณ์ฐานข้อมูล
สหบรรณานุกรมสาหรับห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย แสดงดังภาพท่ี 116 และ
สามารถเขา้ ใช้งานที่ http://library.lru.ac.th หรือ http://uc.thailis.or.th

ภาพท่ี 116 สญั ลักษณฐ์ านข้อมลู สหบรรณานกุ รมสาหรับหอ้ งสมุดสถาบนั อุดมศึกษาของประเทศไทย
ท่มี า : uc.thailis.or.th

การสืบคน้ ฐานข้อมูลสหบรรณานกุ รมสาหรับห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย
1. เขา้ สู่ http://uc.thailis.or.th ดงั ภาพท่ี 117

ภาพท่ี 117 URL สหบรรณานุกรมห้องสมดุ สถาบันอุดมศึกษาไทย

64

ภาพที่ 118 ฐานข้อมลู สหบรรณานุกรมห้องสมดุ สถาบนั อุดมศึกษาไทย UCTAL
2. ผใู้ ช้ระบคุ าคน้ ท่ีต้องการ (การศึกษา) จากนน้ั คลิกค้นหา ดังภาพที่ 119

12

ภาพท่ี 119 ขั้นตอนการสบื ค้น UCTAL
3. ระบบจะทาการสืบคน้ ระเบียนบรรณานกุ รมที่มคี าวา่ การศึกษา ปรากฏอยู่

ดังภาพที่ 120

ภาพที่ 120 ผลการสืบค้น

65

3. คลกิ ทช่ี ือ่ เร่ืองเพอื่ ไปดูรายละเอยี ดของระเบยี นทตี่ ้องการ ดงั ภาพที่ 121

ภาพที่ 121 ผลการสบื ค้น
4. ข้อมูลของระเบยี นทางบรรณานกุ รมลักษณะบตั รรายการ ดังภาพที่ 122

ภาพท่ี 122 รายละเอยี ดทางบรรณานุกรม

5. ถา้ ต้องการดูรายละเอียดสามารถคลิกท่ีปมุ่ Marc จะปรากฏรายการบรรณานุกรม
ดงั ภาพที่ 123

66
ภาพท่ี 123 รายละเอยี ดทางบรรณานกุ รม MARC

67

การใช้งานฐานข้อมลู TDC (Thai Digital Collection)

TDC หรือ Thai Digital Collection เป็นโครงการหนึ่งของ ThaiLIS มีเป้าหมายเพ่ือให้
บริการสืบค้นฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ซ่ึงเป็นเอกสารฉบับเต็มของ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย
ของอาจารย์ รวบรวมจากมหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ ทั่วประเทศ นักศึกษา อาจารย์ และบคุ ลากร ในการเข้า
ใชบ้ ริการนั้นจะต้องเข้าใช้งานจากคอมพิวเตอร์ ภายในห้องสมุดสมาชิก ดูรายละเอียดห้องสมดุ สมาชิก
ได้จากทางเลือกมหาวิทยาลัย/สถาบัน การดาเนินการในปัจจุบันได้ดาเนินการ migrate ข้อมูลจาก
ระบบเดิม เข้าสู่ระบบใหม่เรียบร้อยแล้ว รวมทั้งได้มีการจัดอบรมการใช้งาน การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ
ให้กับสมาชิกใหม่ เช่น มหาวิทยาลัยเอกชน หน่วยงานอื่นๆ ท่ีมีจุดมุ่งหมายในการให้ความรู้และ
ต้องการเผยแพร่ผลงานต่าง ๆ ให้สังคม เพ่ือให้สังคมได้นาความรู้เหล่านี้ไปปรับใช้เพ่ือเป็นการต่อยอด
ความรู้เดิม และพัฒนาประเทศต่อไป สัญลักษณ์ฐานข้อมูล TDC (Thai Digital Collection แสดงดัง
ภาพท่ี 124 และสามารถเขา้ ใชง้ านที่ http://library.lru.ac.th หรอื http://tdc.thailis.or.th/tdc

ภาพที่ 124 สัญลักษณฐ์ านข้อมูล TDC (Thai Digital Collection
ทม่ี า : tdc.thailis.or.th (2561)

การสบื ค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์TDC
1. ใสค่ าค้นทตี่ ้องการสืบค้นลงในช่องคาค้น
2. เลือกตาแหน่งที่ต้องการให้คาค้นปรากฏในเขตข้อมูลที่ต้องการ เช่น ข้ึนต้นด้วย ส่วนใด
ส่วนหนึ่ง หรอื แยกคาตามช่องว่าง
3. เลอื กเขตข้อมลู ท่ตี ้องการค้น เชน่ ตอ้ งการค้นจากช่ือเรอื่ ง ผู้สรา้ งผลงาน
4. เลอื กมหาวิทยาลยั /สถาบนั ทต่ี ้องการท่ีตอ้ งการคน้
5. เลือกชนิดของเอกสารเปน็ วิทยานพิ นธ์/thesis
6. คลกิ ปุ่ม คน้ หา ดงั ภาพท่ี 125

68

3

1
4

2
5

6

ภาพท่ี 125 ขน้ั ตอนการสบื ค้นข้อมูล TDC
7. หน้าจอจะแสดงผลการคน้ รายช่อื วทิ ยานิพนธ์ ดงั ภาพท่ี 126

7

ภาพท่ี 126 ผลการสืบค้นฐานขอ้ มลู TDC (Thai Digital Collection

69
8. หนา้ จอจะแสดงรายละเอียดทางบรรณานุกรมตา่ งๆของวทิ ยานิพนธ์ ดงั ภาพที่ 127

8

ภาพที่ 127 รายละเอียดแฟ้มขอ้ มลู สาหรบั ดาวนโ์ หลด (Download)
9. การ Download / Save รายการขอ้ มลู
- สมาชิกสามารถทาสาเนา และบนั ทึกไดด้ ว้ ยตนเอง
- คอมพิวเตอร์ท่ีใช้จะต้องติดตั้งโปรแกรม Acrobat Reader สาหรับเปิดอ่านเอกสาร

อิเลก็ ทรอนิกส์
- เลือกไฟล์เอกสารที่ต้องการจะปรากฏตามตัวอย่าง โดยคลิกท่ียอมรับเงื่อนไขก่อนการ

Download [คลกิ๊ ในช่องเพือ่ ยอมรับเงอ่ื นไข] Download จาก => thailis ดังภาพที่ 128

ภาพท่ี 128 รายละเอยี ดเงื่อนไขก่อนดาวน์โหลด (Download)

70
10. หน้าจอจะแสดงรายละเอียดของเอกสารฉบับเต็มที่ต้องการ ในรูปแบบไฟล์ PDF ดัง
ภาพที่ 129

ภาพท่ี 129 รายละเอียดของเอกสารฉบบั เต็มที่ต้องการ ในรปู แบบไฟล์ PDF

71

การสืบคน้ ทรัพยากรภายในศูนยว์ ทิ ยบริการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย
การสืบค้น Web OPAC ศูนย์วทิ ยบรกิ าร

Web OPAC (Online Public Access Catalog : OPAC) เป็นเคร่ืองมือช่วยค้นทรัพยากร
สารสนเทศท่ีมีในศูนย์วิทยบริการที่เข้ามาแทนบัตรรายการ เป็นระบบสืบค้นโดยใช้คอมพิวเตอร์
สามารถเข้าใชง้ านท่ี http://library.lru.ac.th หรอื http://opac.lru.ac.th ดงั ภาพที่ 130

ภาพท่ี 130 Web OPAC ศูนยว์ ทิ ยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย
การสบื ค้น Web OPAC ศูนยว์ ิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย
1. การสืบคน้ แบบ Quick Search
1.1 สามารถพิมพ์คาค้นในช่องสบื คน้ เพ่ือหาทรัพยากรสารสนเทศทต่ี ้องการดงั ภาพ และ

คลิกค้นหา ดังภาพท่ี 131

1.1

ภาพท่ี 131 การสืบคน้ แบบ Quick Search
1.2 ผลการสืบคน้ จะได้ทรัพยากรสารสนเทศที่ปรากฏคาท่เี ราสืบคน้ ไมว่ ่าจะอย่สู ว่ นใด

ของรายการบรรณานุกรม ดงั ภาพท่ี 132

72

1.2

ภาพที่ 132 ผลการสบื คน้ Web OPAC ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย
1.3 คลกิ เลือกรายการทรัพยากรทีต่ อ้ งการททราบรายละเอียด ดสู ถานะของทรัพยากร

สารสนเทศ และจดเลขเรียกหนังสอื เพ่ือไปหาท่ีชั้นหนังสือ ดังภาพที่ 133

1.3

ภาพท่ี 133 รายละเอียดทรัพยากร 2.1
2. การสบื คน้ แบบ Advance Search
2.1 คลกิ ท่สี ืบคน้ ขั้นสงู ดงั ภาพท่ี 134

ภาพที่ 134 การสบื ค้นแบบขั้นสงู (Advance Search)

73

2.2 ตวั อยา่ งการสบื คน้ ดว้ ยช่ือเร่อื ง ดังภาพท่ี 135

2.2

ภาพที่ 135 การสืบคน้ ขน้ั สงู ดว้ ยช่อื เร่อื ง
2.3 ตวั อยา่ งการสืบคน้ ด้วยผู้แตง่ ดังภาพที่ 136

2.3

ภาพที่ 136 การสืบค้นขั้นสูงดว้ ยผู้แต่ง

74

2.4 ตัวอยา่ งการสืบค้นดว้ ยคาสาคัญดงั ภาพท่ี 137

2.4

ภาพท่ี 137 การสืบค้นขน้ั สูงด้วยคาสาคัญ
2.5 ตวั อยา่ งการสืบคน้ ด้วยหวั เรื่อง ดังภาพท่ี 138

2.5

ภาพที่ 138 การสืบค้นขั้นสูงด้วยหัวเรือ่ ง

75

2.6 การรวมหลายคาคน้ ในการค้นครั้งเดยี ว ดังภาพท่ี 139

2.6

ภาพที่ 139 การสืบค้นขัน้ สูงแบบรวมหลายคาค้นในครั้งเดียว

การยมื ทรพั ยากรต่อในระบบ (Renew)
1. ลงช่ือเข้าสู่ระบบดว้ ย บารโ์ ค้ดและรหัสผา่ นท่ีไดร้ บั จากบรรณารกั ษ์ ชอ่ ง Account Login
หรือ เมนู เขา้ สูร่ ะบบ ดงั ภาพที่ 140

76

1.1

ภาพท่ี 140 การลงช่อื เขา้ ส่รู ะบบ
2. ระบบจะแสดงหน้าจอเมนู บัญชีของฉัน รายการของฉัน ป้ายระเบียนของฉัน ตะกร้า

สบื คน้ รายการหลกั สืบค้นหนังสือสารอง ประวตั กิ ารสืบคน้ ออกจากระบบ ดงั ภาพท่ี 141

2

ภาพที่ 141 รายละเอยี ดเมนูในการใชบ้ ริการ
3. คลิกที่เมนูบญั ชขี องฉนั เพ่ือทาการยมื ต่อในระบบ ผู้ใชส้ ามารถยืมได้รายการละไม่เกินสาม

ครั้ง
4. ระบบจะแสดงหน้ารายละเอียดและจานวนทรัพยากรที่ยืมทั้งหมดเพ่ือทารายการยืมต่อ

ผู้ใช้คลิกที่กล่องด้านหน้าชื่อทรัพยากรท่ีต้องการยืมต่อ (ในการยืมต่อในระบบทุกครั้งผู้ใช้จะต้องทา

77
การยืมต่อในระบบก่อนวันครบกาหนดส่ง 1 วันและก่อนเวลา 12.00 น.) หลังจากนั้นคลิกที่เมนู
ด้านล่างมมุ ซ้าย “ยมื ตอ่ ” ดงั ภาพที่ 142 และเมอ่ื ดาเนินเสร็จเรยี บรอ้ ยจะแสดงขอ้ มูลดังภาพท่ี 143

3

4

ภาพที่ 142 ขน้ั ตอนการยืมต่อในระบบ

ภาพที่ 143 ระบบยนื ยนั การยืมตอ่ ในระบบเสรจ็ สมบรู ณ์

78

ฐานข้อมูล E- Clipping
การใชง้ านฐานข้อมลู มตชิ น Matichon e – library

MiC eLibrary หรือ Matichon Information Center จัดทาโดยห้องสมุดข่าวมติชน เป็น
ฐานข้อมูลที่เก็บรวบรวมข่าวจากหนังสือพิมพ์ท่ีผลิตในประเทศไทยกว่า 29 ฉบับ เช่น The nation
Bangkok Post กรุงเทพธุรกิจฯลฯ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ ท่ีง่ายต่อการสืบค้น สามารถค้นหา
ได้โดยใช้คาค้นหรือเลือกอ่านได้ตามหมวดหมู่ ช่วยให้ผู้ท่ีต้องการข่าวย้อนหลังสามารถเข้าไปดาวน์
โหลดไดเ้ ลย ข้อมลู ข่าวยอ้ นหลังไดจ้ ากปีปจั จบุ นั – ปี 2540 สญั ลักษณ์ฐานข้อมูล มติชน Matichon
e–library แ ส ด งดั งภ าพ ท่ี 1 44 แ ล ะ ส าม ารถ เข้ าใช้ งาน ท่ี http://library.lru.ac.th ห รื อ
http://www.matichonelibrary.com/news

ภาพที่ 144 สัญลักษณ์ฐานข้อมลู มตชิ น Matichon e–library
ทม่ี า : matichonelibrary.com (2561)

การสบื คน้ ฐานขอ้ มูลมติชน Matichon e–library
1. พมิ พ์คาค้น/วลที ี่ต้องการคน้ ลงในชอ่ ง และเลือกเขตข้อมูล จากหัวเร่ือง เชน่ อุตสาหกรรม
การทอ่ งเท่ียว จากนั้นคลิกปมุ่ คน้ หา เชน่ จงั หวัดเลย ดังภาพท่ี 145

1

ภาพท่ี 145 การสืบคน้ บทความข่าวใน matichonelibrary

79

2. เลือกระบุ วันที เดือน ปี ทต่ี อ้ งการท่ีชอ่ งสืบค้น ดังภาพที่ 146

2

ภาพท่ี 146 การระบุเขตข้อมูล วนั ท่ี เดอื น ปที ต่ี ้องการสบื ค้น
3. เลือกระบแุ หลง่ ทมี่ า เชน่ ชอื่ หนงั สอื ไทยรฐั ดังภาพที่ 147

3

ภาพท่ี 147 การระบุเขตข้อมูลแหล่งท่มี า

80

4. ระบุคาคน้ ทช่ี ่องสบื คน้ เชน่ จังหวัดเลย ดงั ภาพที่ 148

4

ภาพท่ี 148 การระบุคาค้นในการสืบคน้
5. ผลลพั ธก์ ารสบื คน้ คลกิ เลอื กรายการทตี่ ้องการ ดงั ภาพที่ 149

5

ภาพที่ 149 ผลการสบื คน้ ฐานขอ้ มลู มติชน Matichon e–library

81
6. จะปรากฏผลลัพธ์ของข่าว หรือบทความในรูปแบบไฟล์ PDF สามารถ โหลด PDF ได้ ดัง
ภาพท่ี 150

6

ภาพที่ 150 ผลการสบื ค้นบทความข่าวในรูปแบบ PDF

82

ฐานข้อมลู E – Book
การใช้งานฐานข้อมลู IG Publishing

ฐานข้อมูล iGLibrary (iG Publishing) ฐานข้อมูลออนไลน์ ประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(e-Book) ฉบับภาษาต่างประเทศและภาษาไทย แบบฉบับเต็ม Full Text ประกอบไปด้วยหนังสือ
จากหลากหลายจากสานักพิมพ์ชื่อดังท่ัวโลก อาทิMcGraw-Hill, iGroup Press, ISEAS, World
Science, BEP, iSmithers Rapra, ฯลฯ ที่ครอบคลุมสาขาวิชาบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สาธารณสุข มนุษยและ
สงั คมศาสตร์ ฯลฯ สามารถ Download, Copy, Print, Note, Bookmark มี Dictionary และแปล
เป็นภาษาต่าง ๆ ได้กว่า 40 ภาษา มี Link ไปยังแหล่งข้อมูลอ่ืน พร้อมด้วยเทคโนโลยีการสืบค้นท่ี
งา่ ยและทนั สมยั ของ iViewer สญั ลกั ษณฐ์ านข้อมูล IG Publishing แสดงดังภาพท่ี 151

ภาพที่ 151 สญั ลกั ษณ์ฐานข้อมูล IG Publishing
ทมี่ า : portal.igpublish.com (2561)

วิธกี ารสืบคน้ ฐานข้อมูล IG Publishing
1. ดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น IGP Reader มาไว้บนอุปกรณ์พกพาที่จะใช้สาหรับอ่าน
eBook สามารถดาวน์โหลดไดท้ งั้ ระบบ IOS และ Android (ดาวน์โหลดฟร)ี ดงั ภาพท่ี 152

ภาพท่ี 152 ตัวอย่างแอพพลเิ คชั่น IGP Reader

83

2. Quick Search
2.1 สามารถสืบค้นได้จากการพิมพ์คาค้นจาก คาสาคัญ (Keyword) ได้ ตัวอย่างการ

สืบค้น โดยพิมพ์คาสาคัญ (Keyword) ฐานข้อมูลจะปรากฏชื่อหนังสือขึ้นมาให้เลือก ดังภาพท่ี 153
และภาพท่ี 154

2.1

ภาพที่ 153 การสืบคน้ eBook แบบ Quick Search

ภาพที่ 154 ผลการสบื ค้น eBook
2.2 เม่ือเราเลือกหนังสือท่ีต้องการได้แล้วให้คลิกเลือกที่เมนู Read ดังภาพที่ 155

2.2

ภาพที่ 155 การดาวนโ์ หลดeBook

84
2.3 สามารถแชร์ eBook เล่มที่เลือกไปไว้ท่ีหน้าFacebook หรือ Google+ ดังภาพที่
155

2.3

ภาพท่ี 155 ไอคอนสาหรับแชร์ eBook ไปยงั หน้าโซเชยี ลมเี ดีย
2.4 หากผใู้ ช้ต้องการยืม eBook คลกิ ท่ี Checkout ดงั ภาพท่ี 156

2.4

ภาพที่ 156 ขัน้ ตอนการยมื eBook

85

2.5 ระบบจะแสดงหน้าต่าง Login ผู้ใช้สามารถ เข้าสู่ระบบได้โดยไม่ต้องใส่ Account
และ Password โดยทาการเลือก Login ด้วยโซเซียลมีเดีย Facebook และ Google ดังภาพท่ี
157 ผู้ใช้กรอกรายละเอียดเรยี บรอ้ ยแล้วระบบจะแสดงหนา้ จอการเข้าสรู่ ะบบ ให้คลกิ ที่ Return ดัง
ภาพที่ 158

2.5

ภาพที่ 157 การเข้าสู่ระบบเพ่ือทาการยืม eBook

ภาพที่ 158 ระบบแสดงรายการเข้าสรู่ ะบบเรียบร้อย
2.6 ระบบจะแสดงหน้าต่าง QR Code ขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้ ดาวน์โหลด (Download)

แอพพลิเคชั่นสาหรบั โหลด eBook เกบ็ ไว้อ่านในอปุ กรณพ์ กพา (โทรศพั ทม์ ือถือ แทบ็ เลต)
2.7 หากมี แอพพลิเคชั่นแล้วให้หรือดาวน์โหลดเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกที่ Next

Step ดังภาพที่ 159

86

2.6

2.7

ภาพท่ี 159 QR Code ในการตดิ ตงั้ แอพพลเิ คชัน่ IGP Reader
2.8 ระบบจะแสดงหน้าต่างรายละเอียดข้อตกลง ให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลจานวนวันในการ

ยมื อ่านแตล่ ะครั้ง ยืมได้ 14 วนั ตอ่ ครงั้ และคลิกทเี่ มนู Next Step ดังภาพท่ี 160

2.8

ภาพท่ี 160 การกาหนดจานวนวนั ในการยมื eBook
2.9 ระบบจะแสดงหน้าต่าง Authorization Code และ QR Code ของหนังสือเล่มที่

ต้องการยืม ผู้ใช้สามารถกรอกตัวเลขที่ป รากฏ ในช่อง Enter Authorization Code ใน
แอพพลิเคช่ัน IG Reader ในอปุ กรณ์พกพาที่โหลดแอพพลิเคช่ันแลว้ หรือสแกน QR Code ท่ีระบบ
แสดงขึ้นมาให้ในหน้าจอคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถอ่านได้ 14 วัน และบุคคลอื่นจะไม่สามารถยืม
หนังสือเลม่ น้ีได้จนกวา่ จะครบ 14 วนั ดังภาพที่ 161

87
ภาพท่ี 161 กระบวนการดาวนโ์ หลด eBook ในแอพพลเิ คช่นั IGP Reader

88

การหาคา่ Impact Factor

Journal Impact Factor (JIF) หรือ ดัชนผี ลกระทบการอ้างองิ วารสาร หมายถึง จานวนคร้ัง
โดยเฉลี่ยที่บทความของวารสารนั้นได้รับการอ้างอิงในแต่ละปี โดยผู้ท่ีคิดค้น JIF คือ Dr. Eugene
Garfield แ ล ะ Irving H Sher แ ห่ งส ถ า บั น ISI (Institute for Scientific Information) ห รื อ
Thomson Reuters แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงทศวรรษ 1960 เพ่ือใช้ดัชนีนี้ในการคัดเลือก
วารสารเข้าสู่ฐานข้อมูลของสถาบัน ISI โดยข้อมูลการอ้างอิงน้ี ได้มาจากการอ้างอิงท่ีเกิดข้ึนใน
ช่วงเวลา 2 ปีของกลุ่มวารสารจานวนหนึ่งท่ีปรากฏในฐานข้อมูลของสถาบัน ISI จานวน 3 ฐานข้อมูล
คือ ฐานข้อมูล Science Citation Index (SCI), Social Science Citation Index (SSCI) และ Arts
and Humanities Citation Index (A&HCI)

Impact Factor คือ ดชั นหี นงึ่ ท่ีแสดงถงึ คณุ ภาพของวารสาร โดยวดั จากค่าความถ่ีท่ีบทความ
ในวารสารหนึ่งๆ ได้รับการอา้ งถงึ ในช่วง 2 ปี ตามการจดั ของ JCR year

Impact Factor หรือ Journal Impact Factor หมายถึง จานวนครั้งโดยเฉล่ีย ท่ีบทความ
ของวารสารน้ันจะได้รับการอ้างอิง ในแต่ละปี (A measure of the frequency with which the
"average article" in a journal has been cited in a particular year or period)

Impact Factor เป็นค่าความถี่ท่ีบทความซ่ีงตีพิมพ์ในวารสารช่ือหน่ึง ๆ จะได้รับการอ้างถึง
หรือถูกนาไปใช้ หรือเป็นการวัดค่าความถ่ีของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี จัดทาโดย
Institute for Scienctific Information (ISI) ต้ังแต่ปี 1975 จนถึงปัจจุบัน ปกติการคานวณหาค่า
Impact factor มักจะคานวณในรอบ 2 ปี ดังน้ันค่า Impact factor จึงเป็นจานวนคร้ังโดยเฉลี่ยที่
บทความซ่ึงตีพิมพ์ในวารสารช่ือหน่ึง ๆ ในรอบ 2 ปีท่ีผ่านมา ได้รับการอ้างถึงในปีปัจจุบัน ในช่วง
เดือนกรกฎาคม-กันยายนของทุกปี บริษัท Clarivate Analytics หรือเดิมคือ ISI (Institute of
Scientific Information) จะผลิตฐานข้อมูลท่ีมีชื่อว่า Journal Citation Reports (JCR) ซ่ึงจัดทา
อย่างต่อเนื่องมานานกว่า 50 ปี อดีตจัดทาในลักษณะส่ิงพิมพ์ช่วยค้น และในรูปแบบ CD-ROM
ปัจจุบันอยู่ในรูปแบบ Web Edition โดยครอบคลุมวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สังคมศาสตร์ระดับนานาชาติ จากท่ัวโลก และฐานข้อมูล JCR ปีล่าสุด คือปี 2016 ประกอบด้วย
Science Edition และ Social Science Edition ครอบคลุมวารสารจานวน 12,090 ชื่อ ให้บริการ
เม่ือเดือน กรกฎาคม ปี 2017

คา่ Impact Factor จงึ เป็นเคร่ืองมือชนิดหนึ่งท่ีช่วยในการเปรยี บเทียบและจดั อันดับวารสาร
อาจนามาใช้ประโยชน์สาหรับห้องสมุด ในการคัดเลือกและบอกรับวารสาร ใช้สาหรับนักวิจัยในการ
คัดเลือกวารสารท่ีเหมาะสมเพ่ือการตีพิมพ์ รวมท้ังใช้ประเมินคุณภาพด้านการวิจัยของ

89

สถาบันการศึกษา โดยพิจารณาจากคุณภาพของบทความที่ตีพิมพ์โดยบรรดานักวิจัยภายในสถาบัน
น้นั ๆ ไดอ้ กี ด้วย

IF = 1.0 หมายถึง โดยเฉล่ีย บทความท่ีตีพิมพ์ในวารสารนี้ ในช่วง 1 หรือ 2 ปีท่ีผ่านมา
ไดร้ ับการอา้ งถึง 1 ครัง้

การพิจารณาคุณภาพของวารสารโดยใช้ค่า IF จะต้องเปรียบเทียบค่า IF นี้ ในระหว่างกลุ่ม
วารสารที่จัดอยู่ในสาขาเดียวกัน จึงจะทราบว่าวารสารรายช่ือหน่ึงๆ มี IF สูง หรือ มีผลกระทบในวง
วิชาการสูงเปน็ อันดบั ต้นๆ ของสาขาหรือไม่

ค่า IF น้ันคือการคานวณบทความของวารสารที่ตีพิมพ์ผ่านมาแล้ว 2 ปี และจานวนครงั้ ที่ถูก
นาไปอา้ งในปีท่ีต้องการหาค่า มาคานวณเพ่อื หาค่าเฉล่ยี

การประเมินจากค่า Journal Impact Factor (JIF) ซ่ึงเป็นดัชนีที่ได้รับการยอมรับในระดับ
สากล โดยท่ัวไปถือว่าวารสารใดที่มีค่า JIF สูง ถือเป็นวารสารที่มีคุณภาพสูงด้วย การได้ตีพิมพ์
เผยแพรผ่ ลงานวิจยั ในวารสารทีม่ ีค่า JIF สงู จึงถือเป็นความสาเร็จและเปน็ เกียรติคุณสาหรับนกั วิจยั

ค่า JIF สาหรับวารสารวิชาการในระดับนานาชาติจัดทาโดย Institute for Scientific
Information (ISI) ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยคานวณจากค่าเฉล่ียของการอ้างอิงบทความ 1
บทความในระยะ 2 ปีย้อนหลัง ISI จะประกาศค่า JIF ประจา ปีออกมาราวเดือนกรกฎาคมของทุกปี
และจัดเรียงวารสารแยกตามสาขาวิชา

สาหรับวารสารวิชาการส่วนใหญ่ที่จัดพิมพ์เผยแพร่ในประเทศ จะได้รับการประเมินค่า JIF
จาก ศูนยด์ ัชนกี ารอา้ งอิงวารสารไทย (Thai Citation Index Centre, TCI Centre) ซง่ึ เป็นหน่วยงาน
ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ศูนย์ TCI Centre แห่งนี้ได้จัดทาและพัฒนาฐานข้อมูลวารสาร
ไทย ให้สามารถสืบค้นได้ในระบบออนไลน์และรายงานค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสารไทย
โดยใช้หลกั การในการคานวณค่าดชั นีเช่นเดียวกับการคานวณค่า JIF ของ ISI และเรียกค่าดัชนีที่ได้ว่า
TCI Impact Factor และใช้เป็นหลักในการจัดอันดับวารสารวิชาการไทย TCI Centre ได้เร่ิม
ดาเนินงานมาต้ังแต่ปี พ.ศ.2545 และทาการประกาศค่า TCI Impact Factor ในวันที่15 กรกฎาคม
ของทกุ ปีต่อเนอื่ งมาจนถงึ ปจั จบุ ัน

ความสาคญั ของคา่ Impact Factor
เมื่อกลา่ วถึงวิธีการตรวจสอบคณุ ภาพของนักวิจัยหรอื ผลงานวจิ ยั
1. เพอื่ ประเมินผลงานทางวชิ าการ
2. พิจารณาจดั สรรเงินทนุ อุดหนุนการวิจยั
3. ตัดสินรางวัลนักวิจยั หรือผลงานวจิ ยั ดีเดน่ ตา่ งๆ

90

4. ประกันคุณภาพสถาบนั การศึกษา
5. ตรวจสอบคณุ ภาพผลงานวทิ ยานิพนธข์ องนักศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก ท่กี าหนดให้ตพี ิมพ์
เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดบั นานาชาตกิ ่อนอนมุ ัติใหจ้ บการศึกษา
6. รบั สมคั รอาจารยห์ รือนกั วจิ ยั เขา้ ทางาน
เรามักจะไดย้ นิ คาวา่ Impact Factor อยู่บ่อยครง้ั ในฐานะเปน็ เกณฑ์หรือดชั นีชว้ี ดั คุณภาพ
ของวารสาร ซ่ึงนยิ มใชก้ นั มาก แต่ทจ่ี รงิ แลว้ การประเมนิ นกั วิจยั หรอื ผลงานวิจัย มกั ใช้เกณฑ์ในการ
พจิ ารณาหลายอย่างประกอบกัน
1. มีผ้ทู รงคณุ วฒุ ใิ นสาขาน้นั ๆ พิจารณาเน้ือหาของบทความ
2. พจิ ารณาจากปริมาณหรอื จานวนผลงานท่ีตพี ิมพ์
3. ลาดบั ความสาคญั ในฐานะผแู้ ตง่ บทความวา่ เป็น First, Last หรอื Corresponding
Author
จานวนครั้งที่บทความดังกล่าวได้รับการอ้างอิงโดยบทความอ่ืน (Citation Frequency) แต่
ท้ังนี้ต้องไม่นับการอ้างอิงตนเอง (Self-cited) พิจารณาว่าเป็นบทความท่ีได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร
ทางวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีระบบผู้ประเมินอิสระ (Peer Review) และปรากฏอยู่ในฐานข้อมูล
สากลต่างๆ หรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากวารสารดังกล่าวปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI ด้วย จะทา
ให้สามารถตรวจสอบและจัดอันดับความสาคัญโดยพิจารณาจากค่า Impact Factor ของวารสารนั้น
ได้
ค่า Impact Factor จึงอาจเป็นเคร่ืองมือชนิดหนึ่งท่ีช่วยในการเปรียบเทียบและจัดอันดับ
วารสาร สามารถนามาใช้ประโยชน์สาหรับห้องสมุด ในการคัดเลือกและบอกรับวารสาร ใช้สาหรับ
นักวิจัยในการคัดเลือกวารสารที่เหมาะสมเพ่ือการตีพิมพ์ รวมทั้งใช้ประเมินคุณภาพด้านการวิจัยของ
สถาบันการศึกษาโดยพิจารณาจากคุณภาพของบทความที่ตีพิมพ์โดยบรรดานักวิจัยภายในสถาบัน
น้นั ๆ ได้อกี ดว้ ย

วิธคี านวณคา่ Impact Factor
สตู รการคานวณค่า Journal Impact Factors ตามวิธกี ารของสถาบัน ISI (ศนู ยด์ ัชนกี าร

อา้ งอิงวารสารไทย, ม.ป.ป.)

JIF = จานวนรายการอา้ งองิ ในที่ X ท่อี า้ งถึงบทความในปี X-1 + ปี X-2 ของวารน้ัน
จานวนบทความท้ังหมดทต่ี ีพิมพ์ในปี X-1 + ปี X-2 ของวารสารน้ัน

91

วิธคี านวณค่า Impact Factor
มีหลักเกณฑ์อย่างง่าย ๆ ดังนี้ ตัวอย่างเช่น วารสาร Nature ซึ่งมีค่า Impact Factor ในปี

2002 = 30.432 (สูงเป็นอันดบั 5) คานวณไดจ้ ากจานวนคร้งั โดยเฉลีย่ ที่บทความของวารสาร Nature
ซึ่งตีพิมพ์ภายในระยะเวลา 2 ปีย้อนหลัง (ปี 2000+2001) ได้รับการอ้างอิงภายในปีปัจจุบัน (ปี
2002) (ศนู ยด์ ัชนีการอา้ งองิ วารสารไทย, ม.ป.ป.)

IF = จานวนครั้งที่ถกู อา้ งองิ ในปที ่ี X – 1 + ปที ี่ X – 2
จานวนบทความทงั้ หมดทีต่ ีพมิ พ์ในวารสาร ปีท่ี X – 1 + ปที ่ี X – 2

จานวนครั้งที่ถูกอ้างอิงภายในปี 2002 ของบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร Nature (ระยะเวลา
2 ปี)

- ปี 2000 = 33,448 ครง้ั
- ปี 2001 = 25,955 คร้งั
- ปี 2000+2001 = 59,403 ครัง้
จานวนบทความทง้ั หมดท่ีตีพมิ พ์ในวารสาร Nature (ระยะเวลา 2 ปี)
- ปี 2000 = 1,013 บทความ
- ปี 2001 = 939 บทความ
- ปี 2000+2001 = 1,952 บทความ
จานวนคร้ังที่ถกู อ้างองิ ในปี 2002/จานวนบทความทตี่ พี ิมพ์ในปี 2000-2001
= 59,403/1,952 = 30.432
ค่า Impact Factor และอันดับของวารสารมักมกี ารเปลย่ี นแปลงเสมอ ท้งั น้ีข้ึนอย่กู ับจานวน
การอ้างอิงในแต่ละปีพบวา่ วารสาร Nature มคี ่า Impact Factor สูงขึ้นในปี 2002 เมื่อเปรียบเทียบ
กับปี 2001 ซ่ึงมีคา่ Impact Factor = 27.955 และสูงเป็นอนั ดับ 8 ของวารสารทง้ั หมดในฐานข้อมูล
JCRi

คา่ Journal Quartile Score (Q)
โดยปกติการประเมินคุณภาพและจัดอันดับวารสารมักนิยมใช้ค่าดัชนีอ้างอิงวารสาร หรือ

Journal Impact Factor เป็นหลัก แต่ในกรณีที่ต้องการเปรียบเทียบคุณภาพของวารสารข้าม
สาขาวิชา การใช้ค่า Journal Impact Factor อาจไม่เหมาะสม เน่ืองจากค่า Journal Impact
Factor ของวารสารในแต่ละสาขาวิชาไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น วารสารในสาขาวิชาจุลชีววิทยามี
ค่ า Journal Impact Factor เฉ ล่ี ย อ ยู่ ท่ี 2.424 ใน ข ณ ะ ที่ วารส ารใน ส าข าเก ษ ต รศ าส ต ร์
(Agriculture, Multidisciplinary) มีค่า Journal Impact Factor เฉล่ียเพียง 0.649 การบอกว่า
วารสาร ก. ในสาขาเกษตรศาสตร์ที่มีค่า Journal Impact Factor 0.6 มีคุณภาพต่ากว่าวารสาร ข.

92

ในสาขาจุลชีววิทยาที่มีค่า Journal Impact Factor 2.4 เป็นการเปรียบเทียบท่ีไม่เหมาะสม จึงได้มี
การคิดค้นค่า Journal Quartile Score (Q) ข้ึนเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบคุณภาพของวารสารข้าม
สาขาวชิ า

ค่า Journal Quartile Score (Q) หมายถึง ค่า Quartile Score ของวารสารในแต่ละ
สาขาวชิ า โดยท่ี

Q1 = กลุ่มวารสารที่ดีท่ีสุดในสาขาวิชานี้ จานวน 25% ของจานวนวารสารท้ังหมดใน
สาขาวชิ าน้นั ๆ (the highest 25% of total journal in each subject category)

Q2 = กลุ่มวารสารที่มีคุณภาพรองลงมา จานวน 25% ถัดมาของจานวนวารสารท้ังหมดใน
สาขาวชิ านั้นๆ (middle-upper position, top 25%-50%)

Q3 = กลุ่มวารสารที่มีคุณภาพรองลงมา จานวน 25% ถัดมาของจานวนวารสารท้ังหมดใน
สาขาวชิ านนั้ ๆ (middle-lower position, top 50% - 75%)

Q4 = กลุ่มวารสารท่ีมีคุณภาพต่าสุด จานวน 25% สุดท้ายของจานวนวารสารทั้งหมดใน
สาขาวชิ าน้นั ๆ (the lowest 25% of total journal)

ตั ว อ ย่ า ง เช่ น ว า ร ส า ร Chiang Mai Journal of Science มี ค่ า Journal Impact
Factor ป ร ะ จ า ปี 2013 เ ท่ า กั บ 0.418 จั ด อ ยู่ ใ น อั น ดั บ ที่ 35 จ า ก ว า ร ส า ร ใ น
สาขาวิชา Multidisciplinary Sciences ท้ังหมด 55 รายช่ือ จัดอยู่ในควอไทล์ที่ 3 (Q3) ในสาขาวชิ า
น้ีวารสารในอันดับที่ 1-13 (ได้จากการนาจานวนวารสารในสาขาทั้งหมดหารด้วยสี่ ในที่น้ี
คอื 55/4) จะจดั อยูใ่ นควอไทลท์ ่ี 1

จะเห็นได้ว่าค่า Journal Quartile Score สะท้อนให้คุณภาพของวารสารวิชาการได้ถูกต้อง
กว่าการใชค้ ่า Journal Impact Factor ในการประเมนิ คณุ ภาพวารสารขา้ มสาขาวชิ า

การหาค่า Journal Quartile Score (Q)
สาหรับค่า Journal Quartile Score มีผู้ให้บริการ 2 ราย คือบริษัท Thomson Reuters ที่

ใช้ข้อมูลจากค่าดัชนีอ้างอิงวารสาร Journal Impact Factor และ SCImago Journal and
Country Rank ซง่ึ ใช้ข้อมลู จากฐานขอ้ มลู Scopus

ค่า H – index
คือ ดชั นใี นการประเมินคุณภาพผลงานตพี มิ พ์ในวารสาร ซ่ึงตั้งชื่อตามผู้คิดคน้ คือ Professor

Jorge E. Hirsch ซึ่งเป็นศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียแห่งซานดิอาโก้ h-
index น้ี เป็นดัชนีที่เกิดจากการนาข้อจากัดของ JIF มาประกอบการพิจารณาและนาเสนอดัชนีตัว
ใหม่ที่เชื่อว่ามีความเที่ยงตรงมากกว่า เพื่อใช้เป็นทางเลือกในการประเมินผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ใน
วารสารนานาชาติ

93

ความหมายของ h-index
h-index คือ ค่าท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนการอ้างถึง (Citations) กับลาดับของ
บทความท่ีถูกอ้างถึง (Article Rank Number) โดยจานวนการอ้างถึง ต้องมากกว่า หรือเท่ากับ
ลาดับของบทความที่ถูกอ้างถึง (A scientist has index h if h of his N papers have at least h
citations each, and the other (N-h) papers have no more h citations each.) (ศูนย์ดัชนี
การอ้างองิ วารสารไทย, ม.ป.ป.)
จากคาจากัดความ จะเห็นว่า ค่า h-index ประกอบด้วยจานวนการอ้างถึงบทความวารสาร
(Citations) และจานวนบทความท่ีมีการตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ (Number of Publications) ซึ่ง
ข้อมูลท้ังสองประเภทนี้ มีปรากฏในฐานข้อมูลบางฐานข้อมูลเท่าน้ัน เช่น ISI Web of Science,
Scopus, Google Scholar และ TCI ของประเทศไทย โดยค่า h-index ท่ีฐานข้อมูลเหล่าน้ี คานวณ
ให้นั้น จะไม่ตรงกัน ข้ึนอยู่กับจานวนวารสารท่ีมีอยู่ในฐานข้อมูล และจานวนการอ้างอิงที่แต่ละ
บทความไดร้ บั ในชว่ งเวลาทีก่ าหนดดว้ ย
หากนักวิจัยได้รับค่า h – index = 10 หมายความว่า นักวิจัยผู้นั้นมีผลงานตีพิมพ์ 10
บทความ และได้รับการอ้างอิงอย่างต่าสุด 10 คร้ัง/บทความ วิธีการคานวณหาค่า h – index ขั้นต้น
คือระบุหาบทความของผู้แต่งในฐานข้อมูลการอ้างอิง ค่า h – index เป็นวิธีการวัดแบบง่าย นับจาก
จานวนบทความที่ตีพิมพ์ (publications) และจานวนคร้ังที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุดใน 1 บทความ
Prof. Hirsch ได้ประมาณการว่านักวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพความสาเร็จเม่ือระยะเวลาผ่านไป 20 ปี
ควรมีค่า h – index = 20

ค่า g-index
ค่า g-index คือค่าดัชนีในการวัดคุณภาพผลงานวิจัยที่ให้ค่าน้าหนักกับบทความที่มีการอ้าง

ถึงสูงสุด คนที่นาเสนอ g-index คือ Leo Egghe ซึ่งนาเสนอในปี 2006 โดยใช้ข้อมูล 2 ชุด
เช่นเดียวกับข้อมูลที่ใช้คานวณค่า h-index คือ ค่าจานวนคร้ังในการอ้างถึง (Times cited : TC) กับ
ค่าแสดงอนั ดบั ของบทความทีม่ กี ารอ้างองิ สูงสดุ (Article rank number : R)

วธิ กี ารคานวณ
นาตัวเลข TC มาบวกกันอย่างต่อเน่ืองเพ่ือแสดงผลบวกสะสม ในคอลัมน์ท่ี 3 ส่วนค่า R ให้
นามายกกาลงั สองแล้วนาเสนอคา่ ในคอลัมน์ท่ี 4 หลังจากนนั้ ให้นาข้อมลู 4 ชดุ มาเปรยี บเทียบกนั โดย
ให้พิจารณาหาค่าผลรวมของ TC ตัวสุดทา้ ย ท่ีมีค่ามากกว่า คา่ R2 และ ตัวเลขในคอลัมน์ R ที่อยู่แถว
เดียวกบั ตวั เลขสดุ ท้ายท่ผี ลรวมของ TC มีค่ามากกว่า คา่ R2 คอื ค่า g-index


Click to View FlipBook Version