สรุปเนื้อหาบทเรียน
วิชาการจัดการดำเนินงาน
welcome to our e-book
สมาชิกในกลุ่ม
005 ชนษร วิชญตัณฑกร
008 ณัฐนิชา ห้วยห้อง
009 ณัฐริกา แสงช่วง
015 พรรณนิษา บุศรา
020 สิปปกร ขุนสวัสดิ์
021 สุณีนาถ อาจยะมะ
024 สุนิสา สุวรรณการณ์
033 เบญญาภา หนูนวล
037 กัญญภัส สังหนู
053 ธิดารัตน์ ปิติ
คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการทั่วไป
1/1 ภาคปกติ
สารบัญ
เรื ่อง หน้า
บทที่ 1 1-15
- แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการผลิต 15-20
บทที่ 3 21-30
- การวางแผนกำลังผลิต
บทที่ 5
- การวางแผนผังกระบวนการผลิต
สรุปบทเรียน
บทที่
1
เรื่อง แนวคิดเบื้องต้น
เกี่ยวกับการบริหารการผลิต
1
บทที่ 1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการผลิต
นิยามการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
· การผลิต (PRODUCTION) การสร้างสินค้าและบริการ
· การจัดการการปฏิบัติการ (OPERATIONS MANAGEMENT)
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมูลค่าในรูปของสินค้าและบริการ โดย
อาศัยกระบวนการแปรรูปปัจจัยนำเข้าเป็นปัจจัยนำออก
· การบริหารการผลิต (PRODUCTION MANAGEMENT)
เป็นการวางแผนและการตัดสินใจเพื่อการผลิตสินค้า
2
หน้าที่หลัก 3 ประการ
ของการจัดองค์การเพื่อผลิตสินค้าหรือบริการ
ด้านการตลาด (Marketing)
เป็นการดำเนินการเพื่อตอบสนองต่ออุปสงค์ที่เกิดขึ้นของลูกค้า
ด้านการผลิต (Production) และการปฏิบัติการ (Operation)
เป็นการแปรสภาพทรัพยากรการผลิต ให้ออกมาเป็นสินค้า
หรือบริการ
ด้านการเงิน(Financing)และการบัญชี (Accounting)
เป็นการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน การใช้เงินทุนการ
รวบรวม วิเคราะห์ ตลอดจนการรายงานข้อมูลทางการเงิน
3
ความสำคัญของการบริหารการผลิต
1. เป็นหนึ่งในหน้าที่หลัก 3 ประการ
คือ การผลิตและการปฏิบัติการ
2. ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าหรือบริการ
3. ทำให้เกิดการเพิ่มผลผลิตที่สูงขึ้น
4. ใช้เป็นกลยุทธ์ขององค์การ
5. การบริหารการผลิตที่ดีจะทำให้องค์การ
ลดต้นทุนลงได้ ส่งผลให้มีกำไรสูงขึ้น
4
การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม
การผลิต คือ กระบวนการในการแปรรูปวัสดุหรือชิ้นส่วน
ให้เป็นผลิตภัณฑ์ตามที่ผู้บริโภคต้องการ
สินค้า
/บริการ
· เส้นใยสีต่าง ๆ
· ผ้าผืน
· เสื้อผ้า/เครื่องใช้
· ฯลฯ
ปัจจัยนำเข้า
· รังไหม
· เม็ดฝ้าย
· เปลือกไม้
กระบวนการแปรรูป
· ปั่นด้าย
· ย้อมสี
· ทอผ้า
· ตัดเย็บ
5
ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ
6
ตารางเปรียบเทียบแนวคิด
เกี่ยวกับการผลิตและการบริการ
7
ประเภทของการผลิต
· การผลิตตามคำสั่งซื้อ
(Production to order) (Make to
order: MTO)
· การผลิตแบบต่อเนื่อง
(Continuous Production) (Make
to stock: MTS)
8
จุดเด่น / จุดด้อย
ของการผลิตตามคำสั่งซื้อ
และเพื่อรอจำหน่าย
9
วิวัฒนาการของการบริหารการผลิต
การแบ่งยุคสมัยของการบริหารการผลิต
อาจแบ่งได้เป็น 5 ยุค ดังต่อไปนี้
1. ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม
(Industrial Revolution)
2. ยุคการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
(Scientific Management)
3. ยุคการจัดการเชิงมนุษย์สัมพันธ์
(Human Relations management)
4. ยุควิทยาการจัดการ (Management
Science)
5. ยุคการจัดการสมัยใหม่ (Modern
Management)
10
1. ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม
(Industrial Revolution)
· เจมส์ วัตต์ 1769 ผลิตเครื่องจักรไอน้ำในการ
ขนส่งทางรถไฟ
· อดัม สมิธ 1776 ได้มีแนวความคิดการทำงานแบ่ง
งานทำงานตามความถนัด
· อีลิ วิทนีย์ 1798 เสนอแนวคิดของการผลิตที่เป็น
มาตรฐานเพื่อใช้ในการผลิตร่วมกันและสามารถใช้แทน
กันได้
· วิชาร์ดทราวิค 1800 วิศวกรชาวอังกฤษได้สร้างรถ
จักรไอน้ำเป็นผลสำเร็จ >>สตีเฟนสัน
11
2. ยุคการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
(Scientific Management)
· Frederick Winslow Taylor
· F.W. Taylor บิดาการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
· ศึกษา Time and Motion Study เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพสูงสุด
o คนงานได้รับผลตอบแทนสูงสุด
o ต้นทุนลดต่ำลง
· หลักการของ Taylor…
· หา One best way
· การคัดเลือก ฝึกอบรม พัฒนาคนงานใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อตัวพนักงาน และความเจริญขององค์กร
· มีการร่วมมือ ประสานงาน เพื่อให้ได้งานมีมาตรฐาน
· มีการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างการจัดการและแรงงาน
สรุป ต้องการให้ทำงานถูกวิธี มีเวลาพัก ได้ค่าตอบแทนสูงขึ้น นายจ้าง
สามารถประหยัดต้นทุนได้
11
2. ยุคการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
(Scientific Management)
· Frederick Winslow Taylor
· F.W. Taylor บิดาการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
· ศึกษา Time and Motion Study เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพสูงสุด
o คนงานได้รับผลตอบแทนสูงสุด
o ต้นทุนลดต่ำลง
· หลักการของ Taylor…
· หา One best way
· การคัดเลือก ฝึกอบรม พัฒนาคนงานใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อตัวพนักงาน และความเจริญขององค์กร
· มีการร่วมมือ ประสานงาน เพื่อให้ได้งานมีมาตรฐาน
· มีการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างการจัดการและแรงงาน
สรุป ต้องการให้ทำงานถูกวิธี มีเวลาพัก ได้ค่าตอบแทนสูงขึ้น นายจ้าง
สามารถประหยัดต้นทุนได้
12
3. ยุคการจัดการเชิงมนุษย์สัมพันธ์
(Human relation management)
· Hugo Munsterberg บิดาของจิตวิทยาอุตสาหกรรม
· Oliver Sheldon ให้ความสนใจกับฝ่ายแรงงาน
· Mary Parker Follett ผู้บริหาร+พนักงาน ทีมการจัดการตนเอง
· Hawthorne studies ของ Elton Mayo
· Douglas McGregor ทฤษฎี X, Y
13
4. ยุควิทยาการจัดการ
(Management Science)
· เทคนิคเชิงปริมาณ เช่น โปรแกรมเชิงเส้นตรง ตารางการผลิต การ
ขนส่ง การมอบหมายงาน การจัดแถวคอย เป็นต้น
· การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (CAD : Computer
Aided Design) และช่วยในการผลิต (CAM: Computer Aided
Manufacturing ) การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
(EDI: Electronic Data Interchange)
14
5. ยุคการจัดการสมัยใหม่
(Modern Management)
· การผลิตด้วยระบบอัตโนมัติ
· ระบบการผลิตแบบญี่ปุ่น (JIT: Just In Time)
· ระบบการผลิตแบบลีน มุ่งเรื่องการไหลของงาน เน้นการกำจัด
ความสูญเปล่า
· การหาแหล่งจากภายนอก
· TQM, Re-engineering, E-commerce, ISO , Learning
organization, Six sigma
บทที่ 3
การวางแผนกำลังการผลิต
(Production Capability Planning)
วิชา การจัดการการดำเนินงาน
การวางแผน (Planning Horizon) ประกอบด้วย 3 แบบ 15
-ระยะยาว แผนรายปีหรือนานกว่า
-ระยะกลาง อยู่ระหว่าง 6- 18 เดือน
-ระยะสั้น รวมตั้งแต่ต้นแผนรายวันจนถึงน้อยกว่า 6 เดือน
ภาพรวมในการวางแผนการผลิต
การวางแผนกระบว
นการ (Process Planning)
เป็นด้านด้านเทคโนโลยี ขั้นตอนการดำเนินการทั้งหมด เพื่อผลิตภัณฑ์
การวางแผนกำลังการผลิต (Capacity Planning)
เพื่อการจัดเตรียมกำลังการผลิตระยะยาวของกระบวนการผลิต เพื่อตอบ
สนองความต้องการ
การวางแผนผลิตรวม (Aggregate Planning)
ผลิตในหน่วยรวมการวางแผนการผลิตหลัก หรือกำหนดการผลิตหลัก
(Master ProductionScheduling : MPS
การผลิตที่เจาะจง ปริมาณที่ต้องการของแต่ละชนิด
เมื่อตรวจสอบกับผลิตภัณฑ
์ที่มีสำรองแล้ว ในการที่จะผลิตได้ต้องมีการ
จัดเตรียมวัสดุที่ต้องการทั้งหมด การวางแผนความต้องการวัสดุ
(Material Requirement planning : MRP) ต่อจากนั้นฝนการผลิต
ต้องมีการจัดลำดับการผลิต (Job Scheduling)ให้สอดคล้องกับเป้า
หมายองค์กร หลังจากที่ทำการวางแผนการบริการรวมแล้ว เป็นการ
วางแผนการกำลังคนและการจัดลำดับความต้องการของลูกค้า เป็นแผน
ระยะสั้น
16
ตัวอย่างกิจกรรมการวางแผนในการจัดการระบบ
ความหมายของกำลังการผลิต
กำลังการผลิต (Capacity) ความสามารถสูงสุดของหน่วยการผลิต และ
หากความต้องการลูกค้ามากกว่ากำลังการผลิต ก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย
ส่วนแบ่งทางการตลาดได้
ประเภทของกำลังการผลิต
1.กำลังการผลิตตามที่ออกแบบหรือกำลังการผลิตสูงสุด(Design
capacity or Peak capacity)
2.กำลังการผลิตที่เกิดขึ้นจริง (Effective capacity)
การประมาณความต้องการกำลังการผลิต 17
ระยะสั้น
ความต้องการกำลังการผลิตเพื่อสนองการเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงของ
ความต้องการสินค้า เพื่อการกำหนอดว่ากำลังที่จะผลิตที่จำเป็น
ระยะยาว
วางแผนกำลังการผลิตตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไปควรจะผลิตปริมาณเท่าไร มัก
เป็นการวางแผนลงทุน
กลยุทธ์กำลังการผลิต
1.การประหยัดโดยขนาด (Economy of scale) 4 ประการ คือ
1.1 กระจายต้นทุนคงที่ (Spreading fixed cost)
1.2 ลดต้นทุนการก่อสร้าง (Reducing construction cost)
1.3 ลดต้นทุนการจัดซื้อวัตถุดิบ (Cutting cost of purchased materials)
1.4 หาประโยชน์ของกระบวนการผลิต (Finding process advantage)
2.การเผื่อขนาดของกำลังการผลิต (Sizing capacity cushions)
โดยปกติการใช้งานของคน เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ไม่ควรจะดำเนินการเต็มกำลังการ
ผลิต หรือการใช้ประโยชน์โดยเฉลี่ยต่ำกว่า 100%
กำลังการผลิตเผื่อ/สำรอง = 100% - อัตราการใช้งาน (%)
การประมาณการกำลังการผลิตที่ต้องการ(Estimate Capacity Requirement)
DP
( )[M =
N1-C]
100
M = จำนวนเครื่องจักรที่ต้องการ M=DP/(N[1-(c/100)])
D = จำนวนสินค้าที่คาดการณ์ต่อปี (Unit)
P = จำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการผลิต (Hour/Unit)
N = จำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการผลิตต่อปี (Hour)
C = การป้องกันกำลังการผลิตที่กำหนด (%)
ระยะเวลาที่เสียไปจากการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรไปผลิตสินค้าอีก 18
ชนิดหนึ่ง
โดยเวลาดังกล่าวรวมเรียกว่า “ระยะเวลาติดตั้งรวม” หาได้จาก
ระยะเวลาติดตั้งรวม = D x เวลาที่ใช้ในการปรับเครื่องแต่ละครั้ง (S)
จำนวนผลิตต่อครั้ง (Q)
ตัวอย่าง จากข้อมูลต่อไปนี้ จงหาจำนวนเครื่องจักรที่จำเป็นต้องใช้
ความต้องการในแต่ละปี = 1,500 หน่วย
ขนาดเฉลี่ยของการผลิตแต่ละครั้ง = 100 หน่วย
กำลังการผลิต = 15 %
วันทำงาน = 250 x 8
เหตุผลในการซื้อ/จ้างผลิต หรือผลิตเอง 19
สูตร
ต้นทุนรวมในการผลิตเอง = ต้นทุนรวมในการจ้างผลิต
ต้นทุนคงที่ + (ต้นทุนแปรผัน x จุดคุ้มทุน) = ต้นทุนคงที่ + (ต้นทุน
แปรผัน x จุดคุ้มทุน)
ตัวอย่าง
บริษัทแห่งหนึ่งได้คาดการณ์ยอดขายในปีหน้าที่ 15000 ชิ้น ซึ่งได้
สอบถามคู่ค้าที่สามารถจ้างผลิตได้ โดยตกลงราคาขายที่ 8 บาทต่อชิ้น และ
ต้องเสียค้าทำสัญญาระหว่างกัน 500 บาท แต่หากต้องการผลิตเอง จะต้อง
ลงทุน 25000 บาท สำหรับอุปกรณ์ แต่จะมีต้นทุนของสินค้าอยู่ที่ 5 บาทต่อ
ชิ้น จงหาจุดคุ้มทุน และนโยบายในการบริหารจัดการว่าควรเลือกแนวทาง
ใดพร้อมทั้งหาต้นทุนรวมของแต่ละแนวทาง
20
สูตร
ต้นทุนรวมในการผลิตเอง = ต้นทุนรวมในการจ้างผลิต
ต้นทุนคงที่ + (ต้นทุนแปรผัน x จุดคุ้มทุน) = ต้นทุนคงที่ + (ต้นทุนแปรผัน x จุดคุ้มทุน)
25,000 + (5 x Q) = 500 + (8 x Q)
8Q – 5Q = 25,000 – 500
3Q = 24,500
3Q =24,500
3
Q = 8,166 ชิ้น
ต้นทุนรวมในการผลิตเอง TC Make =100,000 25,000 + ( 5 x 15,000)
ต้นทุนรวมในการจ้างผลิต TC Buy = 120,500 500 + ( 8 x 15,000)
ARREEADYYO?U
ส รุ ป บ ท เ รีย น
บทที่5
เ รื่ อ ง ก า ร ว า ง แ ผ น ผั ง
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต
วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร ก า ร ดำ เ นิ น ง า น
Can do it
CAN DO IT
CAN DO IT !!
21
บทที่5 เรืองการวางแผนผัง
กระบวนการผลิต
เปน การจัดเตรียมการใชพ ื้นที่ของสถานที่ซึ่งมีอยูเดิม
หรือสถานที่ใหม เชน การกําหนดที่ตั้งของ เครื่องจักร
สถานีการผลิต แผนกตางๆ ฯลฯ การวางผังมีผลกระ
ทบตอ การดําเนินงานหลายประการเชน คุณภาพการ
ผลิต ประสิทธิภาพในการ ผลิตของแรงงาน ความ
รวดเร็วในการผลิตสินคา ฯลฯ ในการวางผังมีคําถาม
สําคัญที่ตอ งตัดสินใจหลายประการ เชน
- ประเภทของผังที่เหมาะสมกับองค์กรควรเป็นอย่างไร
- ควรออกแบบอาคารเป็นชั้นเดียวหรือหลายชั้น
- พื้นที่และกําลังการผลิตสําหรับแต่ละฝ่ายควรเป็นเท่า
- ที่ตั้งของศูนย์กลางการดําเนินงานควรจะอยู่ที่ใด ฯลฯ
22
1.ใช้ประโยชน์จากแรงงานเครื่องจักรและพื้นที่ได้อย่งประสิทธิภาพ
2.ควบคุมการดําเนินงานหรือกิจกรรมตา งๆไดอยา งชัดเจน
3.เกิดความยืดหยุน ในการปรับการผลิตใหเขา กับ
สภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป
4.ชว ยใหเกิดความปลอดภัย
5.อํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสาร
23
การวางผังแบ่งออกเป็น
4 ประเภท ดังนี้
1.การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout)
2.การวางผังตามผลิตภัณฑ? (Product Layout)
3.การวางผังแบบตําแหนง คงที่ (Fixed-position Layout)
4.การวางผังแบบผสม (Hybrid Layout)
• การวางผังตามกระบวนการ •
เปนการจัดกลุมกิจกรรมที่ใกลเคียงกันไวในแผนกเดียวกันหรือใน
สถานีการผลิตเดียวกัน
การวางผังตามกระบวนการเหมาะสําหรับการผลิตแบบแยกกลุม ซึ่ง
เปนการผลิตหลายประเภท โดยจะมีปริมาณไม มากนัก
เครื่องจักรเอนกประสงค (General-purpose Machine) ซึ่งแรง
งานจะตอ งมีความชํานาญในการใชเครื่องจักร สินคา สําเร็จรูปของ
การผลิตประเภทนี้อาจมีปริมาณไมม ากนัก โดยเฉพาะในกรณีที่มีการ
ผลิตตามคําสั่งลูกคาจะ สามารถสง มอบสินคาไดทันทีเมื่อผลิตเสร็จ
24
• การวางผังตามผลิตภัณฑ์ •
ใช้ในกระบวนการผลิตที่เปน สายประกอบการ (Assembly Line)
โดยเปน การจัดกิจกรรมใน
กระบวนการผลิตเรียงตามลําดับขั้นตอนของการผลิต ซึ่งสถานี
การผลิตจะเรียงลําดับตอ กันไปจนสิ้นสุด สายการผลิตและเกิด
เปนสินคา สําเร็จรูป การวางผังตามผลิตภัณฑเ หมาะสําหรับการ
ผลิตจํานวนมากซึ่งความตองการสินคาไมเ ปลี่ยนแปลงมากนัก
โดยสามารถผลิตสินคาเก็บไวไ ดลว งหนา ขอไดเปรียบของการวาง
ผังตามผลิตภัณฑคือประสิทธิภาพในการผลิตสูง ขอเสียเปรียบคือ
ความยืดหยุนในการผลิตตํ่าไมส ามารถผลิตสินคาไดห ลากหลาย
ประเภท
25
• การวางผังแบบตําแหน่งคงที่ •
การวางผังประเภทนี้เปนการวางผังสําหรับการผลิตสินคาซึ่งไมมีการ
เคลื่อนยายไปตามสถานีตางๆ ระหวางกระบวนการ ผลิต เชน การตอ
เรือ การประกอบเครื่องบิน ฯลฯ
โดยผูผลิตจะทําการจัดสรรแรงงาน วัสดุ และเครื่องมืออุปกรณตา งๆ
มายังจุดที่มีการผลิตซึ่งกําหนดตําแหนง ไวค งที่ การวางผังการผลิต
ประเภทนี้ มักจะมีอัตราการใชประโยชนจากเครื่องจักรตํ่าเนื่องจาก
จะตอ งวางเครื่องจักรประจําไว ณ จุด ใดจุดหนึ่ง แตอาจจะไมม ีการ
ใชงานเกิดขึ้นตลอดเวลา การผลิตประเภทนี้ตองการแรงงานที่มีทักษะ
ในการผลิตสูงและมีคาจา ง แรงงานที่สูงกวา การผลิตประเภทอื่น
• การวางผังแบบผสม •
1.ผังเซลลูลาร (Cellular Layout) เปนการวางผังทั้งแบบ
กระบวนการและแบบผลิตภัณฑโ ดยใชแ นวคิดพื้นฐานของ
เทคโนโลยีการจัดกลุม เพื่อจัดกลุม เครื่องจักร ตา งๆ เขา ไวด ว ยกัน
ซึ่งเรียกวา เซล (Cell) โดยเครื่องจักรที่อยูในเซลเดียวกันผลิตชิ้น
สวนที่คลา ยคลึงกันหรือที่อยูในกลุม เดียวกัน
2.ระบบการผลิตแบบยืดหยุน (Flexible Manufacturing System
; FMS) เปน ระบบที่สามารถผลิตสินคา แบบตอ เนื่อง โดยมีการควบคุ
มดว ยคอมพิวเตอร ซึ่งชว ยในการควบคุมการลําเลียงวัสดุ การ กําหนด
ตารางการผลิต การเก็บรักษาเครื่องจักร และการรายงานผลการ
ปฏิบัติงาน วัตถุประสงคข องการเสนอระบบนี้ใน ครั้งแรก คือ ความ
ตอ งการใชระบบอัตโนมัติในการผลิต
26
• การวางผังแบบผสม (ต่อ) •
3. สายประกอบการแบบผสม ระบบสายประกอบการสามารถปรับการผลิต
ใหเ ขากับการเปลี่ยนแปลงในความตองการของลูกคา ไดรวดเร็วแนวคิดของ
สาย ประกอบการแบบผสม (Mixed-model Assembly Line) โดยสาย
ประกอบการแบบผสมจะชวยลดเวลาที่ใชในการ เปลี่ยนแปลงสายการผลิต
และชว ยจัดสมดุลของสายการผลิต
• การออกแบบผังการผลิตตามผลิตภัณฑ์ •
จะพิจารณาลําดับขั้นตอนการผลิตของผลิตภัณฑห รือสายประกอบการ
โดยใชข อมูลจากใบโครงสราง วัสดุ ขอมูลที่สําคัญของการวางผังนี้คือ
ความตองการของลําดับการผลิต (Precedence Requirements) ซึ่งจะ
ระบุวา กิจกรรมใดตอ งกระทํากอนหรือหลัง วัตถุประสงคสําคัญ ของการ
ออกแบบผังประเภทนี้คือ การพยายามรักษาอัตราผลผลิตไวใหมี
ประสิทธิภาพมากที่สุดเทาที่ สามารถกระทํา
27
การที่จะบรรลุวัตถุประสงคน ี้ งานแตล ะงานจึงถูกแบง อ
อกเปนงานยอย (Work Element) ใหม ากที่สุด ซึ่งงานยอ ยแตล ะ
งานไมค วรจะใชแ รงงานเกิน 1 คน หรือสถานีการผลิตเกิน 1 สถานี ใน
ทางตรงกันขา ม แรงงาน 1 คนสามารถทํางานยอยไดม ากกวา 1 งาน
เมื่องานยอยเหลานี้ผา นไปตามสถานีการผลิตตา งๆ วัตถุประ
สงคการออกแบบผังการผลิต คือ การจัดกลุม งานยอ ยๆเขา ตาม
สถานีบริการผลิตเพื่อใหการ ไหลของงาน เปน ไปตามสายงานการ
ผลิต สถานีการผลิตที่อยูระหวางสายประกอบการตอ งมีแรงงาน
หรือ เครื่องจักรประจําอยูอยา งนอย 1 คนหรือ 1 เครื่อง จะทําใหก าร
ไหลของงาน เปน ไปอยางราบเรียบไม สะดุด ที่สถานีใด
มีขั้นตอนดังตอไปนี้
1) หาความสัมพันธ์ของลําดับการผลิต
28
2) หารอบระยะเวลาของการผลิต
รอบเวลาเปน ระยะเวลาที่มากที่สุดที่สามารถใหง านอยูไ ดในแตล ะ
สถานีการผลิต ในกรณีที่ ตอ งการใหมีอัตราการผลิตตามเปาหมาย
ที่กําหนดไว การคํานวณรอบเวลาสามารถทําได ดังน้ี
รอบเวลา (C) = เวลาท่ีมีไวเพื่อการผลิต
กําลังการผลิตตอวัน
3) หาจํานวนต่ําสุดของสถานีงาน
จํานวนสถานีงาน (n) = กําลังการผลิตตอ วัน x เวลามาตรฐานใน
การผลิตเวลาที่มีไว้เพื่อการผลิต
4)จัดสมดุลในสายการผลิต
เปน การจัดชิ้นงานใหกับสถานีงานใหไ ดม ากที่สุดเทาที่
จะมากได เพ่ือเปนการลดเวลาวางงานของ พนักงาน
และทําใหเ ครื่องจักรทํางานไดเ ต็มกําลัง
ขอ พิจารณา
29
4) จัดสมดุลในสายการผลิต (ต่อ)
หาประสิทธิภาพในสายการผลิต ประสิทธิภาพในสายการผลิต =
เวลามาตรฐานในการผลิต x 100
จํานวนตํ่าสุดของสถานี x รอบเวลาการผลิต ความลา ชาในการผลิต
= 100 – ประสิทธิภาพในสายกา
ตั ว อ ย่ า ง โ จ ท ย์ .
A45 b11 c9 f12 k9
J8
g12
d50 e15 H12
i12
รอบเวลา = เวลาที่มีไว้เพื่อการผลิต
กำลังการผลิตต่อวัน =57.14
รอบเวลา = 8 * 60 * 60
504
30
ตั ว อ ย่ า ง โ จ ท ย์
จำนวนสถานีงาน(n) = กำลังการผลิตต่อวัน*เวลามาตฐานในการผลิต
จำนวนสถานึงาน (n) = เวลาที่มีไว้เพื่อการผลิต
3.41 504 * 195
28,800
4 สถานีงาน
สถานี1 57-45 = 12 12-12 = 0 A,g
สถานี2 57-50 = 7 7-8 = 1 D,j
สถานี3 57–15= 42 42–12=30 E,h
สถานี4 57-12= 45 45–12=33 G,i
a,g d,j e,h G,i
ประสิทธิภาพในสายการผลิต = 195*100
4* 570
รอบเวลาในการผลิต = 85.53%
ความล่าช่าในการผลิต = 100-85.53 %
ประสิทธิภาพในสายการผลิต = 14.47%
THANK YOU
Thank you
E-BOOK
วิช า ก า ร จัด ก า ร ก า ร ดำ เ นิ น ง า น
จ ท 1 / 1 ภ า ค ป ก ติ