The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worayut1011, 2021-11-29 23:11:19

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศ

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศ 3

คู่มือการสบื คน้ สารสนเทศออนไลน์
ศนู ย์วทิ ยบริการ สานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

[email protected] 0-4283-5234
facebook.com/lrulibrary library.lru.ac.th

คานา

คู่มือการสืบค้นสารสนเทศออนไลน์จัดทาข้ึนเน่ืองในการดาเนินโครงการจัดการความรู้ (Knowledge
Management) ของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เพื่อใช้เป็นคู่มือใน
การใช้สืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ท่ีมีให้บริการในศูนย์วิทยบริการ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย สาหรบั บคุ ลากรสานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศและบุคคลทว่ั ไป

ขอขอบคุณบคุ ลากรศนู ย์วิทยบริการทกุ ทา่ นที่ทาให้การจดั ทาคู่มือเล่มน้ี สาเร็จไปไดด้ ว้ ยดี

สานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มถิ นุ ายน 2561

สารบัญ หน้า

คานา 1
สารบญั
สารบัญภาพ 4
เทคนิคการสบื คน้ 10
ฐานข้อมูลภาษาต่างประเทศ 16
25
การใชง้ านฐานข้อมูล ACS Journals 26
การใช้งานฐานข้อมูล Science Direct 29
การใชง้ านฐานข้อมูล SpringerLink-Journal 34
การใช้งานฐานข้อมูล ProQuest Dissertations 40
การใช้งานฐานข้อมลู ABI/INFORM Collection
การใช้งานฐานข้อมลู Web of science 43
การใชง้ านฐานข้อมูล ACM Digital Library 46
การใชง้ านฐานข้อมลู EBSCO Discovery Service
ฐานข้อมลู ภาษาไทย 49
การใช้งานฐานข้อมูล Union Catalog of Thai Academic Libraries (UCTAL)
การใชง้ านฐานข้อมลู TDC (Thai Digital Collection) 56
การสืบคน้ ทรัพยากรภายในศนู ยว์ ิทยบรกิ าร มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย
การใชง้ านฐานข้อมลู Web OPAC 60
ฐานข้อมลู E – Clipping
การใช้งานฐานข้อมลู มติชน Matichon e-library
ฐานขอ้ มลู E – Book
การใช้งานฐานข้อมลู IG Publishing

สารบญั ภาพ หนา้
1
ภาพที่ 1 หนา้ หลกั เว็บไซต์ศูนยว์ ิทยบรกิ าร 2
ภาพท่ี 2 การใช้ตรรกบลู นี (Boolean logic) 4
ภาพท่ี 3 ฐานข้อมลู ACS Journals 5
ภาพท่ี 4 การสืบคน้ แบบ Quick Search 5
ภาพที่ 5 ผลการสืบคน้ 6
ภาพที่ 6 การสบื ค้นจากข้อมูลอ้างอิง (Citation) 6
ภาพท่ี 7 ผลการสืบคน้ 6
ภาพที่ 8 การสืบค้นแบบไลเ่ รียงบทความตามกลุม่ เร่ือง 7
ภาพท่ี 9 ผลการสืบคน้ 7
ภาพท่ี 10 การสืบคน้ จากรายชอ่ื วารสาร (ACS Journals) 8
ภาพที่ 11 ผลการสบื คน้ 8
ภาพที่ 12 การสบื ค้นแบบ Advanced Search 9
ภาพท่ี 13 การเลือกประเภททรพั ยากร Advanced Search 9
ภาพที่ 14 ผลการสบื ค้น 10
ภาพท่ี 15 ฐานข้อมูล Science Direct 11
ภาพท่ี 16 การสืบคน้ แบบ Quick Search 11
ภาพท่ี 17 ผลการสืบค้น 11
ภาพท่ี 18 การสืบค้นแบบ Advanced Search 12
ภาพที่ 19 การใส่คาคน้ แบบ Advance Search 12
ภาพที่ 20 ผลการสืบค้น 13
ภาพที่ 21 ผลการสบื คน้ 13
ภาพที่ 22 การสืบค้นแบบไล่เรยี ง (Browse) 14
ภาพท่ี 23 การสบื ค้นโดยเลอื กจากชื่อวารสาร 14
ภาพท่ี 24 ผลการสบื ค้นรายชื่อวารสาร 14
ภาพท่ี 25 สัญญาลักษณ์แสดงสิทธิ์ในการเข้าถงึ ข้อมูล 15
ภาพที่ 26 แสดงรายละเอียดบทความ 15
ภาพที่ 27 ผลการสืบคน้ 16
ภาพที่ 28 ฐานข้อมลู Springer link 17
ภาพที่ 29 การสบื คน้ แบบไล่เรียงตามหัวเร่ือง (Browse by discipline) 17
ภาพท่ี 30 ประเภทส่ิงพมิ พ์ 18
ภาพที่ 31 แสดงรายชอ่ื วารสาร 18
ภาพที่ 32 ผลการสืบคน้ 19
ภาพท่ี 33 แสดงรายละเอียดบทความในวารสาร

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้
19
ภาพท่ี 34 แสดงผลการสืบค้นจากชื่อวารสาร 20
ภาพท่ี 35 การสืบค้นแบบ Quick Search 20
ภาพท่ี 36 ผลการสบื คน้ 21
ภาพท่ี 37 การสบื ค้นแบบ Advanced Search 21
ภาพที่ 38 รายละเอียดในการสบื ค้น 22
ภาพที่ 39 แสดงรายละเอยี ดการสืบค้น 22
ภาพท่ี 40 ผลการสบื คน้ 23
ภาพที่ 41 ผลการสบื ค้น 23
ภาพที่ 42 ผลการสบื ค้นท่สี ามารถ Download PDF 24
ภาพท่ี 43 ตัวอยา่ งเอกสาร PDF 25
ภาพท่ี 44 ฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Theses Global 26
ภาพท่ี 45 ฐานข้อมลู ABI/INFORM Collection 26
ภาพท่ี 46 สาหรบั เลอื กฐานข้อมูลทีต่ ้องการสืบค้น 27
ภาพที่ 47 รายชื่อฐานข้อมลู ที่ตอ้ งการสืบคน้ 27
ภาพท่ี 48 กระบวนการสบื ค้น 28
ภาพท่ี 49 ผลการสบื คน้ 28
ภาพท่ี 50 ข้นั ตอนการดาวนโ์ หลดขอ้ มลู 29
ภาพท่ี 51 กระบวนการสบื ค้นฐานข้อมลู Web of Science 30
ภาพท่ี 52 การระบุเขตข้อมูลในการสืบคน้ 30
ภาพท่ี 53 การระบเุ ขตข้อมูลชอื่ เร่ือง (Title) 31
ภาพที่ 54 การระบุชว่ งตพี ิมพ์ 31
ภาพที่ 55 ข้ันตอนการสบื คน้ 32
ภาพท่ี 56 แสดงผลการสบื ค้น 32
ภาพที่ 57 รายละเอยี ดบรรณานกุ รม 33
ภาพที่ 58 รายละเอียดบทความ 33
ภาพที่ 59 ข้อมลู ค่า Journal Impact 34
ภาพที่ 60 รปู แบบการสืบคน้ ฐานข้อมลู ACM Digital Library 35
ภาพที่ 61 การสบื ค้นแบบพ้ืนฐาน Quick Search 36
ภาพที่ 62 การสืบคน้ ขั้นสูง Advanced Search 36
ภาพที่ 63 ผลการสบื คน้ 37
ภาพท่ี 64 การสืบค้นแบบไล่เรียง (Browse Publication) 37
ภาพที่ 65 กระบวนการเลือกบทความ 37
ภาพท่ี 66 เมนู Publication Archive

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้
38
ภาพท่ี 67 การเลือกเล่มและฉบับท่ีของวารสาร 38
ภาพท่ี 68 รายช่ือบทความที่ตีพมิ พใ์ นวารสาร 38
ภาพท่ี 69 รายละเอียดฉบับเต็ม (Full text) ของบทความ 39
ภาพที่ 70 ขัน้ ตอนการนาออกเอกสาร Export Citation 39
ภาพที่ 71 รายละเอียดบรรณานุกรม 40
ภาพที่ 72 ฐานข้อมลู EBSCO Discovery Service 40
ภาพท่ี 73 ขนั้ ตอนการเลือกฐานขอ้ มลู EBSCO 41
ภาพที่ 74 การสืบค้นแบบใชค้ าสาคัญ (Keyword) 41
ภาพท่ี 75 ตวั อยา่ งการสืบค้นดว้ ยคาสาคญั (Keyword) 41
ภาพท่ี 76 ผลการสืบค้น 42
ภาพท่ี 77 รายละเอียดบรรณานุกรมทรัพยากร 42
ภาพท่ี 78 ตวั อย่างบทความ 43
ภาพที่ 79 URL สหบรรณานกุ รมหอ้ งสมดุ สถาบนั อุดมศึกษาไทย 43
ภาพที่ 80 ฐานขอ้ มูล สหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบนั อุดมศึกษาไทย UCTAL 44
ภาพที่ 81 ขน้ั ตอนการสบื ค้น UCTAL 44
ภาพที่ 82 ผลการสืบคน้ 44
ภาพท่ี 83 ผลการสืบคน้ 45
ภาพท่ี 84 รายละเอียดทางบรรณานกุ รม 45
ภาพท่ี 85 รายละเอยี ดทางบรรณานกุ รม MARC 46
ภาพท่ี 86 ขั้นตอนการสืบคน้ ข้อมูล TDC 47
ภาพท่ี 87 ผลการสบื ค้น 47
ภาพที่ 88 รายละเอียดแฟ้มข้อมูลสาหรบั ดาวนโ์ หลด (Download) 48
ภาพที่ 89 รายละเอียดเง่ือนไขกอ่ นดาวน์โหลด (Download) 49
ภาพท่ี 90 รายละเอียดของเอกสารฉบับเตม็ ทต่ี ้องการ ในรูปแบบไฟล์ PDF 49
ภาพท่ี 91 web OPAC มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย 49
ภาพที่ 92 การสืบค้นแบบ Quick Search 50
ภาพที่ 93 ผลการสบื คน้ 50
ภาพที่ 94 รายละเอยี ดทรพั ยากร 50
ภาพท่ี 95 การสืบค้นแบบข้ันสงู (Advance Search) 51
ภาพที่ 96 การสืบค้นขน้ั สงู ด้วยชือ่ เร่อื ง 51
ภาพที่ 97 การสืบค้นข้นั สงู ด้วยผแู้ ต่ง 51
ภาพท่ี 98 การสืบคน้ ขัน้ สูงด้วยคาสาคญั 52
ภาพที่ 99 ผลการสืบคน้

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้
52
ภาพที่ 100 การสบื ค้นข้นั สงู ด้วยหวั เรื่อง 52
ภาพที่ 101 ผลการสืบคน้ ข้ันสูงด้วยหวั เรอ่ื ง 53
ภาพที่ 102 การสบื ค้นขั้นสงู แบบรวมหลายคาคน้ ในครง้ั เดียว 53
ภาพท่ี 103 ผลการสืบคน้ 54
ภาพท่ี 104 การลงชอ่ื เข้าสรู่ ะบบ 54
ภาพที่ 105 รายละเอยี ดเมนใู นการใช้บริการ 55
ภาพที่ 106 ข้ันตอนการยืมต่อในระบบ 55
ภาพที่ 107 ระบบยนื ยนั การยืมต่อในระบบเสร็จสมบูรณ์ 56
ภาพที่ 108 การสบื ค้นบทความขา่ วใน matichonelibrary 57
ภาพท่ี 109 การระบุเขตข้อมูล วนั ที่ เดอื น ปีทีต่ อ้ งการสบื ค้น 57
ภาพท่ี 110 การระบเุ ขตข้อมูลแหลง่ ทมี่ า 58
ภาพท่ี 111 การระบุคาค้นในการสบื คน้ 58
ภาพท่ี 112 ผลการสืบคน้ 59
ภาพที่ 113 ผลการสบื ค้นบทความข่าวในรูปแบบ PDF 60
ภาพที่ 114 ตัวอย่างแอพพลิเคชนั่ IGP Reader 61
ภาพที่ 115 การสืบคน้ eBook แบบ Quick Search 61
ภาพท่ี 116 ผลการสบื ค้น eBook 62
ภาพท่ี 117 การดาวน์โหลดeBook 62
ภาพที่ 118 ไอคอนสาหรบั แชร์ eBook ไปยังหนา้ โซเชยี ลมเี ดีย 63
ภาพที่ 119 ข้ันตอนการยืม eBook 63
ภาพท่ี 120 การเขา้ สูร่ ะบบเพ่ือทาการยืม eBook 63
ภาพท่ี 121 ระบบแสดงรายการเขา้ สรู่ ะบบเรียบร้อย 64
ภาพที่ 122 QR Code ในการตดิ ตั้งแอพพลิเคช่นั IGP Reader 64
ภาพที่ 123 การกาหนดจานวนวนั ในการยืม eBook 65
ภาพที่ 124 กระบวนการดาวน์โหลด eBook ในแอพพลิเคชั่น IGP Reader

การสบื คน้ สารสนเทศออนไลน์

ภาพท่ี 1 หน้าหลักเวบ็ ไซต์ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร
ทม่ี า : library.lru.ac.th (2561)

ศูนย์วิทยบริการ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
มีฐานข้อมูลออนไลน์สาหรับให้บริการผู้ใช้ ซ่ึงรวบรวมไว้ที่ เว็บไซต์ (Website) ของศูนย์วิทยบริการ
คอื http://www.library.lru.ac.th

ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ เพื่อการสืบค้นข้อมูลได้ ซึ่งผู้ใช้อาจจะมีเทคนิค
การสืบค้นพื้นฐานทาให้การสืบค้นข้อมูลดูมีความยุ่งยากและไม่ค่อยพบข้อมูลท่ีต้องการ เพ่ือให้การ
สืบค้นเป็นไปอย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และตรงกับความต้องการย่ิงขึ้นทางศูนย์วิทยบริการ
สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงได้จัดทาเอกสารสรุปข้ันตอนกรสืบค้นสารสนเทศจาก
ฐานขอ้ มูลออนไลน์

เทคนิคการสบื ค้น

1. การสบื ค้น (Searching)
1.1 คาสาคัญ (Keyword) ไดแ้ ก่ คาหรือวลีที่กาหนดจากศัพท์อสิ ระในภาษาธรรมชาติ อาจ

เป็นคาที่ปรากฏในส่วนของช่ือผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ช่ือบทความ สาระสังเขป เนื้อหา หมายเหตุ ช่ือชุด เป็น
ต้น ห้องสมุดท่ัวไปจะกาหนดหัวเรื่องเป็นคาค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด ซึ่งบางคาอาจไม่
ตรงกบั คาท่ผี ู้ใช้ห้องสมุดคนุ้ เคย ทาใหค้ ้นหาเรอ่ื งที่ตอ้ งการไมพ่ บ คาสาคญั จงึ เป็นโอกาสหรือทางเลือก
หนึ่งของผู้ใช้อีกทางหนึ่งในการค้นหาสารสนเทศจากคาค้นท่ีรู้จักคุ้นเคยหรือปรากฏใน ทรัพยากร
สารสนเทศน้ัน

2

ตวั อย่าง การกาหนดคาสาคัญจากชอ่ื เรือ่ งของหนงั สือ
ช่ือเรอ่ื ง : 7 อุปนสิ ยั ใหว้ ยั รุ่นเปน็ เลศิ
คาสาคญั : วัยรนุ่

เมื่อกาหนดคาค้นได้แล้ว ในการสืบค้นสารสนเทศบางครั้งต้องใช้เทคนิคเพื่อให้ได้สารสนเทศ
ท่ถี ูกต้อง ตรงความตอ้ งการ และรวดเร็วยง่ิ ขึน้ เทคนิคการสบื ค้นสารสนเทศ มีดังน้ี

1.2 การใช้ตรรกบูลีน (Boolean logic) ในการค้นหา ซงึ่ เปน็ วธิ ที ี่ใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย ในการ
ค้นหาบางคร้ังไม่สามารถใช้คาเพียงคาเดียวที่จะให้ครอบคลุมประเด็นหลักของเร่ืองได้ จาเป็นต้องใช้
ตัวดาเนินตรรกะ (Logic operators) ได้แก่ AND, OR, NOT และ NEAR มาเชื่อมคาเหล่านั้น เพ่ือ
ช่วยกาหนดขอบเขตคาค้นท่ีต้องการให้แคบลงหรอื กวา้ งข้ึน ตวั ดาเนินการตรรกะอาจเปน็ ไดท้ ั้งคาและ
สัญลักษณ์

ภาพที่ 2 การใชต้ รรกบลู นี (Boolean logic)
ทม่ี า : home.kku.ac.th/penpan/412102/ppt_4_53.pdf (ม.ป.ป.)

1.3 การตัดปลายคาและการแทนคา (Truncation) เป็นการใช้ค้นคาเดียวแทนคาอื่นทุก
คาที่มีรากศัพท์เดียวกัน เป็นการรวบรวมคาที่มีการสะกดคาที่ใกล้เคียงกันหรือเหมือนกัน หรือกรณีท่ี
เป็นเอกพจนแ์ ละพหูพจน์ โดยใชอ้ ักขระตัวแทน (Wildcard) ซึง่ เปน็ สัญลักษณ์ เช่น * # ? ! $ เป็นต้น
มักใชใ้ นการคน้ ภาษาอังกฤษ ตวั อย่างเชน่ ต้องการค้นเรื่องเกีย่ วกบั เด็ก คาค้นทใ่ี ช้คือ child* จะได้คา
เกี่ยวกับเด็กทั้งหมด เช่น child, children, childhood, childish ต้องการค้นเรื่องเกี่ยวกับสตรี
คาค้นทใ่ี ช้คือ wom#n จะได้ท้ังคาว่า women และ woman เป็นต้น การตัดปลายคาควรระวังไม่ใช้
คาส้ันเกินไปเพราะอาจได้เร่ืองที่ไม่ต้องการออกมาด้วย เช่น ใช้คาค้นว่า ban* จะได้คาว่า ban,
banana, bandit, bank, banner เปน็ ตน้ ซ่งึ คาตา่ งๆ เหล่าน้ไี ม่สัมพนั ธ์กันเลย

3

1.4 การใช้เครื่องหมายวงเล็บ (Nesting) เพ่ือครอบคลุมในแตล่ ะสว่ นคาสัง่ ข้อมูลท่ีต้องการ
ค้นมักใช้ร่วมกับตรรกบูลีน เพื่อแบ่งคาสั่งบูลีนเป็นส่วนๆ เช่น (television or mass media) and
children หมายถงึ ต้องการเรอื่ งเกีย่ วกบั เดก็ กับโทรทัศน์ และเด็กกับสื่อมวลชน เปน็ ตน้

2. วธิ กี ารสืบค้น (Search Methods)
2.1 การสืบค้นแบบพ้ืนฐาน (Basic search) ค้นทุกเขตข้อมูล ผลลัพธ์การสืบค้นจะมี

ปรมิ าณมากและกวา้ ง
2.2 การสืบค้นแบบขั้นสูง (Advanced search) เลือกกาหนดเขตข้อมูลได้ สร้างเง่ือนไขท่ี

ซบั ซอ้ นได้ดี ปรมิ าณผลการสืบค้น ไม่มากและแคบกวา่ Basic searchการสบื ค้น
2.3 การสืบค้นแบบไล่เรียง (Browse search) เลือกจากรายการท่ีมีให้อยู่แล้ว เช่น เลือก

จากหวั เรอ่ื ง สาขาวชิ า หรือชอื่ วารสาร

3. การคัดกรองผลการสืบค้น (Refining your search result)
การคัดกรองผลการสืบคน้ หรือจากดั ผลการสบื คน้ ใหแ้ คบลงได้โดย
3.1 การเพิม่ คีย์เวริ ด์ (Adding more keywords)
3.2 การเลอื กหัวเรอื่ งทต่ี ้องการ (Choosing your subjects)
3.3 การกาหนดปที ี่พมิ พ์ (Limiting a search by publication year)
3.4 การกาหนดเขตข้อมูล (Specifying fields)
3.5 ประเภทสิง่ พมิ พ์ (Publication types)

4. การวเิ คราะห์ผลการสบื คน้ (Analyze results)
4.1 การวิเคราะหผ์ ลการสบื คน้ ด้วยการจดั เรยี งผลลัพธ์ (Sort results by)
4.2 จัดเรียงตามความเก่ียวเน่ืองเกี่ยวข้องกบั คยี ์เวริ ์ด (Relevance)

5. การจดั การผลการสืบค้น (Manage your results)
การจัดผลการสืบค้น อันได้แก่ ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic information) และ

เอกสารฉบับเต็ม (Full Text)
5.1 การส่ังพมิ พ์ (Printing)
5.2 การบันทึกข้อมูล (Saving)
5.3 การอีเมล์ (E-mail)
5.4 การนาขอ้ มลู บรรณานุกรมออก (Exporting citation) โปรแกรม EndNote, Text file

4

ฐานข้อมลู ภาษาต่างประเทศ

การใช้งานฐานขอ้ มูล ACS Journals
ACS Journals เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์จากสานักพิมพ์ The American

Chemical Society ครอบคลุมสาขาวิชาเคมีและสาขาอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง มีวารสารให้บริการจานวน
40 รายช่ือ ข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี 1996 – ปัจจุบัน ประกอบด้วยรายการทางบรรณานุกรม
สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็มรูปแบบ HTML และ PDF เข้าใช้งานที่ http://library.lru.ac.th
หรอื https://pubs.acs.org ภาพท่ี 3 แสดงสญั ลกั ษณข์ องฐานข้อมลู ACS Journals

ภาพที่ 3 สัญลักษณ์ของฐานขอ้ มูล ACS Journals
ทมี่ า : pubs.acs.org (2561)

การสืบคน้ ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มลู ACS Journals
ฐานข้อมูล ACS Journals แบ่งการสืบค้นข้อมูลออกเป็น 3 รูปแบบ คือ การสืบค้นแบบ
Basic search, การสืบค้นจากรายช่ือวารสาร (ACS Journals) และการสืบค้นแบบ Advanced
Searc 2

13

ภาพที่ 4 ฐานข้อมูล ACS Journals

5

1. การสบื คน้ แบบ Basic search ประกอบดว้ ย 3 รูปแบบ ดงั นี้
1.1 การสืบค้นแบบ Quick Search โดยการพิมพ์คาค้นในช่องค้นหาหรือใช้เลข DOI

(Digital Object Identifier)
1.1.1 ระบุคาค้นในช่องค้นหาหรือใช้เลข DOI (Digital Object Identifier) ระบุเขต

ข้อมูลที่ตอ้ งการ Anywhere Title Author Abstract ดงั ภาพที่ 5

1.1.1

ภาพที่ 5 การสืบคน้ แบบ Quick Search
1.1.2 ผลการสืบค้น จากหน้าผลการสืบค้นหน้าจอจะแสดงข้อมูลผลการสืบค้นโดย

คาค้นทใี่ ชค้ ้นจะมสี ีเหลอื งเนน้ ขอ้ ความใหท้ ราบวา่ คาคน้ นนั้ ปรากฏอยู่ทีใ่ ดของเนอื้ หา ดงั ภาพท่ี 6
1.1.3 ฐานข้อมลู ACS Journals สามารถดาวนโ์ หลดข้อมลู แบบฉบบั เตม็ (Full text)

ได้จากเมนดู ้านขวามือของหน้าจอ ดังภาพที่ 6

1.1.3

1.1.2

ภาพท่ี 6 ผลการสบื ค้นฐานข้อมลู ACS Journals

6

1.2 การสบื ค้นจากขอ้ มูลอา้ งองิ (Citation)
1.2.1 โดยเลือกสืบค้นจากข้อมูลอ้างอิง ได้แก่ ชื่อวารสาร ปีที่ (Volume) และเลข

หนา้ ดงั ภาพที่ 7

1.2.1

ภาพท่ี 7 การสบื ค้นจากขอ้ มูลอ้างอิง (Citation)
1.2.2 ผลการสืบค้น ระบบจะแสดงผลการสบื คน้ โดยเรียงลาดับปีที่พิมพจ์ ากปปี ัจจุบัน

ของวารสารชือ่ นั้น ๆ ดงั ภาพที่ 8

1.2.2

ภาพท่ี 8 ผลการสืบคน้ ฐานข้อมลู ACS Journals
1.3 การสบื คน้ แบบไล่เรียงบทความตามกลุ่มหวั เร่ือง โดยการเลือกจากกลมุ่ หัวเรื่องอกั ษร

A - Z ดังภาพท่ี 9

7

1.3

ภาพที่ 9 การสืบค้นแบบไลเ่ รียงบทความตามกลมุ่ เรื่อง
1.3.1 ผลการสืบค้น ระบบจะแสดงข้อมูลท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับกลุ่มหัวเรื่องท่ีเลือก

โดยเรียงจากปจั จบุ นั ดังภาพที่ 10
1.3.2 ฐานขอ้ มูล ACS Journals สามารถดาวน์โหลดขอ้ มลู แบบฉบับเตม็ (Full text)

ได้จากเมนดู า้ นขวามือของหน้าจอ ดงั ภาพที่ 10

1.3.2

1.3.1

ภาพท่ี 10 ผลการสบื ค้นฐานขอ้ มลู ACS Journals
2. การสืบคน้ จากรายชอ่ื วารสาร (ACS Journals)
2.1 การสืบค้นจากรายช่ือวารสาร (ACS Journals) โดยการเลือกตามกลุ่มอักษร A – Z

ดงั ภาพที่ 11

8

2.1

ภาพที่ 11 การสบื คน้ จากรายช่อื วารสาร (ACS Journals)
2.2 ผลการสืบค้น ระบบแสดงรายชอ่ื บทความทปี่ รากฏในวารสารเลม่ นน้ั ดังภาพท่ี 12
2.3 ฐานข้อมูล ACS Journals สามารถดาวน์โหลดข้อมูลแบบฉบับเต็ม (Full text) ได้

จากเมนดู ้านขวามอื ของหน้าจอ ดังภาพที่ 12

2.3
2.2

ภาพที่ 12 ผลการสืบคน้ ฐานข้อมลู ACS Journals

9
3. การสืบค้นแบบ Advanced Search เป็นการสืบค้นโดยใช้เทคนิคตรรกบูลีน (Boolean
logic) and or not

3.1 ใส่คาค้นหลายคาในการสืบค้น 1 ครั้ง เพื่อให้ระบบสืบค้นโดยใช้การค้นแบบตรรก
บูลีน (Boolean) จากตัวอย่าง เป็นการค้นหา Ontology จากเขตข้อมูลช่ือเร่ือง Anywhere และค้น
คาว่า Scheme จากเขตข้อมูล Title ดงั ภาพที่ 13

3.1

ภาพท่ี 13 การสืบคน้ แบบ Advanced Search
3.2 เลือกประเภทของทรัพยากร ประเภทการเข้าถึงระบบ กาหนดช่วงปีในการตีพิมพ์

และกดสืบค้น (Search) ดังภาพที่ 14

3.2

ภาพท่ี 14 การเลอื กประเภททรพั ยากร Advanced Search

10

3.3 ผลการสืบค้น จากหน้าผลการสืบค้นหน้าจอจะแสดงข้อมูลผลการสืบค้นโดยคาค้นท่ี
ใชค้ ้นจะมีสีเหลืองเน้นข้อความให้ทราบว่าคาคน้ น้ันปรากฏอยู่ทใี่ ดของเน้ือหา ดังภาพที่ 15

3.4 ฐานข้อมูล ACS Journals สามารถดาวน์โหลดข้อมูลแบบฉบับเต็ม (Full text) ได้
จากเมนดู า้ นขวามือของหน้าจอ ดงั ภาพที่ 15

3.4

3.3

ภาพที่ 15 ผลการสบื คน้ ฐานข้อมูล ACS Journals

11

การใช้งานฐานข้อมูล Science Direct

Science Direct เป็นฐานข้อมูลบทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์ และมีหนังสือจากสานกั พิมพ์
Elsevier ครอบคลุมสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์ทุกสาขา เช่น เกษตรศาสตร์ ชีววิทยา เคมี
บริหารธุรกิจ วิศวกรรมเคมี คอมพิวเตอร์ เศรษฐศาสตร์และการเงิน วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สิ่งแวดล้อม คณิตศาสตร์ แพทยศาสตร์ การพยาบาลและสาธารณสุขศาสตร์ จิตวิทยา สังคมศาสตร์
เป็นต้น ข้อมูลที่จะจะอยู่ในรูปฉบับเต็ม (Full-text) โดยเป็น บทความวารสาร จากวารสารมากกว่า
2,500 ช่ือเรื่อง และจากหนังสือสานักพิมพ์ Elsevier มากกว่า 11,000 เล่ม สัญลักษณ์ของฐานข้อมูล
Science Direct แสดงดังภาพท่ี 16 ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้งานที่ http://library.lru.ac.th หรือ
https://www.sciencedirect.com ดงั ภาพท่ี 17

ภาพท่ี 16 สญั ลักษณข์ องฐานขอ้ มูล Science Direct
ทีม่ า : sciencedirect.com (2561)

ภาพที่ 17 ฐานขอ้ มูล Science Direct
ท่มี า : sciencedirect.com (2561)

12

การสบื คน้ ฐานขอ้ มูล Science Direct
1. การสบื คน้ แบบ Quick Search

สามารถสืบค้นได้จากการพิมพ์คาค้นจาก คาสาคัญ (Keyword) ผู้แต่ง (Author) ช่ือ
วารสาร (Journal) หรือช่ือหนังสือ (Book title) และเลือกจาก ปีที่ ฉบับ (Volume, issue) ของ
วารสารได้

ตัวอย่างการสืบค้น เลือกสืบค้นจากวารสาร โดยพิมพ์ช่ือวารสาร เช่น HIV & AIDS
Review (ในฐานข้อมูลจะปรากฎชื่อวารสารข้ึนมาให้เลือก หากคาค้นตรงกับที่มีในฐานขอ้ มูล) ดงั ภาพ
ท่ี 18

1

ภาพท่ี 18 การสบื ค้นแบบ Quick Search
1.1 ผลการสืบค้น จะได้บทความวารสาร (Article) จากวารสารชื่อ HIV & AIDS Review

ท้ังหมดทีม่ ีฐานข้อมูล ดังภาพที่ 19

ภาพที่ 19 ผลการสืบค้นฐานขอ้ มูล Science Direct
2. การสืบคน้ แบบ Advanced Search
เปน็ การสืบค้นโดยการใชเ้ ทคนคิ ตรรกบูลนี (Boolean Logic) and or not ทเ่ี มนู เลอื ก

Advanced search ดงั ภาพที่ 20

13

ภาพที่ 20 การสืบค้นแบบ Advanced Search
2.1 ใสค่ าคน้ หลายคาในการสืบคน้ 1 ครั้ง จากตวั อย่าง ดังภาพที่ 21

2.1

ภาพที่ 21 การใสค่ าคน้ แบบ Advance Search
จากตวั อย่าง เปน็ การค้นหา บทความวารสาร (Article) จากวารสารชอ่ื HIV & AIDS

Review โดยใหม้ คี าวา่ HIV ปรากฏในเนอ้ื หาของบทความวารสาร และในบทความวารสารต้องมคี าว่า
AIDS ปรากฏอยู่ใน ช่ือบทความ ในสาระสังเขป (Abstract) หรือคาสาคัญ (ในฐานข้อมูล Science
Direct การสืบค้นแต่ละบรรทัด เป็นการเชื่อมด้วยตรรกบูลีน “and”) นอกจากนั้นสามารถจากัด
ขอบเขตการสบื ค้น โดยเลือกประเภทของบทความได้ (Article type)

14

2.2 เลือกบทความท่ตี ้องการดาวน์โหลด ดังภาพท่ี 22

2)

ภาพท่ี 22 ผลการสืบคน้ ฐานขอ้ มูล Science Direct
จากผลการสืบค้น สามารถจากัดขอบเขตการสืบค้นได้ เชน่ จากัดปี (Year) ประเภท

ของบทความ (Article type) ชอ่ื วารสาร (Title) หรอื รูปแบบในการเข้าถงึ (Access type)
2.3 บางบทความ สามารถเข้าถึงไดเ้ ฉพาะสาระสังเขปเทา่ นนั้ ดังภาพที่ 23

3)

ภาพท่ี 23 ผลการสืบคน้ ฐานขอ้ มูล Science Direct
3. การสืบค้นแบบไลเ่ รียง (Browse) เปน็ การสบื ค้น โดยเลอื กจากรายการท่ีมีให้อย่แู ล้ว
3.1 เลอื กจากสาขา ได้แก่ Physical Sciences and Engineering, Life Sciences,

Health Sciences, Social Sciences and Humanities

15

3.2 เลอื กจากบทความที่ได้รบั ความนิยม (Popular article)
3.3 เลือกจากวารสารฉบับลา่ สดุ (Recent Publication) ดงั ภาพท่ี 24

3.1 3.3
3.2

ภาพท่ี 24 การสบื คน้ แบบไล่เรียง (Browse)
3.4 เลอื กจาก ช่ือวารสาร ให้เลือกท่ี Journal ดังภาพที่ 25

3.4

ภาพท่ี 25 การสืบค้นโดยเลือกจากชือ่ วารสาร
1) เลอื กช่ือวารสารท่ีตอ้ งการบทความ ดงั ภาพที่ 26

1

ภาพที่ 26 ผลการสบื คน้ รายชอื่ วารสาร

16

จะปรากฏรายช่ือวารสาร เรยี บตามลาดบั อักษร ในรายช่ือวารสาร จะทาใหท้ ราบวา่
วารสารใดท่หี ้องสมดุ เขา้ ถึงได้ เชน่

- Open Access และ Contain Open Access สามารถดาวน์โหลดได้
- สัญลักษณ์สเี ขยี ว หอ้ งสมุดเป็นสมาชิก สามารถดาวนโ์ หลดได้
- สญั ลกั ษณส์ เี ทา ห้องสมดุ ไม่ไดเ้ ป็นสมาชิก ดงั ภาพที่ 27

ภาพที่ 27 สัญลกั ษณ์แสดงสิทธ์ิในการเข้าถึงข้อมลู

2) เลือกปีที่ (Volume) ฉบบั ท่ี (issue)
3) เลือกบทความท่ีต้องการดาวน์โหลด ดังภาพท่ี 28 และ 29

2, 3

ภาพท่ี 28 แสดงรายละเอียดบทความ

17
ภาพที่ 29 ผลการสบื คน้ ฐานขอ้ มลู Science Direct

18

การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink-Journal

SpringerLink-Journal เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ ครอบคลุมวารสาร จานวนเอกสารฉบับเตม็ 1,130 ชอ่ื ขอ้ มูลปี 1997 – ปัจจุบัน
สั ญ ลั ก ษ ณ์ ฐาน ข้ อ มู ล SpringerLink-Journal แ ส ด งดั งภ าพ ท่ี 30 แ ล ะก าร เข้าใช้ งาน ท่ี
http://library.lru.ac.th หรือ https://link.springer.com ดงั ภาพที่ 31

ภาพที่ 30 สญั ลักษณ์ฐานข้อมูล SpringerLink-Journal
ท่มี า : link.springer.com (2561)

ภาพท่ี 31 ฐานข้อมลู SpringerLink-Journal
ทีม่ า : link.springer.com (2561)

19
การสบื คน้ ฐานข้อมูล SpringerLink-Journal มี 3 รปู แบบ คอื การสืบคน้ แบบไลเ่ รียงตาม
หัวเร่ือง (Browse by discipline), แบบ Quick Search และแบบ Advanced Search
1. การสบื ค้นแบบไล่เรยี งตามหัวเรอ่ื ง (Browse by discipline)

1.1 เลอื กหวั เรื่อง เช่น education ดงั ภาพที่ 32

1.1

ภาพท่ี 32 การสบื ค้นแบบไล่เรยี งตามหัวเรอื่ ง (Browse by discipline)
1.2 เลือกประเภทสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร (journal) เพอ่ื เข้าสฐู่ านข้อมูลวารสาร ดงั ภาพที่

33

1.2

ภาพท่ี 33 ประเภทสิง่ พิมพ์

20

1.3 เลือกวารสารท่ีต้องการสบื คน้ ดังภาพท่ี 34

1.3

ภาพที่ 34 แสดงรายช่ือวารสาร
1.4 เลือกแสดงฉบบั ท่มี ีใหบ้ ริการทง้ั หมด หรือ เลอื กสบื คน้ ภายในวารสารน้เี ทา่ น้นั ดงั

ภาพท่ี 35

1.4

ภาพที่ 35 ผลการสืบคน้ ฐานข้อมูล SpringerLink-Journal

21

1.5 คลิกเลอื กฉบบั ที่ต้องการ ดังภาพท่ี 36

1.5

ภาพที่ 36 แสดงรายละเอยี ดบทความในวารสาร
1.6 คลกิ เลอื กรายการท่ตี ้องการ ดงั ภาพท่ี 37

1.6

ภาพท่ี 37 แสดงผลการสบื ค้นจากชอื่ วารสาร

22

2. การสบื คน้ แบบ Quick Search
2.1 พิมพ์คาหรือวลที ่ีต้องการ Quick Search ดังภาพที่ 38

2.1

ภาพท่ี 38 การสืบค้นแบบ Quick Search
2.2 หน้าแสดงผลลัพธ์ Quick Search ดงั ภาพที่ 39

2.2

ภาพที่ 39 ผลการสืบคน้ ฐานขอ้ มลู SpringerLink-Journal

23

3. การสบื ค้นแบบ Advanced Search เพ่อื สบื ค้นช้ันสงู
3.1 พมิ พ์คาหรือวลตี ามเงือนไขที่ตอ้ งการ ดงั ภาพท่ี 40

3.1

ภาพที่ 40 การสืบค้นแบบ Advanced Search
3.2 เลือกคน้ ในสว่ นช่ือเรื่องหรือชอ่ื ผ้แู ต่ง ดังภาพท่ี 41

3.2

ภาพท่ี 41 รายละเอียดในการสืบคน้

24

3.3 ระบชุ ่วงระยะเวลา และคลิก Search ดงั ภาพท่ี 42

3.3

ภาพที่ 42 แสดงรายละเอียดการสบื ค้น
3.4 จานวนรายการผลลัพธท์ ่พี บ ดงั ภาพที่ 43

3.4

ภาพที่ 43 ผลการสบื ค้นฐานขอ้ มูล SpringerLink-Journal

25

3.5 คลกิ ทช่ี ื่อเร่ืองเพอ่ื เขา้ ดูเอกสาร ดังภาพท่ี 44

3.5

ภาพที่ 44 ผลการสบื ค้นฐานข้อมูล SpringerLink-Journal
3.6 หนา้ แสดงผลลพั ธ์ สามารถ Download PDF ได้ ดังภาพที่ 45

3.6

ภาพที่ 45 ผลการสืบค้นฐานขอ้ มลู SpringerLink-Journal แบบ PDF

26

ภาพที่ 46 ตัวอย่างเอกสาร PDF
ทม่ี า : link.springer.com (2561)

27

การใช้งานฐานข้อมลู ProQuest Dissertations & Theses Global และ
ฐานข้อมลู ABI/INFORM Collection

ฐานขอ้ มูล ProQuest Dissertations & Theses Global

ProQuest Dissertations & Theses Global เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิพนธ์ระดับ
ปริญญาโท และปริญญาเอก ฉบับเต็ม (Full-text) ของสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจาก
ประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา รวมถึงบางสถาบันการศึกษาจากทวีปยุโรป ออสเตรเลีย เอเซีย
และแอฟริกา มากกว่า 1000 แห่ง ประกอบไปด้วยเอกสารฉบับเต็มของวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกและ
ปริญญาโทต้ังแต่ปี 1997 ถึงปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า 1.1 ล้านรายการ และสาระสังเขปวิทยานิพนธ์ไม่
น้อยกว่า 2.4 ล้านรายการ สัญลักษณ์ของฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Theses Global
แ ส ด ง ดั ง ภ า พ ท่ี 47 แ ล ะ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ ช้ ง า น ท่ี http://library.lru.ac.th ห รื อ
https://search.proquest.com/pqdtglobal/index ดังภาพท่ี 48

ภาพท่ี 47 สัญลักษณ์ฐานขอ้ มลู ProQuest Dissertations & Theses Global
ที่มา : proquest.com (2561)

ภาพท่ี 48 ฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Theses Global
ทมี่ า : proquest.com (2561)

28

ฐานขอ้ มลู ABI/INFORM Collection

ABI/Inform หน่ึงในฐานข้อมูลท่ีครอบคลุมเนื้อหาทางด้านบริหารจัดการ โดยรวบรวมงพิมพ์
มากกว่า 8,000 ชื่อเรื่อง ป ระกอบ ด้วย The Wall Street Journal Eastern Edition, EIU
ViewsWire, Going Global Career Guides เป็นต้น รวมถึงดุษฎีนิพนธ์ (Dissertations) และ
วิทยานิพนธ์ (Theses) สาขาบริหารจัดการที่ให้บริการรปู แบบฉบับเต็ม (Full Text) มากกว่า30,000
ช่ือเร่ือง ซึ่งผู้ใช้สามารถนาข้อมูลจาก ABI/Inform มาใช้เพ่ือศึกษา ภาวะการทางเศรษฐกิจ แนวโน้ม
ท า ง ธุ ร กิ จ เท ค นิ ค ก า ร จั ด ก า ร ก ล ยุ ท ธ์ ต่ า ง ๆ ที่ ใช้ ใน ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เป็ น ต้ น
สามารถเข้าใช้งานท่ี http://library.lru.ac.th หรอื https://search.proquest.com/abicomplete
ดงั ภาพที่ 49

ภาพท่ี 49 ฐานข้อมลู ABI/INFORM Collection
ท่ีมา : proquest.com (2561)

29

เลือกฐานข้อมูลทีต่ ้องการค้นหา ดังภาพท่ี 50 และภาพที่ 51

ภาพท่ี 50 สาหรบั เลือกฐานข้อมลู ที่ต้องการสบื ค้น

ภาพที่ 51 รายชือ่ ฐานข้อมลู ทีต่ อ้ งการสืบค้น

1.2 30
ฐานข้อมูล ABI/INFORM Collection
1. การสบื ค้นฐานขอ้ มูล ABI/INFORM Collection การสืบคน้ แบบขั้นพื้นฐาน (Basic Search)

1.1 พมิ พ์คาหรอื วลีทีต่ ้องการคน้ หา
1.2 เลอื กสบื คน้ ในเอกสารฉบบั เต็ม หรือเฉพาะดุษฎีนพิ นธ์
1.3 คลิก Search เพื่อค้นหาข้อมูลเอกสาร ภาพท่ี 52

1.1 1.3

ภาพที่ 52 กระบวนการสืบค้น

ภาพที่ 53 ผลการสืบค้น

2. การสบื ค้นแบบขน้ั สูง (Advanced Search) 31
2.1 พมิ พ์คาหรอื วลี
2.2 ระบุเขตข้อมลู 2
2.3 ระบุคาเชือ่ ม
2.4 เลือกคน้ ในเอกสารฉบบั เตม็ หรือ Peer Reviewed
2.5 ระบรุ ะยะเวลาท่ีตพี ิมพ์
2.6 เพมิ่ ทางเลอื กการสืบคน้ ดังภาพที่ 54

1 4
3

5

6

ภาพที่ 54 กระบวนการสบื ค้น

2.7 เลอื กประเภทเอกสาร
2.8 ระบชุ นดิ เอกสาร
2.9 ระบุภาษาต้นฉบับ
2.10 คลกิ Search ดังภาพที่ 55

2.7 2.8 32

ภาพที่ 55 กระบวนการสบื ค้น 2.10
2.9

ภาพท่ี 56 ผลการสืบคน้

33

3. การสืบคน้ แบบไลเ่ รียงตามรายช่อื ส่งิ พมิ พ์ (Publication Search)
3.1 พิมพ์บางสว่ นของชอื่ สงิ่ พิมพ์
3.2 ระบุสว่ นที่ตอ้ งการค้น แล้วคลกิ Search
3.3 หรือ เลอื กอกั ษรเริ่มต้นท่ีต้องการ
3.4 เลอื กรายชื่อสิง่ พมิ พ์ท่ีสนใจ ดงั ภาพที่ 57

3.1 3.2
3.3

3.4

ภาพท่ี 57 การสืบคน้ แบบไล่เรยี งตามรายช่อื สง่ิ พิมพ์ (Publication Search)

ภาพที่ 58 ผลการสืบค้น

34
4. การสืบคน้ แบบไล่เรียงตามเนื้อหาทางธรุ กจิ (Browse Featured Content)

สืบค้นได้โดยเลอื กตามรายการเน้อื หาทถี่ ูกจดั หมวดหมู่ไวเ้ รียบร้อยแล้ว ดงั ภาพท่ี 59

ภาพที่ 59 รายการเน้อื หาทางธุรกจิ

ภาพที่ 60 ผลการสืบคน้

35

ฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Theses Full Text
1. การสบื คน้ แบบขนั้ พ้ืนฐาน (Basic Search)
1.1 พมิ พ์คาหรอื วลี
12 เลือกสืบค้นในเอกสารฉบับเตม็
1.3 คลิก Search ดังภาพที่ 61

13

2

ภาพท่ี 61 กระบวนการสืบค้น
1.4 เลอื กจากัดผลลพั ธใ์ หแ้ คบลงจากส่วน การจากัดเขตผลการสืบคน้ โดยสามารถเลือกจาก

ประเภทของตน้ ฉบบั วันที่พมิ พ์ ชื่อเอกสารสง่ิ พิมพ์ ประเภทเอกสาร หวั เรอ่ื ง บริษทั /องค์กร หรอื
สถานท่ีตั้ง เพ่ือจากัดขอบเขตการค้นหาใหแ้ คบลงได้

1.5 คลิกเพ่ือแสดง บทคัดย่อ/รายละเอยี ด(Citation/Abstract) หรือเอกสารฉบับเตม็ (Full
text-PDF) ดงั ภาพที่ 62

36

5
4

ภาพท่ี 62 กระบวนการสืบค้น
1.6 เลอื กสง่ อีเมล์ สงั่ พิมพ์ อ้างองิ เอกสารน้ี ถา่ ยโอนบรรณานุกรม หรือ บนั ทึกข้อมูล
1.7 คลกิ ท่ี See similar items เพ่ือเรียกดเู อกสารที่มีเนอื้ หาคล้ายคลึงกบั เอกสารนี้
1.8 สามารถเลอื กสง่ั พิมพ์ (Print) หรือ บนั ทกึ (Save) เอกสารท่ตี อ้ งการได้ ดังภาพที่ 63

8
6

7

ภาพท่ี 63 ข้ันตอนการดาวน์โหลดข้อมูล

37

2. การสบื คน้ แบบขั้นสูง (Advanced Search) 2.1
2.1 พมิ พ์คาหรอื วลีและระบุเขตข้อมลู
2.2 ระบคุ าเชื่อม
2.3 ระบุระยะเวลาทต่ี พี ิมพ์
2.4 เพ่มิ ทางเลือกการสบื คน้
2.5 ระบุระดับปริญญา
2.6 ระบภุ าษาต้นฉบบั คลิก Search ดังภาพที่ 64

2.2
2.3

2.4

2.5 2.6

ภาพที่ 64 ขัน้ ตอนการสืบค้น

ภาพที่ 65 ผลการสบื คน้

38 3.1.1
3.2.1
3. การสืบคน้ แบบการไลเ่ รียงเน้อื หาตามสาขาวชิ า (Browse)
3.1 ไล่เรยี งตามหัวเรอื่ ง (Browse by Subject)
3.1.1 คลิกเลอื กอักษรเร่ิมตน้ ของหวั เรื่อง
3.1.2 หรือคลกิ เลือกหวั เร่อื งท่สี นใจ
3.1.3 คลิกท่ี View documents เพื่อเรยี กดรู ายการวทิ ยานพิ นธใ์ นหวั เรอ่ื งนั้นดังภาพท่ี 66

3.1.2 / 3.1.3

ภาพท่ี 66 ขั้นตอนการสบื คน้
3.2 ไล่เรยี งตามสถานทตี่ ั้ง (Browse by Location)
3.2.1 คลกิ เลือกประเทศท่สี นใจ
3.2.2 หรอื คลิกเลือกสถาบันที่ต้องการ
3.2.3 คลิกท่ีView documents เพ่ือเรียกดรู ายการวิทยานิพนธใ์ นประเทศนนั้ ดังภาพที่ 67

3.2.2 / 3.2.3

ภาพท่ี 67 ขน้ั ตอนการสบื ค้น

39

การใชง้ านฐานข้อมลู Web of science

ฐานข้อมูล Web of science เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปพร้อมการอ้างอิง
และอ้างถึง ที่ครอบคลุมสาขาวิชาหลักทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และสังคมศาสตร์ จากวารสาร
ประมาณ 9,200 รายชื่อให้ข้อมูลต้ังแต่ปี 2001 – ปัจจุบัน สัญลักษณ์ฐานข้อมูล Web of science
แ ส ด ง ดั ง ภ า พ ที่ 5 5 แ ล ะ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ ช้ ง า น ที่ http://library.lru.ac.th ห รื อ
http://apps.webofknowledge.com ดงั ภาพท่ี 68

ภาพที่ 68 สัญลักษณฐ์ านขอ้ มูล Web of science
ท่มี า : webofknowledge.com (2561)

ภาพที่ 69 สัญลกั ษณฐ์ านข้อมูล Web of science
ท่ีมา : webofknowledge.com (2561)

40

การสืบค้นฐานขอ้ มูล Web of science
1. การสบื คน้ ขั้นพ้ืนฐาน Basic Search

1.1 ใส่คาหรือวลีที่เราต้องการสืบค้น ดังภาพที่ 70

1.1

ภาพที่ 70 กระบวนการสบื ค้นฐานขอ้ มลู Web of Science
1.2 ระบุเขตข้อมูลจะมีให้เลือกหัวเร่ือง (Topic), ช่ือเร่ือง (Title), ผู้แต่ง (Author), ระบุ

ตัวผู้แต่ง (Author Identifiers), กลุ่มผู้เขียน (Group Author), บรรณาธิการ (Editor) หรือช่ือ
ส่งิ พิมพ์ (Publication Name) ดังภาพท่ี 71

1.2

ภาพที่ 71 การระบุเขตข้อมลู ในการสบื คน้

41

1.3 ระบเุ ขตข้อมูลเปน็ Title ชอื่ เร่อื ง ดงั ภาพท่ี 72

1.3

ภาพที่ 72 การระบุเขตข้อมูลชื่อเรื่อง (Title)
1.4 ระบุชว่ งเวลาท่ตี ีพมิ พ์ ดังภาพที่ 73

1.4

ภาพท่ี 73 การระบุช่วงตีพิมพ์

42

1.5 หากระบขุ ้อมูลครบทุกขอบเขตแล้ว ให้คลกิ ท่คี าวา่ Search ดงั ภาพที่ 74

1.5

ภาพท่ี 74 ข้นั ตอนการสืบค้น
1.6 แสดงจานวนรายการบทความทพ่ี บจากการสบื ค้น ดังภาพท่ี 75

1.6

ภาพที่ 75 แสดงผลการสืบค้น

43
1.7 ข้อมูลบรรณานุกรมของแต่ละบทความ คลิกท่ีช่ือเร่ืองเพ่ือเข้าดูข้อมูลของบทความ
โดยละเอียด ดงั ภาพที่ 76

1.7

ภาพที่ 76 รายละเอียดบรรณานกุ รม

ภาพที่ 77 รายละเอยี ดบทความ


Click to View FlipBook Version