The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเรื่อง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการทำงาน วิลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-10 11:08:35

รายงานเรื่อง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการทำงาน วิลัย

รายงานเรื่อง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการทำงาน วิลัย

รายงานเรือ่ ง การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยใี นการทางาน

จดั ทาโดย
นางสาวลลิตา เรอื งศิริ
แผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ปวช.3/2

เสนอ
อาจารย์เอือ้ มเดือน ผสมทรัพย์

คานา

รายงานน้ีจดั ทาข้ึนเพอ่ื เป็นส่วนหน่ึงของวชิ า ฝึกงาน ช้นั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพ ปี ท่ี 3 เพอื่ ให้ไดศ้ ึกษาหาคามรู้ในเรื่อง การพฒั นาบุคลิกภาพในการทางาน และ
ไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจ เพ่ือเป็น ประโยชนก์ บั การเรียนผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็น
ประโยชน์กบั ผอู้ า่ น หรือนกั เรียน นกั ศกึ ษา ที่กาลงั หา ขอ้ มูลในเรื่องน้ีอยู่ หากมี
ขอ้ เสนอแนะ หรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไว้ และขออภยั มา

ณ ท่ีน้ีดว้ ย

สารบัญ หนา้

เร่ือง ก

คานา 1
สารบญั 2
เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3
ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4
ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5
ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 6
การเปล่ียนแปลงเศรษฐกิจ สงั คมและเทคโนโลยี 7
เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ 9
คุณลกั ษณะของสารสนเทศท่ีดี 10
ลกั ษณะของความรู้ 12
การประยกุ ตใ์ ชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศในงานดา้ นต่าง ๆ 13
เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การพฒั นาสังคมมนุษย์ 14
ขอ้ ดีและขอ้ เสียของเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีมีต่อสงั คมมนุษย์
เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การเรียนรู้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ

นบั ต้งั แตไ่ ดม้ ีการนาเครื่องจกั รเขา้ มาช่วยในโรงงานอตุ สาหกรรม ส่งผล
ให้ผลผลิตมีจานวนมากและผลกาไรท่ีดีข้ึน ประชาชนเร่ิมเขา้ ไปประกอบอาชีพใน
โรงงานมากข้ึนเร่ือย ๆต่อมาเมื่อมีการผลิตคอมพิวเตอร์และไดม้ ีการนาประยกุ ตใ์ ชใ้ น
สานกั งานและโรงงานอยา่ งแพร่หลาย องคก์ รและพนกั งานไดร้ ับความสะดวก ลดเวลา
ในการทางานและคา่ ใชจ้ ่ายไปไดม้ าก อีกท้งั ทกุ คนพอใจกบั งานที่ทา เมื่อมีการนา
เทคโนโลยกี ารติดตอ่ สื่อสารผนวกรวมเป็นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส่งผลใหเ้ กิดการ
เปล่ียนแปลงอยา่ งมหาศาล สินคา้ หรือบริการไดม้ ีการอา้ งอิงขอ้ มูลเพอ่ื ตอบสนองความ
ตอ้ งการของผใู้ ชอ้ ยา่ งแทจ้ ริง ตลอดจนลดขอ้ จากดั ตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็นเรื่องสถานที่ใน
เมืองหรือชนบท เวลาและโอกาสท่ีทกุ คนสามารถแสวงหาความรู้ความตอ้ งการต่าง ๆ
ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและเหมาะสม ทาใหท้ กุ คนสามารถประกอบอาชีพ ศึกษาหาความรู้
และนนั ทนาการไดด้ ว้ ยสื่อและแหล่งเรียนรู้ทางไกลจากภายในและนอกประเทศได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตามศกั ยภาพของผสู้ นใจ

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

คาวา่ "เทคโนโลย"ี มีรากศพั ทม์ าจากภาษากรีก คือ คาว่า tech
หมายถงึ art และlogos หมายถงึ a study of เม่ือรวมเป็น technology จึงหมายถงึ a
study of artพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ไดน้ ิยามความหมาย
ของคาวา่ "เทคโนโลย"ี วา่ เป็นวิทยาการท่ีเก่ียวกบั ศิลปะในการนาเอา
วทิ ยาศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ช้ ใหเ้ กิดประโยชน์ในทางปฏิบตั ิและอตุ สาหกรรม
สรุปไดว้ า่ เทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์หรือความรู้
ดา้ นอ่ืน ๆ ท่ีไดจ้ ดั ระเบียบดีแลว้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นดา้ นใดดา้ นหน่ึง เพ่อื ใหง้ าน
น้นั มีความสามารถและประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึนส่วนสารสนเทศตรงกบั คาว่า
information หมายถึง ขอ้ มูลทีผ่ า่ นกระบวนการเกบ็ รวบรวมและเรียบเรียง เพอื่ ใช้
เป็นแหลง่ ขอ้ มูลทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อผใู้ ช้

ความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศไดม้ ีการพฒั นาใหก้ า้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็ว อนั
เป็นประโยชนต์ ่องานสารสนเทศอยา่ งมาก และมีต่อวทิ ยาการดา้ นอนื่ ๆ ได้
นาไปประยกุ ตแ์ ละพฒั นาใหท้ นั ต่อสงั คม สารสนเทศ เพอื่ ใหท้ นั กระแสโลก
ยคุ ใหม่ ระบบต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่นการฝาก-ถอนเงินอตั โนมตั ิ (automatic
teller machine : ATM) ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(geographic
information system : GIS)

ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การจดั การสารสนเทศมากท่ีสุดคือ
เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ โดยมีการพฒั นาเป็นยคุ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี

1.ยคุ การประมวลผลขอ้ มลู (data processing era) เป็นยคุ แรก ๆ ของการใชร้ ะบบ
คอมพวิ เตอร์ วตั ถุประสงคช์ ่วงน้นั

2.ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ (management information system: MIS)เป็นยคุ ที่
มีการนาระบบ คอมพวิ เตอร์เขา้ มาช่วยในงานดา้ นการตดั สินใจ

3. ระบบจดั การทรัพยากรสารสนเทศ (information resource management system:
IRMS) เป็นการ เรียกใชส้ ารสนเทศ

4. ยคุ เทคโนโลยสี ารสนเทศ (information technology era) ในปัจจุบนั เทคโนโลยมี ี
ความเจริญอยา่ งรวดเร็ว

การเปลยี่ นแปลงเศรษฐกจิ สงั คมและ
เทคโนโลยี

จากอดีตจนถึงปัจจุบนั เศรษฐกิจ สงั คมและเทคโนโลยไี ดม้ ีการ
เปลี่ยนแปลงคร้ังสาคญั ตอ่ การดาเนินชีวิตของมนุษยเ์ รา เปรียบเสมือนคลื่นได้ 4 ระยะ
คล่ืนลูกท่ี 1 ยคุ เกษตรกรรม คลื่นลูกท่ี 2 ยคุ อุตสาหกรรม คลื่นลกู ที่ 3 ยคุ สารสนเทศ
คล่ืนลูกท่ี 4 ยคุ เทคโนโลยพี นั ธุวิศวกรรม
คล่ืนลกู ท่ี 1 ยคุ เกษตรกรรม เม่ือมนุษยร์ ู้จกั เพาะปลูกพชื และเล้ียงสตั วแ์ ทนการเกบ็ ของ
ป่ าและล่าสตั วต์ ามธรรมชาติ
คล่ืนลกู ที่ 2 ยคุ อุตสาหกรรม มีการนาเคร่ืองจกั รมาใชเ้ พ่อื ท่นุ แรงกาย โดยเฉพาะใน
โรงงานและเพอื่ การขนส่ง ทาใหม้ นุษยส์ ามารถผลิตสิ่งใหม่ ๆ ไดม้ าก
คลื่นลูกท่ี 3 ยคุ สารสนเทศ จากความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยดี ิจิตอลและคอมพิวเตอร์
ช่วยเพ่มิ ขีดความสามารถในการติดต่อส่ือสาร คานวณและแกป้ ัญหาต่าง ๆ
คล่ืนลกู ท่ี 4 ยคุ เทคโนโลยพี นั ธุวศิ วกรรม ดว้ ยความสามารถถอดรหสั พนั ธุกรรมได้
อนั จะส่งผลใหม้ นุษยส์ ามารถเปลี่ยนชิ้นส่วนของร่างกายได้ และการถอดร่างกาย
ออกเป็นหลาย ๆ คน (cloning)

เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์

เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์เป็นศาสตร์สาหรับการจดั การระบบ
สารสนเทศ เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ารสนเทศตามท่ตี อ้ งการอยา่ งถูกตอ้ ง รวดเร็ว และมี
ประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการคดั เลือกการจดั หา การวิเคราะห์เน้ือหาหรือ
สืบคน้ สารสนเทศโดยแต่ละกระบวนการตอ้ งอาศยั เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์
ดา้ นฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์นอกจากน้ีเราควรรู้จกั ขอ้ มูลและฐานความรู้ประกอบ
กนั ไปดว้ ย

1. ขอ้ มูล (data) คือ ขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั เหตุการณ์ ปรากฎการณ์ คน สิ่งของ
ฯลฯทเ่ี ราสนใจจะบนั ทึกเกบ็ ไวใ้ ชง้ าน

2. ฐานความรู้ (knowledge base) คือ สารสนเทศทไ่ี ดจ้ ดั เป็นโครงสร้างความรู้
ความเขา้ ใจ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญและตอ้ งมีคุณค่า เพือ่ แกไ้ ขปัญหาใน
การดาเนินงานต่าง ๆ ได้

คุณลักษณะของสารสนเทศทด่ี ี

สารสนเทศท่ีดียอ่ มนาไปสู่การตดั สินใจที่มีความผิดพลาดนอ้ ยที่สุด ช่วย
แกป้ ัญหาไดต้ รงจุดที่สุด และสามารถควบคุมคา่ ใชจ้ ่ายไดต้ ามงบประมาณที่กาหนด
ซ่ึงสารสนเทศตอ้ งมีคุณลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี

1. มีความถูกตอ้ ง (accurate) ขอ้ มลู ท่ีจะนาเขา้ ไปประมวลผลจะตอ้ งไม่มีขอ้ ผดิ พลาด
เพราะจะทาให้สารสนเทศผดิ พลาด (garbage in-garbage out : GIGO) ไปดว้ ย

2. มีความสมบรู ณ์ (complete) สารสนเทศตอ้ งมีขอ้ มลู ในส่วนสาคญั ครบถว้ น

3. มีความคุม้ ทุน (economical) สารสนเทศควรผา่ นกระบวนการที่ใชต้ น้ ทุนต่าเมื่อ
เทียบกบั ผลตอบแทน

4. มีความยดื หยนุ่ (flexible) สารสนเทศตอ้ งสามารถนาไปใชไ้ ดก้ บั ขอ้ มูลตา่ งๆ ได้
หลายกลุ่ม

5. มีความน่าเช่ือถือ (reliable) สารสนเทศอาจเกิดจากขอ้ มลู ท่ีมีการรวบรวมจากแหล่ง
ที่ควรเช่ือถือได้

6. ตรงประเด็น (relevant) สารสนเทศตอ้ งมีความสมั พนั ธ์กบั งานท่ีตอ้ งการ

7. มีความง่าย (simple) สารสนเทศควรมีลกั ษณะที่ไมซ่ บั ซอ้ น ง่ายตอ่ การทา

8. มีความเหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจุบนั (timely) สารสนเทศควรมีความทนั สมยั อยู่
ตลอดเวลา

9. สามารถตรวจสอบได้ (verifiable) สารสนเทศตอ้ งสามารถตรวจสอบความถูกตอ้ ง
รวมท้งั แหล่งที่มาได้

ลักษณะของความรู้

สมองของมนุษยเ์ กบ็ ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ดว้ ยประสาทสัมผสั ที่
ความละเอียดอ่อนเช่น การมองเห็นทีส่ ามารถแยกแยะรายละเอยี ดได้ การสร้าง
ประสบการณ์ การสร้างอารมณ์ความรู้สึก ตลอดจนสามญั สานึกบางอยา่ ง

1.ความรู้ทีย่ ากจะถ่ายทอด (tacit knowledge) เป็นความรู้ที่เกิดข้ึนจากประสาท
สมั ผสั และสร้างประสบการณ์ต่าง ๆ

2. ความรู้ท่ีสามารถเห็นไดช้ ดั (explicit knowledge) เป็นความรู้ทนี่ ามาเขียน
ถา่ ยทอดเป็นกฎเกณฑ์ สูตร สมการ หรือการแทนดว้ ยตวั หนงั สือ

3. ความรู้ภายในองคก์ รทเี่ ห็นไดช้ ดั (implicit knowledge) เป็นการสร้างองค์
ความรู้และประสบการณ์ข้ึนภายในองคก์ ร

การประยุกต์ใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในงานด้านต่าง ๆ

การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ จะมีลกั ษณะเป็นการประยกุ ตใ์ ช้ โดยเฉพาะ
สภาพสังคมมนุษยใ์ นปัจจบุ นั ที่ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นพ้นื ฐานการ
ปฎิบตั ิงานในดา้ นต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพแลประสิทธิผล ไดแ้ ก่

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานสานกั งาน ปัจจบุ นั ใน
สานกั งานไดม้ ีการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย เพ่ือ
อานวยความสะดวกรวดเร็ว ความถูกตอ้ งยิ่งข้ึน

.การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานดา้ นการเงิน และการ
พาณิชยห์ รือสถาบนั ทางการเงิน เช่น มาการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในบริการฝาก-
ถอนเงินอตั โนมตั ิสาหรับธนาคารเป็นการเพ่มิ ความสะดวกใน ดา้ นระบบการเงินใน
บญั ชี

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานดา้ นการให้บริการการสื่อสาร
ไดแ้ ก่ การบริการโทรศพั ท์ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี วิทยุ โทรทศั น์ ตลอดจนการคน้ คืน
สารสนเทศระบบออนไลน์ ดาวเทียม

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การศึกษาและฝึกอบรม
การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการศึกษาน้นั

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการงานดา้ นการ
สาธารณสุข ในดา้ นการสาธารณสุขกม็ ีการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศไปใชใ้ นหลาย ๆ
ดา้ น

เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการพฒั นาสังคม

มนุษย์

ปัจจุบนั สงั คมมนุษยไ์ ดพ้ ฒั นาจนถึงสงั คมยคุ สารสนเทศ การรู้จกั ใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม สามารถกระจายโอกาส กระจาย
ความเจริญและสร้างงานในชนบท ลดปัญหาการจราจร สร้างโอกาสในการศึกษา
สร้างความทดั เทียมกนั ในการเรียนรู้จะเห็นไดว้ า่ เทคโนโลยสี ารสนเทศมีบทบาทและ
ความสมั พนั ธ์ในการพฒั นาสงั คมมนุษยไ์ ดม้ ากทาใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ สงั คมมนุษยใ์ น
แง่ตา่ ง ๆ

1. ผลกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกิจ

เทคโนโลยสี ่วนมากจะพฒั นาเพ่ือความตอ้ งการทางดา้ นการคา้ และการลงทนุ จึง
ทาให้เกิดระบบตา่ ง ๆ เพ่ือที่จะสามารถใหบ้ ริการ จดั ส่งสินคา้ ให้ลูกคา้ อยา่ งรวดเร็ว
ไดแ้ ก่รหสั แท่ง ระบบแลกเปลี่ยนขอ้ อิเลก็ ทรอนิกส์ (electronic data interchange :
EDI) หรือทางด่วนขอ้ มูล (informa tion superhighway)

2. ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อม

เทคโนโลยสี ารสนเทศมิไดส้ ่งผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มโดยตรง แตเ่ ป็นปัจจยั
ท่ีก่อใหเ้ กิดความกา้ วหนา้ ในเทคโนโลยที ่ีเก่ียวขอ้ งอื่น ๆ ที่กระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม แต่
บางคร้ังก็ช่วยทาให้ส่ิงแวดลอ้ ม ดีข้ึน

3. ผลกระทบตอ่ สังคมและชีวิต

เทคโนโลยสี ารสนเทศจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของมนุษย์ โดยทา
ใหอ้ าชีพบางอาชีพตอ้ งเลิกไป

4. ผลกระทบต่อการศกึ ษาและการเรียนรู้

เทคโนโลยสี ารสนเทศจะทาใหเ้ กิดช่องวา่ งระหวา่ งคนจนและคนรวยในการ
เรียนรู้ สร้างโอกาสในการศึกษา

ข้อดแี ละข้อเสียของเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
มตี อ่ สงั คมมนุษย์

โดยทว่ั ๆ ไป ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทาใหเ้ กิดแนวคิด ท่ีเหมาะสมกบั
เวลาสถานที่กบั ความเป็นจริง เทคโนโลยสี ารสนเทศจึงทาใหเ้ กิดขอ้ ดีและขอ้ เสียตอ่
สงั คมมนุษยด์ งั น้ี

ข้อดขี องเทคโนโลยสี ารสนเทศ
1. เพิ่มประสิทธิภาพ (efficiency) ในการทางานและประกอบอาชีพ
2. เพม่ิ ประสิทธิผล (effectiveness) ใหอ้ งคก์ ร
3. เพิม่ คุณภาพดา้ นการบริการแก่ลูกคา้ (customer service)

ข้อเสียของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
1. เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาให้เกิดช่องวา่ งระหวา่ งคนจนกบั คนรวยมากยงิ่ ข้ึน
2. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นการลงทนุ ที่ใชต้ น้ ทุนสูง ไมว่ า่ จะเป็น
คา่ ใชจ้ า่ ยในการซ้ืออุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือ จดั หาซอฟตแ์ วร์ ตลอดจนการฝึกอบรม
3. ดว้ ยการเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาให้ระบบท่ีพฒั นาตอ้ ง
ปรับตามเพ่ือใหท้ นั สมยั ในการใชเ้ ทคโนโลยี

เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การเรยี นรู้

การศึกษาเป็นเป้าหมายสาคญั ของประเทศพฒั นาแลว้ และประเทศกาลงั
พฒั นาโดยใหก้ ารศึกษาต่อประชาชนในประเทศดว้ ยโลกแห่งเทคโนโลยี ซ่ึงเนน้ ไปท่ี
ปัจจยั ท่ีความรอบรู้ของคนในชาติกบั การสร้างสงั คมการเรียนรู้เพ่ือกา้ วไปสู่แหล่ง
ความรู้โลก (worldknowledge) เนน้ การเรียนรู้ให้ไดม้ าก ๆ รวดเร็ว ใชเ้ วลานอ้ ย ตน้ ทนุ
ต่าและมีบทบาทท่ีสาคญั การปฎิบตั ิรูปและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศกบั
การเรียน

1. เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต (Internet) อินเทอร์เน็ตไดถ้ ูกนามาใชเ้ พื่อการเรียนรู้จาก
โลกกวา้ ง สามารถรับรู้ความเคลื่อนไหวของเทคโนโลยี สงั คม การดารงชีวติ ของสงั คม
และชุมชนจากท่ีตา่ ง ๆ

2. หอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (electronic library) เป็นแหล่งหนงั สือ วารสาร และ
สิ่งพมิ พ์ เหมือนห้องสมดุ ในอดีต แตไ่ ดม้ ีการปรับส่ือที่ใชใ้ นการเกบ็ เน้ือหาส่ิงพิมพ์
ต่าง ๆเหล่าน้นั ให้อยใู่ นรูปของอิเลก็ ทรอนิกส์

3. ห้องเรียนเสมือน (virtual classroom) ผเู้ รียนไมต่ อ้ งเดินทางเพียงแตเ่ รียนผา่ น
เครือขา่ ยตามกาหนดเวลา เพ่อื เขา้ ห้องเรียนและเรียนไดแ้ มจ้ ะอยทู่ ่ีใดในโลก

4. การเรียนการสอนดว้ ยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (electronic learning) ผสู้ อน
จดั เตรียมเน้ือหาไวบ้ นระบบเครือข่ายท่ีอาจจะเป็นส่ิงพมิ พห์ รือสื่อประสมตา่ ง ๆ

5. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (electronic book) เป็นหนงั สือท่ีประกอบดว้ ยเน้ือหา
ความรู้ท่ีนามาจากหนงั สือที่เป็นเล่ม (กระดาษ) มาแปลงอยใู่ นรูปอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึง
สามารถศึกษาและพกพา ไปยงั ท่ีตา่ ง ๆ ไดส้ ะดวก

เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นคลืน่ ลูกที่ 3 ซ่ึงเป็นการนาเทคโนโลยี
มาใชง้ านทีเ่ ก่ียวกบั การประมวลผลขอ้ มูลเพื่อใหไ้ ดส้ ารสนเทศ ท้งั น้ี
สารสนเทศตอ้ งมีคุณลกั ษณะท่ดี ีท่จี ะนาไปสู่การตดั สินใจทม่ี ีความผดิ พลาด
นอ้ ยท่ีสุดและแกป้ ัญหาไดต้ รงจุดดว้ ย หากมองดูรอบ ๆ ตวั เราจะพบว่ามีการ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยตู่ ลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการใชค้ อมพิวเตอร์เพ่ือ
การพมิ พเ์ อกสาร จดั เกบ็ ขอ้ มูล มีการส่งไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ระหวา่ งเพื่อน
หรือสมาชิก การศึกษาหาความรู้ผา่ นเครือข่ายขององคก์ ร การฝาก-ถอนเงิน
อตั โนมตั ิที่สามารถทางานตลอดเวลา การจบั จ่ายใชส้ อย ซ้ือสินคา้ อุปโภค
บริโภคตามร้านคา้ ยคุ ใหม่ หรือการเรียนการสอนทีม่ ีความหลากหลายต้งั แต่ใน
ช้นั เรียน เรียนผา่ นส่ือคอมพวิ เตอร์และการเรียนทางไกล

อา้ งอิง

https://sites.google.com/site/chaleamkwanjainannnane/home/thekhnoloyi-
khxmphiwtexr/khunlaksna-khxng-sarsnthes-thi-di/thekhnoloyi-
thorkhmnakhm/khwam-sakhay-khxng-thekhnoloyi-sarsnthes/wiwathnakar-khxng-
thekhnoloyi-sarsnthes/rabb-thekhnoloyi-sarsnthes/kar-prayukt-chi-ngan-thekhnoloyi-
sarsnthes-ni-ngan-dan-tang


Click to View FlipBook Version