The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by medsiam2563, 2022-12-23 14:22:58

e-bookรายงานประจำปี คณะแพทยศาสตร์ ม.สยาม

e-bookรายงานประจำปี V1

Keywords: รายงานประจำ

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

1

รายงานประจำ�ปี I 2564

คณะแพทยศาสตร์ | มหาวิทยาลยั สยาม
Faculty of Medicine Siam University

2

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

“ขอใหถ้ อื ประโยชนส์ ว่ นตน เปน็ ท่สี อง
ประโยชนข์ องเพ่ือนมนษุ ย์ เปน็ กิจทีห่ นง่ึ
ลาภทรัพยแ์ ละเกียรตยิ ศ จะตกแกท่ า่ นเอง
ถ้าทา่ นทรงธรรมะแหง่ อาชีพไว้ ใหบ้ ริสุทธ์ิ”
“อาชีพแพทยน์ นั้ มีเกยี รติ แพทยท์ ดี่ ีจะไม่รำ่� รวย แตไ่ มอ่ ดตาย
ถ้าใครอยากรำ�่ รวยก็ควรเป็นอยา่ งอืน่ ไม่ใช่แพทย์
อาชพี แพทย์นัน้ จ�ำต้องยึดมน่ั ในอุดมคติ เมตตากรุณาคณุ ”
“True success is not the learning, but in its application to the benefit of mankind”
พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปจั จุบันของไทย
พระราชด�ำรัส องค์สมเด็จพระราชบิดา

3

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

สารบัญ 5
6
สารจากคณบดี 7
ปณิธาน วสิ ยั ทัศน์ คา่ นยิ ม และพันธกจิ 9
โครงสรา้ งองคก์ ร 13
เร่ิมตน้ …สู่ปัจจุบัน 17
ทำ�เนยี บคณบดี 25
ผลดำ�เนินงานตามพันธกิจ 35
ฝา่ ยวิชาการ 43
ฝา่ ยกิจการนักศึกษา 50
ฝา่ ยวจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ 55
ฝ่ายนโยบายและแผน 58
ผลงานเสรมิ สร้างพันธกิจ 61
การสร้างความรว่ มมือทางวิชาการ

และวเิ ทศสัมพนั ธ์
การทำ�นุบำ�รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
การประชาสมั พันธแ์ ละสอ่ื สารองค์กร
ผลงานเด่นของคณาจารย์และนักศกึ ษา

4

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

สารจากคณบดี

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม สถาปนาขึ้นเมื่อ วันท่ี 17
กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2553 นับเป็นเป็นสถาบนั ผลติ แพทยท์ จี่ ดั ตงั้ ขนึ้ เปน็ ลำ�ดับที่ 21 ของ
ประเทศ โดยเป็นสถาบันผลิตแพทย์สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งที่ 2 ท่ีเกิดข้ึนจาก
ความรว่ มมอื ในการผลติ แพทยร์ ว่ มกบั โรงพยาบาลตำ�รวจ ซงึ่ ตอ่ มาไดเ้ ปลย่ี นเปน็ คคู่ วาม
รว่ มมอื กบั โรงพยาบาลพระนง่ั เกลา้ จงั หวดั นนทบรุ ี สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข และ
ได้ผลติ บัณฑิตแพทย์ท่สี ำ�เร็จการศกึ ษาไปแลว้ 4 รุ่น รวมจำ�นวน 144 คน ในจำ�นวนน้ี
รอ้ ยละ 97.7 กำ�ลงั ปฏบิ ตั งิ านในองคก์ รภาครฐั สะทอ้ นถงึ การบรรลคุ วามตง้ั ใจของผกู้ อ่
ตง้ั คณะแพทยแ์ หง่ น้ี ทตี่ อ้ งการสนบั สนนุ การแกไ้ ขปญั หาขาดแคลนแพทยข์ องไทย นบั
เปน็ ความสำ�เรจ็ ทน่ี า่ ภาคภมู ใิ จในการดำ�เนนิ งานของคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
สยาม ดังนั้น เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้สนใจได้รับทราบการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนาที่ยิ่ง ๆ ขึ้นไปของคณะฯ คณะกรรมการบริหารคณะ ได้ดำ�ริท่ีจะจัดทำ�
รายงานประจำ�ปี 2564 เป็นฉบับแรกต้งั แตก่ ่อตัง้ คณะฯ ผมขอขอบคุณคณะกรรมการจัดทำ�รายงานประจำ�ปี ทไี่ ด้
รวบรวมผลงานคณะฯ ในรอบปที ผ่ี า่ นมา ซง่ึ สว่ นหนงึ่ เปน็ ผลงานทเี่ กดิ จากผบู้ รหิ าร คณาจารยแ์ ละเจา้ หนา้ ทใ่ี นอดตี
ท่ไี ดว้ างรากฐานไว้อยา่ งดยี ง่ิ จนคณะฯสามารถต้งั หลกั ได้รับการรบั รองจากสภามหาวทิ ยาลัย ได้รับการรบั รอง
จากแพทยสภา และได้รบั การยอมรับจากประชาชนและสังคม จนมีจำ�นวนผู้สมคั รเข้าศกึ ษาตอ่ ในหลักสูตรแพทย
ศาสตรบณั ฑิตที่รบั ไดค้ รบจำ�นวนตามเป้าหมายทุกปีมาตลอด
คณะแพทยศาสตร์ เป็นคณะท่ีได้รับการคาดหวังจากมหาวิทยาลัยและสังคม ในการผลิตแพทย์
ท่ีมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมทางการแพทย์ ร่วมทำ�ประโยชน์แก่
สังคมโดยรวม จึงจำ�เป็นท่ีจะต้องพัฒนาศักยภาพในทุกๆ ด้าน เพื่อวางรากฐานให้บุคลากร นักศึกษาและ
บัณฑิตแพทย์มีความรู้ความเช่ียวชาญ มีความเป็นผู้นำ� ใฝ่เรียนรู้ตลอดจนความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความ
เป็นสากล เพ่ือพร้อมที่จะร่วมกันผลักดันคณะแพทยศาสตร์ให้ก้าวเดินไปข้างหน้าได้อย่างม่ันคงและยั่งยืน
รายงานประจำ�ปีฉบับน้ี ได้รวบรวมผลงานในด้านต่าง ๆ นำ�เสนอผลงานที่โดดเด่น รวมท้ังผลงานที่ยังมี
โอกาสพฒั นาให้ดขี ึ้น ๆ ตอ่ ไป หวงั วา่ จะเป็นประโยชนก์ บั ทุกทา่ นทีใ่ หค้ วามสนใจตดิ ตาม สดุ ทา้ ยน้ขี อขอบคณุ คณะ
กรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั สยาม ศนู ยแ์ พทยศาสตรช์ น้ั คลนิ กิ ผบู้ รหิ ารและคณาจารยโ์ รงพยาบาลพระนงั่ เกลา้ ท่ี
ไดร้ ว่ มสนบั สนนุ และรว่ มสร้างผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมทัง้ ในปัจจบุ นั และในอนาคต

ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทย์สุวัฒน์ เบญจพลพิทกั ษ์
คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
พฤศจิกายน 2565

5

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

ปณิธาน

“มุ่งผลติ บณั ทิตแพทย์ท่ีมีภาวะผูน้ �ำ เพ่อื พฒั นาสงั คม”

วสิ ัยทศั น์

“เปน็ คณะแพทยช์ ัน้ นำ�ในดา้ นการผลติ บัณฑิตท่มี ภี าวะผูน้ าํ และทําประโยชน์เพื่อสงั คม”

ค่านิยม

IR3 : I = Integrity, R = Respect, Responsibility, Resilience

พันธกิจ

6

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

โครงสร้างองค์กร

Department of Basic Medical Sciences

7

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

8

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

เร่มิ ตน้ ....สูป่ จั จบุ นั

คณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั สยามเกิดจากกลุ่ม ดร.เสาวณีย์ รัตนพานี และอ.สุดจิตร เมืองเกษม
แพทย์ที่มีประสบการณ์สูงทั้งด้านการเรียนการสอนใน ไปศึกษาความเป็นไปได้ในการด�ำเนินการจัดต้ัง
โรงเรยี นแพทยช์ น้ั นำ� ของประเทศและประสบความสำ� เรจ็ คณะแพทยศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เสาวณีย์
อย่างสูงในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ท่านเหล่านี้มี รัตนพานี และ อ.สุดจิตร เมืองเกษม จึงได้จัดท�ำกรอบ
ประสบการณ์ตรงเก่ียวกับปัญหาการขาดแคลนแพทย์ที่ แนวคิด (concept paper) เพื่อขออนุมัติเปิดด�ำเนิน
มีคุณภาพทั้งในภาครัฐและภาคเอกชนโดยเฉพาะอย่าง การหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตต่อสภามหาวิทยาลัย
ย่ิงเม่ือประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สยามและได้รับความเห็นชอบในการประชุมคร้ังที่
อย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ.2558 การเคล่ือนย้ายผู้ 1/2553 เม่ือวันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2553 “จึง
ประกอบวิชาชีพต่างๆ โดยเฉพาะผู้ประกอบวิชาชีพ ถือว่าวันที่ 17 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันคล้ายวัน
เวชกรรมจะสามารถเคล่อื นย้ายไดอ้ ย่างไรพ้ รมแดน รวม สถาปนาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม”
ถึงจะมีการเข้ามารับบริการทางการแพทย์ในประเทศ ใ น ร ะ ย ะ เ ริ่ ม ต ้ น โ ร ง พ ย า บ า ล ห ลั ก ห รื อ โ ร ง
มากข้ึน รัฐจึงต้องเตรียมความพร้อมโดยเฉพาะจ�ำนวน พยาบาลร่วมผลิต คือโรงพยาบาลต�ำรวจ โดย
บุคลากรทางการแพทย์ที่มีความสามารถ และเพียง พลต�ำรวจโท จงเจตน์ อาวเจนพงษ์ นายแพทย์
พอท่ีจะกระจายไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศเพื่อ ใหญ่(สบ8) โรงพยาบาลต�ำรวจ จึงมีการลงนามใน
รองรับและตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนใน บันทึกความร่วมมือ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553
เร็ววัน มหาวิทยาลัยสยามในฐานะสถาบันการศึกษา นอกจากน้ี ไดร้ บั ความอนเุ คราะหจ์ าก นายแพทยส์ หชาติ
ระดับอุดมศึกษาจึงตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการ พิพิธกุล เจ้ากรมแพทย์ทหารบก ด�ำเนินการขออนุญาต
แก้ปัญหาและพัฒนาประเทศในด้านการผลิตบุคลากร กองทัพบกให้วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าเป็น
ที่มีคุณภาพสู่สังคมมายาวนาน โดยระยะเร่ิมต้น นาย สถาบันพ่ีเลี้ยง ให้กับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
แพทย์บุญ วนาสิน ประธานบริษัทโรงพยาบาลธนบุรี สยามได้ส�ำเร็จ ขณะเดียวกัน นายแพทย์บุญ วนา
จำ� กดั (มหาชน) ไดส้ นบั สนนุ การกอ่ ตง้ั คณะแพทยศาสตร์ สิน ประธานบริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจ�ำกัด (มหาชน)
มหาวทิ ยาลยั สยามทง้ั ดา้ นทรพั ยากรบคุ คล อาคารสถาน ไ ด ้ ด� ำ เ นิ น ก า ร จั ด ต้ั ง มู ล นิ ธิ ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ตร์
ท่ีและทรัพยากรสนับสนุนทางด้านการศึกษา รวมทั้งได้ มหาวทิ ยาลัยสยาม ตามใบสำ� คญั แสดงการจดทะเบยี น
กอ่ ตงั้ มลู นธิ คิ ณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยามอกี ดว้ ย จัดตั้งมูลนิธิ ทะเบียนเลขท่ี กท2246 ให้ไว้ ณ วัน
นายแพทย์บุญ วนาสิน มอบให้รองศาสตราจารย์ ที่ 17 ตุลาคม 2555 ในขณะที่ด�ำเนินการประสาน
ส่วนต่างๆ ข้างต้น รองศาสตราจารย์ ดร.เสาวณีย์
รัตนพานีและทีมงานก็ได้ด�ำเนินการพัฒนาหลักสูตร
แพทยศาสตรบณั ฑติ หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2555 ภายใต้
ค�ำแนะน�ำของศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์เฉลิม
วราวทิ ย์ ไปพรอ้ มกนั ดว้ ย เมอ่ื ดำ� เนนิ การไดค้ รบตามเกณฑ์
แพทยสภาแล้ว จึงยื่นขอเปิดด�ำเนินการหลักสูตรต่อที่

9

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ประชมุ สภามหาวทิ ยาลยั สยามและแพทยสภาตามลำ�ดบั งานระหว่างมหาวิทยาลัยสยามกับกระทรวงสาธารณสุข
ต่อมา คณะกรรมการแพทยสภาในการประชุมครั้งท่ี เม่ือวันท่ี 20 เมษายน 2559 จึงทำ�ให้นักศึกษาแพทย์
7/2555 เมื่อวันท่ี 12 กรกฎาคม 2555 ให้การรับรอง รุ่นแรกได้ไปเรียนชั้นปีที่ 4 และฝึกปฏิบัติงานท่ี
หลกั สูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสตู รใหม่ พ.ศ.2555) โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ในเดือนพฤษภาคม 2559
ของคณะแพทศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม โดยแพทยสภา เป็นต้นมา พร้อมนี้ แพทยสภาแนะนำ�ให้คณะ
มหี นงั สอื ที่ พส 017/777 ลงวนั ที่ 17 สงิ หาคม 2555 แจง้ แพทยศาสตร์ ปรับปรุงหลักสูตรฯ เพื่อให้สอดคล้องกับ
ผลการพิจารณารับรองหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต บรบิ ทของโรงพยาบาลพระนงั่ เกลา้ ซงึ่ เนน้ การเปน็ ชมุ ชน
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2555 ให้เปดิ รับนักศกึ ษาจำ�นวน 48 เมืองและหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง
คน นบั เปน็ มหาวทิ ยาลยั เอกชนแหง่ ท่ี 2 ของประเทศไทย พ.ศ. 2559 ไดร้ บั การรบั รองจากแพทยสภาในการประชมุ
ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั หิ ลกั สตู รจากแพทยสภาและสำ�นกั งานคณะ คร้ังที่ 12/2559 เม่ือวันท่ี 8 ธันวาคม 2559 ให้ใช้กับ
กรรมการการอุดมศึกษา รับทราบการให้ความเห็นชอบ นกั ศึกษาแพทย์ที่รบั เข้าใหมใ่ นปกี ารศกึ ษา 2560 ตอ่ มา
หลักสตู ร เม่อื วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2556 จงึ ไม่ทนั ตอ่ การ ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ บนั ทกึ ขอ้ ตกลงเรอ่ื งความรว่ มมอื ในการ
เข้าร่วมรับนักศึกษาแพทย์ผ่านระบบของ กสพท. คณะ เป็นหน่วยงานฝึกปฏิบัติงานระหว่างมหาวิทยาลัยสยาม
แพทยศาสตร์ จึงประกาศรับสมัครบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ กับกระทรวงสาธารณสขุ ลงนามในบนั ทึกฯ เม่ือวนั ที่ 29
สมัครเข้าศึกษา ในคณะแพทยศาสตร์รุ่นแรก โดยวิธีรับ สงิ หาคม 2560 ณ ทำ�เนยี บองคมนตรี และหลงั จากมกี าร
ตรงทัง้ หมด 48 คน และเปิดภาคการศึกษาท่ี 1 ในเดอื น ทบทวนใหม่อีกคร้ังจนนำ�ไปสู่การลงนามในบันทึกข้อ
สงิ หาคม 2556 ปกี ารศึกษา 2556 จัดการเรยี นการสอน ตกลงใหม่ เม่ือวันที่ 6 กันยายน 2564 ต่อมามีการ
ทม่ี หาวทิ ยาลยั สยาม โดยมรี องศาสตราจารย์ นายแพทย์ ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง
ชูเกียรติ อัศวาณิชย์ เป็นรักษาการคณบดี และ พ.ศ. 2565 ใหส้ อดคลอ้ งตามเกณฑ์ TMC.WFME.BME.
ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์เฉลิม วราวิทย์ และ Standards (2021) และตามประกาศแพทยสภาที่
ศาสตราจารย์ เกียรติคุณนายแพทยอ์ มร ลลี ารัศมี เป็นท่ี 12/2560 เรื่องหลักเกณฑ์การขอเปิดดำ�เนินการ/
ปรึกษาต่อมา แพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำ�รวจแจ้งผ่านท่ี ปรับปรุงหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต และรับรอง
ประชมุ แพทยสภาวา่ ไมส่ ามารถรบั นกั ศกึ ษาแพทยข์ น้ึ ไป สถาบันผลิตแพทย์ พ.ศ. 2560 จากน้ันคณะกรรมการ
เรยี นชั้นปีที่ 4 ทีโ่ รงพยาบาลตำ�รวจ ในเดือน พฤษภาคม แพทยสภาแจ้งว่า ได้พิจารณาตามข้อสรุปของกลุ่ม
2559 (ปกี ารศึกษา 2559) ได้ คณะแพทยศาสตร์ จงึ ได้ สถาบนั แพทยศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย โดยสถาบนั รบั รอง
หารือกับนายแพทย์วิรุฬ พรพัฒน์กุล ผู้อำ�นวยการโรง มาตรฐานการศกึ ษาแพทย์ (สมพ.) แลว้ มมี ตดิ งั น้ี
พยาบาลพระนงั่ เกลา้ ณ ขณะนน้ั จงึ นำ�ไปสกู่ ารทำ�บนั ทกึ “เหน็ ชอบรบั รองมาตรฐานหลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ
ขอ้ ตกลงเรอื่ งความรว่ มมอื ในการเปน็ หนว่ ยงานฝกึ ปฏบิ ตั ิ หลกั สตู รปกติ หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 และเหน็ ชอบ

การรับรองสถาบัน ผ่านการประเมิน (รับรองมาตรฐาน
ถึงวันท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2571) และรับรองศักยภาพใน
การรับนิสิต คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสยาม ณ
ปัจจุบันจำ�นวน 48 คน โดยมีโรงพยาบาลพระน่ังเกล้า
เป็นสถานฝึกปฏิบัติทางคลินิก” ย่างก้าวเข้าปีที่ 12
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม มีความม่นั คงทงั้
หลักสูตรแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยามมคี วามมนั่ คง
10

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

หลักสูตรและบันทึกข้อตกลงเร่ืองความร่วมมือทาง
วิชาการเพ่ือการสนับสนุนการเป็นโรงพยาบาลหลักใน
การผลติ แพทยข์ องโรงพยาบาลพระนง่ั เกลา้ ความมน่ั คงน้ี
เปน็ ปจั จยั ทเี่ ออ้ื ใหค้ ณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม
และโรงพยาบาลพระนงั่ เกลา้ สามารถจบั มอื กนั กา้ วเดนิ ไป
ขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งมนั่ คงเพอ่ื บรรลปุ ณธิ านและเจตนารมณ์
ของการกอ่ ต้ังคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

11

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

ติดตอ่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม
อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 19 ชัน้ 14
มหาวทิ ยาลัยสยาม เลขท่ี 38 ถนน เพชรเกษม
บางหว้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160

โทร. 02-868-600 ต่อ 5408 e-mail : med1@siam.edu
FB : Faculty of Medicine,Siam University YouTube : Faculty of Medicine Siam University

12

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ท�ำ เนยี บคณบดี

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชูเกยี รต์ิ อัศวาณิชย์
ทำ�หนา้ ทช่ี ้ีแจงต่อสภามหาวทิ ยาลยั สยามในการขอเปิดดำ�เนนิ การ
หลักสตู รแพทยศาสตรบณั ฑิต และไดร้ บั ความเห็นชอบในการประชมุ
ครัง้ ท่ี 1/2553 เม่อื วนั พธุ ที่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2553

ศาสตราจารย์ นายแพทย์อดลุ ย์ วริ ิยะเวชกุล
คณบดี ตง้ั แต่ 6 กรกฎาคม – 6 ตลุ าคม 2553

รองศาสตราจารย์ นายแพทยช์ ูเกียรต์ิ อศั วาณิชย์
รกั ษาการคณบดี ตง้ั แต่ 7 ตลุ าคม 2553 – 30 กนั ยายน 2556
ศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ นายแพทยอ์ มร ลีลารัศมี
คณบดี ตั้งแต่ 1 ตลุ าคม 2556 - 18 พฤศจกิ ายน 2562
ศาสตราจารยค์ ลินกิ นายแพทย์สวุ ฒั น์ เบญจพลพทิ ักษ์
คณบดี ตัง้ แต่ 19 พฤศจิกายน 2562 - ปจั จุบัน

13

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

14

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

15

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

16

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

17

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

ฝา่ ยวชิ าการ

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการการพัฒนาหลักสตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ และรายวชิ า
เพอื่ การจดั การเรียนการสอนโดยมุ่งเนน้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ ประจ�ำ ป 2565

วัตถุประสงค์โครงการ
• เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชา โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์
การเรยี นรู้
• เพื่อพฒั นาทักษะในการจดั การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล โดยเนน้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้
• เพื่อเปดิ โอกาสให้อาจารย์ไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ใี นการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน
การพัฒนารายวชิ า การวัดและประเมินผล
รายละเอียดการดำ�เนินงาน
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนารายวิชาโดยมุ่งเน้น
ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลสำ� หรับอาจารยโ์ ดยมีการปฏิบตั ิการและแลกเปลยี่ นข้อคิดเหน็ พรอ้ มซกั
ถามปญั หาในการปฏบิ ตั งิ านจรงิ และแลกเปลย่ี นเรยี นรผู้ า่ นประสบการณใ์ นแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ
พฒั นาการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผลใหส้ อดคลอ้ งตามเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพและสอดคลอ้ งตามกรอบ
มาตรฐานคณุ วฒุ สิ กู่ ารปฏบิ ตั ใิ นระดบั ทดี่ ขี น้ึ โดยมวี ทิ ยากรผทู้ รงคณุ วฒุ มิ าบรรยายเพอื่ ใหห้ ลกั คดิ ในการปฏบิ ตั แิ ละ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ สามารถน�ำไปใช้ในการเตรียมความพร้อมในการประเมินคุณภาพหลักสูตรต่อไปโดยมี
หัวขอ้ กิจกรรมกลมุ่ ย่อยดังน้ี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม
กลมุ่ ท่ี 1 การพัฒนาการเรยี นการสอนในรายวชิ าต่างๆ และการพัฒนานักศึกษา
กลมุ่ ท่ี 2 การพฒั นาอาจารยแ์ ละบคุ ลากรดา้ นการศกึ ษา รวมทง้ั การพฒั นาระบบอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาทสี่ ามารถ
ช่วยใหน้ ักศกึ ษาสามารถบรรลุ learning outcomes
กลมุ่ ที่ 3 การพัฒนาการวดั และประเมนิ ผล

18

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

รปู ทีโ่ รงพยาบาลพระน่งั เกลา้

โรงพยาบาลพระน่งั เกล้า
กล่มุ ที่ 1 การพฒั นาการเรยี นการสอนในรายวิชาต่างๆและพฒั นานักศกึ ษาใหส้ ามารถบรรลุ learning outcomes
กลุ่มท่ี 2 การพฒั นาอาจารย์ บคุ ลากรด้านการศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษา
กลุ่มท่ี 3 การพัฒนาการวดั และประเมนิ ผล

รปู ท่คี ณะแพทยศาสตร์
19

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ผลการดำ�เนินงาน
• อาจารยม์ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการจดั การเรยี นการสอนและพฒั นารายวชิ า การวดั และประเมนิ ผล โดยมงุ่
เนน้ ผลลพั ธ์การเรยี นร้ไู ด้อยา่ งชัดเจนมากยง่ิ ข้ึน
• อาจารย์สามารถนำ�ความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ให้เกิด
ผลลพั ธก์ ารเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมและถูกต้อง
• อาจารยไ์ ดแ้ ลกเปลี่ยนแนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี ในการพฒั นาหลักสตู ร การพัฒนารายวชิ า การวดั และประเมินผล
รายวชิ าให้มีประสทิ ธิภาพและสอดคลอ้ งตามเกณฑท์ ก่ี ำ�หนด
ผลการประเมินโครงการสัมมนาหลกั สูตรแพทยศาสตรบัณฑติ ปกี ารศกึ ษา 2564 ของคณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสยามและโรงพยาบาลพระนง่ั เกล้า เทา่ กับ 4.10 และ 3.84 ตามลำ�ดับ ระดบั คะแนนการประเมนิ อยู่
ในเกณฑม์ าก

20

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

โครงการเตรียมความพร้อมนกั ศึกษาแพทยร์ ะดับปรคี ลินกิ พ.ศ. 2565

วตั ถุประสงค์โครงการ
• เพือ่ ให้นักศึกษาแพทย์รแู้ ละเขา้ ใจจุดประสงคแ์ ละขอ้ กำ�หนดในหลกั สูตร
• เพอื่ ใหน้ ักศึกษาแพทยม์ ีเจตคติท่ดี ีต่อวชิ าชพี แพทย์
• เพื่อใหน้ ักศกึ ษาแพทยร์ ู้และเขา้ ใจวิธกี ารเรียนในระดบั ปรีคลนิ กิ
• เพือ่ ใหน้ ักศึกษาแพทย์มที ักษะในการค้นควา้ ข้อมลู ทางการแพทย์ สามารถอ่านและวิเคราะหบ์ ทความ
อย่างเปน็ ระบบ
• เพอ่ื ให้นักศกึ ษาแพทย์มีความเขา้ ใจลักษณะการเรียนรแู้ บบ active learning, self-directed learning
และการทำ�งานเปน็ ทีม

รายละเอยี ดการด�ำ เนินงาน
ท�ำความรูจ้ ักอาจารย์ทป่ี รึกษา บรรยายหลกั สตู รศาสตรบ์ ัณฑิต การศึกษาระดับปรคี ลินิก เจตคติตอ่ วชิ าชีพ
และการประเมินผลการเรยี น How to learn in class แชรป์ ระสบการณ์การเรียนระดบั ปรคี ลินกิ จาก นักศึกษา
แพทย์ชั้นปีที่ 2 การค้นคว้าข้อมูลและการอ่านบทความทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ สรุปผลการสะท้อนความรู้สึก
ของนกั ศกึ ษา
ผลการดำ�เนินงาน
นกั ศึกษาแพทยร์ ู้และเข้าใจจุดประสงคแ์ ละขอ้ กำ�หนดในหลกั สตู ร
• นกั ศึกษาแพทยม์ ีเจตคติที่ดตี อ่ วิชาชพี แพทย์
• นกั ศึกษาแพทยร์ ูแ้ ละเข้าใจวธิ กี ารเรยี นในระดับปรคี ลนิ ิก
• นกั ศึกษาแพทย์มีทกั ษะในการคน้ ควา้ ข้อมูลทางการแพทย์ สามารถอา่ น และวเิ คราะห์บทความอย่างเป็น
ระบบ
• นักศกึ ษาแพทยม์ คี วามเขา้ ใจลกั ษณะการเรียนร้แู บบ active learning, self-directed learning และ
การทำ�งานเปน็ ทมี

21

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

• นักศึกษาจะสามารถปรับตัวในการเรียนและสามารถพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ เพื่อเป็นบัณฑิตที่มี
คณุ ลกั ษณะประสงคข์ องหลกั สตู รแพทยศาสตร์ มหาวยิ าลยั สยาม คอื P การเปน็ แพทยม์ อื อาชพี (Professional) L มี
ความเปน็ ผนู้ ำ� (Leadership) A มกี ารเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (Active learning) และ I มคี วามเปน็ สากล (International)
ผลการประเมนิ โครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาแพทย์ระดับปรีคลินกิ พ.ศ.2565 เทา่ กับ 4.66 ระดับ
คะแนนการประเมินอย่ใู นเกณฑม์ ากท่สี ุด

22

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

โครงการเสรมิ สร้างความสามารถทางวชิ าการของนักศกึ ษา

วตั ถปุ ระสงค์โครงการ
• เพื่อสร้างกระบวนการคัดเลอื กนักศกึ ษาและวเิ คราะห์สมรรถนะทางวิชาการของนกั ศกึ ษา
• เพ่อื พฒั นาความสามารถทางวชิ าการทีเ่ ปน็ จดุ เด่นและปรับปรงุ จดุ ดอ้ ยของนกั ศกึ ษารว่ มกับอาจารยอ์ ยา่ ง
เหมาะสม
• เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาได้ทบทวนความรู้ ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์เนอื้ หาทางวชิ าการ
• เพอื่ แสดงความสามารถของนักศึกษาให้เปน็ ท่ปี ระจักษ์แกบ่ คุ คลภายนอก ดา้ นการแข่งขนั ตอบปญั หาทาง
วิชาการในระดบั มหาวิทยาลัย
รายละเอยี ดการดำ�เนนิ งาน
อาจารย์ผู้ควบคุมทีมแข่งขันเปิดรับสมัครคัดเลือกนักศึกษาและวิเคราะห์สมรรถนะทางวิชาการของ
นกั ศกึ ษา จากนั้นอาจารย์เตรยี มความพร้อมด้านวิชาการเพื่อส่งนกั ศกึ ษาเขา้ รว่ มการแขง่ ขัน วนั ที่ 12 - 13 มนี าคม
2565 นกั ศกึ ษาแพทยช์ ้ันปรคี ลนิ กิ เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั Siriraj International Medical Microbiology, Parasitol-
ogy and Immunology Competition (SIMPIC2022) ซงึ่ จัดโดยคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัย
มหดิ ล โดยมี อาจารย์ ดร.ธดิ ารัตน์ เนติกุล อาจารยป์ ระจำ�สาขาจุลชีววิทยา เปน็ อาจารยท์ ่ปี รึกษา ในปนี ้ี คณะ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม ส่งนกั ศกึ ษาแพทย์เขา้ ร่วมการแขง่ ขัน 2 ทีม ดงั น้ี
ทีม SU01 ไดแ้ ก่ นายสริ ภพ ปาลานสุ รณ์, นางสาวศศวิ มิ ล ตอ่ นอ้ ย, นางสาวอิงอร กอ๋ งเงิน และ นางสาวอร
พร ธรรมธาดาวิวฒั น์
ทมี SU02 ได้แก่ นางสาวอภิรวภิ า อุน่ อ่อน, นายวันเฉลิม ทรพั ยป์ ระสม, นางสาวศุภนภทั ร คณุ รชั หิรญั
และ นางสาวรญั ชนา ตนั ตาปกลุ
ผเู้ ขา้ แข่งขันทง้ั 2 ทีม มีคุณสมบตั คิ รบถว้ น ไดเ้ ขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กับผู้เข้าแข่งขนั รวมทัง้ หมด 83 ทมี ทั้งจาก
ประเทศไทยและต่างประเทศ อาทิ อินเดีย อนิ โดนเี ซีย ไตห้ วนั มาเลเซีย จีน ไอรแ์ ลนด์ รสั เซยี
ผลการแขง่ ขัน First round ทีม SU02 จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม เปน็ 1 ใน 40 ทีมที่ผา่ น
เข้ารอบ เพื่อรว่ มแข่งขันต่อใน Second round โดยไดล้ ำ�ดับที่ 33 จาก 83 ทมี
การแขง่ ขัน Second round ถกู จัดใหอ้ ยูใ่ น Division D ร่วมกบั ทมี จากประเทศไทยและตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ อนิ เดยี
อินโดนเี ซีย และสงิ คโปร์ ผลการแขง่ ขัน ทีม SU02 ไดค้ ะแนนรวม 68 จากคะแนนเต็ม 80 คะแนน ไดล้ ำ�ดบั ท่ี 3
จาก 10 ทมี
ผลการดำ�เนินงาน
• นักศกึ ษาได้รบั การพัฒนาความสามารถทางวิชาการ ทบทวนความรู้ ฝึกทกั ษะกระบวนการคดิ วิเคราะห์
และสังเคราะหเ์ น้อื หาทางวิชาการ นักศึกษาไดแ้ สดงความสามารถใหเ้ ป็นทป่ี ระจกั ษแ์ ก่บุคคลภายนอก โดยมีผล
การประเมินโครงการฯ ภาพรวมในแตล่ ะดา้ นเท่ากับ 4.27 ระดบั คะแนนการประเมนิ อยู่ในเกณฑ์มาก

23

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

24

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

25

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ฝ่ายกิจการนักศกึ ษา

ในปีการศึกษา 2564 ฝ่ายกิจการนักศึกษาเริ่ม ฝ่ายกิจการนักศึกษานอกจากได้พานักศึกษาทำ�
โครงการแรกด้วยการเตรียมความพร้อมของนักศึกษา กิจกรรมภายในคณะแล้วยังได้มีโอกาสพานักศึกษาเข้า
แพทย์ชั้นปีท่ี 1 ซ่ึงโดยปรกติคณะจะจัดกิจกรรมแบบ ร่วมกิจกรรมที่จัดภายนอกคณะซ่ึงหน่ึงในกิจกรรมเด่น
Onsite แต่เน่ืองจากสถานการณ์การระบาดของโรค ของปกี ารศกึ ษานก้ี ค็ อื คา่ ยจริยธรรมสัญจร ท่ีจดั ขน้ึ โดย
Covid-19 ทำ�ให้ต้องจัดกิจกรรมน้ีในรูปแบบ Online คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
ซึ่งนับว่าเป็นความท้าทายอย่างมากในการจะทำ�ให้ ซึ่งรูปแบบของงานจะเป็นการนำ�เสนอ “การแพทย์องค์
กิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค์ แต่เนื่องด้วยการพัฒนา รวมท่ามกลางความหลากหลาย” เพ่ือให้นักศึกษาได้
ทางการส่ือสาร Online ทีท่ างคณะแพทยศาตรไ์ ดล้ งทนุ เข้าใจวิถีชีวิตชุมชนที่แตกต่าง จากที่นักศึกษาเคยสัมผัส
ไปนั้นก็สามารถทำ�ให้กิจกรรมบรรลุตัวช้ีวัดได้ทั้งหมด และ หวังว่านักศึกษาจะสามารถนำ�ความรู้ความเข้าใจ
และยังเป็นการสร้างโอกาสให้นักศึกษาแพทย์ได้เรียนรู้ และทักษะท่ีได้รับจากกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตการ
เครอ่ื งมือ Online ทคี่ ณะแพทยศาสตร์จดั หามาให้ และ เปน็ นักศกึ ษาแพทย์และแพทย์ทดี่ ไี ด้ต่อไป
ข้อดีของการทำ�กิจกรรม Online ท่ีชัดเจนที่สุดคือการ ฝา่ ยสโมสรนกั ศกึ ษาแพทยใ์ นปนี กี้ ไ็ ดจ้ ดั กจิ กรรม
ที่บัณฑิตรุ่นพ่ีได้มีโอกาสมาพูดคุยแนะนำ�น้องนักศึกษา ตอบปญั หาชวี วทิ ยาการแพทยซ์ งึ่ เปน็ กจิ กรรมทน่ี กั ศกึ ษา
แพทย์ในการปรับตัวในการเรียน การค้นคว้าหาความรู้ เป็นผู้ริเร่ิมในการทำ�กิจกรรมน้ีเพื่อประชาสัมพันธ์คณะ
ด้วยตนเอง การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพ่ือน และท่ีสำ�คัญ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ให้แก่นักเรียนระดับ
คือการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียน และความภาค มัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทยาศาสตร์และ
ภูมิใจในการเรียนในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย คณิตศาสตรจ์ ากท่วั ประเทศ ซงึ่ กม็ ผี สู้ นใจเขา้ ร่วมมากถึง
สยาม ที่เป็นเป้าประสงค์หลักของกิจกรรมน้ีให้ผ่านไป 108 คน ซงึ่ ถอื เปน็ ความสำ�เรจ็ ในการประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ ง
ได้ด้วยดี และในปีการศึกษานี้ทางฝ่ายกิจการนักศึกษา มากและนอกจากนน้ี กั ศกึ ษายงั ไดช้ ว่ ยกนั ทบทวนความรู้
ก็ได้ริเร่ิมทำ� โครงการคุยกับพี่หมอ เป็นปีแรกเพื่อ ทเี่ รยี นมาและชว่ ยกนั วางแผนงานจนประสบความสำ�เรจ็
เป็นการสานต่อในการสร้างแรงกระตุ้นในการเรียนให้ และสามารถหารายได้เข้าสโมสรนกั ศึกษาแพทยเ์ พื่อตอ่
กับนักศึกษาและ ยังถือเป็นการสร้างสายสัมพันธ์อันดี ยอดกิจกรรมอ่นื ๆ ได้ต่อไป
ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง ให้รู้สึกผูกพันกับสถาบันต่อไป

โครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาแพทย์ ช้นั ปที ่ี 1

วัตถปุ ระสงค์โครงการ
• เพื่อใหน้ ักศกึ ษามคี วามรเู้ ขา้ ใจหลกั สูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
• เพอ่ื ให้นักศกึ ษา ทราบถึงกฎระเบยี บข้อบงั คับต่างๆ ของคณะแพทยศาสตร์ สวสั ดกิ ารของนกั ศึกษา
• เพอื่ ให้นักศกึ ษาทราบการดูแลผา่ นระบบอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา
• เพื่อใหน้ กั ศึกษาสามารถปรบั ตัว เรียนร้วู ิธีการเรียน พัฒนาทักษะท่ีจำ�เป็นในการเรยี นในคณะ
แพทยศาสตร์
• เพือ่ ใหน้ ักศึกษาไดร้ ับแรงบนั ดาลใจในการเรียน และเกิดความภาคภูมใิ จในการเรยี นในคณะ
แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม
รปู แบบการดำ�เนินงาน
การบรรยาย และการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร เมื่อ ว2นั6ที่ 18-19 สงิ หาคม 2564

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม
กจิ กรรมการเรยี นออนไลนใ์ ห้มปี ระสิทธิภาพ โดย อ.ดร.ศกั รินทร์ ภูผานิล

กจิ กรรม How to learn

27

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คา่ เป้าหมาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม
มากกว่าร้อยละ 80
ตวั ช้วี ดั ความสำ�เรจ็ ตามวตั ถุประสงค์ คะแนนมากกวา่ 4.00 ผลการประเมนิ
1.จำ�นวนนกั ศึกษาทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ คะแนนมากกวา่ 4.00 บรรล ุร้อยละ 100
บรรลุ คะแนน 4.60
2.นกั ศกึ ษามคี วามรเู้ ขา้ ใจหลกั สูตร คะแนนมากกว่า 4.00 บรรลุ คะแนน 4.51
แพทยศาสตรบณั ฑิต คะแนนมากกวา่ 4.00
3.นักศึกษา ทราบถึงกฎระเบียบขอ้ บรรล ุคะแนน 4.40
บงั คับต่างๆ ของคณะแพทยศาสตร์ คะแนนมากกว่า 4.00 บรรลุ คะแนน 4.22
สวสั ดกิ ารของนกั ศกึ ษา คะแนนมากกว่า 4.00
4.นกั ศึกษาทราบถงึ การดูแลนกั ศึกษา บรรลุ คะแนน 4.62
ผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษา คะแนนมากกวา่ 4.00 บรรลุ คะแนน 4.49
5.นักศกึ ษาสามารถปรบั ตวั เรยี นรวู้ ธิ ี
การเรยี น พฒั นาทกั ษะท่จี ำ�เป็นใน บรรลุ คะแนน 4.42
การเรยี นในคณะแพทยศาสตร์

6.นักศึกษาได้รับแรงบันดาลใจในการ
เรียน
7.นกั ศึกษามคี วามเช่อื มั่นและภาค
ภมู ใิ จในการเรยี นในคณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสยาม
8.ความพึงพอใจโดยรวม

28

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

โครงการจริยธรรมสญั จร

วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ
• เพื่อใหน้ กั ศึกษาผเู้ ข้าร่วมโครงการตระหนกั ถึงคุณค่า และเคารพในความเป็นมนษุ ย์ของผ้อู ่ืนและตนเอง
• เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นักศกึ ษาผู้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามเข้าใจในวถิ ีชีวิตชุมชน
• เพื่อใหน้ ักศกึ ษาผเู้ ขา้ ร่วมโครงการสามารถนำ�ความรู้ความเข้าใจ และทกั ษะทีไ่ ดร้ บั จากกจิ กรรมไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตการเป็นนกั ศึกษาแพทย์และแพทย์ท่ดี ี
• เพื่อเสริมสรา้ งสัมพนั ธภาพระหวา่ งนกั ศึกษาแพทย์ตา่ งสถาบนั
รูปแบบการดำ�เนินงาน
เปน็ กิจกรรมท่เี ขา้ ร่วมกบั คณะแพทย์อน่ื ๆ โดยมคี ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร์
เป็นเจา้ ภาพ เม่อื วันท่ี 5-8 พฤษภาคม 2565

ผลการด�ำ เนินงาน

การเสวนา ศิลป์ของการแพทยอ์ งค์รวมทา่ มกลางความหลากหลาย

กิจกรรม Ice breaking

การประชุมเครือข่ายกิจการนักศกึ ษา

29

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

กิจกรรมลงพนื้ ท่ี ต.ทับชา้ ง อ.นาทวี จ.สงขลา เพอื่ ศึกษาการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ภายในเขต อบต.ทบั ชา้ ง

30

รายงานประจำ�ปี 2564 ค่าเปา้ หมาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม
มากกวา่ รอ้ ยละ 80
ตวั ช้ีวัดความส�ำ เร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ คะแนนมากกวา่ 4.00 ผลการประเมิน
1.จำ�นวนนักศึกษาท่ีเขา้ ร่วมโครงการ ไม่บรรลุ ร้อยละ 85.71
คะแนนมากกว่า 4.00 เนือ่ งจาก เจ้าหน้าทตี่ ิดธุระจำ�เป็น
2.นกั ศึกษามีความตระหนกั ถึงคุณคา่ บรรล ุคะแนน 4.75
และ เคารพในความเป็นมนษุ ย์ของผู้
อนื่ และตนเอง บรรล คุ ะแนน 4.75
3.นกั ศึกษาเข้าใจวิถชี วี ติ ชุมชนท่ีมคี วาม
หลากหลาย บรรลุ คะแนน5.00

4.นักศึกษาไดส้ รา้ งสมั พนั ธภาพที่ดีกับ คะแนนมากกวา่ 4.00 บรรลุ คะแนน 4.75
นกั ศึกษาแพทยต์ ่างสถาบนั คะแนนมากกว่า 4.00
8.ความพงึ พอใจโดยรวม

31

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

โครงการคุยกบั พหี่ มอ

วัตถุประสงค์โครงการ
• เพื่อให้บณั ฑติ แพทย์และนักศกึ ษาปัจจุบันไดพ้ บปะพดู คยุ แชร์ประสบการณก์ ารเรียน การทำ�งาน
• เพอ่ื สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนให้กบั นักศึกษา
• เพ่ือสร้างความเช่ือมน่ั และความภาคภูมใิ จในการเรยี นในคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม
• เพอ่ื สร้างความสายสมั พนั ธ์ เจตคตทิ ีด่ ี ระหวา่ งรุ่นพ่แี ละรุน่ นอ้ ง
รูปแบบการด�ำ เนนิ งาน
การถาม-ตอบ พดู คยุ กบั บณั ฑิตแพทย์ ภาคการศกึ ษาละ 1 ครงั้

ตัวชวี้ ดั ความสำ�เร็จตามวตั ถุประสงค์ ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน
1.จำ�นวนนักศกึ ษาทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ มากกวา่ รอ้ ยละ 80 ไมบ่ รรลุ (สรุปเมอื่ เสร็จสน้ิ โครงการ)
เน่ืองจาก มเี ฉพาะ นศพ.ช้นั ปี 1 ส่วน
2..ผู้เข้ารว่ มโครงการได้รับแรงบันดาลใจ คะแนนมากกว่า 4.00
ในการเรยี น คะแนนมากกว่า 4.00 ชัน้ ปอี นื่ ๆตดิ เรียน (43 คน)
3.มผี เู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความเชือ่ มั่นใน คะแนนมากกว่า 4.00 บรรลุ คะแนน 4.38
การเรยี นในคณะแพทยศาสตร์ คะแนนมากกว่า 4.00
4.ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความภาคภมู ใิ จใน คะแนนมากกวา่ 4.00 บรรลุ คะแนน 4.44
การเรียนในคณะแพทยศาสตร์
5.ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีสายสัมพันธท์ ีด่ กี บั บรรลุ คะแนน 4.44
รุ่นพ่ี
6.ความพึงพอใจโดยรวม บรรลุ คะแนน 4.28

บรรลุ คะแนน 4.36

32

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

โครงการตอบปญั หาชวี วทิ ยาการแพทย์

วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ
• เพอ่ื ประชาสัมพนั ธค์ ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม ให้แกน่ กั เรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรยี นวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรจ์ ากทั่วประเทศ
• เพ่ือเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์จาก
ทว่ั ประเทศ ทราบเนือ้ หาท่ีนำ�มาตอ่ ยอด สำ�หรบั การศกึ ษาในคณะแพทยศาสตร์
• เพ่อื ฝึกใหน้ ักศึกษามีการทำ�งานอยา่ งเป็นระบบและสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้
รูปแบบการดำ�เนนิ งาน
กิจกรรมตอบปญั หาวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ในรปู แบบทีมประกอบไปดว้ ยสมาชิกทีมละ 2 คน โดยแบง่
การแขง่ ขันเป็น 2 รอบ คอื รอบคัดเลือก และ รอบชงิ ชนะเลศิ ผา่ นโปรแกรม socrative จัดขน้ึ เมอ่ื วันท่ี 15
ตลุ าคม 2564

ผลการดำ�เนนิ งาน
1.นกั เรยี นเขา้ รว่ มแขง่ ขัน 54 ทีม (108 คน)
2. ผลการแขง่ ขนั

33

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

ตวั ชว้ี ดั ความสำ�เร็จตามวตั ถุประสงค์ ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ
1.จำ�นวนผู้เข้ารว่ มโครงการ มากกว่าหรือเทา่ กบั บรรลุ (ร้อยละ 100)
บรรลุ 2 ช่องทาง
2.มชี อ่ งทางประชาสมั พันธ์ รอ้ ยละ 80 บรรลุ คะแนน 4.47
คณะแพทยศาสตร์ ม. สยาม มากกวา่ หรือเท่ากบั
3.นกั เรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย บรรลุ คะแนน 4.53
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์และ 1 ชอ่ งทาง บรรลุ คะแนน 4.28
คณิตศาสตร์จากทัว่ ประเทศ ทราบ คะแนนมากกว่า 4.00
เนอื้ หาทน่ี ำ�มาตอ่ ยอด สำ�หรับการศกึ ษา
ในคณะแพทยศาสตร์ คะแนนมากกว่า 4.00
4.นักศกึ ษามกี ารทำ�งานอยา่ งเป็นระบบ คะแนนมากกวา่ 4.00
และสามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้
5.ความพงึ พอใจโดยรวม

34

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

35

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

งานวจิ ยั

การส่งเสริมการวิจัยและเผยแพร่ผลงานในระดับชาติ การด�ำเนินงาน
และนานาชาติ คือ พันธกิจหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยามได้เร่มิ ตน้ วาง
มหาวทิ ยาลัยสยาม โดยมคี ณะกรรมการวิจยั เป็นผ้จู ัดทำ� พื้นฐานในด้านการส่งเสริมศักยภาพและทักษะในงาน
แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการวจิ ยั ดำ� เนนิ การ ตดิ ตาม และสรปุ วิจัยในกับอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ผ่านกจิ กรรม
ผลในโครงการต่างๆ ตามแผนยุทธศาสตร์ วตั ถปุ ระสงค์ การจดั อบรม “ความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสำ� หรบั การ
เพ่ือสนับสนุนให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาได้มี เรยี นการสอนและงานวจิ ยั ” ในปี 2563 วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่
โอกาสสร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ใหค้ ณาจารย์ บคุ ลากร และนกั ศกึ ษามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
การแพทย์และแพทยศาสตรศึกษา ทั้งในระดับชาติและ ด้านความปลอดภัยห้องปฏบิ ตั ิการ และเพอื่ ใหผ้ เู้ ข้ารว่ ม
นานาชาตโิ ดยดำ� เนนิ งานในโครงการ ดังนี้ อบรมรแู้ นวทางปฏบิ ตั ติ นเมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุ ซงึ่ กจิ กรรมดงั
1. โครงการจดั ตงั้ ทนุ ส่งเสรมิ งานวจิ ยั กลา่ วนไ้ี ดจ้ ดั ตอ่ เนอื่ งมาจนถงึ ปี 2564 ในรปู แบบออนไลน์
2. โครงการสนบั สนนุ การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั และผลงาน เน่ืองจากสถานการณ์โควิด นอกจากน้ัน ในปี 2563
วิชาการ ฝ่ายวิจัยได้จัดกิจกรรมบรรยายพิเศษ และแลกเปลี่ยน
3. โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพและทักษะในงานวจิ ยั เรยี นรู้ ในหวั ขอ้ เรอ่ื ง“การเขยี นโครงการวจิ ยั ใหไ้ ดท้ นุ ” ซงึ่
4. โครงการจดั ตง้ั และพฒั นาหอ้ งเครอ่ื งมอื ปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั เปน็ พน้ื ฐานทสี่ ำ� คญั ในการเขยี นโครงการวจิ ยั ของอาจารย์

ภาพกจิ กรรมจดั อบรมความปลอดภยั ห้องปฏิบัตกิ ารสำ�หรับการเรยี นการสอนและงานวิจัย ในปี 2563

บุคลากรและนักศึกษา ให้เหมาะสมและตรงกับความ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามนั้น ฝ่ายวิจัยจึงได้
วัตถุประสงค์ของแหล่งทุนและเพื่อส่งเสริมการทำ�วิจัย กิจกรรมบรรยายพิเศษเรื่อง “แนวทางการพิจารณา
ของอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ จรรยาบรรณวิจัยในมนุษย์” ในปี 2564 ซ่ึงมีผู้เข้าร่วม
มหาวิทยาลัยสยาม กิจกรรมทั้งส้ิน 23 คน และมีโครงการวิจัยที่ได้รับการ
เพื่อทบทวนแนวทางการขอพิจารณาจรรยา รบั รองจริยธรรมการวจิ ัยในมนุษยจ์ ำ�นวน 3 โครงการใน
บรรณการวิจัยในมนุษย์ประจำ�สถาบัน และเพื่อส่งเสริม ปกี ารศกึ ษา 2564
การทำ�วิจัยของ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาคณะ

36

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ภาพกจิ กรรมบรรยายพเิ ศษและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ “การเขยี นโครงการวจิ ัยใหไ้ ดท้ นุ ” ปี 2563

ภาพกจิ กรรมบรรยายพเิ ศษเรื่อง “แนวทางการพิจารณาจรรยาบรรณวิจัยในมนุษย”์ ปี 2564

ผลการด�ำ เนนิ งาน

งานดา้ นการสนบั สนุนทนุ วจิ ยั และผลงานตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ
• จำ�นวนทุนสนับสนุนการวจิ ัยของคณาจารย์ปรคี ลนิ ิก คณะแพทยศาสตร์

ทนุ วิจัย ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
3*
ภายในคณะฯ 1*
3*** 7**
ภายนอกคณะฯ
* จำ�นวนทนุ วจิ ัยท่ี อาจารย์เป็นหัวหนา้ โครงการ
** จำ�นวนทนุ วจิ ยั ท่ี อาจารย์เปน็ หวั หน้าโครงการและผู้ร่วมโครงการ
*** จำ�นวนทนุ วจิ ัยท่ี อาจารยเ์ ป็นผ้รู ่วมโครงการ

37

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

• จ�ำนวนผลงานตพี มิ พข์ องคณาจารย์ปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์

ผลงานตีพิมพ์ ปีการศึกษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564
ระดับนานาชาติ 6 11

ระดบั ชาติ Q1 = 1 , Q2 = 4, Q3 = 1 Q1 = 4, Q2 = 4, Q3 = 3

2 1
TCI 2 = 2 TCI 1 = 1

หมายเหตุ นับจำ�นวนจากผลงานตพี มิ พ์ท่ี Affiliated คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

• จำ�นวนผลงานตพี มิ พข์ องคณาจารยป์ รีคลนิ กิ คณะแพทยศาสตร์ โดยนับตามชื่ออาจารย์ท่ีปรากฏในผลงาน

ผลงานตพี ิมพ์ ปกี ารศกึ ษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564
ระดบั นานาชาติ 6 16
3 2
ระดบั ชาติ

หมายเหตุ นับจำ�นวนจากผลงานตพี มิ พ์ท่ี Affiliated คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

• จำ�นวนผลงานตีพมิ พ์ของคณาจารยป์ รีคลนิ กิ คณะแพทยศาสตร์ ท่ไี ดร้ บั คา่ ตอบแทนผลงานตีพมิ พ์

ผลงานตีพมิ พ์ ปกี ารศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
ระดบั นานาชาติ 5 10
5 1
ระดับชาติ

ผลงานวจิ ัยของคณาจารย์ปรคี ลนิ กิ คณะแพทยศาสตร์ ที่ได้รบั การอ้างองิ (Citation) ในฐานขอ้ มลู ระดบั ชาติ
และนานาชาติ

งานวิจยั และการอ้างอิง ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศึกษา 2564
จำ�นวนงานวจิ ยั ทั้งหมด (ระดับชาติและนานาชาติ) 8 10
จำ�นวนงานวิจยั ทีถ่ กู อ้างองิ (Citation) 4 4

จำ�นวนการถกู อ้างองิ 14 13

จำ�นวนการถกู อา้ งอิง/จำ�นวนงานวจิ ัยที่ถูกอ้างองิ 3.50 3.25

ขอ้ มูล Citation อัพเดต 23 ส.ค. 2565

38

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

รางวลั ฝ่ายวิจัย

ช่ือรางวลั ผู้ได้รับรางวัล

รางวัล “นักวิจัยรุ่นใหม่ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ อาจารย์ ดร.ศราวธุ ลาภมณีย์
สุขภาพ ระดบั ยอดเยีย่ ม” ประจำ�ปี 2563

รางวัลนำ�เสนอผลงานวิจยั ดีเด่น สมาคมประสาทวทิ ยา อาจารย์ ดร.ศราวุธ ลาภมณยี ์
ไทย ประเภทโปสเตอร์ การประชมุ วชิ าการนานาชาติ
ประจำ�ปี 2564

รางวลั การวจิ ยั แหง่ ชาติ ประเภทวทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ดเี ดน่ อาจารย์ ดร.ศราวธุ ลาภมณีย์
สาขาเกษตรศาสตรแ์ ละชวี วทิ ยา สำ�นกั งานการวจิ ยั แหง่
ชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2565

รางวัลเหรียญเงินน�ำเสนอผลงานวิจัยการประชุม นศพ.ณฐั กานต์ ตรศี กั ดิ์ศรีสกลุ
วิชาการนานาชาติด้านการวิจัยของนักศึกษาแพทย์
(International Medical Student Research Con- อาจารยท์ ่ปี รึกษา
ference, IMRC 2021) อาจารย์ ดร.ศราวุธ ลาภมณีย์

รางวลั น�ำเสนอผลงานวจิ ัยดีเดน่ ศาสตราจารย์ นพ. อาจารย์ ดร.ศราวุธ ลาภมณีย์
รุ่งธรรม ลัดพลี ประเภทโปสเตอร์ การประชมุ วชิ าการ
นานาชาติ สมาคมประสาทวิทยาศาสตร์ไทย ประจ�ำปี
2565

The Best Scientist in Siam University (Top 4) อาจารย์ ดร.ศราวุธ ลาภมณยี ์
การจัดอนั ดับ AD Scientific Index Racking for
Scientists 2022

39

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

งานบริการวิชาการ

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ยังคงมุ่งม่ันใน ราชชนกพระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการ
พันธกิจด้านการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การ สาธารณสุขไทย ในปีน้ีคณะฯ ได้จัดบริการตรวจหา
แพทย์แก่ชุมชนและสังคมอย่างต่อเน่ือง โดยวันที่ 23 การติดเชื้อโควิด-19 ด้วยชุดตรวจ ATK พร้อมให้ความ
กนั ยายน 2564 คณะแพทยศาสตร์จัดโครงการบริการ รู้ในการใช้ชุดตรวจ ATK ด้วยตนเอง ให้แก่บุคลากรใน
วิชาการ “แพทยส์ ยามรักษ์สขุ ภาพ สู้โควิด-19” เนอ่ื งใน มหาวทิ ยาลยั และประชาชนกลุม่ เสย่ี งท่อี าศยั ในละแวก
วนั มหดิ ล ประจำ� ปี 2564 ณ บรเิ วณลานหวั ชา้ งสนามกฬี า ใกล้เคียงมหาวิทยาลัยสยาม นอกจากนี้ มีบริการตรวจ
มหาวิทยาลยั สยาม เพอื่ ให้นกั ศึกษาแพทยแ์ ละบคุ ลากร วัดความดันโลหิต บริการตรวจระดับน�้ำตาลในเลือด
ไดน้ ำ� ความรแู้ ละทกั ษะทางวชิ าชพี บำ� เพญ็ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ โดยเฉพาะกลมุ่ ผทู้ ม่ี ปี ระวตั โิ รคความดนั โลหติ สงู และเบา
สงั คม และระลึกถงึ พระมหากรณุ าธคิ ุณและเชิดชเู กยี รติ หวานท่ีขาดการตรวจติดตามเน่ืองจากสถานการณ์การ
ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรม แพร่ระบาดของโควิด-19 ดว้ ย

ภาพกิจกรรมแพทยส์ ยามรักษ์สขุ ภาพ ส้โู ควดิ -19

40

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

เนื่องจากกายวิภาคศาสตร์ของมนษุ ย์ (Human มหาวทิ ยาลยั สยาม และห้องปฏิบัติการมหกายวภิ าค
anatomy)เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ ศาสตร์ ใหก้ บั นักเรยี นช้ันมัธยม ที่มีความสนใจด้านการ
สัณฐานวิทยาของร่างกายมนุษย์ซ่ึงมีความสำ�คัญอย่าง แพทย์ วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื การเรียนรูท้ างด้านวชิ าการ
มากต่อการศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะ พ้นื ฐานในสาขาวิชาต่างๆ และรูปแบบการเรียนของ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาสยาม จงึ จดั ทำ�โครงการบริการ นกั ศึกษาแพทย์ เพ่อื นำ�ความรแู้ ละแรงบนั ดาลใจท่ีได้ ไป
วิชาการ เย่ียมชมและศกึ ษาดูงานคณะแพทยศาสตร์ ปรบั ใช้ในการเรียนในช้นั เรียนตอ่ ไป

ภาพกจิ กรรมเยย่ี มชมและศึกษาดงู านคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม และห้องปฏบิ ตั ิการมหกายวิภาคศาสตร์

41

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ร่วมงานมากกกว่า 200 ท่าน ณ ศูนย์ฝึกผ่าตัด คณะ
มหาวิทยาลัยสยาม นำ�ทมี โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์ แพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นอกจากกจิ กรรม
ธันวา ตันสถิตย์ ได้จัดทำ�โครงการบริการวิชาการให้กับ ดังกล่าวจะสร้างประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมแล้ว ยัง
หน่วยงานภายนอก ในฐานะเปน็ วทิ ยากรสอนแสดงงาน นำ�มาซึ่งการพัฒนาความรู้ความสามารถของอาจารย์
Lecture and Hand-on Cadaver workshop เพ่อื ให้ ดา้ นวชิ าชพี ท้ังดา้ นการเรยี นการสอน และ การวจิ ัยของ
ความรดู้ า้ นกายวภิ าคศาสตรค์ ลนิ กิ กบั แพทยผ์ ทู้ ำ�หตั ถการ อาจารยต์ อ่ ไป
ด้านความงาม จำ�นวน 9 งาน โดยมีจำ�นวนแพทย์เข้า

ภาพกิจกรรมโครงการบรกิ ารวิชาการให้ความร้ดู ้านกายวิภาคศาสตรก์ บั หนว่ ยงานเอกชนภายนอก

42

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

43

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสยาม

ฝา่ ยนโยบายและแผน

โครงการพฒั นาองค์กรดว้ ยเกณฑค์ ุณภาพการศกึ ษา

การประเมนิ คณุ ภาพระดบั หลกั สตู รไดด้ ำ�เนนิ การ สมทบ)และได้รับหนังสือแจ้งผลการตรวจประเมิน
รับการตรวจประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสากล หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและสถาบันผลิตแพทย์ ที่
สำ�หรับแพทยศาสตรศึกษา TMC.WFME.BME. Stan- ผ่านการตรวจประเมินจากสถาบันรับรองมาตรฐานการ
dards (2021) ไปเมอ่ื วันที่ วันที่ 17-20 มกราคม 2565 ศกึ ษาแพทยศาสตร์ (สมพ.) เมื่อวนั ที่ 21 มีนาคม 2565
ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม โรงพยาบาล โดยมีระยะเวลารับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
พระนั่งเกล้าและโรงพยาบาลกำ�แพงเพชร (โรงพยาบาล ฉบบั ปรับปรุง 2565 ถึงวันท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2571

การประเมินคุณภาพระดับคณะ ได้ด�ำเนินการ สัมภาษณ์นักศึกษา ผู้แทนอาจารย์สาขา บุคลากรทั้ง
รับการตรวจประเมินคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพการ จากคณะแพทยศาสตร์ และศูนย์แพทยศาสตร์ช้นั คลินิก
ศกึ ษาเพอ่ื การดำ� เนนิ การทีเ่ ปน็ เลิศ Education Criteria โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า และคณะแพทยศาสตร์ได้รับ
for Performance Excellence (EdPEx) ไปเม่ือวนั ที่ รายงานการตรวจประเมนิ (Feedback Report) เป็นที่
18 ตุลาคม 2564 ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย เรยี บร้อย เม่อื วันที่ 10 พฤศจกิ ายน 2564
สยาม ไดม้ กี ารตรวจเยย่ี มภายในคณะแพทยศาสตร์ และ

44

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

โครงการพฒั นากระบวนการบรหิ ารงานบคุ คลใหม้ ีประสิทธผิ ล

โครงการบุคลากรดีเด่น มอบโล่เชิดชูเกียรติ และ เงินรางวัล 5,000 บาท แก่บุคลากรดีเด่นของคณะ
แพทยศาสตร ในวนั พฤหสั บดที ี่ 17 กมุ ภาพันธ 2565 ตรงกับวนั คล้าย วนั สถาปนาคณะแพทยศาสตรฯ์ ผทู้ ไ่ี ด้รบั
การคัดเลือกประกอบดว้ ย
• รางวัลบุคลากรสายวิชาการดีเด่น ดา้ นการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ อาจารย์ สัตพร เจรญิ สุข
• รางวัลบุคลากรสายวิชาการดเี ด่น ด้านวิจัย ได้แก่ อาจารย์ ดร.ศราวุธ ลาภมณีย์
• รางวัลบุคลากรสายวิชาการดีเดน่ ดา้ นทำ�คณุ ประโยชน์ ได้แก่ อาจารย์ ดร. สรัญญา ศริ บิ าล
• รางวัลบคุ ลากรดเี ด่นสายสนบั สนุน ไดแ้ ก่ นางสาวปารรี ัฐ วชิ ัยดษิ ฐ

45

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

โครงการพัฒนาทรพั ยากรสนับสนุนการเรยี นรทู้ ั้งอาคารสถานท่ี ครภุ ัณฑ์ ระบบบรกิ าร หอ้ งสมดุ
คณะ และระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส�ำรวจ สรรหา บ�ำรงุ รกั ษา

ห้องปฏบิ ัตกิ าร
• ปรับปรุงโต๊ะแลป หอ้ งปฏิบตั กิ ารกล้อง พร้อมเก้าอบ้ี าร์กลมไมม่ ีล้อ จ�ำนวน 60 ชุด
• ปรับปรุงโตะ๊ แลป หอ้ งปฏิบตั ิสรรี วทิ ยา พร้อมเก้าอ้บี ารก์ ลมไมม่ ลี ้อ จำ� นวน 60 ชุด
• จดั ซื้อ สไลด์ ด้านโลหติ วทิ ยาและโรคทางโลหิตวิทยา จ�ำนวน 27 กล่อง
• ติดตง้ั ชดุ ล้างตาฉกุ เฉิน ในหอ้ งปฏิบัติการทางเคมี
• ติดตง้ั ตู้ปลอดเช้ือ
• จดั ซื้อเครอ่ื งอนุ่ สไลด์
• จัดซ้ือตูเ้ ยน็ - 80 องศาเซลเซยี ส พร้อมเครอ่ื งส�ำรองไฟ
หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร Microbiology

ก่อนปรับปรุง หลังปรบั ปรุง

หอ้ งเรยี น และ ทางเช่ือมระหวา่ งช้นั
• จัดสร้างรูปหลอ่ พระบิดา พรอ้ ม แทน่ และเครอ่ื งบชู า
• ตดิ ต้งั เคร่อื งเสียง ห้องเรยี น ชัน้ ปี ท่ี 1 ถงึ 3
• จดั หา เครอ่ื งเสียง และ ไมค์ พร้อมขาต้งั แบบเคลื่อนท่ี
• ตดิ ต้ังกลอ้ งวงจรปิด CCTV ในช้ัน 10, 13, 14 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ (19)
• ตดิ ตง้ั เครื่องปรับอากาศใหม่ หอ้ งเรยี น 1308 และ อาคารชโิ นรส

46

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

• จดั ท�ำห้องเรยี นระบบจำ� ลองปฏบิ ัติการกายวภิ าค 3 มิติแบบจอสัมผสั
• ตดิ ตงั้ Interactive Board LED LG 43 นว้ิ พร้อมขาต้งั
• จดั หา Projector และ เครอ่ื งฉาย รวมท้ังเคร่ืองเสียง ทีอ่ าคารชิโนรส
• จดั หา outsource พนกั งานท�ำความสะอาด มารับผดิ ชอบชน้ั เรียน 10, 13, 14 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ
(19)

รปู หล่อพระราชบดิ า พรอ้ ม แท่น และเคร่อื งบชู า

กล้องวงจรปิด CCTV ต้ทู ำ� ความเย็น

47

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

Interactive Board LED LG 43 น้ิว พร้อมขาตั้ง หอ้ งเรียนระบบจำ�ลองปฏบิ ตั กิ ารกายวิภาค 3 มติ ิแบบจอสัมผสั

สิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้
• จดั ซื้อ IPAD 150 เครอ่ื ง ให้นักศึกษาแพทย์ ปี 1-3 เพ่อื ใช้ในการเรียน
• จดั ทำ�สญั ญา การเข้าถงึ ขอ้ มลู Osmosis Web board Mobile Learning platform
• จัดทำ�สัญญา การเขา้ ถงึ ข้อมลู ฐานขอ้ มูลตำ�ราเรียนทางด้านแพทย์ LWW Health Library( Electronic
Book)
• จัดซอ้ื เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ 12 เครื่อง
• จัดซอ้ื Laser printer และ Inkjet printer

ฐานข้อมลู ตำ�ราเรยี นทางด้านแพทย์ LWW Health Library( Electronic Book)

ฐานข้อมูลตำ�ราเรยี นทางดา้ นแพทย์ LWW Health Library( Electronic Book)

48

รายงานประจำ�ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม

โครงการจัดเก็บเอกสารอย่างเปน็ ระบบ

การจดั เกบ็ เอกสารผ่านระบบออนไลน์เพ่ือความสะดวกในการใช้งานเอกสาร มกี ารจัดเอกสารเปน็ หมวด
หมู่และมกี ารจัดเกบ็ เอกสารท่งี ่ายต่อการสบื คน้

โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์และจัดท�ำ แผนปฏิบัตกิ าร

การประชุมจัดทาํ แผนยทุ ธศาสตรข์ องคณะแพทยศาสตร์ประจาํ ปี 2563 วนั ท่ี 11 มนี าคม 2563 ท่ีโรงแรม
เดอะ สโุ กศลการประชมุ จัดทําแผนยทุ ธศาสตร์ของคณะแพทยศาสตรป์ ระจําปี 2564 เมอ่ื วันท่ี 9 พฤษภาคม 2565
ที่ โรงแรมปทุมวนั พริน้ เซส กรุงเทพมหานคร
วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ
• เพือ่ ให้บคุ ลากรมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั และ ยุทธศาสตรค์ ณะ
• เพ่อื ให้บคุ ลากรทราบวัตถปุ ระสงคข์ องยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั และ ยุทธศาสตร์คณะ ทุกขอ้ และ แผน
งานของคณะฯ
• เพอ่ื ปรับแผนปฏิบัตกิ ารให้สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ ทั้งของมหาวิทยาลยั , คณะและสถานการณ์ที่
เปล่ยี นแปลง

49

รายงานประจ�ำ ปี 2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม

50


Click to View FlipBook Version