The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suppawit_aot_utw99, 2021-09-21 00:25:18

แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลสูงสุด ประจำปี พ.ศ. 2558

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºµÑ ÃÔ Òª¡ÒÃ
¨Ò¡¤ÓÇÔ¹Ô¨©ÂÑ ¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧʧ٠ʴØ

»ÃШӻ‚ ¾.È. òõõø

จัดพม� พโดยการสนบั สนนุ ของ สำนกั งานศาลปกครอง

มลู นิธิคอนราด อาเดนาวร

แนวทางการปฏบิ ัติราชการ

จากค�ำ วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสุด
ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากค�ำ วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
ISBN : 978-616-333-063-5
พมิ พค์ ร้ังที่ ๑ : สงิ หาคม ๒๕๕๙
จ�ำ นวน : ๑๐,๐๐๐ เล่ม

จดั พิมพ์โดย
ส�ำ นักงานศาลปกครอง
เลขที่ ๑๒๐ หมู่ท่ี ๓ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐
โทรศพั ท์ ๐ ๒๑๔๑ ๑๑๑๑ สายดว่ น ๑๓๕๕ , http://www.admincourt.go.th

พมิ พ์ท่ี : บรษิ ทั ออนป้า จ�ำ กดั
โทรศพั ท์ : ๐ ๒๖๘๙ ๒๙๙๙ email : [email protected]





สารบญั

หนา้

บทสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร (ก)
๑. แนวทางการปฏิบตั ิราชการทีไ่ ด้จากคดพี ิพาทเก่ยี วกับการที่หน่วยงานทางปกครอง ๒

หรอื เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐกระทาการโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมายตามมาตรา ๙ วรรคหนงึ่ (๑) ๕
(๑) มติของคณะกรรมการแพทยสภาที่ไมใ่ ห้เหตุผลข้อพิจารณา ๑๐
๑๕
และข้อสนับสนนุ ในการใช้ดลุ พนิ จิ
(๒) การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนทางวินยั อยา่ งร้ายแรงโดยผไู้ ม่มี

อานาจตามกฎหมาย
(๓) การตรวจสอบหนงั สือมอบอานาจให้เป็นไปตามระเบยี บของกรมทด่ี ิน

ก่อนการจดทะเบยี นสิทธิและนิติกรรม
(๔) การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ยั ของหนว่ ยงานทางปกครอง

ตามมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ช้ีมูลความผิดทางวนิ ยั ผฟู้ อ้ งคดี

๒. แนวทางการปฏิบตั ิราชการทไี่ ด้จากคดีพิพาทเกย่ี วกับการที่หน่วยงาน ๒๕
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยตอ่ หนา้ ทีต่ ามที่กฎหมายกาหนดให้ ๒๕
ตอ้ งปฏิบัตหิ รือปฏบิ ตั ิหน้าที่ดังกลา่ วลา่ ชา้ เกินสมควรตามมาตรา ๙ วรรคหน่งึ (๒) ๒๙
(๑) นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลมีหนา้ ทส่ี ง่ั ใหห้ ยดุ การขดุ ดินหรือจัดการ
แก้ไขการขดุ ดนิ ท่อี าจกอ่ ให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อ่นื ๓๒
(๒) กรุงเทพมหานครมหี นา้ ท่ดี ูแลรกั ษาทสี่ าธารณะเพอ่ื ให้มคี วามสะดวก ๓๕
และปลอดภัยแกร่ าษฎรที่ใช้ในการสัญจรตามปกตวิ สิ ยั
(๓) เจ้าพนกั งานที่ดินมหี น้าท่ีเสนอรายงานพรอ้ มความเห็นต่ออธิบดี
กรมทด่ี ินเพอ่ื พิจารณาส่ังการ กรณมี ีการออกโฉนดทด่ี ิน
โดยคลาดเคล่ือนหรือไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย
(๔) ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรมมีหน้าทพ่ี จิ ารณาคาขอยา้ ยท่ีตั้งโรงงาน
นา้ ตาลให้เปน็ ไปตามเง่ือนไขและหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด

๓. แนวทางการปฏิบตั ิราชการท่ีได้จากคดพี ิพาทเกี่ยวกับการกระทาละเมิด ๔๑
หรอื ความรับผิดอยา่ งอ่นื ของหนว่ ยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าทขี่ องรฐั ๔๑
ตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๓)
(๑) การขุดลอกลาห้วยรุกล้าเขา้ ไปในทด่ี ินของเจ้าของทีด่ นิ เกนิ กวา่ ที่ ๔๓
เจ้าของที่ดินมเี จตนาอุทศิ ให้เปน็ สาธารณประโยชน์ ๔๖
(๒) การก่อสรา้ งตามโครงการระบบระบายน้า ระบบรวบรวมและระบบ ๕๐
บาบัดนา้ เสยี ก่อให้เกดิ แรงส่นั สะเทอื นสง่ ผลให้บา้ นเรือนของประชาชน
ข้างเคียงเสียหาย
(๓) การจัดเก็บภาษนี อกพ้ืนที่เขตการปกครองขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบล
(๔) การปรบั ลดระดบั นา้ บรเิ วณเหนือเขื่อนและท้ายเขือ่ นเปน็ เหตุให้
เกษตรกรผู้เพาะเลย้ี งสตั วน์ ้า (กระชงั ปลา) เสียหาย

๔. แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการทีไ่ ดจ้ ากคดีพพิ าทเก่ียวกบั สญั ญาทางปกครอง ๕๓
ตามมาตรา ๙ วรรคหนงึ่ (๔) ๕๓
(๑) การมอบหมายใหผ้ ฟู้ ้องคดีปฏบิ ตั ิหน้าทงี่ านรักษาความสะอาด ๕๖
ประจารถเกบ็ ขนขยะนอกเหนอื หนา้ ทีย่ ามตามสญั ญาจา้ ง ๕๘
(๒) การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานจ้างตามภารกิจเสร็จสิน้
ภายหลงั ทีส่ ัญญาจ้างสิ้นสดุ ลง ๖๒
(๓) การส่ังใหผ้ ู้รบั จา้ งแก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของถังกรองนา้
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแข็งแรงซง่ึ ไม่ได้แสดงไว้ในสญั ญา
(๔) คู่สัญญาตกลงยนิ ยอมใหม้ กี ารก่อสรา้ งตามแบบแปลนทแ่ี ก้ไขใหม่
แตห่ น่วยงานทางปกครองไมแ่ กไ้ ขสัญญาให้สอดคล้องกบั ปริมาณงาน
และค่าแรงท่เี พ่ิมขนึ้ กอ่ นตรวจรบั มอบงาน

(ก)

บทสรปุ สาหรับผ้บู ริหาร

สานกั งานศาลปกครองไดค้ ัดเลอื กคาวนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสูงสุดมาจัดทาสรุป
เพอ่ื เปน็ แนวทางการปฏิบัติราชการจากคาวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ฉบับน้ี
โดยมสี าระสาคัญดงั นี้
๑. แนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือ

เจ้าหนา้ ที่ของรัฐกระทาการโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมายตามมาตรา ๙ วรรคหน่งึ (๑)
ศาลปกครองสูงสุดได้วางแนวทางการปฏิบัติราชการที่ได้จากคดีพิพาทเก่ียวกับ

การท่หี นว่ ยงานทางปกครองหรือเจา้ หน้าที่ของรฐั กระทาการโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) มติของคณะกรรมการแพทยสภาท่ีไม่ให้เหตุผลข้อพิจารณา

และขอ้ สนับสนนุ ในการใชด้ ุลพนิ จิ
การที่แพทย์ทาคลอดโดยมไิ ด้คานึงถงึ ภาวะผิดปกติท่ีอาจเกิดขึ้นและได้ออกไป

จากห้องคลอดเพื่อรับประทานอาหารกลางวันโดยใช้เวลาในการรับประทานอาหารกลางวัน
นานถึง ๑ ช่ัวโมง ๑๒ นาที อันเป็นสาเหตุให้แพทย์ตัดสินใจผ่าตัดทาคลอดล่าช้าเกินสมควร
เปน็ การปฏิบัตหิ น้าที่แพทย์ท่ีเข้าลักษณะมิได้รักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ในระดับท่ีดีท่ีสุด และมิได้คานึงถึงความปลอดภัยและความส้ินเปลืองของผู้ป่วย ประกอบกับ
คณ ะ กร ร มก า รแ พ ทย ส ภ า ไ ด้มี ม ติย ก ข้อ ก ล่ า ว โ ท ษ แพ ท ย์โ ด ยมิ ไ ด้ ใ ห้ เห ตุ ผ ล ข้ อพิ จ าร ณ า
และข้อสนบั สนุนในการใช้ดุลพินิจ จึงทาให้คาส่ังแพทยสภาที่ยกข้อกล่าวโทษแพทย์เป็นคาสั่งที่
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (คาพิพากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.๘๕/๒๕๕๘)

(๒) การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงโดยผู้ไม่มี
อานาจตามกฎหมาย

เ ม่ื อ ก ฎ ห ม า ย ก า ห น ด ใ ห้ ผู้ มี อ า น า จ สั่ ง แ ต่ ง ต้ั ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส อ บ ส ว น
ทางวินัยอย่างร้ายแรงกรณีข้าราชการตารวจชั้นยศจ่าสิบตารวจลงมาในทุกหน่วยงาน
ในปกครองบังคับบัญชา คือ รองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (ซึ่งรับผิดชอบงานบริหาร
งานบุคคล) ผู้ช่วยผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (ซึ่งรับผิดชอบงานด้านวินัย) ผู้บัญชาการหรือ
เทียบเท่าผู้บัญชาการ แต่ปรากฏว่า รองผู้กากับการ (ฝ่ายป้องกันปราบปราม) ปฏิบัติราชการ
แทนผู้กากับการสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนทางวินัยอย่างรา้ ยแรงแก่ผฟู้ ้องคดีซึ่งเป็นข้าราชการตารวจยศจ่าสิบตารวจ จึงเป็นการ

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากค�ำ วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ข)

แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ัยอย่างร้ายแรงกับผู้ฟ้องคดีโดยผู้ไม่มีอานาจตามกฎหมาย
มาดาเนินการสอบสวน การท่ีคณะกรรมการข้าราชการตารวจ นาผลการสอบสวน
ของคณะกรรมการสอบสวนดังกล่าวมาพิจารณาแล้วมีมติให้เพิ่มโทษผู้ฟ้องคดีเป็นไล่ออก
จากราชการ และการที่ผู้บัญชาการตารวจภูธร ภาค ๑ มีคาส่ังลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจาก
ราชการตามมติดังกล่าว จึงเป็นกรณีท่ีไม่ได้ดาเนินกระบวนการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรง
ตามขั้นตอนอันเป็นสาระสาคัญตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ ดังน้ัน มติของคณะกรรมการ
ข้าราชการตารวจและคาสั่งของผู้บัญชาการตารวจภูธร ภาค ๑ จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(คาพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๓๖๐/๒๕๕๘ (ประชุมใหญ)่ )

(๓) การตรวจสอบหนังสือมอบอานาจให้เป็นไปตามระเบียบของกรมที่ดิน
กอ่ นการจดทะเบียนสิทธิและนติ กิ รรม

การมอบอานาจในลักษณะท่ีเป็นการให้ท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างเป็นการทา
นิติกรรมท่ีเป็นการจาหน่ายสิทธิของผู้มอบอานาจ เจ้าหน้าท่ีของเจ้าพนักงานท่ีดินจึงต้อง
ตรวจสอบหนังสือมอบอานาจโดยเคร่งครัด เม่ือปรากฏว่าช่ือสกุลของผู้ฟ้องคดีในหนังสือ
มอบอานาจสะกดไม่ถูกต้อง สาเนาภาพถ่ายบัตรประจาตัวของผู้ฟ้องคดีหมดอายุ และสาเนา
ภาพถา่ ยเอกสารประกอบคาขอจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิติกรรมของผู้ฟ้องคดีไม่มีการลงลายมือช่ือ
รับรองความถูกต้อง การมอบอานาจดังกล่าวจึงมีข้อพิรุธน่าสงสัย ซ่ึงเป็นหน้าที่ของพนักงาน
เจา้ หนา้ ท่ที ่จี ะตอ้ งตรวจสอบเอกสารดังกล่าวให้ตรงกับหลักฐานเดิมตามแนวทางท่ีกาหนดไว้ใน
ระเบยี บกรมที่ดนิ ว่าดว้ ยการมอบอานาจให้ทาการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมหรือกิจการอ่ืน
เก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๗ ก่อนดาเนินการจดทะเบียนให้ การใช้ความระมัดระวัง
ในการตรวจสอบหนังสือมอบอานาจของเจ้าหน้าท่ีในกรณีน้ีจึงยังไม่เพียงพอ ดังน้ัน การที่
เจ้าพนักงานทีด่ ินมีคาสั่งให้เปล่ียนแปลงชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินในโฉนดท่ีดินพิพาทจากชื่อผู้ฟ้องคดี
เปน็ ชอ่ื ผูร้ ้องสอด เพราะเชื่อว่ามีการมอบอานาจโดยถูกต้องแล้ว โดยไม่ได้ตรวจสอบการมอบอานาจ
ให้เป็นไปตามแนวทางท่ีกาหนดไว้ในระเบียบดังกล่าว ก่อนการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
จงึ เป็นการใชด้ ุลพนิ จิ โดยมิชอบ (คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๖๐๙/๒๕๕๘)

(๔) การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยของหน่วยงานทางปกครอง
ตามมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ชี มี้ ูลความผิดทางวนิ ยั ผ้ฟู อ้ งคดี

คดีน้ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ไต่สวนข้อเท็จจริงและมีมติว่าการกระทา
ของผู้ฟ้องคดีเป็นความผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ ฐานปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยจงใจ
ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาล

แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการจากค�ำ วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ค)
อันเปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายแก่ราชการอยา่ งรา้ ยแรง ฐานรายงานเท็จต่อผบู้ งั คับบัญชา อันเป็นเหตุให้
เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง และฐานเป็นผู้ประพฤติช่ัวอย่างร้ายแรง แต่โดยท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอานาจหน้าที่ในการไต่สวนข้อเท็จจริงและชี้มูลความผิดทางวินัย
ผู้ฟ้องคดีเฉพาะความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ เท่านั้น การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่
ข้อเท็จจริงและชี้มูลความผิดทางวินัยผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานอ่ืน นอกเหนือจากความผิดฐาน
ทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ จึงเป็นการกระทาท่ีไม่มีอานาจตามกฎหมาย มติของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ท่ีช้ีมูลความผิดทางวินัยผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานอื่น จึงไม่ผูกพันกรมที่ดินซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา
ของผู้ฟ้องคดี และกรมที่ดินจะถือเอารายงานการไต่สวนข้อเท็จจริงและความเห็นของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มาเป็นสานวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวนวินัย
ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนไม่ได้ จึงเป็นกรณีที่กรมท่ีดินมีคาส่ังลงโทษ
ไล่ผ้ฟู อ้ งคดีออกจากราชการในความผิดทางวินัยฐานอื่น โดยมิได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการข้ึน
ทาการสอบสวนผู้ฟ้องคดแี ละมไิ ดแ้ จง้ ขอ้ กลา่ วหาดงั กล่าวใหผ้ ฟู้ ้องคดที ราบ เพ่ือให้ผู้ฟ้องคดีได้มี
โอกาสโต้แย้งช้ีแจงแสดงพยานหลักฐานและนาสืบแก้ข้อกล่าวหา คาส่ังลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออก
จากราชการในความผิดฐานอื่น จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากมิได้ดาเนินการตามขั้นตอน
หรือวธิ กี ารอันเป็นสาระสาคัญในการลงโทษทางวนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรงแก่ข้าราชการพลเรือน

สาหรับคาส่ังลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการในความผิดวินัยฐานทุจริต
ต่อหน้าท่ีราชการ น้นั เม่ือระเบียบกรมที่ดนิ มไิ ด้กาหนดให้ตาแหน่งผู้ช่วยผู้กากับการเดินสารวจ
ฝ่ายรังวัด ซึ่งเป็นตาแหน่งของผู้ฟ้องคดีมีหน้าที่ต้องออกไปปฏิบัติงานภาคสนามเพ่ือตรวจสอบ
พ้ืนที่ท่ีมีการขอออกโฉนดที่ดินว่าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์อันเป็นท่ีดินท่ีต้องห้ามในการ
ออกโฉนดท่ีดินหรือไม่ อีกท้ังอานาจหน้าท่ีของผู้ฟ้องคดีตามที่กาหนดไว้ในระเบียบเป็นเพียง
ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองอันนาไปสู่การออกโฉนดที่ดินอันเป็นคาสั่งทางปกครอง
การท่ีผู้ฟ้องคดีรายงานผลการตรวจสอบพบว่า สภาพที่ต้ังของท่ีดินที่พิพาททั้ง ๒๔ แปลง
เหมือนมีน้าท่วมขังและอยู่ใกล้กับพื้นท่ีที่ระบุว่า “เวียงหนอง” ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
เพ่ือดาเนินการตรวจสอบก่อนการออกโฉนดที่ดิน ผู้ฟ้องคดีจึงได้ดาเนินการพิจารณา
ทางปกครองตามอานาจหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนดแล้ว ขั้นตอนต่อไป จึงอยู่ใน
ความรับผิดชอบของผู้มีอานาจหน้าที่ในการออกโฉนดที่ดิน และเมื่อไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า
ผู้ฟ้องคดีได้ร่วมกระทาความผิดกับผู้ถูกกล่าวหารายอ่ืนๆ ประกอบกับจากรายงานการไต่สวน
ข้อเท็จจริงไม่ปรากฏพยานหลักฐานท่ีทาให้ เชื่อได้ว่าผู้ฟ้องคดี กระทาการออกโฉนดที่ดิ น
โดยมิชอบด้วยกฎหมายเพ่ือแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้สาหรับตนเองหรือผู้อ่ืน อันเข้า
องค์ประกอบของความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ และเมื่อได้วินิจฉัยแล้วว่า คาสั่งลงโทษ

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากคำ�วนิ ิจฉยั ของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ง)

ผู้ฟ้องคดีเฉพาะในความผิดทางวินัยฐานอื่น เป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ดังน้ัน คาส่ัง
ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ จึงเป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (คาพิพากษา
ศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๐๓๗/๒๕๕๘)
๒. แนวทางการปฏิบัติราชการที่ได้จากคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครอง

หรอื เจา้ หนา้ ที่ของรัฐละเลยต่อหน้าท่ีตามท่ีกฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าท่ี
ดงั กล่าวลา่ ช้าเกินสมควรตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒)

ศาลปกครองสูงสุดได้วางแนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเก่ียวกับ
การทหี่ นว่ ยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ขี องรฐั ละเลยต่อหนา้ ท่ีตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้อง
ปฏบิ ตั หิ รือปฏิบตั หิ น้าทด่ี ังกลา่ วลา่ ช้าเกนิ สมควร ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) นายกองค์การบริหารส่วนตาบลมีหน้าท่ีสั่งให้หยุดการขุดดินหรือ
จัดการแก้ไขการขุดดินทอ่ี าจกอ่ ให้เกิดความเสยี หายแกผ่ อู้ น่ื

เม่ือผู้ร้องสอดทาการขุดดินโดยมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
และกฎกระทรวง และมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าผู้ฟ้องคดีอาจได้รับความเสียหายจากการขุดดิน
ของผู้ร้องสอด นายกองค์การบริหารส่วนตาบลในฐานะเจ้าพนักงานท้องถ่ินจึงมีอานาจหน้าที่
ส่ังให้พนักงาน เจ้าหน้าท่ีเข้า ไปตรวจสอบส ถานท่ีพิพาทแล ะรายง านต่อต นซ่ึงหากเห็นว่ า
ความเสียหายได้เกิดขึ้นหรืออาจเกิดข้ึนจากการขุดดินน้ันย่อมมีอานาจออกคาส่ังเป็นหนังสือ
สั่งให้ผู้ร้องสอดหยุดทาการขุดดินหรือจัดการแก้ไขการขุดดินตามท่ีเห็นสมควร เมื่อนายก
อง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล มิ ไ ด้ ค ว บ คุม ดู แ ล ใ ห้ ผู้ ร้ อ ง ส อ ด ท า กา ร ขุ ด ดิ น ต า ม ท่ี บ ท บั ญ ญั ติ
แห่งกฎหมายและกฎกระทรวงกาหนดไว้แล้ว จึงเป็นกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตาบลละเลย
ต่อหน้าท่ีตามท่ีกฎหมายกาหนดใหต้ ้องปฏบิ ัติ (คาพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อส.๒/๒๕๕๘)

(๒) กรุงเทพมหานครมีหน้าท่ีดูแลรักษาท่ีสาธารณะเพื่อให้มีความสะดวก
และปลอดภัยแก่ราษฎรท่ีใช้ในการสญั จรตามปกตวิ สิ ัย

กรงุ เทพมหานครมหี น้าที่จดั ใหม้ ีและบารุงรกั ษาทางบก ทางน้า ทางระบายน้า
และการดูแลรักษาท่ีสาธารณะเพื่อให้มีความสะดวกและปลอดภัยแก่ราษฎรท่ีใช้ในการสัญจร
ตามปกติวิสัย เม่ือการประปานครหลวงก่อสร้างและติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้า
และบ่อพักมิเตอร์วัดแรงดันน้าไม่ชอบด้วยหลักเกณฑ์ท่ีกรุงเทพมหานครกาหนดไว้ในคาขอ
อนุญาต กรุงเทพมหานครย่อมมีหน้าที่ที่ต้องตรวจสอบดูแลให้การประปานครหลวงปฏิบัติตาม

แนวทางการปฏิบตั ิราชการจากค�ำ วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสงู สดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(จ)

หลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่กาหนดไว้ แต่กรุงเทพมหานครกลับปล่อยให้การประปานครหลวง
ติดตั้งตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าพิพาท จนถึงวันที่ผู้ฟ้องคดีเดินสะดุดตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าว
เป็นเวลา ๒ ปีกว่า โดยมิได้ดูแลและบารุงรักษาตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวให้อยู่ในสภาพที่
สามารถใช้การได้ โดยไม่ก่อให้เกิดภยันตรายต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของประชาชน
ผู้สญั จรไปมา จึงถือได้ว่ากรุงเทพมหานครละเลยต่อหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ
(คาพิพากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๓๖๔/๒๕๕๘)

(๓) เจา้ พนักงานท่ดี ินมีหน้าท่ีเสนอรายงานพร้อมความเห็นต่ออธิบดีกรมที่ดิน
เพื่อพิจารณาสัง่ การ กรณีมกี ารออกโฉนดท่ดี นิ โดยคลาดเคลือ่ นหรอื ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย

เมือ่ ความปรากฏแกเ่ จา้ พนักงานท่ดี ินไมว่ ่าจะโดยวิธีการรอ้ งเรียนขอความเป็นธรรม
หรอื เกิดจากการตรวจพบเองว่ามีการออกโฉนดท่ีดินโดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เจ้าพนักงานที่ดินในฐานะผู้มีอานาจหน้าที่ออกโฉนดท่ีดินมีหน้าท่ีต้องตรวจสอบข้อเท็จจริง
และรวบรวมพยานหลักฐานในเบื้องต้นและรายงานข้อเท็จจริงพร้อมทั้งให้ความเห็นต่ออธิบดี
กรมท่ีดินว่าหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินดังกล่าวได้ออกไปโดยคลาดเคล่ือนหรือไม่ชอบ
ด้วยกฎหมายหรือไม่ อย่างไร และควรพิจารณาดาเนินการประการใด เพ่ือให้อธิบดีกรมที่ดิน
พจิ ารณาโดยไม่จาเปน็ ตอ้ งรบั ฟังให้ข้อเท็จจริงเป็นท่ียุติโดยปราศจากข้อสงสัยก่อนว่ามีการออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์โดยคลาดเคล่ือนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การที่เจ้าพนักงานท่ีดินไม่ดาเนินการดังกล่าวจึงเป็นการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมาย
กาหนดใหต้ ้องปฏิบตั ิ (คาพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๔๓๖/๒๕๕๘)

(๔) ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมีหน้าที่พิจารณาคาขอย้ายที่ต้ังโรงงาน
นา้ ตาลใหเ้ ปน็ ไปตามเง่อื นไขและหลกั เกณฑท์ ี่กฎหมายกาหนด

เม่ือผู้ร้องสอดซ่ึงได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการโรงงานท่ีอาเภอพนัสนิคม
ได้ยื่นคาขอย้ายที่ต้ังโรงงา นและขยายกาลังการผลิตต่อกระทรวงอุตสาหกรรม
และปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ซึ่งควรดาเนินการ
พิจารณาเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาภายในระยะเวลาเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้ร้องสอด
มีหนังสือแจ้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมขอเปล่ียนแปลงสถานที่ต้ังโรงงานอันถือว่า
เป็นระยะเวลาตามสมควร ดังนั้น การที่กระทรวงอุตสาหกรรมและปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
ปล่อยให้ระยะเวลาล่วงเลยมานานโดยไม่ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของตน และไม่ตอบ
คาถามหรือแจ้งการดาเนินการให้ผู้ร้องสอดทราบ จึงเป็นการละเลยต่อหน้าท่ีตามท่ีกฎหมาย
กาหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าท่ีดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร และแม้ข้ันตอนในการเสนอ

แนวทางการปฏบิ ัติราชการจากค�ำ วินจิ ฉัยของศาลปกครองสงู สุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ฉ)

คณะรัฐมนตรีพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบหลักการในการย้ายที่ตั้งโรงงานน้าตาลจะถูกยกเลิกไปแล้ว
แตป่ ลัดกระทรวงอุตสาหกรรมซึ่งเป็น “ผู้อนุญาต” ตามกฎหมาย ยังมีหน้าท่ีต้องพิจารณาคาขอย้าย
ทต่ี ง้ั โรงงานน้าตาลของผู้รอ้ งสอดวา่ เปน็ ไปตามเง่อื นไขและหลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายกาหนดหรือไม่
และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ร้องสอดทราบภายในเวลาอันสมควร (คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
ท่ี อ.๑๑๑๘/๒๕๕๘)
๓. แนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเก่ียวกับการกระทาละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่น

ของหนว่ ยงานทางปกครองหรือเจา้ หน้าที่ของรฐั ตามมาตรา ๙ วรรคหน่งึ (๓)
ศาลปกครองสูงสุดได้วางแนวทางการปฏิบัติราชการที่ได้จากคดีพิพาทเกี่ยวกับ

การกระทาละเมดิ หรอื ความรบั ผดิ อย่างอน่ื ของหนว่ ยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าทข่ี องรัฐ ดงั ต่อไปนี้
(๑) การขุดลอกลาห้วยรุกล้าเข้าไปในท่ีดินของเจ้าของท่ีดินเกินกว่าที่

เจา้ ของท่ดี นิ มีเจตนาอุทิศใหเ้ ป็นสาธารณประโยชน์
เม่ือเจ้าของท่ีดินในบริเวณท่ีจะทาการก่อสร้างตามโครงการขุดลอกและสร้าง

ฝายห้วยเสือเฒ่าแสดงเจตนาอุทิศท่ีดินตามแบบพิมพ์สาเร็จรูป โดยมิได้ระบุขอบเขตของที่ดิน
และจานวนเนื้อที่ที่แน่นอนไว้ แสดงว่าเจ้าของที่ดินมิได้ถือเอาขอบเขตและจานวนเน้ือที่
ที่อนุญาตใหใ้ ชเ้ ป็นสาระสาคญั หากแต่ถอื เอาตามขนาดของการก่อสร้างลาห้วยเป็นสาระสาคัญ
ดังนั้น การขุดลอกลาห้วยรุกล้าเข้าไปในที่ดินเกินกว่าที่เจ้าของท่ีดินมีเจตนาอุทิศให้เป็น
สาธารณประโยชน์ จึงเป็นการจงใจกระทาต่อเจ้าของท่ีดินให้ได้รับความเสียหายแก่ทรัพย์สิน
เป็นการกระทาละเมิดอันเกิดจากการใช้อานาจตามกฎหมาย กรมชลประทานจึงต้องรับผิดต่อ
เจ้าของท่ีดินในผลแห่งละเมิดท่ีเจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาไปในการปฏิบัติหน้าที่ (คาพิพากษา
ศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๖/๒๕๕๘)

(๒) การก่อสร้างตามโครงการระบบระบายน้า ระบบรวบรวมและระบบ
บาบัดนา้ เสยี ก่อให้เกิดแรงสั่นสะเทอื นสง่ ผลให้บ้านเรือนของประชาชนขา้ งเคียงเสยี หาย

เม่ือเทศบาลนครมีอานาจหน้าท่ีในการดาเนินงานโครงการบริการสาธารณะ
เพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตน การท่ีเทศบา ลนครได้ทาสัญญาจ้าง
ห้างหุ้นส่วนจากัด บ. ก่อสร้างระบบระบายน้า ระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสียและจ้างบริษัท อ.
เป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างและเป็นที่ปรึกษาในการควบคุมงานก่อสร้างดังกล่าวแทน
โดยการดาเนินการก่อสร้างก่อให้เกิดความเสียหายจากการใช้เครื่องตอก (VIBRO HAMMER)

แนวทางการปฏิบัติราชการจากค�ำ วินจิ ฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ช)

ตอกและถอนเข็มพืด (SHEET PILE) ก่อให้เกิดแรงส่ันสะเทือนส่งผลให้บ้านเรือนของประชาชน
รวมถึงบา้ นของผฟู้ ้องคดไี ดร้ บั ความเสียหาย จงึ เป็นการกระทาละเมิดต่อผู้ฟ้องคดี เทศบาลนคร
ตอ้ งรับผดิ ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ฟอ้ งคดี (คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ.๗๒๑/๒๕๕๘)

(๓) การจัดเก็บภาษนี อกพน้ื ทเ่ี ขตการปกครองขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล
เมื่อโรงงานท้ังหกแห่งในคดีนี้มิได้ต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่การปกครองขององค์การ
บริหารส่วนตาบลละหารตามประกาศกระทรวงมหาดไทย องค์การบริหารส่วนตาบลละหารจึง
ไม่มีสทิ ธแิ ละหน้าที่ตามกฎหมายในการจดั เก็บภาษีจากโรงงานทั้งหกแห่ง การที่องค์การบริหาร
ส่วนตาบลละหารจงใจหรือประมาทเลินเล่อมิได้สารวจตรวจสอบพ้ืนที่เขตการปกครองของตน
ให้ถูกต้องโดยได้จัดเก็บภาษีจากโรงงานท้ังหกแห่งซึ่งอยู่นอกพื้นที่เขตการปกครองตามที่
ประกาศกระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้ จึงเป็นกรณีที่องค์การบริหารส่วนตาบลละหารกระทา
การโดยไม่มีสิทธิและหน้าท่ีท่ีกฎหมายให้อานาจไว้ จึงเป็นการกระทาละเมิดต่อองค์การบริหาร
ส่วนตาบลหนองบัวซ่ึงเป็นผู้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายในการจัดเก็บภาษีในพื้นที่พิพาท
องค์การบริหารส่วนตาบลละหารจึงต้องคืนเงินภาษีที่จัดเก็บมาโดยมิชอบด้วยกฎหมายให้แก่
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหนองบัว (คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๘๓๔-๘๓๕/๒๕๕๘)
(๔) การปรับลดระดับน้าบริเวณเหนือเขื่อนและท้ายเข่ือนเป็นเหตุให้
เกษตรกรผูเ้ พาะเลี้ยงสัตว์น้า (กระชังปลา) เสยี หาย
เมื่อเจ้าหน้าที่ของกรมชลประทานลดการระบายน้า โดยกดสวิตช์เพ่ือปิดบาน
ระบายน้า แต่ปรากฏว่าบานระบายน้าไม่หยุดทางานและได้เคลื่อนตัวไปขัดกับโครงสร้างของ
เข่ือนเป็นเหตุให้ลวดสลิงขาด ทาให้ไม่สามารถควบคุมบานระบายน้าได้ และกรมชลประทาน
ไม่แจ้งเตือนให้เจ้าพนักงานท้องถ่ิน เจ้าหน้าท่ีของกรมเจ้าท่า เจ้าหน้าท่ีของกรมประมง หรือ
ผู้นาท้องถิ่นทราบ เพื่อให้แจ้งแก่ผู้ฟ้องคดีและเกษตรกรผู้เล้ียงปลาในกระชังทราบ ท้ังท่ีอยู่ใน
วิสัยที่จะกระทาได้เพ่ือป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น เป็นการดาเนินการที่มิได้ใช้
ความระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าท่ีเป็นเหตุให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายทาให้ปลาท่ีเล้ียง
ในกระชังตาย เม่ือความเสียหายดังกล่าวเป็นผลโดยตรงจากการกระทาของกรมชลประทาน
จึงเป็นการกระทาละเมิดต่อผู้ฟ้องคดี กรมชลประทานซ่ึงเป็นหน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าท่ี
โครงการส่งน้าและบารุงรักษาเขื่อนนเรศวร จึงต้องรับผิดในผลแห่งการกระทาละเมิด
ของเจ้าหนา้ ทีด่ งั กลา่ ว (คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๙๑๑/๒๕๕๘)

แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคำ�วนิ ิจฉยั ของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ซ)

๔. แนวทางการปฏิบัติราชการที่ได้จากคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙
วรรคหนึ่ง (๔)
ศาลปกครองสูงสุดได้วางแนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเกี่ยวกับ

สัญญาทางปกครอง ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) การมอบหมายให้ผู้ฟ้องคดีปฏิบัติหน้าท่ีงานรักษาความสะอาดประจา

รถเกบ็ ขนขยะนอกเหนอื หนา้ ที่ยามตามสัญญาจ้าง
เ ม่ื อ ค า ส่ั ง ข อ ง เ ท ศ บ า ล ต า บ ล ที่ ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ ผู้ ฟ้ อ ง ค ดี ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี อ่ื น

นอกเหนือหน้าท่ียามโดยให้ผู้ฟ้องคดีรับผิดชอบในงานรักษาความสะอาดประจารถเก็บขนขยะ
เ ป็ น ค า ส่ั ง ม อ บ ห ม า ย ง า น ใ ห้ ผู้ ฟ้ อ ง ค ดี ป ฏิ บั ติ เ ป็ น พิ เ ศ ษ น อ ก เ ห นื อ จ า ก ข อ บ เ ข ต ห น้ า ท่ี
ความรับผิดชอบท่ีกาหนดไว้ตามสัญญาจ้าง จึงไม่อาจถือได้ว่าผู้ฟ้องคดียินยอมปฏิบัติตามคาสั่ง
และไมจ่ าต้องปฏิบัติหน้าท่ีประจารถเก็บขนขยะตามคาส่ังดังกล่าว การท่ีผู้ฟ้องคดีปฏิบัติหน้าที่
ตาแหน่งยามต่อไป จึงไม่เป็นการประพฤติผิดสัญญาจ้าง การที่เทศบาลตาบลบอกเลิกสัญญา
จ้างโดยไม่บอกกล่าวล่วงหน้า จึงไม่ชอบด้วยข้อสัญญา ประกอบกับเทศบาลตาบลบอกเลิก
สัญญาจ้างโดยมิได้เสนอเหตุผลความจาเป็นและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับให้
คณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนท่ีจะบอกเลิกสัญญา จ้าง
จึงเป็นการบอกเลิกสัญญาท่ีมิได้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล
ฉะนั้น การท่ีเทศบาลตาบลบอกเลิกสัญญาจ้างกับผู้ฟ้องคดีก่อนครบกาหนดสัญญาจ้าง
โดยผู้ฟ้องคดีมิได้ประพฤติผิดสัญญา จึงเป็นการบอกเลิกสัญญาจ้างโดยมิใช่ความผิดของผู้ฟ้องคดี
ผู้ฟ้องคดีจึงมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนการออกจากงานโดยไม่มีความผิดจากงบประมาณ
ของเทศบาลตาบล (คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๔๕/๒๕๕๘)

(๒) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานจ้างตามภารกิจเสร็จสิ้น
ภายหลังทสี่ ัญญาจ้างสิน้ สุดลง

ก่อนครบกาหนดสัญญาจ้าง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลไม่ได้ทา
การประเมินผลการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นพนักงานจ้างตามภารกิจ แต่กลับประกาศ
รับสมัครบุคคลเพ่ือสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างใหม่ จนกระทั่งสัญญาจ้างของผู้ฟ้องคดี
ครบกาหนด โดยผู้ฟ้องคดีไม่ได้รับการพิจารณาต่อสัญญาจ้าง พฤติการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึง
เจตนาที่ไม่ประสงค์จะต่อสัญญาจ้างโดยต้องการสรรหาพนักงานจ้างรายใหม่แทนผู้ฟ้องคดี
และเมื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ฟ้องคดีเสร็จส้ินภายหลัง ท่ีสัญญาจ้างสิ้นสุดลง

แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการจากคำ�วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ฌ)

ย่อมแสดงว่ามิได้ มีการน าผลการประเมินผลการปฏิบั ติงานของผู้ฟ้องคดี ไปใช้ เป็น เครื่ องมือ
ในการบริหารพนักงานจ้างและนาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในการต่อสัญญาจ้าง
การกระทาดังกล่าวจึงเป็นการมิได้ปฏิบัติตามสัญญาจ้างเป็นเหตุให้ผู้ฟ้องคดีมิได้รับการพิจารณา
ตอ่ สญั ญาจา้ งทาใหผ้ ฟู้ ้องคดีได้รับความเสียหาย (คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๓๑๐/๒๕๕๘)

(๓) การส่ังให้ผู้รับจ้างแก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของถังกรองน้า
เพื่อให้เกดิ ความแขง็ แรงซงึ่ ไม่ไดแ้ สดงไว้ในสญั ญา

การที่ผู้ควบคุมงานของเทศบาลตาบลมีคาสั่งให้ผู้ฟ้องคดีแก้ไขเปล่ียนแปลง
การกอ่ สร้างถังกรองน้า โดยให้รื้อผนังคอนกรีตของถังกรองน้าที่แตกออก แล้วให้ผู้ฟ้องคดีสร้าง
ขึ้นใหม่ และให้เพิ่มขนาดของเหล็กสาน ผูกเหล็กสานให้ถี่ขึ้น เพ่ิมความหนาผนังคอนกรีตของ
ถังกรองน้า และเพิ่มความหนาของคานถังกรองน้าอีก ๒ ด้าน เพ่ือยึดผนังคอนกรีตทั้งส่ีด้าน
เป็นการส่งั ให้ผู้รับจ้างทางานที่ไม่ได้แสดงไว้ในสัญญาและเป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิด
ความแข็งแรงของถังกรองน้า ดังน้ัน จึงเป็นงานที่อยู่ในขอบข่ายท่ัวไปของวัตถุประสงค์ของ
สัญญาท่ีสามารถกระทาได้ตามสัญญาจ้าง และเม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า การท่ีผนังคอนกรีต
ของถังกรองน้าแตกเกิดจากความผิดพลาดของเทศบาลตาบลท่ีออกแบบในการก่อสร้างถังกรองน้า
ไม่ถูกต้องตามหลักการทางวิศวกรรมหรือตามมาตรฐานของหลักวิชาช่างที่ดี ซ่ึงความผิดพลาด
ดังกลา่ วน้นั ถือเปน็ ความผดิ พลาดที่เป็นสาระสาคัญของการออกแบบโครงสร้างของถังกรองน้า
โดยมิใช่เป็นกรณีท่ีแบบรูปและรายการละเอียดคลาดเคล่ือนเพียงเล็กน้อยที่ เทศบาลตาบล
จะอ้างข้อกาหนดในสัญญาจ้างเพื่อปฏิเสธความรับผิดในการชดใช้ค่าใช้จ่ายท่ีเพ่ิมข้ึนจากการท่ี
ผฟู้ อ้ งคดตี อ้ งก่อสร้างถงั กรองน้าใหม่ได้ (คาพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.๙๔๓/๒๕๕๘)

(๔) คู่สัญญาตกลงยินยอมให้มีการก่อสร้างตามแบบแปลนท่ีแก้ไขใหม่
แต่หน่วยงานทางปกครองไม่แก้ไขสัญญาให้สอดคล้องกับปริมาณงานและค่าแรงท่ีเพิ่มข้ึน
ก่อนตรวจรบั มอบงาน

กรมชลประทานตกลงยินยอมกับผู้ฟ้องคดีแล้วว่าให้มีการก่อสร้างตามแบบแปลน
ทแ่ี กไ้ ขใหม่โดยมีค่าก่อสร้างทเ่ี พ่ิมขึ้นตามปรมิ าณงานที่จะต้องทาจรงิ แต่กรมชลประทานละเลย
ไม่แก้ไขสัญญาให้สอดคล้องกับปริมาณงานและค่างานท่ีเพิ่มขึ้นดังกล่าว จนกระท่ังได้รับมอบ
งานก่อสร้างท้ังหมดและได้ออกใบรับรองผลงานตามปริมาณงานท่ีก่อสร้างจริงให้แก่ผู้ฟ้องคดีแล้ว
กรมชลประทานจึงได้ทาเรื่องขออนุมัติต่อคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุเพื่อขอยกเว้นระเบียบ
ในการแก้ไขสัญญาฉบับพิพาทหลงั จากการตรวจรับมอบงานไปแล้ว เมื่อคณะกรรมการดังกล่าว
ไม่ยกเว้นหรือผ่อนผันให้แก้สัญญา กรมชลประทานจึงอ้างความเห็นของคณะกรรมการมาเป็น

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากค�ำ วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสงู สดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

(ญ)
เ ห ตุ ป ฏิ เ ส ธ กา ร ช า ร ะเ งิ น ค่า ก่อส ร้ า ง ท่ีเ พิ่ มขึ้ น กับ ผู้ ฟ้ อง คดี อั น เ ป็ น ก า ร กร ะทา โ ด ย ไม่สุ จ ริ ต
อีกท้ัง ความเห็นดังกล่าวย่อมมีผลผูกพันเฉพาะกรมชลประทาน แต่ไม่มีผลผูกพันผู้ฟ้องคดี
ดังน้ัน กรมชลประทานจึงต้องรับผิดชาระเงินค่าก่อสร้างท่ีเพิ่มข้ึนให้แก่ผู้ฟ้องคดีตามสัญญา
(คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๒๕๖/๒๕๕๘)

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากค�ำ วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1

แนวทางการปฏิบัติราชการจากคาวนิ ิจฉยั
ของศาลปกครองสูงสดุ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘

จากการศึกษาวิเคราะห์คาวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘
พบวา่ มีคาวินจิ ฉยั ท่นี ่าสนใจเหมาะสมที่จะนามาจัดทาสรุปเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติราชการสาหรับ
หนว่ ยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่ของรัฐตามนัยมาตรา ๗๗ (๕)๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สานักงานศาลปกครองจึงได้คัดเลือก
คาวนิ ิจฉัยดงั กล่าวมาจัดทาแนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคาวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจาปี
พ.ศ. ๒๕๕๘ ฉบบั น้ี ซึ่งคาวนิ จิ ฉยั ที่คัดเลือกมาจัดทาในครั้งน้ีเป็นคดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)
ถงึ (๔)๒ แหง่ พระราชบญั ญตั ดิ ังกล่าว ดังมรี ายละเอียดต่อไปน้ี

๑-๒ พระราชบญั ญัตจิ ัดต้ังศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๙ ศาลปกครองมีอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาหรือมีคาสั่งในเรือ่ งดงั ต่อไปนี้
(๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับการท่ีหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการ
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ คาส่ัง หรือการกระทาอื่นใด เนื่องจากกระทาโดยไม่มีอานาจ
หรือนอกเหนืออานาจหน้าที่ หรอื ไมถ่ ูกตอ้ งตามกฎหมาย หรอื โดยไม่ถกู ต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการ
อันเป็นสาระสาคัญที่กาหนดไว้สาหรับการกระทาน้ัน หรือโดยไม่สุจริต หรือมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ
ท่ีไม่เป็นธรรม หรือมีลักษณะเป็นการสร้างข้ันตอนโดยไม่จาเป็นหรือสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควร
หรือเปน็ การใช้ดลุ พินิจโดยมิชอบ
(๒) คดพี พิ าทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าท่ี
ตามท่กี ฎหมายกาหนดใหต้ ้องปฏบิ ัติหรือปฏบิ ัตหิ น้าทด่ี ังกลา่ วล่าชา้ เกนิ สมควร
(๓) คดีพพิ าทเกีย่ วกบั การกระทาละเมิดหรือความรับผิดอย่างอ่ืนของหน่วยงานทางปกครอง
หรือเจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐอนั เกดิ จากการใช้อานาจตามกฎหมายหรือจากกฎ คาส่ังทางปกครอง หรือคาสง่ั อน่ื หรอื จากการ
ละเลยต่อหน้าทตี่ ามทกี่ ฎหมายกาหนดให้ต้องปฏบิ ัติ หรือปฏบิ ัติหนา้ ท่ีดงั กลา่ วล่าช้าเกนิ สมควร
(๔) คดีพิพาทเก่ียวกับสญั ญาทางปกครอง

ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๗๗ สานกั งานศาลปกครองมีอานาจหนา้ ทีด่ งั ตอ่ ไปนี้

ฯลฯ ฯลฯ
(๕) วเิ คราะหเ์ หตุแหง่ การฟ้องคดปี กครองเพอื่ เสนอแนะแนวทางการปรบั ปรุงวธิ ีปฏิบัตริ าชการ
ต่อหนว่ ยงานของรฐั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคำ�วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒

๑. แนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเก่ียวกับการที่หน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑)

ศาลปกครองสูงสุดได้วางแนวทางการปฏิบัติราชการที่ได้จากคดีพิพาทเก่ียวกับ
การท่หี นว่ ยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ดังตอ่ ไปนี้

(๑) มติของคณะกรรมการแพทยสภาที่ไม่ให้เหตุผลข้อพิจารณา
และขอ้ สนับสนุนในการใชด้ ุลพนิ จิ

การท่ีแพทย์ทาคลอดโดยมิได้คานึงถึงภาวะผิดปกติท่ีอาจเกิดข้ึนและได้
ออกไปจากห้องคลอดเพ่ือรับประทานอาหารกลางวันโดยใช้เวลาในการรับประทานอาหาร
กลางวันนานถึง ๑ ช่ัวโมง ๑๒ นาที อันเป็นสาเหตุให้แพทย์ตัดสินใจผ่าตัดทาคลอดล่าช้า
เกินสมควร เป็นการปฏิบัติหน้าท่ีแพทย์ที่เข้าลักษณะมิได้รักษามาตรฐานของการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมในระดับท่ีดีที่สุด และมิได้คานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลือง
ของผู้ป่วย ประกอบกับคณะกรรมการแพทยสภาได้มีมติยกข้อกล่าวโทษแพทย์โดยมิได้
ให้เหตุผลข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ จึงทาให้คาสั่งแพทยสภาท่ียก
ข้อกลา่ วโทษแพทย์เป็นคาสงั่ ทไี่ ม่ชอบดว้ ยกฎหมาย

ผฟู้ ้องคดฟี ้องว่า นาง ว. ภรรยาของผู้ฟ้องคดีได้ต้ังครรภ์บุตรและได้ฝากครรภ์
ไวก้ บั ผู้ร้องสอด แตห่ ลังจากผ่าตัดทาคลอด ทารกได้เสยี ชวี ิต ผ้ฟู อ้ งคดีเห็นว่าสาเหตุการเสียชีวิต
ของทารกเกิดจากผู้ร้องสอดและเจ้าหน้าท่ีแผนกห้องคลอดปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อ
ผู้ฟ้องคดีจึงยื่นหนงั สือร้องเรียนต่อผู้ถกู ฟ้องคดี (แพทยสภา) แตค่ ณะกรรมการแพทยสภาเห็นว่า
ผู้ร้องสอดได้ให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างถูกต้องตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรมแล้ว
ยังไม่ถือเป็นความผิดของผู้ร้องสอด จึงมีมติยกข้อกล่าวโทษผู้ร้องสอด ผู้ถูกฟ้องคดีจึงมี
คาสงั่ แพทยสภา ลงวันที่ ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗ ให้ยกข้อกล่าวโทษผรู้ อ้ งสอด ผู้ฟ้องคดีเห็นว่า
การท่ีผู้ถูกฟ้องคดีมีคาส่ังแพทยสภาดังกล่าวเป็นไปโดยไม่สุจริตและไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงนาคดี
มาฟ้องขอให้ศาลมีคาพิพากษาเพิกถอนคาสั่งแพทยสภาดังกล่าว ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า
เมื่อข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า การคลอดบุตรของนาง ว. อาจอยู่ในภาวะที่ไม่ปกติและแตกต่างจาก
การคลอดบุตรของบุคคลทั่วไป และด้วยในฐานะท่ีผู้ร้องสอดเป็นแพทย์ผู้ทาคลอด ผู้ร้องสอด

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากค�ำ วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

3๓

ย่อมต้องมีหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือและดูแลการคลอดอย่างใกล้ชิด เพื่อเตรียม
ควา มพ ร้อ มส าห รับ การ ผ่า ตัด ทา คล อด ใน กรณี เร่ งด่ วน แล ะฉุ กเ ฉินที่ อา จเ กิ ด ข้ึน ได้ ทัน ที
แต่ปรากฏว่าระหว่างทาคลอดในเวลา ๑๒.๑๐ นาฬิกา ผู้ร้องสอดได้ออกจากห้องคลอดไป
รับประทานอาหารกลางวัน และในเวลา ๑๓.๑๐ นาฬิกา เจ้าหน้าที่ประจาห้องคลอดวัดอัตรา
การเตน้ ของหวั ใจทารกในครรภ์ได้ ๑๘๔ คร้ังต่อนาที ซ่ึงเป็นอัตราการเต้นของหัวใจที่เพ่ิมสูงข้ึน
ผิดปกติ เจ้าหน้าท่ีประจาห้องคลอดจึงได้โทรศัพท์ติดตามผู้ร้องสอดให้มายังห้องคลอด และ
ผู้ร้องสอดกลับมายังห้องคลอดในเวลา ๑๓.๒๒ นาฬิกา โดยผู้ร้องสอดได้ทาการผ่าตัดทาคลอด
ในเวลา ๑๔.๐๒ นาฬิกา อันเป็นเวลาท่ีไม่ทันต่อเหตุการณ์ ทาให้ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
อย่างรุนแรงจนถึงแก่ความตายในที่สดุ จึงเหน็ วา่ การที่ผู้ร้องสอดตัดสินใจผ่าตัดทาคลอดในเวลา
๑๓.๒๒ นาฬิกา เป็นการตัดสินใจท่ีล่าช้าเกินสมควร เม่ือเหตุแห่งการตัดสินใจล่าช้าดังกล่าว
มิได้เกิดจากสภาพทางธรรมชาติของร่างกายนาง ว. แต่เกิดจากผู้ร้องสอดออกจากห้องคลอด
ไปรับประทานอาหารกลางวันในขณะทาคลอดและใช้เวลาในการรับประทานอาหารกลางวัน
นานเกนิ สมควรโดยใชเ้ วลาถึง ๑ ช่วั โมง ๑๒ นาที โดยผู้ร้องสอดมิได้คานึงถึงภาวะฉุกเฉินท่ีอาจ
เกิดข้ึนในระหว่างการคลอดแต่อย่างใด ซ่ึงสอดคล้องกับความเห็นของรองศาสตราจารย์ ส.
ตาแหน่งประธานคณะอนุกรรมการอนามัยแม่และเด็กราชวิทยาลัยสูตินารีแพทย์แห่งประเทศไทย
ซึ่งเป็นพยานผู้เช่ียวชาญท่ีศาลปกครองชั้นต้นแต่งต้ังข้ึนโดยได้ให้ความเห็นว่า ผู้ร้องสอด
คานึงถึงความปลอดภัยของทารกน้อยกว่าที่ควรจะเป็นและปล่อยให้ธรรมชาติเป็นผู้ตัดสินเป็น
ระยะเวลายาวนานจนเกิดผลเสีย และไม่สามารถแก้ไขให้กลับคืนมาได้อีก นอกจากนี้ ก่อนที่จะ
มีการผ่าตัดทาคลอด นาง ว. ได้ร้องขอให้มีการผ่าตัดทาคลอดถึง ๓ คร้ัง แต่ได้รับการปฏิเสธ
กรณีจึงเห็นได้ว่า การที่ผู้ร้องสอดทาคลอดโดยมิได้คานึงถึงภาวะผิดปกติท่ีอาจเกิดขึ้นและได้
ออกไปจากห้องคลอดเพ่ือรับประทานอาหารกลางวันโดยใช้เวลาในการรับประทานอาหาร
กลางวันนานถึง ๑ ชั่วโมง ๑๒ นาที อันเป็นสาเหตุให้ผู้ร้องสอดตัดสินใจผ่าตัดทาคลอดล่าช้า
เกินสมควร เป็นการปฏิบัติหน้าท่ีแพทย์ที่เข้าลักษณะมิได้รักษามาตรฐานของการประกอบ
วชิ าชพี เวชกรรมในระดบั ทด่ี ีทส่ี ุด และมิได้คานึงถงึ ความปลอดภยั และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย
ตามหมวด ๓ ข้อ ๑๓ และขอ้ ๖๔ ของขอ้ บงั คับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ

๓-๔ ข้อบังคบั แพทยสภา ว่าด้วยการรกั ษาจริยธรรมแห่งวชิ าชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๖
หมวด ๓ การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ขอ้ ๑ ผู้ประกอบวชิ าชีพเวชกรรมต้องรกั ษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ในระดับที่ดีท่ีสุด และพยายามให้ผู้ป่วยพ้นจากอาการทรมานจากโรคและความพิการต่างๆ โดยไม่เรียกร้อง
สินจา้ งรางวลั พิเศษนอกเหนือจากค่าบรกิ ารที่ควรได้รบั ตามปกติ

(มีต่อหน้าถัดไป)

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากค�ำ วินจิ ฉัยของศาลปกครองสูงสดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

4๔

เวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๖ ประกอบกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๓๗ วรรคหน่ึง (๓)๕ ได้บัญญัติว่า การออกคาส่ังทางปกครองต้องมีเหตุผลและเหตุผล
อย่างน้อยต้องมีข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจด้วย ดังน้ัน เม่ือคณะกรรมการ
แพทยสภาได้มีมติยกข้อกล่าวโทษผู้ร้องสอดโดยมิได้ให้เหตุผลข้อพิจารณาและข้อสนับสนุน
ในการใช้ดลุ พินิจตามบทบัญญัติดังกล่าว จึงทาให้คาส่ังแพทยสภา ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ทยี่ กขอ้ กลา่ วโทษผรู้ ้องสอด เปน็ คาส่งั ท่ีมิชอบด้วยกฎหมาย ที่ศาลปกครองช้ันต้นมีคาพิพากษา
เพิกถอนคาส่ังแพทยสภา ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ และให้ผู้ถูกฟ้องคดีพิจารณาและมี
คาสง่ั ใหม่ให้ถกู ต้องตามกฎหมายภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันท่ีคดีถึงที่สุด น้ัน ศาลปกครองช้ันต้น
มิได้กาหนดคาบังคับให้การเพิกถอนดังกล่าวมีผลต้ังแต่เมื่อใด พิพากษาแก้คาพิพากษาของ
ศาลปกครองช้ันต้น เป็นให้การเพิกถอนมีผลตั้งแต่วันท่ีออกคาส่ัง นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตาม
คาพิพากษาของศาลปกครองช้ันต้น โดยมีข้อสังเกตว่า๖ ให้ผู้ถูกฟ้องคดีออกคาสั่งใหม่ให้ถูกต้อง
ตามกฎหมายและตามผลแห่งคาพิพากษาของศาลปกครอง (คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
ท่ี อ.๘๕/๒๕๕๘)

(ต่อจากเชิงอรรถที่ ๓-๔)
ข้อ ๖ ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คานึงถึงความปลอดภัย

และความสนิ้ เปลืองของผู้ป่วย
๕ พระราชบญั ญัตวิ ธิ ีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๓๗ คาสั่งทางปกครองที่ทาเป็นหนังสือและการยืนยันคาสั่งทางปกครองเป็น

หนังสอื ตอ้ งจดั ใหม้ ีเหตผุ ลไวด้ ว้ ย และเหตุผลนัน้ อย่างนอ้ ยตอ้ งประกอบด้วย
ฯลฯ ฯลฯ

(๓) ขอ้ พิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินจิ
ฯลฯ ฯลฯ

๖ การกาหนดข้อสงั เกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการดาเนินการให้เป็นไปตามคาพิพากษา
เป็นไปตามมาตรา ๖๙ วรรคหนึ่ง (๘) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒

แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคำ�วินิจฉยั ของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

5๕

(๒) การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงโดยผู้ไม่มี
อานาจตามกฎหมาย

เม่ือกฎหมายกาหนดให้ผู้มีอานาจส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ทางวินัยอย่างร้ายแรงกรณีข้าราชการตารวจช้ันยศจ่าสิบตารวจลงมาในทุกหน่วยงาน
ในปกครองบังคับบัญชา คือ รองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (ซึ่งรับผิดชอบงานบริหาร
งานบุคคล) ผู้ช่วยผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (ซึ่งรับผิดชอบงานด้านวินัย) ผู้บัญชาการ
หรือเทียบเท่าผู้บัญชาการ แต่ปรากฏว่า รองผู้กากับการ (ฝ่ายป้องกันปราบปราม) ปฏิบัติ
ราชการแทนผู้กากับการสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นผู้ส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงแก่ผู้ฟ้องคดีซ่ึงเป็นข้าราชการตารวจ
ยศจ่าสิบตารวจ จึงเป็นการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงกับผู้ฟ้องคดี
โดยผไู้ ม่มีอานาจตามกฎหมายมาดาเนนิ การสอบสวน การทคี่ ณะกรรมการขา้ ราชการตารวจ
นาผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนดังกล่าวมาพิจารณาแล้วมีมติให้เพ่ิมโทษ
ผู้ฟ้องคดีเป็นไล่ออกจากราชการ และการท่ีผู้บัญชาการตารวจภูธร ภาค ๑ มีคาสั่งลงโทษ
ไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการตามมติดังกล่าว จึงเป็นกรณีที่ไม่ได้ดาเนินกระบวนการ
สอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงตามขั้นตอนอันเป็นสาระสาคัญตามที่กฎหมายกาหนดไว้
ดงั นั้น มติของคณะกรรมการข้าราชการตารวจและคาสง่ั ของผบู้ ัญชาการตารวจภูธร ภาค ๑
จงึ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

เมื่อครั้งผู้ฟ้องคดีดารงตาแหน่งผู้บังคับหมู่ งานป้องกันปราบปราม สถานี
ตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง กรณีผู้ที่อยู่
ระหว่างคุมขังน้ันหลุดพ้นจากการควบคุมไป รองผู้กากับการ (ฝ่ายป้องกันปราบปราม) ปฏิบัติ
ราชการแทนผู้กากับการสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ จึงมีคาสั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยผู้ฟอ้ งคดี คณะกรรมการสอบสวนมีความเห็นว่าพฤติการณ์ของ
ผู้ฟ้องคดีเป็นความผิดจริงตามที่ถูกกล่าวหา เห็นควรลงโทษผู้ฟ้องคดีด้วยการให้ออกจากราชการ
ซ่ึงสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการพิจารณาแล้วเห็นพ้องด้วย และได้รายงาน
ตามลาดบั ชนั้ ต่อผบู้ งั คบั บัญชา จนกระท่งั อนุกรรมการคณะกรรมการข้าราชการตารวจเกี่ยวกับ
การดาเนินการทางวินัย คณะท่ี ๒ ทาการแทนผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ (คณะกรรมการข้าราชการตารวจ)
เห็นว่าพฤติการณ์ของผู้ฟ้องคดีเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงตามมาตรา ๘๒ วรรคสาม
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงมีมติให้เพิ่มโทษผู้ฟ้องคดี

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากคำ�วินจิ ฉัยของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

6๖

เป็นลงโทษไล่ออกจากราชการ ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ (ผู้บัญชาการตารวจภูธรภาค ๑) จึงมีคาสั่ง
ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว
ซ่ึงอนกุ รรมการคณะกรรมการขา้ ราชการตารวจเก่ยี วกับอทุ ธรณไ์ ด้พิจารณาแล้วมีมติยกอุทธรณ์
ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมจากคาส่ังลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ และมติของ
ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ท่ีให้เพิ่มโทษผู้ฟ้องคดีเป็นไล่ออกจากราชการ รวมท้ังมติที่ให้ยกอุทธรณ์ของ
ผู้ฟอ้ งคดี จงึ นาคดมี าฟอ้ งตอ่ ศาลปกครอง ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า โดยท่ีคดีน้ีไม่มีคู่กรณี
ฝ่ายใดยกปญั หาเก่ยี วกบั ผูม้ ีอานาจในการออกคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนข้ึนต่อสู้ จึงมี
ปัญหาท่ีต้องวินิจฉัยว่า การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงข้าราชการ
หรือพนักงานของรัฐโดยผู้ไม่มีอานาจ เป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย
ของประชาชนตามข้อ ๙๒๗ แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ หรือไม่ ซ่ึงศาลปกครองสูงสุดโดยท่ีประชุมใหญ่
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยข้าราชการหรือพนักงานของรัฐ
กรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง เป็นขั้นตอนเริ่มต้นการใช้อานาจตามกฎหมาย
ของผู้บังคับบัญชาในการดาเนินการทางวินัยเพ่ือนาไปสู่การลงโทษทางวินัย การที่กฎหมาย
ว่าด้วยระเบียบข้าราชการหรือพนักงานของรัฐกาหนดตาแหน่งของผู้บังคับบัญชาท่ีจะเป็นผู้มี
อานาจส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงไว้โดยเฉพาะ เป็นกรณีที่แสดง
ให้เห็นถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายว่า ประสงค์จะกาหนดให้เฉพาะผู้บังคับบัญชาในระดับ
หรือตาแหน่งท่ีกฎหมายกาหนดไว้เท่านั้นเป็นผู้มีอานาจออกคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรง ท้ังน้ี เพ่ือเป็นหลักประกันสิทธิของผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็น
ผู้ถูกกล่าวหาว่าจะได้รับความเป็นธรรมจากการถูกดาเนินการทางวินัยดังกล่าวโดยไม่ถูกกล่ัน
แกล้งจากผูไ้ มม่ ีอานาจตามกฎหมาย ดังน้ัน ปัญหาการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย
อย่างร้ายแรงแก่ข้าราชการหรือพนักงานของรัฐโดยผู้ไม่มีอานาจตามกฎหมาย จึงเป็น
ข้อกฎหมายอันเก่ียวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามข้อ ๙๒ แห่งระเบียบ
ของทป่ี ระชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสงู สดุ ว่าดว้ ยวิธพี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓

เม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ขณะที่ผู้ฟ้องคดีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
อย่างรา้ ยแรง เป็นข้าราชการตารวจยศจา่ สบิ ตารวจ ตาแหน่งผูบ้ งั คับหมู่ สังกัดสถานีตารวจภูธร

๗ ระเบยี บของท่ีประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสงู สุด วา่ ด้วยวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๓

ข้อ ๙๒ ในการพิพากษาหรือมีคาสั่งช้ีขาดคดี ศาลจะยกข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วย
ความสงบเรียบร้อยของประชาชนขนึ้ วินิจฉัย แล้วพิพากษาหรอื มีคาสั่งไปก็ได้

แนวทางการปฏบิ ัติราชการจากคำ�วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

7๗

อาเภอเมอื งสมทุ รปราการ โดยอยูใ่ นสงั กดั กองบัญชาการตารวจภูธรภาค ๑ ซึ่งตามมาตรา ๖๑๘
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๒๑ ประกอบกับมาตรา ๑๐๒ วรรคสาม๙
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๒๖๑๐ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๒๑ และคาสั่งสานักงานตารวจแห่งชาติ ที่ ๘๖๕/๒๕๔๔
ลงวันท่ี ๑๘ ตุลาคม ๒๕๔๔ เรื่อง มอบอานาจการดาเนินการทางวินัย การส่ังให้ข้าราชการ
ตารวจออกจากราชการและกาหนดแนวทางปฏิบัติ กาหนดให้ผู้มีอานาจส่ังแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงกรณีข้าราชการตารวจช้ันยศจ่าสิบตารวจลงมา
ในทุกหน่วยงานในปกครองบังคับบัญชา คือ รองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (ซึ่งรับผิดชอบ
งานบริหารงานบคุ คล) ผชู้ ่วยผบู้ ญั ชาการตารวจแหง่ ชาติ (ซงึ่ รบั ผดิ ชอบงานด้านวินยั ) ผบู้ ัญชาการหรือ

๘ พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๖๑ ในระหว่างท่ียังมิได้แก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยตารวจ
พุทธศักราช ๒๔๗๗ ให้นาบทบัญญัติในหมวด ๔ หมวด ๕ และหมวด ๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๑๘ (ตอ่ มาเปน็ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕) มาใช้
บังคับแก่เร่ืองวินัย การรักษาวินัย การออกจากราชการและการอุทธรณ์ของข้าราชการตารวจ
ตามพระราชบัญญัตินี้โดยอนุโลม ทั้งน้ี โดยให้อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
และคณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวงเป็นอานาจหน้าท่ีของ ก.ตร. และให้อานาจหน้าที่ของ
อนกุ รรมการสามญั ประจาจงั หวดั เป็นอานาจหน้าทีข่ อง อ.ก.ตร. จังหวัด และให้อานาจหน้าที่ของผู้มีอานาจ
สงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๔๔ แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นอานาจหน้าท่ีของ
ผู้มีอานาจตามมาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติน้ี แลว้ แต่กรณี

๙ พระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๑๐๒ ฯลฯ ฯลฯ
การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคสอง ให้ผู้มีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๒
เป็นผสู้ ัง่ แตง่ ตัง้
ฯลฯ ฯลฯ

๑๐ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๒๖ ถ้าตาแหน่งข้าราชการตารวจตาแหน่งใดว่างลงและยังมิได้แต่งต้ังผู้ใดให้
ดารงตาแหน่งน้นั หรอื ผูด้ ารงตาแหนง่ ใด ไม่สามารถปฏบิ ตั หิ น้าทไ่ี ด้เป็นครงั้ คราว ให้ผู้บังคับบัญชาดังต่อไปนี้
มีอานาจส่ังให้ข้าราชการตารวจซ่ึงเห็นสมควรรักษาการในตาแหน่งนั้นช่ัวคราวได้ (๑) รัฐมนตรี สาหรับ
ตาแหน่งผู้บัญชาการหรือเทียบผู้บัญชาการข้ึนไป (๒) อธิบดี สาหรับตาแหน่งต้ังแต่รองผู้บัญชาการ หรือ
เทยี บรองผบู้ ัญชาการลงมา (๓) ผบู้ งั คบั บญั ชาซง่ึ ไดร้ ับมอบหมายจากอธิบดี สาหรับตาแหน่งผู้กากับการหรือ
เทยี บผูก้ ากบั การลงมา

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากคำ�วินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

8๘

เทียบเท่าผู้บัญชาการ แต่ปรากฏว่า รองผู้กากับการ (ฝ่ายป้องกันปราบปราม) ปฏิบัติราชการแทน
ผกู้ ากับการสถานตี ารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ทางวินัยอย่างร้ายแรงแก่ผู้ฟ้องคดี จึงเป็นกรณีท่ีผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ มิได้ดาเนินการตามขั้นตอน
ตามท่ีมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ กาหนด
กล่าวคือ ไม่มีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงกับผู้ฟ้องคดีโดยผู้มี
อานาจตามกฎหมายมาดาเนินการสอบสวน โดยผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ และท่ี ๒ พิจารณาแต่เพียง
ข้อเท็จจริงท่ีได้ตามรายงานการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนท่ีรองผู้กากับการ
(ฝ่ายปอ้ งกันปราบปราม) ปฏิบัตริ าชการแทนผู้กากับการสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ
แต่งต้ังขึ้นตามคาส่ังสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๒
ซ่ึงศาลเห็นว่า รองผู้กากับการ (ฝ่ายป้องกันปราบปราม) ปฏิบัติราชการแทนผู้กากับการสถานี
ตารวจภูธรอาเภอเมืองสมุทรปราการ ไม่ใช่ผู้มีอานาจออกคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ทางวินัยอย่างร้ายแรงกับผู้ฟ้องคดีตามกฎหมาย ดังน้ัน การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ นาผลการ
สอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนดังกล่าวมาพิจารณาแล้วมีมติให้เพ่ิมโทษผู้ฟ้องคดีเป็น
ไล่ออกจากราชการ และการที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ มีคาสั่งลงวันท่ี ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ ลงโทษ
ไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการตามมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ น้ัน จึงเป็นกรณีที่ผู้ถูกฟ้องคดีท้ังสอง
ไม่ได้ดาเนินกระบวนการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรงตามขั้นตอนอันเป็นสาระสาคัญตามที่
กฎหมายกาหนดไว้ ซึ่งมีผลทาให้มติของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ และคาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑
ทเ่ี ห็นควรลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการน้ัน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และการท่ีผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
มีมตใิ ห้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟอ้ งคดีจงึ ไมช่ อบด้วยกฎหมายเช่นกนั แต่ท้งั นีไ้ ม่ตัดสิทธิผู้ถูกฟ้องคดีท้ังสอง
ท่จี ะดาเนนิ การในเรื่องทางวินยั กับผู้ฟ้องคดเี สยี ใหม่ให้ถูกต้องตามขัน้ ตอนที่กฎหมายกาหนด

ส่วนอานาจในการพิจารณาให้ผู้ฟ้องคดีกลับเข้ารับราชการหรือดาเนินการ
จ่ายเงินเดือนย้อนหลังให้ผู้ฟ้องคดีนั้น ย่อมเป็นอานาจของผู้บังคับบัญชาตามท่ีกฎหมาย
กาหนดไว้เป็นการเฉพาะ ศาลปกครองจึงไม่อาจก้าวล่วงเข้าไปออกคาบังคับในกรณีดังกล่าวได้
ตามมาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง๑๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

๑๑ พระราชบญั ญตั จิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๗๒ ในการพิพากษาคดี ศาลปกครองมอี านาจกาหนดคาบังคับอย่างหน่ึงอย่างใด
ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ส่ังให้เพิกถอนกฎหรือคาสัง่ หรือส่งั หา้ มการกระทาทั้งหมดหรือบางส่วน ในกรณีท่ีมีการฟ้องว่า
หนว่ ยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าทขี่ องรฐั กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)

(มีต่อหนา้ ถัดไป)

แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำ�วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

9๙
พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ศาลปกครองชั้นต้นพิพากษายกฟ้องน้ัน ศาลปกครองสูงสุดไม่เห็นพ้องด้วย
พิพากษากลับคาพิพากษาของศาลปกครองช้ันต้น เป็นให้เพิกถอนคาส่ังของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑
ลงวันท่ี ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ เรื่อง เปล่ียนแปลงคาส่ังลงโทษข้าราชการตารวจ และมติของ
ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ที่ให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ดาเนินการเพิ่มโทษเป็นส่ังลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจาก
ราชการ และมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ที่ให้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟ้องคดี ท้ังน้ี นับแต่วันท่ีศาลมี
คาพิพากษา ส่วนคาขออื่นนอกจากน้ี ให้ยก โดยมีข้อสังเกตเก่ียวกับแนวทางหรือวิธีการ
ดาเนินการให้เป็นไปตามคาพิพากษาว่า๑๒ ไม่ตัดสิทธิผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสองท่ีจะดาเนินการ
ในเรื่องทางวินัยกับผู้ฟ้องคดีเสียใหม่ให้ถูกต้อง ตามขั้นตอนท่ีกฎหมายกาหนดต่อไป
(คาพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๓๖๐/๒๕๕๘ (ประชมุ ใหญ่))

(ต่อจากเชงิ อรรถท่ี ๑๑)
(๒) สง่ั ใหห้ วั หนา้ หนว่ ยงานทางปกครองหรือเจ้าหนา้ ที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏบิ ัติตามหน้าท่ี

ภายในเวลาทศี่ าลปกครองกาหนด ในกรณีทีม่ ีการฟ้องว่าหนว่ ยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลย
ต่อหน้าที่หรือปฏิบตั ิหน้าท่ลี ่าชา้ เกนิ สมควร

(๓) ส่ังให้ใช้เงนิ หรือให้ส่งมอบทรัพย์สินหรือให้กระทาการหรืองดเว้นกระทาการ โดยจะ
กาหนดระยะเวลาและเงื่อนไขอ่ืนๆ ไว้ด้วยก็ได้ ในกรณีท่ีมีการฟ้องเก่ียวกับการกระทาละเมิดหรือความรับผิด
ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หน้าท่ีของรฐั หรอื การฟ้องเกยี่ วกบั สัญญาทางปกครอง

(๔) สง่ั ให้ถือปฏิบัติต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลที่เก่ียวข้อง ในกรณีท่ีมีการฟ้องให้ศาลมี
คาพิพากษาแสดงความเปน็ อยู่ของสิทธหิ รอื หนา้ ท่นี ั้น

(๕) ส่งั ใหบ้ คุ คลกระทาหรือละเว้นกระทาอย่างหนงึ่ อยา่ งใดเพ่ือให้เปน็ ไปตามกฎหมาย
ฯลฯ ฯลฯ

๑๒ การกาหนดขอ้ สงั เกตเก่ียวกับแนวทางหรือวิธกี ารดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามคาพพิ ากษา
เป็นไปตามมาตรา ๖๙ วรรคหนึ่ง (๘) แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒

แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากค�ำ วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสงู สุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑0๐

(๓) การตรวจสอบหนังสือมอบอานาจให้เป็นไปตามระเบียบของกรมท่ีดิน
ก่อนการจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิติกรรม

การมอบอานาจในลักษณะที่เป็นการให้ท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างเป็นการทา
นิติกรรมที่เป็นการจาหน่ายสิทธิของผู้มอบอานาจ เจ้าหน้าที่ของเจ้าพนักงานที่ดินจึงต้อง
ตรวจสอบหนังสือมอบอานาจโดยเคร่งครัด เม่ือปรากฏว่าชื่อสกุลของผู้ฟ้องคดีในหนังสือ
มอบอานาจสะกดไม่ถูกต้อง สาเนาภาพถ่ายบัตรประจาตัวของผู้ฟ้องคดีหมดอายุ
และสาเนาภาพถ่ายเอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมของผู้ฟ้องคดีไม่มี
การลงลายมือช่ือรับรองความถูกต้อง การมอบอานาจดังกล่าวจึงมีข้อพิรุธน่าสงสัย ซ่ึงเป็น
หน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะต้องตรวจสอบเอกสารดังกล่าวให้ตรงกับหลักฐานเดิม
ตามแนวทางที่กาหนดไว้ในระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการมอบอานาจให้ทาการจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมหรือกิจการอื่นเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๗ ก่อนดาเนินการ
จดทะเบียนให้ การใช้ความระมัดระวังในการตรวจสอบหนังสือมอบอานาจของเจ้าหน้าท่ี
ในกรณีนี้จึงยังไม่เพียงพอ ดังน้ัน การที่เจ้าพนักงานท่ีดินมีคาสั่งให้เปลี่ยนแปลงชื่อ
ผู้ถือกรรมสิทธิ์ท่ีดินในโฉนดท่ีดินพิพาทจากช่ือผู้ฟ้องคดีเป็นชื่อผู้ร้องสอด เพราะเช่ือว่า
มีการมอบอานาจโดยถูกต้องแล้ว โดยไม่ได้ตรวจสอบการมอบอานาจให้เป็นไปตาม
แนวทางที่กาหนดไว้ในระเบียบดังกล่าว ก่อนการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม จึงเป็นการ
ใชด้ ุลพนิ จิ โดยมชิ อบ

ผู้ฟ้องคดีเป็นเจ้าของที่ดินตามโฉนดท่ีดินเลขท่ี ๗๐๗ ตาบลมุกดาหาร
อาเภอเมอื งมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร และไม่เคยมอบอานาจให้ผู้ร้องสอดไปทานิติกรรมใดๆ
เกี่ยวกับที่ดินดังกล่าว การท่ีผู้ถูกฟ้องคดี (เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดมุกดาหาร) ดาเนินการ
จดทะเบียนโอนทด่ี นิ พพิ าทให้แกผ่ รู้ อ้ งสอดจงึ เปน็ การกระทาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผู้ฟ้องคดี
จึงนาคดีมาฟ้องขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนโอนท่ีดินโฉนดท่ีดิน
เลขท่ี ๗๐๗ ให้แก่ผู้ร้องสอดแล้วให้กลับสู่สภาพท่ีดินเดิม ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า
เมอ่ื ผรู้ อ้ งสอดได้นาหลกั ฐานโฉนดท่ีดนิ เลขที่ ๗๐๗ ทีผ่ ู้ฟ้องคดมี ีช่ือเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ พร้อมกับ
หนังสือมอบอานาจ ลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ สาเนาภาพถ่ายบัตรประจาตัวข้าราชการ
และสาเนาทะเบียนบ้านของผู้ฟ้องคดีและของผู้ร้องสอด ไปแสดงความประสงค์ขอจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมประเภทให้ท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างต่อเจ้าพนักงานที่ดิน ที่สานักงานที่ดิน
จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเป็นกรณีท่ีมีผู้ประสงค์จะจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับ

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากค�ำ วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑1๑

อสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตามที่กาหนดไว้ในมาตรา ๗๒๑๓
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน โดยผู้มีอานาจจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในกรณีนี้ ได้แก่
เจ้าพนักงานท่ีดิน ซึ่งเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามท่ีกาหนดไว้ในมาตรา ๗๑๑๔ แห่งประมวล
กฎหมายที่ดิน ประกอบกับคาสัง่ กระทรวงมหาดไทย ท่ี ๔๖๖/๒๕๒๒ เรื่อง แต่งต้ังเจ้าพนักงานที่ดิน
ลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๒๒ เจ้าพนักงานที่ดินจึงต้องดาเนินการให้เป็นไปตามข้อ ๑๑๕ และข้อ ๒๑๖
ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และจะต้องพิจารณาความถูกต้องของหนังสือมอบอานาจตามแนวทางท่ี

๑๓-๑๔ ประมวลกฎหมายทดี่ ิน
มาตรา ๗๑ ให้เจ้าพนักงานที่ดิน เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สาหรับอสังหาริมทรัพย์ท่ีอยู่ในเขตท้องท่ี
สานักงานที่ดนิ จงั หวัดหรอื สานักงานทดี่ นิ สาขาน้นั

ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๗๒ ผู้ใดประสงค์จะจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้คู่กรณีนาหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมาขอจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหนา้ ทตี่ ามมาตรา ๗๑
การขอจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนิติกรรมตามวรรคหนึ่ง สาหรับท่ีดินที่มีโฉนดที่ดิน ใบไต่สวน
หรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ คู่กรณีอาจยื่นคาขอต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ณ กรมที่ดิน หรือสานักงาน
ท่ีดินแห่งใดแห่งหนึ่ง เพ่ือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๗๑ ดาเนินการจดทะเบียนให้ เว้นแต่การจด
ทะเบียนทตี่ อ้ งมีการประกาศหรอื ตอ้ งมีการรงั วัด
๑๕-๑๖ กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
ข้อ ๑ ภายใต้บังคับข้อ ๘ และข้อ ๙ บุคคลใดมีความประสงค์จะขอทาการจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมให้บุคคลน้ันยื่นคาขอตามแบบ ท.ด. ๑ ท้ายกฎกระทรวงนี้ พร้อมด้วยส่งโฉนดที่ดินหรือ
หลกั ฐานอยา่ งอ่นื ตอ่ พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี
ขอ้ ๒ ก่อนทาการจดทะเบียนให้พนักงานเจา้ หนา้ ทส่ี อบสวนในเรอ่ื งดงั ต่อไปนดี้ ว้ ยคอื
(๑) สิทธิและความสามารถของบุคคลรวมตลอดถึงความสมบูรณ์แห่งนิติกรรม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(๒) ข้อกาหนดสิทธิในท่ีดินและการค้าที่ดิน หรือการหลีกเลี่ยงกฎหมาย เช่น การได้มา
ซง่ึ ท่ีดนิ เพื่อประโยชน์แกค่ นตา่ งด้าว
(๓) การกาหนดทุนทรพั ย์สาหรับเสยี คา่ ธรรมเนยี มในการจดทะเบยี น

แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำ�วินิจฉัยของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑2๒

กาหนดไว้ในข้อ ๕๑๗ ข้อ ๖๑๘ รวมทั้งข้อ ๑๐๑๙ ของระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการมอบอานาจ
ให้ทาการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมหรือกิจการอื่นเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๗

๑๗-๑๙ ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการมอบอานาจให้ทาการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
หรือกจิ การอ่ืนเกย่ี วกับอสงั หาริมทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๔๗

ขอ้ ๕ หนังสือมอบอานาจให้ทาการจดทะเบียนสทิ ธิและนิติกรรมหรือกจิ การอ่ืนเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์ ให้ใช้แบบพิมพ์หนังสือมอบอานาจของกรมที่ดินหรือหนังสือท่ีมีข้อความชัดเจนเพียงพอ
ให้ทราบว่าเป็นการมอบอานาจให้ผู้ใดทาอะไร เพียงใด เกี่ยวกับที่ดินแปลงใด หรืออสังหาริมทรัพย์อย่างใด
ทั้งน้ี ให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของพนกั งานเจ้าหน้าที่

ขอ้ ๖ หนงั สอื มอบอานาจควรมีพยานอย่างน้อย ๑ คน ถ้าผู้มอบอานาจพิมพ์ลายนิ้วมือ
ตอ้ งมพี ยานลงลายมือช่ือรับรองไว้ด้วย ๒ คน พยานตอ้ งลงลายมือชอื่ เท่าน้นั จะพมิ พ์ลายนว้ิ มือไมไ่ ด้

ขอ้ ๑๐ การตรวจหนงั สอื มอบอานาจ ให้พจิ ารณาโดยละเอยี ดรอบคอบในเรือ่ งดังตอ่ ไปนี้
ฯลฯ ฯลฯ

(๒) ตรวจสอบชื่อ ชื่อสกุล อายุ ช่ือบิดามารดาของผู้มอบอานาจ และบัตรประจาตัว
หรอื สาเนาภาพถ่ายบัตรประจาตัวท่ผี ู้มอบอานาจรบั รองความถกู ต้องว่าตรงกบั หลกั ฐานเดมิ หรอื ไม่

(๓) ตรวจอานาจทาการว่ามอบอานาจให้ทากิจการใดและชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
ทั้งน้ี ตอ้ งพิจารณาโดยเคร่งครดั ตามตัวอกั ษร เว้นแตใ่ นกรณที ี่ผมู้ อบอานาจขอทานติ กิ รรมเพือ่ จะไดม้ าซ่งึ สทิ ธิ
อันใดอันหน่ึง หรือเพื่อให้หลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหนึ่ง แม้จะมีข้อความไม่ชัดแจ้งบ้างก็อาจพิจารณา
ดาเนินการให้ได้ซึ่งแล้วแต่ดุลยพินิจของพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นรายๆ ไป เช่น ผู้มอบอานาจเป็นฝ่ายท่ีรับให้
โดยเสน่หาไม่มภี าระผกู พนั หรอื เป็นฝา่ ยไถ่ถอนจานองหรอื ไถถ่ อนจากการขายฝาก เป็นต้น

การมอบอานาจให้ทาการรังวัดแบ่งแยก ถ้าหนังสือมอบอานาจระบุให้ผู้รับมอบอานาจ
มีอานาจทาการ “แบ่งแยก” โดยมิได้ระบุว่าแบ่งแยกในประเภทใด เช่น แบ่งขายหรือแบ่งหักท่ีสาธารณประโยชน์
หากผู้รับมอบอานาจขอแบ่งแยกท่ีดินในประเภทอ่ืนที่มิใช่แบ่งแยกในนามเดิมแล้วพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ควรรับ
ดาเนินการให้ เว้นแต่ในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินมีชื่อเจ้าของหลายคนซ่ึงอาจแปลความคาว่า “แบ่งแยก” หมายถึง
แบง่ กรรมสิทธ์ริ วมได้ แตต่ อ้ งมีขอ้ ความอืน่ ขยายความใหเ้ ห็นว่าเปน็ การแบ่งแยกออกจากกันระหว่างเจ้าของรวม

ในกรณีท่ีตวั แทนได้รับมอบอานาจให้ทานิติกรรมอย่างหน่ึงอย่างใดในนามของตัวการทา
กับตนเองในนามของตนเอง หรือในฐานะเป็นตัวแทนของบุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๘๐๕ เมือ่ ปรากฏหลักฐานคายนิ ยอมของตวั การเปน็ หนังสือในหนังสือมอบอานาจนัน้ เอง
หรอื ในเอกสารอืน่ จงึ ดาเนินการให้ได้

การระบุข้อความดังกล่าว ผู้มอบอานาจอาจระบุข้อความแตกต่างไปซึ่งข้อความอาจ
ไม่ตรงตามตัวบทกฎหมาย แต่ถ้าอ่านแล้วสามารถเข้าใจได้ว่าผู้มอบอานาจได้รู้หรือควรรู้ว่าผู้รับมอบอานาจ
จะต้องทาในสองฐานะคอื ฐานะตัวแทน และในฐานะตนเองด้วย ก็ยอ่ มเปน็ การเพียงพอ

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏบิ ัติราชการจากคำ�วนิ ิจฉยั ของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑3๓

ซึ่งข้อกาหนดของระเบียบดังกล่าวในข้อ ๑๐ (๒) กาหนดไว้ชัดแจ้งว่า ให้ตรวจสอบ
บัตรประจาตัวหรือสาเนาภาพถ่ายบัตรประจาตัวท่ีผู้มอบอานาจรับรองความถูกต้องว่าตรงกับ
หลักฐานเดิมหรือไม่ และในข้อ ๑๐ (๓) กาหนดให้ตรวจอานาจทาการว่ามอบอานาจให้ทา
กิจการใดและชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ท้ังนี้ ต้องพิจารณาโดยเคร่งครัดตามตัวอักษร เว้นแต่
เป็นกรณีทานิติกรรมเพ่ือจะได้มาซ่ึงสิทธิหรือหลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหน่ึง แต่เม่ือหนังสือ
มอบอานาจของผู้ฟ้องคดีเป็นการมอบอานาจในลักษณะที่เป็นการให้ที่ดินพร้อมส่ิงปลูกสร้าง
หาใช่เป็นกรณีที่ผู้มอบอานาจขอทานิติกรรมเพ่ือจะให้ได้มาซึ่งสิทธิอันใดอันหน่ึงหรือเพื่อให้
หลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหนึ่งแต่อย่างใด ในทางตรงข้ามกลับเป็นการทานิติกรรมท่ีเป็นการ
จาหน่ายสิทธิของผู้มอบอานาจ ดังน้ัน เจ้าหน้าท่ีของผู้ถูกฟ้องคดีจึงต้องตรวจสอบหนังสือ
มอบอานาจโดยเคร่งครัด ทั้งในเรื่องของหลักฐานประกอบการมอบอานาจของผู้มอบอานาจ
และในเร่ืองอานาจท่ีมอบให้ทาการว่ามอบให้ทากิจการใดบ้าง เพื่อมิให้ผู้รับมอบอานาจกระทา
กจิ การอนั เปน็ ปฏปิ ักษ์ตอ่ ประโยชน์ของผู้มอบอานาจ และโดยท่ีระเบียบดังกล่าวกาหนดให้เป็น
หน้าท่ีของเจ้าพนักงานท่ีดินเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องของหนังสือมอบอานาจ เพื่อให้การ
จดทะเบยี นสิทธแิ ละนิตกิ รรมเป็นไปโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ดงั น้ัน แม้เจ้าพนักงานท่ีดินในฐานะ
พนกั งานเจา้ หนา้ ทีจ่ ะได้ตรวจสอบหนงั สอื มอบอานาจ ลงวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๕๐ ที่ผู้ร้องสอด
นาไปแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้วว่าเป็นหนังสือมอบอานาจที่ปรากฏลายมือช่ือของผู้ฟ้องคดี
เป็นผู้มอบอานาจ และมีข้อความชัดเจนเพียงพอให้ทราบว่าผู้ฟ้องคดีมอบอานาจให้ผู้ร้องสอด
เป็นผู้มีอานาจจัดการให้ท่ีดินตามโฉนดที่ดินพิพาทพร้อมสิ่งปลูกสร้างแก่ผู้ร้องสอดโดยเสน่หา
ไม่มคี ่าตอบแทน ตลอดจนใหถ้ อ้ ยคาตา่ งๆ ต่อพนกั งานเจ้าหน้าที่และยินยอมให้ผู้รับมอบอานาจ
กระทาการในนามของตนเองหรือแทนอีกฝ่ายหนึ่งได้ด้วย ตามข้อ ๕ ของระเบียบกรมท่ีดิน
ว่าด้วยการมอบอานาจใหท้ าการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมหรือกิจการอ่ืนเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
พ.ศ. ๒๕๔๗ รวมท้ังหนังสือมอบอานาจมีพยานอย่างน้อย ๑ คน ตามข้อ ๖ ของระเบียบดังกล่าว
ตลอดจนเป็นหนังสือมอบอานาจท่ีมีข้อความระบุให้ตัวแทนผู้ได้รับมอบอานาจทานิติกรรม
ในนามตัวการทากับตนเองในนามของตนเอง หรือในฐานะเป็นตัวแทนของบุคคลภายนอก
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๘๐๕๒๐ ตามข้อ ๑๐ (๓) ของระเบียบดังกล่าวก็ตาม
แต่เม่ือปรากฏว่าช่ือสกุลของผู้ฟ้องคดีในหนังสือมอบอานาจดังกล่าวสะกดไม่ถูกต้อง สาเนา

๒๐ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
มาตรา ๘๐๕ ตัวแทนนั้น เม่ือไม่ได้รับความยินยอมของตัวการจะเข้าทานิติกรรมอันใด
ในนามของตวั การทากับตนเองในนามของตนเองหรือในฐานเป็นตัวแทนของบุคคลภายนอกหาได้ไม่ เว้นแต่
นิติกรรมน้ันมีเฉพาะแต่การชาระหน้ี

แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคำ�วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสงู สุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑4๔
ภาพถา่ ยบตั รประจาตัวของผฟู้ อ้ งคดีเปน็ สาเนาภาพถ่ายท่ีถา่ ยจากบัตรประจาตัวท่ีหมดอายุแล้ว
และสาเนาภาพถา่ ยเอกสารประกอบคาขอจดทะเบียนสทิ ธิและนติ ิกรรมของผู้ฟ้องคดีไม่ได้มีการ
ลงลายมือชื่อของผฟู้ อ้ งคดีรับรองความถูกต้อง การมอบอานาจตามหนังสือมอบอานาจดังกล่าว
จึงมีข้อพิรุธน่าสงสัย ซึ่งเป็นหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่จะต้องตรวจสอบชื่อ ช่ือสกุล อายุ
ชื่อบิดามารดาของผู้มอบอานาจ และบัตรประจาตัวหรือสาเนาภาพถ่ายบัตรประจาตัวท่ีผู้มอบ
อานาจรับรองความถูกต้องให้ตรงกับหลักฐานเดิมก่อนดาเนินการจดทะเบียนให้ ตามที่กาหนดไว้
ในข้อ ๑๐ (๒) ของระเบียบดังกล่าว ประกอบกับพยานที่ลงลายมือช่ือในหนังสือมอบอานาจ
ไม่อาจตรวจสอบได้ว่าเป็นผู้ใด มีภูมิลาเนาอยู่ที่ใด คงมีเพียงผู้ร้องสอดเท่าน้ันท่ียืนยันว่าผู้ฟ้องคดี
มอบอานาจจริง ท้ังท่ีผู้ฟ้องคดีได้โต้แย้งว่ามิได้เป็นผู้ลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอานาจต้ังแต่
ขณะที่ผู้ฟ้องคดีทราบว่าได้มีการจดทะเบียนดังกล่าว การใช้ความระมัดระวังในการตรวจสอบ
หนังสอื มอบอานาจของเจ้าหน้าท่ีของผู้ถูกฟ้องคดีสาหรับกรณีนี้จึงยังไม่เป็นการเพียงพอ การที่
ผู้ถูกฟ้องคดีมีคาสั่งให้ดาเนินการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมที่ดินตามโฉนดท่ีดินพิพาท
ประเภทให้ท่ีดินพรอ้ มสงิ่ ปลกู สรา้ งเมอ่ื วนั ท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ เปลี่ยนแปลงช่ือผู้ถือกรรมสิทธิ์
ท่ีดนิ จากชือ่ ผฟู้ ้องคดเี ปน็ ชอื่ ผรู้ ้องสอด เพราะเชื่อว่ามีการมอบอานาจโดยถูกต้องแล้ว โดยไม่ได้
ตรวจสอบการมอบอานาจให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนดไว้ในข้อ ๑๐ (๒) ของระเบียบกรมท่ีดิน
วา่ ดว้ ยการมอบอานาจให้ทาการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมหรือกิจการอื่นเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์
พ.ศ. ๒๕๔๗ ก่อนการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม จึงเป็นการใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ ส่วนนิติกรรม
การให้ท่ีดินและการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมให้ท่ีดินพร้อมส่ิงปลูกสร้างดังกล่าวจะเป็นโมฆะ
ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือไม่นั้น เป็นผลของนิติกรรมในทางแพ่ง
ที่จะต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเป็นอีกกรณีหน่ึง ที่ศาลปกครองชั้นต้นต้นพิพากษา
เพิกถอนคาสั่งของผ้ถู ูกฟ้องคดีที่ให้ดาเนินการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมท่ีดินตามโฉนดท่ีดิน
เลขที่ ๗๐๗ ประเภทให้ที่ดินพร้อมส่ิงปลกู สรา้ งซ่ึงผู้ถูกฟอ้ งคดไี ดด้ าเนินการเปลี่ยนแปลงชื่อผู้ถือ
กรรมสิทธท์ิ ี่ดนิ จากชือ่ ผฟู้ อ้ งคดีเป็นชอื่ ผู้รอ้ งสอด โดยให้มีผลย้อนหลังไปต้ังแตว่ นั ท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
ซึ่งเป็นวันท่ีมีการจดทะเบียนดังกล่าว และให้ผู้ถูกฟ้องคดีดาเนินการเปลี่ยนแปลงชื่อผู้ถือ
กรรมสิทธ์ิในที่ดินตามโฉนดที่ดินดังกล่าวเป็นช่ือผู้ฟ้องคดี โดยให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน
๓๐ วัน นับแต่วันทค่ี ดถี ึงที่สดุ นัน้ ชอบแล้ว (คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๖๐๙/๒๕๕๘)

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากค�ำ วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑5๕

(๔) การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยของหน่วยงานทางปกครอง
ตามมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทช่ี ี้มลู ความผดิ ทางวินัยผู้ฟอ้ งคดี

คดีนี้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ไต่สวนข้อเท็จจริงและมีมติว่าการกระทา
ของผู้ฟ้องคดเี ปน็ ความผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ฐานปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยจงใจ
ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาล
อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง ฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา อันเป็น
เหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง และฐานเป็นผู้ประพฤติช่ัวอย่างร้ายแรง แต่โดยที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอานาจหน้าท่ีในการไต่สวนข้อเท็จจริงและช้ีมูลความผิดทางวินัย
ผู้ฟ้องคดีเฉพาะความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ เท่านั้น การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ไต่สวนข้อเท็จจริงและช้ีมูลความผิดทางวินัยผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานอ่ืน นอกเหนือจาก
ความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ จึงเป็นการกระทาที่ไม่มีอานาจตามกฎหมาย มติของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ีช้ีมูลความผิดทางวินัยผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานอ่ืน จึงไม่ผูกพัน
กรมที่ดินซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของผู้ฟ้องคดี และกรมที่ดินจะถือเอารายงานการไต่สวน
ข้อเท็จจริงและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาเป็นสานวนการสอบสวนทางวินัย
ของคณะกรรมการสอบสวนวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนไม่ได้
จึงเป็นกรณีที่กรมที่ดินมีคาสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการในความผิดทางวินัยฐานอื่น
โดยมิได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทาการสอบสวนผู้ฟ้องคดีและมิได้แจ้งข้อกล่าวหา
ดังกล่าวให้ผู้ฟ้องคดีทราบ เพ่ือให้ผู้ฟ้องคดีได้มีโอกาสโต้แย้งช้ีแจงแสดงพยานหลักฐาน
และนาสืบแก้ข้อกล่าวหา คาสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการในความผิดฐานอ่ืน
จึงไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย เน่ืองจากมิได้ดาเนินการตามขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญ
ในการลงโทษทางวนิ ยั อยา่ งร้ายแรงแก่ขา้ ราชการพลเรอื น

สาหรบั คาสั่งลงโทษไลผ่ ้ฟู อ้ งคดอี อกจากราชการในความผิดวินัยฐานทุจริต
ต่อหน้าที่ราชการ น้ัน เม่ือระเบียบกรมท่ีดินมิได้กาหนดให้ตาแหน่งผู้ช่วยผู้กากับการเดิน
สารวจ ฝ่ายรังวัด ซึ่งเป็นตาแหน่งของผู้ฟ้องคดีมีหน้าท่ีต้องออกไปปฏิบัติงานภาคสนาม
เพื่อตรวจสอบพ้ืนท่ีท่ีมีการขอออกโฉนดที่ดินว่าเป็นที่สาธารณประโยชน์อันเป็นท่ีดิน
ที่ต้องห้ามในการออกโฉนดท่ีดินหรือไม่ อีกท้ังอานาจหน้าท่ีของผู้ฟ้องคดีตามที่กาหนดไว้
ในระเบียบเป็นเพียงขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองอันนาไปสู่การออกโฉนดที่ดินอันเป็น
คาส่ังทางปกครอง การที่ผู้ฟ้องคดีรายงานผลการตรวจสอบพบว่า สภาพท่ีต้ังของที่ดิน
ท่ีพิพาทท้ัง ๒๔ แปลง เหมือนมีน้าท่วมขังและอยู่ใกล้กับพื้นที่ท่ีระบุว่า “เวียงหนอง” ให้

แนวทางการปฏิบตั ิราชการจากค�ำ วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑6๖

ผู้บังคับบัญชาทราบเพ่ือดาเนินการตรวจสอบก่อนการออกโฉนดที่ดิน ผู้ฟ้องคดีจึงได้
ดาเนนิ การพิจารณาทางปกครองตามอานาจหน้าที่ตามทีก่ ฎหมายกาหนดแล้ว ขัน้ ตอนต่อไป
จึงอยู่ในความรับผิดชอบของผู้มีอานาจหน้าท่ีในการออกโฉนดท่ีดิน และเม่ือไม่ปรากฏ
ข้อเท็จจริงว่า ผู้ฟ้องคดีได้ร่วมกระทาความผิดกับผู้ถูกกล่าวหารายอ่ืนๆ ประกอบกับจาก
รายงานการไต่สวนข้อเท็จจริงไมป่ รากฏพยานหลักฐานท่ีทาให้เชื่อได้ว่าผู้ฟ้องคดีกระทาการ
ออกโฉนดท่ีดินโดยมิชอบด้วยกฎหมายเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้สาหรับตนเอง
หรือผู้อื่น อันเข้าองค์ประกอบของความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ และเม่ือได้วินิจฉัย
แล้วว่า คาส่ังลงโทษผู้ฟ้องคดีเฉพาะในความผิดทางวินัยฐานอื่น เป็นคาส่ังที่ไม่ชอบ
ด้วยกฎหมาย ดังนั้น คาสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ จึงเป็นคาสั่งท่ีไม่ชอบ
ดว้ ยกฎหมาย

ผู้ถูกฟอ้ งคดมี คี าสงั่ กรมทีด่ ิน ลงวนั ท่ี ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๔๗ ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดี
ออกจากราชการ สืบเนื่องจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ชี้มูลความผิดตามมติท่ีประชุมเม่ือวันท่ี
๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๖ และ อ.ก.พ. กรมทด่ี ิน ในการประชุมเม่ือวันท่ี ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ ได้มี
มติให้ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ ตามฐานความผิดท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติ
ผถู้ ูกฟอ้ งคดี (กรมทดี่ ิน) จึงมคี าสัง่ ลงวันท่ี ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ
ผู้ฟ้องคดีจีงมีหนังสือลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๗ อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวต่อคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) แต่ไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีจึงนาคดีมาฟ้อง
ขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังให้เพิกถอนคาสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการตามมติ
ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า เม่ือพิจารณาบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซึง่ ใช้บงั คบั ในขณะเกดิ เหตุ มาตรา ๓๐๑ วรรคหนึ่ง (๓)๒๑
และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒

๒๑ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐
มาตรา ๓๐๑ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีอานาจหน้าท่ี
ดงั ต่อไปน้ี

ฯลฯ ฯลฯ
(๓) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐร่ารวยผิดปกติ กระทาความผิดฐานทุจริต
ต่อหน้าท่ี หรือกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม
เพอื่ ดาเนินการต่อไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการจากค�ำ วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑7๗

มาตรา ๑๙ (๓) ๒๒ มาตรา ๘๘๒๓ มาตรา ๙๑๒๔ และมาตรา ๙๒ วรรคหนึ่ง๒๕ แล้วเห็นได้ว่า
ข้อกล่าวหาที่อยู่ในอานาจไต่สวนและพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หมายถึงเฉพาะ
ข้อกล่าวหาท่ีเก่ียวกับการกระทาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ กระทาความผิดต่อตาแหน่ง
หน้าที่ราชการ หรอื กระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ใี นการยุติธรรมเท่าน้ัน และโดยท่ีประมวล
กฎหมายอาญาไดบ้ ญั ญัติถึงองค์ประกอบและโทษเก่ียวกับความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการไว้ใน
ภาค ๒ ลักษณะ ๒ หมวด ๒ มาตรา ๑๔๗ ถึงมาตรา ๑๖๖ และได้บัญญัติถึงองค์ประกอบและโทษ
เกี่ยวกับความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรมไว้ในลักษณะ ๓ หมวด ๒ มาตรา ๒๐๐
ถึงมาตรา ๒๐๕ ดังน้ัน ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการและความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีใน

๒๒-๒๕ พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๙ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปน้ี

ฯลฯ ฯลฯ
(๓) ไต่สวนและวินิจฉัยว่าผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองอื่นซ่ึงมิใช่บุคคลตาม (๒)
และเจ้าหน้าท่ีของรัฐร่ารวยผิดปกติเพื่อร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ท่บี ญั ญตั ิไวใ้ นพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู น้ี

ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๘๘ เมอ่ื คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดร้ บั คากล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐตามมาตรา ๘๔
หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใดกระทาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ี กระทาความผิด
ต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือกระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ดาเนนิ การตามหมวด ๔ การไตส่ วนข้อเท็จจริง
มาตรา ๙๑ เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงแล้วมีมติว่าข้อกล่าวหาใด
ไม่มีมูลให้ข้อกล่าวหานั้นเป็นอันตกไป ข้อกล่าวหาใดที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่ามีมูลความผิด
ให้ดาเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ถ้ามมี ลู ความผิดทางวนิ ัย ใหด้ าเนินการตามมาตรา ๙๒
(๒) ถ้ามมี ลู ความผดิ ทางอาญา ใหด้ าเนินการตามมาตรา ๙๗
มาตรา ๙๒ ในกรณีมีมูลความผิดทางวินัย เม่ือคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้พิจารณา
พฤติการณ์แหง่ การกระทาความผดิ แลว้ มมี ติวา่ ผถู้ ูกกล่าวหาผู้ใดไดก้ ระทาความผิดวินัย ให้ประธานกรรมการ
ส่งรายงานและเอกสารท่ีมีอยู่ พร้อมทั้งความเห็นไปยังผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอานาจแต่งต้ังถอดถอน
ผู้ถูกกล่าวหาผู้นั้นเพ่ือพิจารณาโทษทางวินัยตามฐานความผิดท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติโดยไม่ต้อง
แต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวนวินยั อกี ในการพิจารณาโทษทางวินัยแกผ่ ู้ถูกกล่าวหา ให้ถือว่ารายงานเอกสาร
และความเหน็ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสานวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวนวินัย
ตามกฎหมายหรอื ระเบยี บหรือข้อบังคบั ว่าด้วยการบริหารงานบคุ คลของผู้ถกู กลา่ วหาน้นั ๆ แล้วแตก่ รณี

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการจากค�ำ วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑8๘

การยตุ ธิ รรม จงึ เป็นมูลความผิดทางอาญา สว่ นความผดิ ฐานทจุ ริตต่อหน้าท่ี ถือเป็นมูลความผิด
ทางวินัย นอกจากสามกรณีดังกล่าวแล้ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีอานาจในการไต่สวน
ข้อเท็จจริง ดังน้ัน คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงมีอานาจหน้าท่ีในการไต่สวนข้อเท็จจริงและช้ีมูล
ความผิดทางวนิ ยั ผู้ฟ้องคดเี ฉพาะความผิดฐานทจุ ริตต่อหนา้ ท่รี าชการ

เม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ไต่สวนข้อเท็จจริงและมี
มติว่าการกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นความผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ ฐานปฏิบัติหน้าที่
ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือ
นโยบายของรัฐบาล อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง ฐานรายงานเท็จ
ต่อผู้บังคับบัญชา อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง และฐานเป็นผู้ประพฤติชั่ว
อย่างรา้ ยแรง ตามพระราชบัญญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๘๒ วรรคสาม๒๖
มาตรา ๘๕ วรรคสอง๒๗ มาตรา ๙๐ วรรคสอง๒๘ และมาตรา ๙๘ วรรคสอง๒๙ จึงเป็นกรณีท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงและช้ีมูลว่าผู้ฟ้องคดีกระทาความผิดฐานทุจริต
ต่อหน้าที่ราชการ อันเป็นการดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๙ (๓) เม่ือประธานคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ส่งรายงานการไต่สวนข้อเท็จจริง

๒๖-๒๙ พระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๘๒ ฯลฯ ฯลฯ
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่น
ไดป้ ระโยชน์ทีม่ คิ วรได้ เปน็ การทจุ ริตต่อหนา้ ท่ีราชการและเปน็ ความผิดวินัยอย่างรา้ ยแรง
มาตรา ๘๕ ฯลฯ ฯลฯ
การปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ
มติคณะรฐั มนตรี หรือ นโยบายของรฐั บาล อันเปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายแก่ราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัย
อย่างร้ายแรง
มาตรา ๙๐ ฯลฯ ฯลฯ
การรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
เปน็ ความผิดวนิ ัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๙๘ ฯลฯ ฯลฯ
การกระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก หรือโทษที่หนักกว่าจาคุกโดยคาพิพากษา
ถงึ ทีส่ ุดให้จาคุก หรือใหร้ ับโทษที่หนักกว่าจาคุก เวน้ แต่เป็นโทษสาหรบั ความผิดท่ไี ดก้ ระทาโดยประมาท หรือ
ความผิดลหุโทษ หรือกระทาการอื่นใดอันได้ช่ือว่าเป็นผู้ประพฤติช่ัวอย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัย
อยา่ งร้ายแรง

แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากคำ�วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

1๑9๙

และเอกสารประกอบพร้อมท้ังความเห็นไปยังผู้ถูกฟ้องคดีซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาของผู้ฟ้องคดี
เพื่อพิจารณาโทษทางวินัยแก่ผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ตามมาตรา ๙๒
วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว บัญญัติว่า ให้ถือว่ารายงานเอกสารและความเห็น
ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสานวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวนวินัย
ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน โดยผู้ถูกฟ้องคดีไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนทางวินัยอีก ส่วนความผิดทางวินัยฐานอ่ืน ได้แก่ ฐานปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยจงใจ
ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาล
อันเป็นเหตุใหเ้ สยี หายแกร่ าชการอย่างรา้ ยแรง ฐานรายงานเทจ็ ต่อผู้บังคับบัญชา อันเป็นเหตุให้
เสยี หายแกร่ าชการอย่างร้ายแรง และฐานเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง เม่ือได้วินิจฉัยแล้วว่า
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีอานาจหน้าท่ีในการไต่สวนข้อเท็จจริงและชี้มูลความผิดทางวินัย
ผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานดังกล่าว การท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงและช้ีมูล
ความผิดทางวินัยผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานอื่น จึงเป็นการกระทาที่ไม่มีอานาจตามกฎหมาย
มติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ีชี้มูลความผิดทางวินัยผู้ฟ้องคดีในความผิดฐานอื่น จึงไม่ผูกพัน
ผู้ถูกฟ้องคดีซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาของผู้ฟ้องคดี และผู้ถูกฟ้องคดีจะถือเอารายงานการไต่สวน
ข้อเท็จจริงและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาเป็นสานวนการสอบสวนทางวินัยของ
คณะกรรมการสอบสวนวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนตามมาตรา ๙๒
วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่ได้ ผู้ถูกฟ้องคดีจึงต้องแต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นทาการสอบสวนผู้ฟ้องคดี
ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่ากระทาความผิดในความผิดทางวินัยฐานอื่น เพ่ือให้ผู้ฟ้องคดี
ซ่ึงเป็นผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบข้อกล่าวหาและได้มีโอกาสช้ีแจงและนาสืบแก้ข้อกล่าวหา
ตามข้ันตอนและวิธีการท่ีกาหนดไว้ในมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง๓๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ

๓๐ พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๑๐๒ ฯลฯ ฯลฯ
การดาเนินการตามวรรคหน่ึง ถ้าเป็นกรณีกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ให้ดาเนินการตามวิธีการที่ผู้บังคับบัญชาเห็นสมควร ถ้าเป็นกรณีกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ให้แต่งต้ังคณะกรรมการขึ้นทาการสอบสวน และในการสอบสวนนี้ต้องแจ้งข้อกล่าวหา และสรุปพยานหลักฐาน
ที่สนบั สนนุ ขอ้ กล่าวหาเท่าที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยจะระบุหรือไม่ระบุชื่อพยานก็ได้ทั้งนี้เพ่ือให้ผู้ถูกกล่าวหา
ช้ีแจงและนาสืบแก้ข้อกล่าวหา เม่ือดาเนินการแล้วถ้าฟังได้ว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดวินัยก็ให้ดาเนินการ
ตามมาตรา ๑๐๓ หรอื มาตรา ๑๐๔ แล้วแต่กรณี ถา้ ยงั ฟงั ไม่ได้วา่ ผถู้ ูกกลา่ วหากระทาผดิ วนิ ยั จงึ จะยตุ เิ รื่องได้
ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำ�วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒0๐
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกอบกับกฎ ก.พ. ฉบับท่ี ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา ซึ่งใช้
บังคับในขณะเกิดเหตุ เม่ือข้อเท็จจริงปรากฏว่า ผู้ถูกฟ้องคดีได้มีคาสั่งลงวันท่ี ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๗
ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการในความผิดทางวินัยฐานอ่ืน โดยมิได้มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการข้ึนทาการสอบสวนผู้ฟ้องคดีและมิได้แจ้งข้อกล่าวหาดังกล่าวให้ผู้ฟ้องคดีทราบ
เพ่ือให้ผู้ฟ้องคดีได้มีโอกาสโต้แย้งชี้แจงแสดงพยานหลักฐานและนาสืบแก้ข้อกล่าวหา
คาสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการตามฐานความผิดดังกล่าวจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เนื่องจากมิได้ดาเนินการตามขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญในการลงโทษทางวินัย
อย่างร้ายแรงแก่ข้าราชการพลเรือนตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๑๐๒ ประกอบกับกฎ ก.พ. ฉบับท่ี ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ระเบยี บข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ วา่ ด้วยการสอบสวนพิจารณา ซึง่ ใชบ้ งั คบั ในขณะเกิดเหตุ

สาหรับคาส่งั ของผถู้ กู ฟอ้ งคดีท่ีลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการในความผิด
วินัยฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการ ผู้ถูกฟ้องคดีถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ เนื่องจากเมื่อครั้งที่ผู้ฟ้องคดีดารงตาแหน่งนายช่างรังวัด ๕
สานักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี ปฏิบัติหน้าท่ีผู้ช่วยผู้กากับการเดินสารวจ
ฝ่ายรังวัด กองกากับการเดินสารวจออกโฉนดที่ดิน จังหวัดเชียงราย มีหน้าท่ีควบคุมงานรังวัด
ทาแผนท่ีในเขตรับผิดชอบอาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ได้ตรวจระวางแผนท่ีแล้ว ทราบว่า
สภาพภูมิประเทศเป็นที่ลุ่ม ก่อนที่จะผ่านเร่ืองการออกโฉนดที่ดิน ตาบลท่าข้าวเปลือก อาเภอแม่จัน
จังหวัดเชียงราย จานวน ๒๔ แปลง ควรต้องออกไปตรวจสอบพื้นที่จริงว่าอยู่ในหลักเกณฑ์
ท่ีจะออกโฉนดท่ีดินได้หรือไม่ กลับไม่ออกไปตรวจสอบ เพียงแต่สอบถามอาเภอแม่จัน
และหน่วยศิลปากรท่ี ๔ เชียงแสน แล้วลงช่ือตรวจเรื่องเสนอผู้บังคับบัญชา จนเป็นเหตุให้มี
การออกโฉนดท่ีดินดังกล่าวโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เห็นว่า ผู้ฟ้องคดีซึ่งทาหน้าท่ีผู้ช่วย
ผู้กากับการเดินสารวจ ฝ่ายรังวัด ทาการตรวจสอบการรังวัด โดยได้ตรวจแผนที่ภูมิประเทศ
มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ พบว่า ท่ีดินท่ีนาสารวจ ๒๔ แปลง ตั้งอยู่ในระวางแผนท่ีตามรูปถ่าย
ทางอากาศ หมายเลข ๔๙๔๙ II ๐๐๓๐ หมายเลข ๔๙๔๙ II ๐๒๓๐ หมายเลข ๔๙๔๙ II ๐๒๓๒
หมายเลข ๔๙๔๙ II ๐๔๓๐ และหมายเลข ๔๙๔๙ II ๐๔๓๒ โดยบริเวณด้านเหนือของค่าพิกัด
ในระวางดังกล่าวอยู่ใกล้กับพื้นท่ีท่ีระบุว่า “เวียงหนอง” สภาพในระวางเหมือนมีน้าท่วมขัง
ผู้ฟ้องคดีจึงได้หมายสีระวางแผนที่ที่ราษฎรได้นาเดินสารวจ แล้วนาเร่ืองดังกล่าวไปปรึกษากับ
นาย ส. ผู้ช่วยผู้กากับการเดินสารวจ ฝ่ายสอบสวนสิทธิ และรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าว
ให้นาย ช. ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาทราบ เพ่ือให้มีการดาเนินการในส่วนท่ีเกี่ยวข้องต่อไป

แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการจากคำ�วินิจฉัยของศาลปกครองสงู สดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒1๑

ซ่งึ ทั้งนาย ป. นาย ส. และนาย ช. ต่างใหถ้ ้อยคาสอดคล้องกันว่า ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ตรวจพบสภาพ
ท่ีตัง้ ของทดี่ ินทรี่ าษฎรขอออกโฉนดท่ีดินว่ามีลักษณะต้องสงสัยว่าเป็นที่ดินที่พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ไม่สามารถออกโฉนดที่ดินให้ได้ตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคหน่ึง๓๑ ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
ทั้งผู้ฟ้องคดียังได้นาเรื่องราวดังกล่าวปรึกษาหารือกับเพ่ือนร่วมงานและรายงานให้นาย ช.
ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาทราบ จึงเป็นกรณีที่ผู้ฟ้องคดีได้ปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีกาหนดในข้อ ๗๓๒

๓๑ ประมวลกฎหมายทด่ี ิน
มาตรา ๕๘ ทวิ เมือ่ ได้สารวจรงั วัดทาแผนทหี่ รือพิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ในท่ีดิน
ตามมาตรา ๕๘ แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ แล้วแต่กรณี
ใหแ้ ก่บคุ คลตามทร่ี ะบไุ วใ้ นวรรคสอง เม่อื ปรากฏวา่ ที่ดนิ ท่ีบุคคลน้ันครอบครองเปน็ ท่ีดินท่อี าจออกโฉนดที่ดิน
หรอื หนงั สือรับรองการทาประโยชนไ์ ด้ตามประมวลกฎหมายนี้

ฯลฯ ฯลฯ
๓๒ ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการกาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าท่ีที่
ปฏิบัตงิ านโครงการเดินสารวจออกโฉนดท่ดี ินและสอบเขตทดี่ นิ ทง้ั ตาบล พ.ศ. ๒๕๒๑
ขอ้ ๗ ผ้ชู ่วยผกู้ ากบั การเดนิ สารวจ ฝ่ายรังวัด มีหน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ ดังนี้
(๑) เบิกเครื่องมือรังวัดส่งิ ของเคร่ืองใช้และแบบพมิ พ์ทเ่ี ก่ียวกับงานรงั วดั ทาแผนที่
(๒) จัดทาแผนท่ีสารบญั บริเวณพนื้ ทต่ี าบลที่จะทาการ
(๓) ตรวจสอบหลักฐานเส้นโครงงานแผนที่เดิมบริเวณที่จะทาการหรือบริเวณใกล้เคียง
เพอ่ื คัดหรือถ่ายสาเนาเตรียมไปใช้งาน
(๔) ตรวจสอบระวางแผนท่ีภาคพ้ืนดิน ระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศและขอเบิก
เพือ่ นาไปใชง้ าน
(๕) ขอใชช้ ่ือเส้นโครงงานหลกั ฐานแผนที่
(๖) กาหนดแผนงานวางโครงหลักฐานแผนที่ให้เหมาะสมกับพื้นที่ในตาบลท่ีจะทาการ
และกาหนดการสร้างระวางแผนที่ให้เหมาะสมกับสภาพทด่ี ิน
(๗) ตรวจสอบและแก้ไขเสน้ โครงงานแผนทีท่ ี่มีความผดิ เกินเกณฑ์
(๘) ตรวจรายการรังวดั เสน้ รายการรงั วัดโยงยดึ หลักเขต และรปู แผนที่กระดาษบาง
(๙) ตรวจการลงท่ีหมายในระวางกระดาษเหลือง ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ รูปแผนท่ี
หลักเขต การเขียนข้างเคียงและการใหเ้ ครือ่ งหมายทดี่ ิน
(๑๐) ตรวจสมดุ สารวจ (ร.ว.๓๙) บัญชโี ฉนดที่ดินเลขที่ดินสมมุติ (ร.ว.๔๑) บัญชีเลขหน้า
สารวจ (ร.ว.๔๒) และบัญชีจา่ ยหลักเขตท่ดี นิ (ร.ว.๑๓)
(๑๑) ตรวจแนะนาและติดตามผลการปฏิบัติงานด้านรังวัดทาแผนท่ีและเร่งรัด
การปฏบิ ัติงานให้ไดผ้ ลงานตามเปา้ หมาย

(มตี อ่ หน้าถดั ไป)

แนวทางการปฏิบตั ิราชการจากค�ำ วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒2๒

ของระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการกาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงาน
โครงการเดนิ สารวจออกโฉนดท่ดี นิ และสอบเขตท่ีดินทั้งตาบล พ.ศ. ๒๕๒๑ และข้อ ๔๔๓๓ และ
ขอ้ ๔๗.๑๓๔ ของระเบยี บกรมท่ีดิน ว่าด้วยการเดินสารวจออกโฉนดท่ีดินและสอบเขตท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๒๙
ซึ่งใช้บังคับในขณะเกิดเหตุแล้ว และโดยที่ระเบียบกรมท่ีดินทั้งสองฉบับดังกล่าวมิได้กาหนดให้
ตาแหน่งผู้ช่วยผู้กากับการเดินสารวจ ฝ่ายรังวัด ซึ่งเป็นตาแหน่งของผู้ฟ้องคดีมีหน้าที่
ต้องออกไปปฏิบัติงานภาคสนามเพ่ือตรวจสอบพื้นที่ท่ีมีการขอออกโฉนดที่ดินว่าเป็น
ที่สาธารณประโยชน์อันเป็นที่ดินที่ต้องห้ามในการออกโฉนดที่ดินหรือไม่ อีกท้ังอานาจหน้าท่ี
ของผู้ฟอ้ งคดตี ามทกี่ าหนดไว้ในระเบียบทั้งสองฉบับเป็นเพียงขั้นตอนการพิจารณาทางปกครอง
อันนาไปสู่การออกโฉนดท่ีดินอันเป็นคาสั่งทางปกครอง เม่ือผู้ฟ้องคดีรายงานผลการตรวจสอบ
พบว่า สภาพท่ีตั้งของท่ีดินที่พิพาทท้ัง ๒๔ แปลง เหมือนมีน้าท่วมขังและอยู่ใกล้กับพ้ืนท่ีที่ระบุว่า
“เวียงหนอง” ให้ผู้บังคับบัญชาทราบเพ่ือดาเนินการตรวจสอบก่อนการออกโฉนดที่ดิน ผู้ฟ้องคดีจึง
ไดด้ าเนนิ การพิจารณาทางปกครองตามอานาจหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนดแล้ว ขั้นตอนต่อไป
ในการออกโฉนดท่ีดินอยู่ในความรับผิดชอบของนาย ช. ผู้กากับการเดินสารวจ และนาย ว.

(ตอ่ จากเชิงอรรถท่ี ๓๒)
(๑๒) ตรวจการเขยี นแผนท่ใี นโฉนดท่ดี ิน
(๑๓) ตรวจรับและควบคุมการจ่ายหลักเขตทดี่ นิ พรอ้ มทงั้ รายงานการใช้หลกั เขต
(๑๔) จัดทาแผนที่สารบัญแสดงเส้นโครงงานต่างๆ ซ่ึงได้รังวัดวางโครงต่อเนื่องเพิ่มเติม

มาตราส่วน ๑/๕๐๐๐๐ สง่ ให้กองรังวัดและทาแผนทเี่ มือ่ เสร็จจากการปฏบิ ัติงาน
(๑๕) รวบรวมผลการปฏิบัติงานรังวัดและใบสาคัญค่าใช้จ่ายต่างๆ ของช่างรังวัดเสนอ

ผู้กากบั การเดินสารวจ
(๑๖) พจิ ารณาแก้ไขปญั หาและอปุ สรรคต่างๆ ในการรังวดั ทาแผนที่
(๑๗) ประสานงานกับหัวหน้างานรังวัดสานักงานที่ดินจังหวัด เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน

ด้านรังวดั ทาแผนท่ี
(๑๘) รวบรวมหลกั ฐานการรังวดั ตา่ งๆ เพื่อส่งมอบให้แกส่ านักงานทดี่ ินจังหวัด
(๑๙) ปฏิบัติงานอน่ื ตามทผ่ี ูก้ ากับการเดินสารวจมอบหมาย
๓๓-๓๔ ระเบยี บกรมที่ดนิ ว่าด้วยการเดนิ สารวจออกโฉนดท่ดี ินและสอบเขตทด่ี นิ พ.ศ. ๒๕๒๙
ข้อ ๔๔ ให้ผู้ช่วยผู้กากับการเดินสารวจ ฝ่ายรังวัด ตรวจหลักฐานแผนท่ีและแบบพิมพ์

โฉนดทดี่ ินตามหลักวชิ าการแผนท่ี
ข้อ ๔๗.๑ ใหผ้ ู้ชว่ ยผู้กากบั การเดินสารวจ ฝา่ ยรงั วัด ซึ่งมีหน้าทต่ี รวจและควบคมุ เกยี่ วกบั

งานดา้ นรงั วัดทาแผนที่ เป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องของการเขียนแผนที่เคร่ืองหมายที่ดิน และเนื้อที่ว่าถูกต้อง
ตรงกับรายการต้นฉบับแลว้ ใหล้ งช่ือในแบบพมิ พ์โฉนดทดี่ ินในชอ่ ง “ผตู้ รวจแผนท”่ี

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากคำ�วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒3๓
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดเชียงราย สาขาแม่จัน ผู้มีอานาจหน้าที่ในการออกโฉนดท่ีดินอันเป็น
คาสั่งทางปกครอง ท่ีต้องดาเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามท่ีได้รับแจ้งจากผู้ฟ้องคดีว่า
ผู้ขอออกโฉนดที่ดินเป็นบุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าท่ีอาจออกโฉนดที่ดินให้ได้หรือไม่ และที่ดิน
ท่ีขอออกโฉนดที่ดนิ เปน็ ท่ีดนิ ทีพ่ นักงานเจา้ หน้าทอ่ี าจออกโฉนดท่ีดินให้ได้หรือไม่ แต่ข้อเท็จจริง
ปรากฏว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีคาวินิจฉัยว่า นาย ช. ผู้กากับการเดินสารวจซ่ึงเป็น
ผบู้ งั คับบัญชาของผู้ฟ้องคดี และนาย ว. เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดเชียงราย สาขาแม่จัน ไม่มีมูล
ความผิดตามท่ีถูกกล่าวหา โดยให้เหตุผลว่านาย ช. เป็นผู้ส่ังการให้ตรวจสอบสภาพท่ีดินกับ
หน่วยศิลปากรท่ี ๔ เชียงแสน และอาเภอแม่จัน ทั้งการส่งมอบงานให้สานักงานที่ดินจังหวัด
เชียงราย สาขาแม่จัน ได้มีการรายงานประกอบว่า จากการตรวจสอบระวางแผนท่ีรูปถ่าย
ทางอากาศแล้ว ปรากฏวา่ สภาพเหมือนมีน้าท่วมขัง ควรตรวจสอบสภาพพื้นท่ีดินและสอบสวน
เพ่ิมเติมตามแบบหมายอักษร จ. ส่วนนาย ว. ได้มีคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการทาการตรวจสอบ
สภาพท่ีดินที่ทาการเดินสารวจออกโฉนดท่ีดิน และได้รับรายงานผลการตรวจสอบว่า ผู้ขอออก
โฉนดที่ดินได้ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินแล้ว ตลอดจนผู้ปกครองท้องท่ีรับรองว่าที่ดิน
แต่ละแปลงไม่เป็นที่หลวงหวงห้าม หรือท่ีสาธารณประโยชน์ อีกทั้งกรมท่ีดินมีนโยบายเร่งรัด
การออกโฉนดท่ีดินท่ัวประเทศ นาย ว. จึงต้องลงนามออกโฉนดท่ีดินดังกล่าว และจากการไต่สวน
ข้อเท็จจริง ไม่ปรากฏพยานหลักฐานว่านาย ช. และนาย ว. ได้ร่วมกระทาความผิดกับ
ผู้ถูกกล่าวหารายอ่ืนๆ เห็นว่า ข้อเท็จจริงที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ยกขึ้นวินิจฉัยให้เป็น
ประโยชน์แก่นาย ช. และนาย ว. เกิดจากผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ตรวจสอบและรายงานให้นาย ช.
ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาทราบว่าท่ีตั้งของที่ดินท่ีพิพาทท้ัง ๒๔ แปลง สภาพเหมือนมีน้าท่วมขัง
ควรมีการตรวจสอบเพิ่มเติม เป็นเหตุให้นาย ช. ได้มีหนังสือสอบถามไปยังหน่วยศิลปากรท่ี ๔
เชียงแสน และอาเภอแม่จัน เก่ียวกับเขตที่ดินท่ีพิพาท นอกจากนี้แล้ว ในการส่งมอบงานให้
สานักงานที่ดินจังหวัดเชียงราย สาขาแม่จัน ได้มีการรายงานประกอบว่าจากการตรวจสอบ
ระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศแล้ว ปรากฏว่าสภาพเหมือนมีน้าท่วมขัง ควรตรวจสอบสภาพ
พ้นื ทด่ี นิ และสอบสวนเพมิ่ เตมิ เป็นเหตุให้นาย ว. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาตรวจสอบท่ีดิน
ที่พิพาท การดาเนินการของนาย ช. และนาย ว. จึงเป็นข้ันตอนที่ต่อเน่ืองมาจากการปฏิบัติ
หน้าท่ีตามกฎหมายของผู้ฟ้องคดี และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า ผู้ฟ้องคดีได้ร่วมกระทาความผิด
กับผถู้ กู กล่าวหารายอนื่ ๆ เชน่ เดยี วกนั ประกอบกับจากรายงานการไต่สวนข้อเท็จจริงไม่ปรากฏ
พยานหลักฐานที่ทาให้เชื่อได้ว่าผู้ฟ้องคดีจงใจหรือมีเจตนากระทาการหรือละเว้นไม่กระทาการใดๆ
หรือร่วมกับผู้อ่ืนกระทาการหรือละเว้นไม่กระทาการ ในการออกโฉนดท่ีดินโดยมิชอบ
ด้วยกฎหมายเพ่ือแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้สาหรับตนเองหรือผู้อื่น อันเข้าองค์ประกอบ

แนวทางการปฏบิ ัตริ าชการจากคำ�วินิจฉัยของศาลปกครองสงู สุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒4๔
ของความผิดฐานทุจริตต่อหน้าท่ีราชการตามมาตรา ๘๒ วรรคสาม๓๕ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และเม่ือได้วินิจฉัยแล้วว่า คาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดี
ลงวันท่ี ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ ที่สั่งลงโทษผู้ฟ้องคดีในความผิดทางวินัยฐานอ่ืน เป็นคาส่ังท่ี
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้น คาส่ังของผู้ถูกฟ้องคดี ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ ลงโทษ
ไล่ผฟู้ อ้ งคดอี อกจากราชการ จงึ เปน็ คาสงั่ ทีไ่ มช่ อบด้วยกฎหมาย

การท่ีศาลปกครองช้ันต้นพิพากษาให้เพิกถอนคาส่ังกรมที่ดิน ลงวันที่ ๑๔
มิถุนายน ๒๕๔๗ ลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ โดยให้มีผลย้อนหลังต้ังแต่วันท่ีคาส่ัง
ดังกล่าวมผี ลบงั คบั น้นั ศาลปกครองสงู สุดเห็นพอ้ งด้วย อย่างไรก็ดี ในส่วนที่ศาลปกครองชั้นต้น
มีคาบังคับให้ผู้มีอานาจตามกฎหมายดาเนินการเพื่อให้ผู้ฟ้องคดีกลับเข้ารับราชการภายใน
สามสิบวันนับแต่วันที่คดีถึงท่ีสุด โดยคืนสิทธิให้ผู้ฟ้องคดีตามที่กฎหมายและระเบียบกาหนดไว้
ท้ังนี้ ภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีผู้ฟ้องคดีกลับเข้ารับราชการ น้ัน ศาลปกครองสูงสุดเห็นควร
ให้กาหนดเป็นข้อสังเกตเก่ียวกับแนวทางหรือวิธีการดาเนินการให้เป็นไปตามคาพิพากษา
ตามนัยมาตรา ๖๙ วรรคหน่ึง (๘)๓๖ แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ พพิ ากษาแกค้ าพิพากษาของศาลปกครองช้ันต้น เป็นให้เพิกถอนคาส่ัง
กรมที่ดิน ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ ท่ีลงโทษไล่ผู้ฟ้องคดีออกจากราชการ โดยให้มีผล
ย้อนหลังต้ังแต่วันท่ีคาส่ังดังกล่าวมีผลบังคับ โดยมีข้อสังเกตเก่ียวกับแนวทางหรือวิธีการ
ดาเนินการให้เป็นไปตามคาพิพากษา คือ ให้ผู้มีอานาจตามกฎหมายดาเนินการเพ่ือให้ผู้ฟ้องคดี
เข้ารับราชการภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีคดีถึงที่สุด โดยคืนสิทธิให้ผู้ฟ้องคดีตามที่กฎหมาย
และระเบียบกาหนดไว้ ทั้งน้ี ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ผู้ฟ้องคดีกลับเข้ารับราชการ
(คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๐๓๗/๒๕๕๘)

๓๕ อ้างแลว้ ในเชงิ อรรถที่ ๒๖ หน้า ๑๘
๓๖ พระราชบญั ญัติจดั ต้ังศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๖๙ คาพิพากษาหรอื คาสัง่ ชข้ี าดคดีปกครองของศาลปกครองอยา่ งน้อยต้องระบุ

ฯลฯ ฯลฯ
(๘) ข้อสงั เกตเก่ยี วกับแนวทางหรือวิธกี ารดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามคาพพิ ากษา ถา้ มี

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากค�ำ วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสงู สดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒5๕

๒. แนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเก่ียวกับการท่ีหน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามท่ีกฎหมายกาหนดให้ต้อง
ปฏบิ ตั หิ รือปฏบิ ตั ิหนา้ ทีด่ งั กลา่ วล่าช้าเกนิ สมควรตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๒)

ศาลปกครองสูงสุดได้วางแนวทางการปฏิบัติราชการท่ีได้จากคดีพิพาทเกี่ยวกับ
การท่ีหน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หน้าที่ของรฐั ละเลยต่อหน้าที่ตามทกี่ ฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ
หรอื ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ดี ังกล่าวล่าช้าเกนิ สมควร ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) นายกองค์การบริหารส่วนตาบลมีหน้าที่ส่ังให้หยุดการขุดดินหรือ
จดั การแกไ้ ขการขดุ ดนิ ที่อาจก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกผ่ อู้ นื่

เมื่อผู้ร้องสอดทาการขุดดินโดยมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
และกฎกระทรวง และมีเหตอุ นั ควรเช่ือได้ว่าผู้ฟ้องคดีอาจได้รับความเสียหายจากการขุดดิน
ของผู้ร้องสอด นายกองค์การบริหารส่วนตาบลในฐานะเจ้าพนักงานท้องถิ่นจึงมีอานาจหน้าท่ี
ส่ังให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสถานท่ีพิพาทและรายงานต่อตนซ่ึงหากเห็นว่า
ความเสียหายได้เกิดข้ึนหรืออาจเกิดขึ้นจากการขุดดินนั้นย่อมมีอานาจออกคาสั่งเป็น
หนังสือสั่งให้ผู้ร้องสอดหยุดทาการขุดดินหรือจัดการแก้ไขการขุดดินตามที่เห็นสมควร
เมื่อนายกองค์การบริหารส่วนตาบลมิได้ควบคุมดูแลให้ผู้ร้องสอดทาการขุดดินตามที่
บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายและกฎกระทรวงกาหนดไว้แล้ว จึงเป็นกรณีที่นายกองค์การบริหาร
ส่วนตาบลละเลยต่อหนา้ ท่ีตามทกี่ ฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ

ผู้ฟ้องคดีเป็นเจ้าของท่ีดินต้ังอยู่ในเขตท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ตามข้อ ๒ ของกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับ
ความเดอื ดร้อนหรือเสียหายจากการท่ีผู้ร้องสอดทาการขุดดินในที่ดินข้างเคียงมีลักษณะตัดตรง
ในแนวด่งิ มีความลึกจากระดับพื้นดินเกินสามเมตร มีพื้นที่ปากบ่อดินเกินหน่ึงหมื่นตารางเมตร
และเว้นระยะห่างจากปากบ่อดินถึงแนวเขตท่ีดินของผู้ฟ้องคดีเพียงประมาณสามเมตร
ซ่ึงไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นคาร้อง
ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ต่อผู้ถูกฟ้องคดี (นายกองค์การบริหารส่วนตาบลวังพิกุล) ขอให้
ตรวจสอบสถานที่พิพาทและดาเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายกาหนด
ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ แจ้งให้ผู้ฟ้องคดีทราบว่า

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากคำ�วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒6๖

กรณีร้องเรียนอยู่ระหว่างดาเนินการตามกฎหมาย ผู้ฟ้องคดีจึงนาคดีมาฟ้องขอให้ศาลมี
คาพิพากษาหรือคาสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีใช้อานาจหน้าที่ควบคุมการขุดดินของผู้ร้องสอดให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ภายในระยะเวลาท่ีศาลกาหนด และออกคาส่ัง
ให้ผู้ร้องสอดจัดการแก้ไขการขุดดินที่ได้ดาเนินการไปแล้วโดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อให้
เป็นไปตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานความปลอดภัยตามที่กฎหมายกาหนด โดยแก้ไขระยะห่าง
จากปากบ่อดินถึงเขตที่ดินของผู้ฟ้องคดีให้มีระยะไม่น้อยกว่าสองเท่าของความลึกของบ่อดิน
ให้แล้วเสร็จก่อนท่ีผถู้ กู ฟ้องคดีจะออกใบรับแจ้งให้แก่ผู้ร้องสอด ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า
คดนี ผี้ ู้รอ้ งสอดได้ทาการขุดดินในท่ดี นิ พพิ าทท่อี ยู่ในเขตผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ
ผังเมืองรวมพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยการขุดดินมีลักษณะลาดเอียงและลึกจากระดับพื้นดิน
เกนิ สามเมตร มพี ้ืนทป่ี ากบ่อดนิ กว้างประมาณ ๗๔ เมตร ยาวประมาณ ๓๐๐ เมตร ซ่ึงเกินหนึ่งหม่ืน
ตารางเมตร และมีระยะห่างจากขอบบ่อดินถึงเขตท่ีดินของผู้ฟ้องคดี ๕ เมตร ซ่ึงน้อยกว่าสองเท่า
ของระดับท่ีลึกที่สุดของขอบบ่อดิน การขุดดินของผู้ร้องสอดจึงอยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติ
การขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ผู้ถูกฟ้องคดีซึ่งเป็นเจ้าพนักงานท้องถ่ินจึงมีหน้าท่ี
ต้องควบคุมให้ผู้ร้องสอดปฏิบัติ ตามหมวด ๒ การขุดดิน มาตรา ๑๗ ถึงมาตรา ๒๕ แห่ง
พระราชบัญญัติดังกล่าว และข้อ ๔๓๗ กับข้อ ๗๓๘ ของกฎกระทรวงกาหนดมาตรการป้องกัน
การพังทลายของดนิ หรือส่งิ ปลูกสร้างในการขุดดินหรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ใน
การป้องกันอนั ตรายที่จะเกดิ แกท่ รพั ยส์ นิ และความปลอดภัยของประชาชนที่อาจมีการพังทลาย
ของดินและส่ิงปลกู สร้าง และเพอื่ ให้การขุดดินหรือถมดนิ ในเขตท่ีกาหนดไว้ตามกฎหมายเป็นไป
โดยถูกต้องตามหลักวิชา เม่ือผู้ร้องสอดไม่ได้แจ้งต่อผู้ถูกฟ้องคดีเพ่ือให้ผู้ถูกฟ้องคดีออกใบรับแจ้ง

๓๗-๓๘ กฎกระทรวงกาหนดมาตรการป้องกนั การพังทลายของดินหรือส่ิงปลูกสร้างในการ
ขุดดนิ หรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘

ข้อ ๔ การขดุ ดนิ ท่ีมีความลึกจากระดับพ้ืนดินเกินสามเมตรหรือมีพ้ืนท่ีปากบ่อดินเกินหน่ึงหมื่น
ตารางเมตร ต้องมีแบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายการคานวณของผู้ได้รับใบอนุญาต
ให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ไม่ต่ากว่าระดับสามัญวิศวกร ตามกฎหมาย
วา่ ด้วยวิศวกร

ข้อ ๗ การขุดดินท่ีมีความลึกจากระดับพ้ืนดินเกินสามเมตร หรือมีพื้นท่ีปากบ่อดิน
เกินหนึ่งหมื่นตารางเมตร ปากบ่อดินจะต้องห่างจากแนวเขตที่ดินของบุคคลอ่ืนหรือที่สาธารณะเป็นระยะ
ไม่น้อยกว่าสองเท่าของความลึกของบ่อดินท่ีจะขุด เว้นแต่จะได้มีการจัดการป้องกันการพังทลายของดิน
หรือส่ิงปลูกสร้าง โดยการรับรองของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา
ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวิศวกร

แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากคำ�วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒7๗

ตามแบบท่ีผู้ถูกฟ้องคดีกาหนด จึงเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง๓๙แห่งพระราชบัญญัติ
การขดุ ดนิ และถมดนิ พ.ศ. ๒๕๔๓ และการที่ผู้ร้องสอดไม่ได้แสดงแบบแปลน รายการประกอบ
แบบแปลน และรายการคานวณของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
สาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร ตามข้อ ๔ ของกฎกระทรวงกาหนดมาตรการ
ป้องกันการพังทลายของดินหรือสิ่งปลูกสร้างในการขุดดินหรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และไม่มี
ข้อเท็จจริงว่า การจัดการป้องกันการพังทลายของดินหรือส่ิงปลูกสร้างมีการรับรองของผู้ได้รับ
ใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎหมายว่าด้วย
วิศวกร ตามข้อ ๗ ของกฎกระทรวงฉบับเดียวกัน จึงเป็นการกระทาท่ีฝ่าฝืนมาตรา ๒๐๔๐
แห่งพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ อีกด้วย การที่ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือแจ้ง
ผู้ถูกฟ้องคดีเก่ียวกับการขุดดินของผู้ร้องสอดในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดอันตรายกับทรัพย์สิน
ของผู้ฟ้องคดีดังท่ีกล่าวข้างต้น ผู้ถูกฟ้องคดีมีหนังสือแจ้งให้ผู้ร้องสอดแจ้งความประสงค์จะทา
การขุดดนิ ตอ่ เจา้ พนกั งานทอ้ งถิ่นแต่ผรู้ อ้ งสอดมิได้ปฏิบตั ติ าม จึงไดแ้ จ้งความร้องทุกข์กล่าวโทษ
ผู้ร้องสอดต่อพนักงานสอบสวน สถานีตารวจภูธรวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เพ่ือให้ดาเนิน
คดีอาญากับผู้ร้องสอดตามกฎหมาย นอกจากน้ี ผู้ถูกฟ้องคดีซ่ึงอ้างว่าได้ตรวจสอบสถานท่ี
พิพาทแล้วพบว่า ผู้ร้องสอดทาคันดินสูงจากพื้นที่ปกติในที่ดินระหว่างบ่อดินท่ีขุดกับท่ีดินของ
ผู้ฟอ้ งคดี และปากบอ่ บรเิ วณทต่ี ิดกับทดี่ นิ ของผู้ฟ้องคดีเป็นแนวลาดเอียง คาดการณ์ว่าไม่น่าจะ
ส่งผลถึงการพังทลายของดินในที่ดินของผู้ฟ้องคดี ประกอบกับผู้ฟ้องคดีย่ืนคาร้องขอทั่วไป
โดยมิได้ขอให้เจ้าพนักงานท้องถ่ินสั่งให้หยุดการขุดดินหรือถมดินและมิได้แสดงว่ามี
ความเสียหายเกิดข้ึน และผู้ถูกฟ้องคดีได้ใช้ดุลพินิจประเมินความเสียหายแล้วยังไม่ถึงขนาด
น่าจะเกดิ ความเสียหายแก่ผูฟ้ อ้ งคดี จึงไม่อาจสั่งให้หยุดการขุดดินได้ นั้น เห็นว่า เมื่อผู้ร้องสอด
ทาการขุดดินโดยมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายและกฎกระทรวงที่กล่าวข้างต้น

๓๙-๔๔ พระราชบญั ญัติการขดุ ดนิ และถมดนิ พ.ศ. ๒๕๔๓
มาตรา ๑๗ ผู้ใดประสงค์จะทาการขุดดินโดยมีความลึกจากระดับพ้ืนดินเกินสามเมตร
ท้องถิน่ ประกาศกาหนด ใหแ้ จ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามแบบท่ีเจ้าพนักงานท้องถ่ินกาหนดโดยยื่นเอกสาร
แจ้งขอ้ มลู ดงั ต่อไปน้ี

ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๒๐ ผู้ขุดดินตามมาตรา ๑๗ ต้องทาการขุดดินให้ถูกต้องตามกฎกระทรวงที่ออก
ตามมาตรา ๖

(มีต่อหน้าถัดไป)

แนวทางการปฏบิ ัติราชการจากค�ำ วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒8๘

กรณยี อ่ มถือวา่ มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าผู้ฟ้องคดีอาจได้รับความเสียหายจากการขุดดินของผู้ร้องสอด
ตามมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง๔๑ แห่งพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ผู้ถูกฟ้องคดี
ในฐานะเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว มีอานาจหน้าที่ส่ังให้
พนักงานเจ้าหน้าท่ีเข้าไปตรวจสอบสถานท่ีพิพาทและรายงานต่อผู้ถูกฟ้องคดี ซ่ึงหากเห็นว่า
ความเสยี หายไดเ้ กิดข้ึนหรืออาจเกิดข้ึนจากการขุดดินนั้น ก็มีอานาจออกคาสั่งเป็นหนังสือสั่งให้
ผ้รู อ้ งสอดหยุดทาการขุดดินหรือจัดการแก้ไขการขุดดินตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ ตามมาตรา ๒๙
วรรคสอง๔๒ มาตรา ๓๐๔๓ และมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง๔๔ แห่งพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน
พ.ศ. ๒๕๔๓ การที่ผู้ถูกฟ้องคดีอ้างว่า ผู้ฟ้องคดีไม่ได้มีคาขอในเร่ืองหยุดการขุดดินและผู้ร้องสอด
ได้ดาเนินการป้องกันการพังทลายของดิน โดยทาคันดินและทาการขุดดินจากปากบ่อดิน
มีความลาดเอียงที่ไม่น่าจะเกิดอันตรายกับท่ีดินของผู้ฟ้องคดีท้ังๆ ที่ไม่ปรากฏว่าการจัดการ
ป้องกันการพังทลายของดินมีการรับรองโดยผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกรแล้ว ไม่อาจถือเป็นเหตุผลว่าผู้ถูกฟ้องคดี

(ตอ่ จากเชิงอรรถที่ ๓๙-๔๔)
มาตรา ๒๙ ผู้ใดได้รับความเสียหายหรือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าอาจได้รับความเสียหาย

จากการขุดดินหรือถมดินอันไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๗ มีสิทธิร้องขอให้
เจา้ พนักงานทอ้ งถิ่นสงั่ ใหห้ ยุดการขุดดินหรอื ถมดนิ นนั้ ได้

เม่ือได้รับคาร้องขอตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นส่ังให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไป
ตรวจสอบสถานที่ขุดดินหรือถมดินและรายงานต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ถ้าเจ้าพนักงานท้องถ่ินเห็นว่า
ความเสียหายได้เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้นจากการขุดดินหรือถมดินน้ัน ให้มีอานาจออกคาส่ังเป็นหนังสือส่ังให้
ผู้ขุดดิน ผู้ถมดิน หรือเจ้าของที่ดินหยุดการขุดดินหรือถมดิน หรือจัดการป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึน
หรือจัดการแก้ไขการขุดดินหรือถมดนิ นัน้ ได้ตามทเี่ ห็นสมควร

ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๓๐ พนักงานเจา้ หน้าทมี่ อี านาจเขา้ ไปตรวจสอบสถานท่ีที่มีการขุดดินตามมาตรา ๑๗
หรือการถมดินตามมาตรา ๒๖ ว่าได้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถ่ิน
หรอื ประกาศท่ีออกตามพระราชบัญญตั ินีห้ รือไม่ ทั้งนี้ ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกหรือ
ในระหวา่ งเวลาทาการ และใหผ้ ขู้ ดุ ดิน ผถู้ มดนิ หรือตวั แทน หรือเจา้ ของทด่ี นิ อานวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา ๓๑ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าการขุดดินหรือการถมดินได้ก่อหรือ
อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของบุคคลอื่น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่รายงานต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ให้มีคาส่ังให้ผู้ขุดดิน ผู้ถมดิน หรือเจ้าของที่ดินหยุดการขุดดินหรือการถมดิน หรื อจัดการป้องกัน
ความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึน หรือจัดการแก้ไขการขุดดินหรือการถมดินนั้น แล้วแต่กรณี และให้เจ้าพนักงาน
ทอ้ งถิน่ มอี านาจออกคาสัง่ เป็นหนังสือตามที่เหน็ ว่าจาเป็นเพอ่ื ป้องกนั หรอื ระงบั ความเสยี หายน้ันได้

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏิบัติราชการจากค�ำ วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสงู สดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

2๒9๙

ไดค้ วบคุมดูแลใหผ้ ูร้ ้องสอดทาการขดุ ดินตามทีบ่ ทบัญญตั ิแห่งกฎหมายและกฎกระทรวงกาหนดไว้แล้ว
จึงเป็นกรณีท่ีผู้ถูกฟ้องคดีละเลยต่อหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓
กาหนดให้ต้องปฏิบัติ ดังน้ัน การที่ศาลปกครองชั้นต้นพิพากษาให้ผู้ถูกฟ้องคดีใช้อานาจหน้าท่ี
ตามพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ออกคาสั่งเป็นหนังสือส่ังให้ผู้ร้องสอด
หยุดทาการขุดดินจนกว่าผู้ร้องสอดจะได้ดาเนินการให้ถูกต้องตามนัยมาตรา ๑๗
แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว และจัดการแก้ไขการขุดดินของผู้ร้องสอดโดยออกคาส่ังให้
ผู้ร้องสอดนาดินมาถมในที่ดินบริเวณพิพาทด้านท่ีมีแนวเขตติดกับด้านท่ีดินของผู้ฟ้องคดีให้
ระยะหา่ งจากปากบอ่ ดินถงึ แนวเขตทด่ี ินของผ้ฟู อ้ งคดีเป็นระยะไม่น้อยกว่าสองเท่าของความลึก
ของบ่อดินที่ขุด ตามนัยข้อ ๗ ของกฎกระทรวงกาหนดมาตรการป้องกันการพังทลายของดิน
หรอื ส่ิงปลกู สร้างในการขุดดินหรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ท้ังน้ี ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีศาลมี
คาพิพากษาถึงท่ีสดุ นัน้ ชอบแล้ว (คาพิพากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อส.๒/๒๕๕๘)

(๒) กรุงเทพมหานครมีหน้าท่ีดูแลรักษาท่ีสาธารณะเพ่ือให้มีความสะดวก
และปลอดภัยแก่ราษฎรทีใ่ ช้ในการสัญจรตามปกตวิ ิสัย

กรุงเทพมหานครมีหน้าที่จัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า ทางระบายน้า
และการดูแลรักษาท่ีสาธารณะเพื่อให้มีความสะดวกและปลอดภัยแก่ราษฎรที่ใช้ในการ
สัญจรตามปกติวิสัย เมื่อการประปานครหลวงก่อสร้างและติดตั้งตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้า
และบ่อพักมิเตอร์วัดแรงดันน้าไม่ชอบด้วยหลักเกณฑ์ท่ีกรุงเทพมหานครกาหนดไว้ในคาขอ
อนุญาต กรุงเทพมหานครย่อมมีหน้าท่ีท่ีต้องตรวจสอบดูแลให้การประปานครหลวงปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑ์ หรือเงอ่ื นไขที่กาหนดไว้ แต่กรุงเทพมหานครกลับปล่อยให้การประปานครหลวง
ติดตั้งตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าพิพาท จนถึงวันที่ผู้ฟ้องคดีเดินสะดุดตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้า
ดังกลา่ ว เปน็ เวลา ๒ ปกี ว่า โดยมไิ ด้ดูแลและบารุงรักษาตูม้ เิ ตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวให้อยู่
ในสภาพที่สามารถใช้การได้ โดยไม่ก่อให้เกิดภยันตรายต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน
ของประชาชนผู้สัญจรไปมา จึงถือได้ว่ากรุงเทพมหานครละเลยต่อหน้าท่ีตามท่ี
กฎหมายกาหนดใหต้ ้องปฏิบัติ

ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้พิการทางสายตา (ตาบอดท้ังสองข้าง) ขณะผู้ฟ้องคดีเดินบน
บาทวิถีบริเวณซอยลาดพร้าว ๖๕ บรรจบกับถนนลาดพร้าว ปรากฏว่าแนวสัญลักษณ์สาหรับ
ผู้พิการทางสายตา (เบลล์บล็อก) มีตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ (การประปานครหลวง)

แนวทางการปฏบิ ัติราชการจากคำ�วนิ ิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

3๓0๐
โดยอนุญาตของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ (กรุงเทพมหานคร) ได้ก่อสร้างกีดขวางอยู่ โดยไม่มีสัญลักษณ์
แสดงให้ผู้พิการทางสายตารับรู้ได้ ผู้ฟ้องคดีจึงสะดุดกับตู้ดังกล่าว ทาให้ใบหน้าของผู้ฟ้องคดี
กระแทกกับตู้เป็นเหตุให้ได้รับบาดเจ็บบริเวณดวงตาเป็นแผลแตกและใบหน้าเป็นรอยฟกช้า
ต้องพักรักษาตัวไม่สามารถออกไปจาหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาลได้ ผู้ฟ้องคดีจึงนาคดีมาฟ้อง
ขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีท้ังสองร่วมกันร้ือถอนหรือย้ายตู้มิเตอร์
วดั แรงดันนา้ ออกจากทเ่ี กดิ เหตุ หากไมส่ ามารถรือ้ ถอนหรือย้ายได้ให้กอ่ สร้างสิ่งป้องกันอันตราย
ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ได้อนุญาตให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ติดต้ังตู้มิเตอร์
วัดแรงดันน้า (ตู้ RTU) บนบาทวิถีบริเวณปากซอยลาดพร้าว ๖๕/๑ บรรจบกับถนนลาดพร้าว
ซ่ึงผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ จะต้องติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าและบ่อพักมิเตอร์วัดแรงดันน้า
ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรือ่ ง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการขออนุญาตใช้ทางเท้าสาธารณะ
ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗ และตามแบบการติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าที่ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑
แจ้งไว้ในคาขออนุญาต แต่ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าและบ่อพักมิเตอร์
วดั แรงดนั น้าชิดแนวเขตทางสาธารณะ และระดับฐานตู้วัดแรงดันน้าดังกล่าวไม่เสมอระดับทางเท้า
ตามที่ได้รับอนุญาตจากผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ กับทั้งไม่ได้แจ้งให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ตรวจสอบสภาพ
ทางเท้าทั้งกอ่ นและหลงั การติดต้ัง ดังนั้น การดาเนินการของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ จึงไม่เป็นไปตาม
คู่มือก่อสร้างงานสาธารณูปโภค ฉบับเดือนมิถุนายน ๒๕๔๔ โดยผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ได้ก่อสร้าง
ฐานรองรับตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าและการติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวมิได้อยู่ในแนว
เสาไฟฟ้าหลังคันหิน (ชิดขอบทางเท้าด้านผิวจราจร) และให้เว้นด้านใน (ชิดขอบทางเท้า)
กว้างไม่น้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร เพ่ือเป็นทางเดินเท้าตลอดแนว ตามแบบท่ีได้รับอนุญาตจาก
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ และตามข้อ ๕ ของประกาศกรุงเทพมหานคร เร่ือง หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
การขออนญุ าตใช้ทางเทา้ สาธารณะ ลงวนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗ อีกท้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้า
เป็นรูปส่ีเหล่ียมทรงกระบอกมีเหล่ียมมุมแหลมคม เมื่อวัดจากพื้นทางเท้าถึงมุมด้านบนของตู้
จะมคี วามสูงเพยี ง ๑๖๑ เซนติเมตร จึงไม่เป็นไปตามข้อ ๖ และข้อ ๘ ของประกาศกรุงเทพมหานคร
ฉบับดังกล่าว ซึ่งการติดตั้งตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าว ทาให้ผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นผู้พิการทางสายตา
ได้เดินสะดุดฐานรองรับตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าที่พิพาทล้มลง ใบหน้ากระแทกกับตู้มิเตอร์
วดั แรงดันน้าได้รับบาดเจ็บบริเวณดวงตาเป็นแผลแตกและบริเวณใบหน้าเป็นรอยฟกช้า จึงเห็นว่า
ตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวเกิดจากการติดต้ังของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ที่ไม่เป็นไปตามแบบที่
ได้รับอนุญาตจากผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ และตามประกาศกรุงเทพมหานครฉบับเดียวกัน และเมื่อ
พิจารณาสภาพการติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าว ซึ่งอยู่ในตาแหน่งแนวอาคาร ประชิด
ขอบทางเดินเท้าด้านในและประชิดแนวทางเดินของผู้พิการทางสายตา ซ่ึงอาจทาให้เกิด

แนวทางการปฏิบตั ิราชการจากค�ำ วินิจฉยั ของศาลปกครองสูงสุด ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

3๓1๑

อันตรายแก่ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ซึ่งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าท่ีในการจัดทา
บริการสาธารณะเพื่อดูแลพื้นที่เมืองหลวงของประเทศซึ่งเป็นมหานครขนาดใหญ่ โดยมีหน้าที่
จัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า ทางระบายน้า และการดูแลรักษาท่ีสาธารณะเพื่อให้มี
ความสะดวกและปลอดภัยแก่ราษฎรท่ีใช้ในการสัญจรตามปกติวิสัย เม่ือผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑
ก่อสร้างและติดตั้งตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าและบ่อพักมิเตอร์วัดแรงดันน้าท่ีเกิดเหตุไม่ชอบ
ด้วยหลักเกณฑ์ที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ กาหนดไว้ในคาขออนุญาต ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ย่อมมีหน้าที่
ท่ีต้องตรวจสอบดูแลให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่กาหนดไว้
แตผ่ ้ถู กู ฟอ้ งคดที ี่ ๒ กลับปล่อยให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ติดต้ังตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าพิพาทตั้งแต่วันที่
๑๙ มกราคม ๒๕๕๐ จนถึงวันท่ีผู้ฟ้องคดีเดินสะดุดตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวในวันท่ี ๒๐
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ เป็นเวลา ๒ ปีกว่า โดยมิได้ดูแลและบารุงรักษาตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้า
ดังกล่าวให้อยู่ในสภาพที่สามารถใช้การได้ โดยไม่ก่อให้เกิดภยันตรายต่อชีวิต ร่างกาย
และทรัพยส์ นิ ของประชาชนผู้สัญจรไปมา ตามมาตรา ๘๙ (๖) ๔๕ และ (๑๐) ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ จึงถือได้ว่าผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ละเลย
ต่อหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ การที่ผู้ฟ้องคดีเดินสะดุดตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้า
ต้องรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกายของผู้ฟ้องคดี จึงเป็นผลโดยตรง
จากการละเลยต่อหน้าท่ีของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ และเม่ือการก่อสร้างดังกล่าวไม่เป็นไปตาม
ขอ้ กาหนดของประกาศกรงุ เทพมหานคร เรอ่ื ง หลักเกณฑ์และเง่ือนไขการขออนุญาตใช้ทางเท้า
สาธารณะ ลงวันท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗ แม้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ กล่าวอ้างว่าได้ใช้ตะแกรงเหล็ก
ล้อมรอบตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวเมื่อกลางเดือนเมษายน ๒๕๕๒ แล้ว และสานักงานเขต
วังทองหลางจะปรับแนวทางเดินผู้พิการทางสายตาไม่ให้ประชิดตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าพิพาท
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ จึงไม่จาต้องย้ายตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าออกจากบริเวณดังกล่าวแต่อย่างใดน้ัน
ก็ไม่ทาให้การติดตั้งตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าดังกล่าวเป็นไปตามประกาศกรุงเทพมหานครดังกล่าว

๔๕-๔๖ พระราชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา ๘๙ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายอ่ืน ให้กรุงเทพมหานครมีอานาจหน้าท่ีดาเนิน
กิจการในเขตกรุงเทพมหานครในเรอ่ื งดงั ต่อไปนี้

ฯลฯ ฯลฯ
(๖) การจดั ให้มีและบารุงรกั ษาทางบก ทางนา้ และทางระบายน้า

ฯลฯ ฯลฯ
(๑๐) การดูแลรกั ษาทส่ี าธารณะ

ฯลฯ ฯลฯ

แนวทางการปฏิบัตริ าชการจากคำ�วนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สดุ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

3๓2๒

อีกทั้ง แม้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ จะกล่าวอ้างว่าการร้ือถอนตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์
ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ทาให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ได้รับความเสียหายโดยต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็น
จานวนเงินหลายแสนบาท แต่ความเสียหายของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ นั้น ก็ไม่อาจเทียบได้กับ
ความเดือดร้อนเสียหายของปัจเจกบุคคลที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการท่ีไม่ปฏิบัติ
ตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการท่ีกาหนดไว้เพ่ือประโยชน์สาธารณะ ท่ีศาลปกครองชั้นต้น
พพิ ากษาในสว่ นท่ีให้ผ้ถู ูกฟอ้ งคดีที่ ๒ ดาเนินการรื้อถอนตู้มิเตอร์วัดแรงดันน้าออกไป ทั้งนี้ ภายใน
๖๐ วัน นบั แต่วันทค่ี ดีถงึ ที่สดุ น้นั ชอบแลว้ (คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๖๔/๒๕๕๘)

(๓) เจ้าพนักงานท่ีดินมีหน้าท่ีเสนอรายงานพร้อมความเห็นต่ออธิบดี
กรมที่ดินเพื่อพิจารณาส่ังการ กรณีมีการออกโฉนดที่ดินโดยคลาดเคลื่อน
หรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย

เมื่อความปรากฏแก่เจ้าพนักงานที่ดินไม่ว่าจะโดยวิธีการร้องเรียน
ขอความเป็นธรรม หรือเกิดจากการตรวจพบเองว่ามีการออกโฉนดท่ีดินโดยคลาดเคล่ือน
หรอื ไมช่ อบด้วยกฎหมาย เจ้าพนักงานท่ีดินในฐานะผู้มีอานาจหน้าที่ออกโฉนดท่ีดินมีหน้าท่ี
ต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานในเบื้องต้นและรายงานข้อเท็จจริง
พร้อมท้ังให้ความเห็นต่ออธิบดีกรมที่ดินว่าหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินดังกล่าวได้ออกไป
โดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ อย่างไร และควรพิจารณาดาเนินการ
ประการใด เพื่อให้อธิบดีกรมที่ดินพิจารณาโดยไม่จาเป็นต้องรับฟังให้ข้อเท็จจริงเป็นท่ียุติ
โดยปราศจากข้อสงสัยก่อนว่ามีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับร องการทาประโยชน์
โดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย การท่ีเจ้าพนักงานที่ดินไม่ดาเนินการดังกล่าว
จึงเป็นการละเลยตอ่ หนา้ ทตี่ ามทกี่ ฎหมายกาหนดใหต้ ้องปฏบิ ตั ิ

ผู้ฟ้องคดีย่ืนคาขอออกโฉนดท่ีดินเป็นการเฉพาะรายต่อผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑
(เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดอุบลราชธานี สาขาวารินชาราบ) โดยอาศัยหลักฐานใบจอง (น.ส.๒)
เลขที่ ๑๘๔ ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี แต่เม่ือผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑
ตรวจสอบระวางแผนท่ี ปรากฏว่าได้มีการออกโฉนดท่ีดินให้กับบุคคลอื่นเต็มพ้ืนที่ดังกล่าวแล้ว
ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าตนเองเป็นผู้มีสิทธิในท่ีดินดังกล่าว จึงนาคดีมาฟ้องขอให้ศาลมีคาพิพากษา
หรือคาส่ังให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๑ ตรวจสอบและเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกทับใบจองของผู้ฟ้องคดี
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และส่งเรื่องไปให้กรมที่ดินพิจารณาตามประมวลกฎหมายท่ีดิน

แนวทางการปฏบิ ตั ิราชการจากคำ�วนิ จิ ฉัยของศาลปกครองสูงสดุ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

3๓3๓

ภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรต่อไป ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า เม่ือความปรากฏแก่
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ไม่ว่าจะปรากฏจากเหตุใดหรือทางใด เช่น โดยวิธีการร้องเรียนขอความเป็นธรรม
หรอื เกิดจากการตรวจพบเองว่ามีการออกโฉนดที่ดินโดยคลาดเคล่ือนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ถกู ฟอ้ งคดที ี่ ๑ ในฐานะผมู้ ีอานาจหนา้ ที่ออกโฉนดทดี่ นิ ตามมาตรา ๕๗ วรรคหน่ึง๔๗ แหง่ ประมวล
กฎหมายทด่ี นิ จึงมีหน้าทีต่ ้องดาเนินการตามมาตรา ๖๑๔๘ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ประกอบกับ
หนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท ๐๗๒๙.๒/ว ๒๑๑๗๙ ลงวันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๕๔๙ ที่ได้วางแนวทางปฏิบัติ

๔๗-๔๘ ประมวลกฎหมายท่ีดนิ
มาตรา ๕๗ โฉนดที่ดินและหนังสือรับรองการทาประโยชน์ ให้มีข้อความสาคัญ
ดังต่อไปน้ี ช่ือตัว ชื่อสกุล ท่ีอยู่ของผู้มีสิทธิในที่ดิน ตาแหน่งที่ดิน จานวนเนื้อท่ี รูปแผนท่ีของที่ดินแปลงนั้น
ซ่ึงแสดงเขตข้างเคียงท้ังสี่ทิศ ให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา หรือเจ้าพนักงานที่ดิน
ซึ่งอธิบดีมอบหมาย เป็นผู้ลงลายมือชื่อ และประทับตราประจาตาแหน่งของเจ้าพนักงานที่ดินเป็นสาคัญ
กบั ให้มสี ารบัญสาหรบั จดทะเบียนไว้ด้วย

ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๖๑ เมื่อความปรากฏว่าได้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์
หรือได้จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ หรือจดแจ้งเอกสารรายการจดทะเบียน
อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้ใดโดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย
ซง่ึ ดารงตาแหน่งรองอธิบดีหรือผู้ตรวจราชการกรมทีด่ นิ มีอานาจหน้าท่ีสง่ั เพิกถอนหรือแก้ไขได้
ก่อนท่ีจะดาเนินการตามวรรคหน่ึง ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายตามวรรคหน่ึง
ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนขึ้นคณะหนงึ่ โดยมอี านาจเรยี กโฉนดท่ีดนิ หนังสือรบั รองการทาประโยชน์ เอกสาร
ที่ได้จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เอกสารที่ได้จดแจ้งรายการทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ หรือเอกสารอื่น
ที่เกย่ี วข้องมาพิจารณา พรอ้ มทง้ั แจง้ ใหผ้ มู้ ีส่วนได้เสยี ทราบเพือ่ ให้โอกาสคัดค้าน ถ้าไม่คัดค้านภายในกาหนด
สามสิบวันนับแตว่ นั ท่ไี ดร้ ับแจง้ ให้ถือว่าไม่มีการคดั ค้าน

ฯลฯ ฯลฯ
การต้งั คณะกรรมการสอบสวน การสอบสวน การแจ้งผู้มสี ่วนได้เสยี เพ่ือให้โอกาสคัดค้าน
และการพจิ ารณาเพกิ ถอนหรือแกไ้ ข ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ทกี่ าหนดในกฎกระทรวง
๔๙ หนังสือกรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๗๒๙.๒/ว ๒๑๑๗๙ ลงวันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๕ วางแนวทาง
ปฏิบตั ิเพอื่ ดาเนินการตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ ดังน้ี
(๑) ให้จังหวัดสอบสวนข้อเท็จจริงให้ได้ความโดยชัดเจน และจัดส่งเอกสารหลักฐาน
ประกอบการพิจารณาว่า โฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์แปลงใดได้ออกไปโดยคลาดเคลื่อน
หรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย อย่างไร โดยมีรายละเอียดเก่ียวกับหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินดังกล่าวว่าออกให้แก่ผู้ใด

(มตี ่อหนา้ ถดั ไป)

แนวทางการปฏิบตั ริ าชการจากค�ำ วินจิ ฉยั ของศาลปกครองสูงสุด ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘


Click to View FlipBook Version