The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การส่งเสริมการมีส่วนร่วม 61

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jariyaporn Oonpim, 2019-11-19 04:15:54

การส่งเสริมการมีส่วนร่วม 61

การส่งเสริมการมีส่วนร่วม 61

การสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

บทนำ

ท่ามกลางบริ บทและสภาพแวดล้ อมท่ี จากเหตุผลข้างต้นท้าให้การบริหารจัดการภาครัฐ

เปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในปัจจุบัน โดยเฉพาะ ในปัจจุบันได้ให้ความส้าคัญกับการมีส่วนร่วมของ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ล้าหน้า ประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ โดยหน่วยงานภาครัฐต้อง
อย่างก้าวกระโดด ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงท่ีน้าไปสู่ เปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการท้างานเพ่ือให้
ปัญหาสังคมที่มีปริมาณและซับซ้อนมากขึนตามไปด้วย การด้าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐสามารถแก้ไขปัญหา
ด้วยเหตุนีส่งผลให้นานาประเทศท่ัวโลกมีการปรับตัว และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
และประเทศไทยก็ได้รับอิทธิพลของการเปล่ียนแปลง ซึ่งจะน้าไปสู่การยอมรับและความร่วมมือในการขับเคลื่อน
เหล่านัน ทังเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง การพัฒนาประเทศให้มน่ั คง มั่งค่งั และยงั่ ยนื
ส้านักงาน ก.พ.ร. ในฐานะหน่วยงานหลัก
ภาครัฐจงึ จา้ เป็นต้องปรับตัวและเตรยี มการรองรับใหท้ ัน
ตอ่ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึน ด้วยการเร่ง ในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการได้ด้าเนินการ
พัฒนาและสร้างความเจริญเพ่ือไปสู่การเป็นประเทศไทย ส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานภาครัฐตระหนักถึง
4.0 (Thailand 4.0) โดยการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ความส้าคัญของการเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามา
เศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–based Economy” หรือ มีส่วนร่วมในการบริหารราชการมาอย่างต่อเนื่อง โดยมี
“เศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” ด้วยการใช้พลัง การพิจารณารำงวัลเลิศรัฐ สำขำกำรบริหำรรำชกำรแบบ
“ประชารั ฐ” ท่ี ทุ กภาคส่ วนเข้ ามามี ส่ วนร่ วม มีส่วนร่วมให้สอดคล้องกับทิศทางและเป้าหมายของ
ประกอบด้วย ภาคเอกชน ภาคการเงินการธนาคาร การพัฒนาระบบราชการ เพื่อสร้างความเช่ือม่ัน ศรัทธาต่อ
มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยต่าง ๆ ตามความถนดั และ ภาพลักษณ์ของหน่วยงานของรัฐ และสร้างการยอมรับจาก
จุดเด่นของแต่ละภาคส่วน และท่ีส้าคัญต้องอาศัย ภาคประชาชนในการเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐแบบ
ความร่วมมือจากภาคประชาชนหรือภาคประชาสังคม หุ้นส่วนความร่วมมือท่ีเป็นรูปธรรมและต่อเน่ืองย่ิงขึน
โดยที่ภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนให้การขับเคล่ือนเกิดผลที่ โดยในปี พ.ศ. 2561 ก้าหนดให้มีการมอบรางวัลฯ
เป็นรูปธรรม เพ่ือส่งมอบบริการสาธารณะที่มี 3 ประเภทรางวัล ได้แก่ 1) รางวัลเปิดใจใกล้ชิดประชาชน
ประสิทธิภาพและคุณภาพให้กับประชาชน สามารถ (Open Governance) 2) รางวัลสัมฤทธิผลประชาชน
แก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน มีส่วนร่วม (Effective Change) และ 3) รางวัลหุ้นส่วน
ความร่วมมอื (Engaged Citizen)
ได้อย่างแท้จริง

1

การส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

รางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมประจ้าปีปี พ.ศ. 2561 ก้าหนดให้มีการมอบรางวัลฯ 3
ประเภทรางวลั ดงั นี

รำงวลั เปิดใจใกล้ชิดประชำชน (Open Governance)

• เป็นรางวัลท่ีมอบให้แก่หน่วยงานของรัฐ ที่ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเปิดระบบราชการ
ดว้ ยการให้ข้อมลู และรับฟังความคดิ เห็น เพอื่ นา้ ไปสู่การเปล่ียนแปลงหรือผลส้าเร็จในการบริหารราชการของ
หน่วยงานอย่างเปน็ รูปธรรม

รำงวัลสมั ฤทธิผลประชำชนมีส่วนร่วม (Effective Change)
• เป็นรางวัลที่มอบให้แก่หน่วยงานของรัฐ ที่มีการส่งเสริมให้มีการท้างานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ทังการเข้ามาเก่ียวข้อง และความร่วมมือระหว่างกัน ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบสูงกับคุณภาพ
ชวี ิตของประชาชน

รำงวลั หนุ้ สว่ นควำมรว่ มมอื (Engaged Citizen)

• เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคล/กลุ่มบุคคล ท่ีมีบทบาทส้าคัญในการเปล่ียนแปลง/ผลักดัน/ขับเคล่ือนให้เกิด
การท้างานแบบมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งภาครัฐและภาคสว่ นอื่น ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

2

การส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

กำรส่งเสริมกำรมสี ่วนรว่ มของประชำชนในกำรบรหิ ำรรำชกำรไทย
ประจำปี พ.ศ. 2561

จากการประเมินผลการด้าเนินการเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
ประจา้ ปี พ.ศ. 2561 พบว่า หน่วยงานของรัฐให้ความสา้ คัญกับการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ
และเปิดระบบราชการในการให้ข้อมูล (Inform) และรับฟังความคิดเห็น/ปรึกษาหารือ (Consult) นอกจากนี
หน่วยงานของรัฐให้ความส้าคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ ด้วยการเปิดระบบราชการ
ให้ภาคสว่ นท่ีเกีย่ วข้องเข้ามาเกีย่ วขอ้ ง (Involve) ร่วมมอื (Collaborate)

1 หน่วยงำนของรัฐให้ควำมสำคัญกับกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรบริหำรรำชกำร

และเปิดระบบรำชกำรในกำรให้ข้อมูล (Inform) และรับฟังควำมคิดเห็น/ปรึกษำหำรือ
(Consult) อย่ำงเป็นรูปธรรม และสอดคล้องกับภารกิจหลักขององค์กร ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

และเป้าหมายขององค์กรอย่างกว้างขวางและชัดเจน มีระบบ/วิธีการจัดการที่สะท้อนการรับผิดรับชอบ
(Accountability) ขององค์กร โดยมีการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ
และน้าข้อมูลเหล่านันไปใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร แก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจนมากขึน แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานของรัฐมีการสื่อสาร 2 ทาง
(Two-way Communication) ซึ่งส่งผลให้เกิดความเชื่อมนั่ ศรทั ธาต่อภาพลักษณ์ขององค์กร และน้าไปสูก่ าร
เปิดระบบราชการอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนต่อไป ซึ่งมีตัวอย่างหน่วยงานท่ีประสบความส้าเร็จในการเปิด
ระบบราชการ เชน่

กรมกำรขนส่งทำงบก ได้พัฒนาและปรับปรุงช่องทางการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและการรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการใช้นวัตกรรมต่าง ๆ เช่น แอพลิเคชั่น DLT GPS บนโทรศัพท์มือถือ
ซ่ึงเป็นช่องทางให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบติดตามการเดินรถ การให้บริการ และพฤติกรรม
ของพนักงานขับรถได้ตลอดเวลา หากพบเห็นการขับรถประมาท ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร มีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม
สามารถร้องเรียนหรือแจ้งเหตุได้ ซ่ึงเป็นการต่อยอดนวัตกรรมมาใช้ในการปรับปรุงงานบริการ เพื่อช่วยเหลือสังคมและ
เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการลดอุบัติเหตุได้

กรมชลประทำน ให้ข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบัน และเปิดรับฟังความคิดเห็น ข้อร้องเรียน และข้อเสนอแนะ
ในหลากหลายช่องทาง เช่น เว็บไซต์ www.rid.go.th, http://wmsc.rid.go.th/ , สายด่วน 1460, แอพลิเคช่ัน WMSC,
Facebook, twitter ตลอดจนการเปิดเวทีประชาคม โดยมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเรื่องนีโดยตรง ด้าเนินการรวบรวม
วเิ คราะห์ และสรุปความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากช่องทางดังกล่าว นา้ มาปรบั ปรุง เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการใหบ้ ริการ
นอกจากนี ยังมีการบูรณาการข้อมูลร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง อาทิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมฝนหลวง
กรมส่งเสริมการเกษตร และส้านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) เป็นต้น ส่งผลให้
มีข้อร้องเรียนลดลง (จากปี 2558 ร้อยละ 30) อีกทังยังท้าให้เกิดการบริหารการใช้น้าอย่างเป็นระบบ จากกรณีของ
บางระกา้ โมเดล ลดพนื ท่ีภยั พิบตั ิจาก 265,000 ไร่ เหลือ 10,400 ไร่ เปน็ ตน้

3

การส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

2 หน่วยงำนของรัฐให้ควำมสำคญั กับกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรบริหำรรำชกำร

ด้วยกำรเปิดระบบรำชกำรให้ภำคส่วนท่ีเก่ียวข้องเข้ำมำเก่ียวข้อง (Involve) ร่วมมือ
(Collaborate) อย่ำงเป็นรูปธรรม โดยในช่วงแรกของกำรดำเนินกำร หน่วยงำนของรัฐมีบทบำท

เป็นกลไกหลัก (Key Actor) ในกำรประสำนและเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เก่ียวข้องจำกภำคส่วน
ต่ำง ๆ ให้เข้ำมำมีส่วนร่วม เช่น ภำคประชำชน ภำควิชำกำร ภำคเอกชน เป็นต้น และบูรณำกำรกับ
หน่วยงำนภำครัฐอ่ืนในพ้ืนท่ี รวมทั้งบริหำรเครือข่ำย (Network Manager) ให้เกิดกำรรวมกลุ่มเป็น
เครือข่ำยควำมร่วมมือท่ีเข้มแข็ง และในระยะต่อมำหน่วยงำนจะมีบทบำทเป็นเพียงผู้ส่งเสริม
สนับสนุน และอำนวยควำมสะดวก (Facilitator) ประสำน/เชื่อมโยงให้เกดิ ควำมร่วมมือในกำรทำงำน
และทำงำนร่วมกันแบบหุ้นส่วนควำมร่วมมือ (Partnership) นอกจำกน้ียังมีกำรแลกเปล่ียนและ
เชื่อมโยงประสบกำรณร์ ะหว่ำงเครอื ขำ่ ย ตลอดจนมีกำรถอดบทเรียนเปน็ ต้นแบบ และจดั ตงั้ ศนู ย์เรยี นรู้
ให้แก่คนในชุมชน และยังเป็นแหล่งในกำรศึกษำดูงำนแก่ผู้สนใจ ซ่ึงนำไปสู่กำรขยำยผลตำมแนว
ทำงกำรพัฒนำที่ให้ควำมสำคัญกับกำรมีส่วนร่วมของประชำชนต่อไป ซ่ึงควำมสำเร็จของกำร
ดำเนินกำรท่ีอำศัยกำรมีส่วนร่วมของประชำชน แสดงให้เห็นจำกกำรมีรำยได้ท่ีเพ่ิมข้ึน คุณภำพชีวิต
และควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และกำรฟื้นฟู อนุรักษ์ และรักษำทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมของ
ชุมชน ซึ่งจะส่งผลกระทบที่ดีต่อสังคมและประเทศในภำพรวมด้วย ซึ่งมีตัวอย่ำงโครงกำรที่ประสบ
ควำมสำเรจ็ ดงั ต่อไปน้ี

ผลงำน หน่วยงำน

1. โครงการดูแลสุขภาพของชุมชนท่ีเกิดจากปัญหาหมอกควัน: อ้าเภอบ้านโฮง กรมควบคุมโรค

จงั หวัดล้าพูน

2. โครงการปลูกฮักท้องถิ่น หมอดนิ อินทรยี ์วิถียโสธร กรมพัฒนาทด่ี ิน

3. โครงการยกระดบั เครอื ขา่ ยเกษตรกรผเู้ ลยี งโคเนอื จงั หวดั เพชรบรุ ี กรมปศสุ ตั ว์

4. โครงการบรหิ ารจัดการนา้ อย่างยงั่ ยืน: ณ โครงการอ่างเกบ็ น้าดอยงู จงั หวัดเชียงราย กรมชลประทาน

5. โครงการพัฒนาแหล่งนา้ เพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยนื : ณ แม่น้าลีและล้านา้ แมท่ า กองบญั ชาการกองทพั ไทย

6. โครงการการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนในการป้องกันการเกิด กรมสอบสวนคดพี ิเศษ

อาชญากรรมคดีพิเศษ

7. โครงการส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในพืนท่ีป่าอนุรักษ์: กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่

ปา่ ต้นนา้ ขุนลาว อุทยานแห่งชาติขุนแจ จงั หวัดเชียงราย และพันธพ์ุ ืช

4

การสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

โครงกำรดูแลสุขภำพของชุมชนทีเ่ กิดจำกปัญหำหมอกควนั :
อำเภอบ้ำนโฮง จงั หวัดลำพนู

กรมควบคุมโรค

! สภำพปัญหำ

ชุมชนบ้านโฮ่งหลวง จังหวัดล้าพูน ประสบปัญหามลพิษหมอกควันอย่างต่อเนื่องเป็นประจ้า
ทุกปี ประชาชนในพืนที่ประสบปัญหาด้านสุขภาพ โดยโรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคหลอดลม
อักเสบ ถุงลมโป่งพอง โรคปอด โรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะการหายใจลา้ บากเฉียบพลัน
หรือหอบหืดอย่างเฉียบพลัน ซ่ึงกลุ่มเส่ียง ได้แก่ เด็ก และผู้สูงอายุ นอกจากนี ยังพบว่า

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก มีผลท้าให้เกิดโรคถุงลมโป่งพองและโรคมะเร็งปอด สาเหตุการเกิด

หมอกควนั ดงั กลา่ วเกิดจากทังภัยธรรมชาติ คือไฟไหมป้ า่ และภยั ทม่ี นุษยส์ รา้ งขนึ

กำรดำเนินกำร

ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ จึงด้าเนินโครงการการจัดการปัญหาหมอก

ควนั ในพนื ทบ่ี า้ นโฮ่งหลวง จงั หวัดล้าพูนขึน โดยมีบทบาทในการประสานและสนบั สนุน

การปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและ

ภัยที่คุกคามสุขภาพในเขตพืนท่ีที่รับผิดชอบ เพ่ือลดปัญหำสุขภำพแบบบูรณำกำรกับ

ภำคีเครือข่ำย และเฝ้ำระวังป้องกันผลกระทบทำงสุขภำพต่อภาวะหมอกควันไฟป่า

โดยการร่วมประสานแผน ภารกิจการจัดการปัญหาหมอกควนั กับกองพลทหารราบที่ 7

กองทัพภาคที่ 3 กระทรวงกลาโหม ร่างรูปแบบการจัดการเก่ียวกับปัญหาหมอกควัน

และการแก้ปัญหา ศึกษาข้อมูลพืนฐานของสถานการณ์ปัญหาหมอกควันและปัญหา

สุขภาพในพืนที่ ศึกษาวิธีการจัดการปัญหาและพฤติกรรมการจัดการภัยสุขภาพจาก

หมอกควัน และจากกระบวนการสนทนากลุ่ม น้าข้อสรุปจากการศึกษา และจาก

กระบวนการของกลุ่มตัวแทนชุมชน จัดท้าเป็น รูปแบบและกิจกรรมในชุมชน เพ่ือ

จัดการปัญหาหมอกควันในพืนท่ีชุมชนบ้านโฮ่งหลวง และสร้างจิตส้านึกให้กับ

คนในชมุ ชน

ผลลพั ธ์

การมีธรรมนูญสุขภำพของชุมชน และชุมชนให้ความร่วมมือปฏิบัติตามธรรมนูญสุขภาพ

ดังกล่าว ท้าให้สถานการณ์หมอกควันดีขึน เห็นได้จากแนวโน้มจุดความร้อนของอ้าเภอ

บ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน มีแนวโน้มลดลง ในช่วงปี 2559 และ ปี 2561 ซ่ึงส่งผลให้

คนในชุมชนมีสุขภาพดี ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่มีอาการก้าเริบในช่วงวิกฤตหมอกควันมีจ้านวน

ลดลง อีกทังยังสามารถวินิจฉัย และคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับอุบัติการณ์ของโรค ท้าให้

สามารถหามาตรการการป้องกนั แกไ้ ขไดก้ ่อนที่โรคจะลุกลามออกไป ส่งผลให้มคี ุณภาพชีวิต

ที่ดีขึน ความเป็นอยู่ดีขึน เกิดความรักสามัคคีในชุมชน คนในชุมชนมีจิตส้านึกท่ีดี ชุมชนมี

ความเขม้ แขง็ ขึน

5

การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

โครงกำร “ปลูกฮักท้องถนิ่ หมอดนิ อนิ ทรีย์ วถิ ียโสธร"

กรมพัฒนาที่ดนิ

! สภำพปัญหำ

จังหวัดยโสธรเป็นพืนท่ีหน่ึงที่มีปัญหาเรื่องของดิน โดยในฤดูแล้งดินจะแห้งจัด พืนท่ีมี
ความแห้งแล้งขาดแคลนน้าในการเพาะปลูก สามารถท้านาได้แค่ปีละครัง นอกจากนี
ยังมีปัญหาเร่ืองปริมาณน้าเสียท่ีเกิดจากการทิงขยะลงสู่แหล่งน้า และเม่ือฝนตกชะล้าง

ผิวดินท่ีมีสารพิษ/สารเคมีตกค้างลงสู่แหล่งน้า ท้าให้แหล่งน้าในไร่นามีสารพิษจาก

สารเคมีทม่ี าจากการเพาะปลกู ขา้ ว พืชไร่ และพืชผัก

กำรดำเนนิ กำร

กรมพัฒนาที่ดิน ได้ปรับวิธีการท้างานท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของเกษตรกรผ่าน

เครือข่าย “หมอดินอำสำ” โดยการเป็นพ่ีเลียงและให้ค้าปรึกษา รวมทังพัฒนา/

อบรมให้ความรู้ด้านวิชาการด้านการพัฒนาท่ีดินในด้านตา่ ง ๆ กับหมอดินอาสา ให้

สามารถน้าไปปรับใช้ในการแก้ปัญหาการผลิตของพืนที่เกษตรในชุมชนของตนเอง

ได้ ซ่ึงหมอดินอาสาจะเป็นแกนน้าในการจัดตังกลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดใช้

สารเคมีทางการเกษตร และพัฒนาจนเกิดกระบวนการรวมเป็นกลมุ่ เกษตรอินทรีย์

ซึ่งน้าไปสู่การท้างานแบบมีส่วนร่วมในระบบการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วน

ร่วม (Participatory Guarantee Systems : PGS) โดยการสร้างเครือข่ายการ

มสี ่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้มีความรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของโครงการร่วมกัน

โดยมีส่วนร่วมในทุก ๆ กระบวนการ มีการแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและองค์ความรูใ้ น

การพัฒนาการผลิตระหว่างสมาชิก มีการเรียนรู้ร่วมกันในการท้าเกษตรอินทรีย์

ตลอดจนส่ือสารให้ผู้บริโภคเข้าใจการผลิตไปพร้อม ๆ กัน รวมถึงการมีระบบการ

รบั ประกนั การผลติ ทม่ี ีข้อมลู ทีช่ ัดเจน ทา้ ใหเ้ กิดความโปรง่ ใสในการดา้ เนินการ

ผลลัพธ์

เกษตรกรมีอ้านาจในการตัดสินใจ (Empowerment) โดยสามารถก้าหนดราคาผลผลิต

ได้เองและท้าสัญญาขายต่อเน่ืองกับผู้บริโภคได้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

ให้แก่เกษตรอินทรีย์ ลดปริมาณเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เนื่องจากสามารถ

น้าไปใช้เป็นปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อใช้เองและจ้าหน่ายได้ช่วยลดต้นทุนปัจจัยการผลิตจาก

ภายนอกเกษตรกรมีรายไดเ้ พิ่มขนึ เกษตรกรมีความเข้มแข็ง มีสขุ ภาพและคณุ ภาพชีวิตทีด่ ี

6

การส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

โครงกำรยกระดับเครือขำ่ ยเกษตรกรผเู้ ลี้ยงโคเนื้อเพชรบุรี

กรมปศสุ ตั ว์

! สภำพปัญหำ

จังหวัดเพชรบุรีมีสภาพภูมิประเทศและสภาพภมู ิอากาศเหมาะสมกบั การเลียงโคเนือ โดยมปี ริมาณ
โคเนือมากอยู่ใน 10 อันดับแรกของประเทศ แต่เกษตรกรผู้เลียงโคเนือยังมีปัญหาเรื่องรายได้
ท่ีไม่แน่นอน เนื่องจากการเลียงแบบต่างคนต่างเลียง ไม่มีความเชื่อมโยงระหว่างกลุ่ม

ขาดการแลกเปล่ียนข้อมูลและประสบการณ์ในการวางแผนการผลิต การตลาด และการปรับ

รปู แบบการเลียงให้เหมาะสมกบั สภาพพืนท่ี จงึ สง่ ผลให้ขาดอ้านาจการต่อรองราคาผลผลิต

กำรดำเนินกำร

ในปี 2556 ส้านักงานปศุสัตว์จังหวัดเพชรบุรี ได้แนะน้าเกษตรกรให้จัดตังเครือข่ายเกษตรกร

ผ้เู ลียงโคเนอื จังหวัดเพชรบุรี โดยขณะนันเป็นเพียงการสัมมนาเครือข่ายและการประชุมร่วมกัน

เดือนละ 1 ครัง ซ่ึงระยะหลังเกษตรกรไม่ค่อยเข้าร่วม เน่ืองจากติดภารกิจ ต่อมาในปี 2557

ได้มีการปรับแนวทางการบริหารจัดการเครือข่ายใหม่ โดยมีกรอบแนวคิดให้ “เกษตรกรลงมือ

ท้าเอง ร่วมกันคิด ร่วมกันท้า” โดยใช้การตลาดน้าการผลิต กล่าวคือ เป็นการท้าตาม

ความต้องการของตลาด ซงึ่ มีกลไกให้เกษตรกรเป็นศนู ย์กลางในการด้าเนินงาน และมีหน่วยงาน

ภาคราชการที่เกี่ยวข้องเป็นที่ปรึกษาให้การสนับสนุนและอ้านวยความสะดวกเพ่ือน้าพาไปสู่

ความส้าเร็จ โดยการท้างานเป็นรูปแบบประชารัฐในลักษณะความร่วมมือระหว่างเกษตรกร

ภาครัฐและภาคเอกชน นอกจากนี ยังมีการจัดตังเป็นวิสาหกิจชุมชนและรวมกันเป็นเครือข่าย

วสิ าหกจิ ชมุ ชน มีการวางแผนการผลติ และแผนธุรกจิ และด้าเนินการร่วมกันอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

และยังได้มีการจัดท้าบันทึกข้อตกลง (MOU) ร่วมกันระหว่างเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนปศุสัตว์

เพชรบุรี บรษิ ัทสยามบีฟจา้ กัด และสา้ นกั งานปศุสตั ว์จังหวดั เพชรบรุ ี

ผลลพั ธ์

มีการพัฒนาโคเนือแบบครบวงจร ทังต้นน้า กลางน้า และปลายน้า ตังแต่การปลูกหญ้าและ

การปลูกตาลโตนดเพื่อเป็นอาหารโคเนือ การเพาะพันธ์ุ การเลียงโคขุน การแปลรูปผลิตภัณฑ์

จากเนือโค การน้าส่งิ เหลือใช้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น การเพาะเห็ดถั่งเช่าสีทองและผลิตเป็น

แคปซูล ตลอดจนการผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน เป็นต้น จากการด้าเนินการดังกล่าว ส่งผลให้

เกษตรกรมีอ้านาจในการต่อรองราคาผลผลิต ท้าให้มูลค่าของผลผลิตเพ่ิมมากขึน เนื่องจาก

สามารถควบคุมคุณภาพของการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลผลิตมีความน่าเช่ือถือทังเชิง

คณุ ภาพและปริมาณเป็นทต่ี ้องการของตลาด และมเี อกลักษณ์ของจงั หวดั เพชรบุรีอีกด้วย

นอกจากนียังมีการสรุปบทเรียนความส้าเร็จและขยายผล เช่น มีการจัดตังศูนย์เรียนรู้เฉพาะ
ทางด้านการเลียงโคเนือ ต้าบลพุสวรรค์ อ้าเภอแก่งกระจาน และศนู ยเ์ รียนรู้การเลยี งโคเนือของ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปเนือสัตว์ฮาลาล ต้าบลท่าแร้งออก อ้าเภอบ้านแหลม เพื่อให้ความรู้
แก่เกษตรกรและผู้ท่ีสนใจ

7

การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

โครงกำรบริหำรจดั กำรน้ำอย่ำงยั่งยนื : ณ โครงอ่ำงเก็บน้ำดอยงู จังหวัดเชียงรำย

กรมชลประทาน

สภำพปัญหำ

! อ้าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย เป็นพืนที่เพาะปลูกซ่ึงอยู่บนท่ีราบและมีความสูง
ทเ่ี หมาะสมในการเพาะปลูกพืชหลายชนิด ดงั นัน จงึ มีความตอ้ งการน้าในปริมาณสงู ส้าหรับ
ใชใ้ นการเพาะปลูกในพนื ที่ดังกล่าว โดยเฉพาะในฤดูแลง้ พืนทเี่ พาะปลูกตอ้ งการน้ามากถึง
11,000 ไร่ ขณะท่ีพืนที่อื่น ๆ จะใช้น้าได้เพียง 6,000 - 7,000 ไร่เท่านัน จึงท้าให้เกิด
การเปรียบเทียบถึงสิทธิในการใช้น้าที่ไม่เท่าเทียมกัน เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม

ในการจดั การน้า ส่งผลใหเ้ กดิ ปัญหาความขดั แยง้ ระหว่างผ้ใู ช้น้า เกดิ ความแตกแยกระหว่าง

ชุมชนกับชมุ ชน จนน้าไปสู่การประกาศภัยแลง้ ในพืนท่ชี ลประทาน และยังพบสภาพปัญหา

ต่างคนต่างมุ่งที่จะใช้น้าเพื่อประโยชน์ของตัวเอง ซึ่งหากปล่อยให้เกิดปัญหาเช่นนีต่อไป

ในอนาคตอาจเกดิ การแย่งชงิ นา้ ท่ดี ุเดอื ดในพืนท่ีโครงการอา่ งเก็บน้าดอยงูอย่างแน่นอน

กำรดำเนินกำร

กรมชลประทาน ให้ความส้าคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการน้า

เพื่อเปล่ียนควำมขัดแย้งให้เป็นควำมร่วมมือ ท่ีมีควำมเอ้ืออำทรต่อกันของชุมชนในพ้ืนท่ี

โดยเร่ิมจากการเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของภาคประชาชน คือ กลุ่มเกษตรกร

และกลุ่มผู้ใช้น้า ด้วยการยกระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้าท่ีชัดเจน

อย่างเป็นระบบ รวมถึงการจัดให้มีการเปิดเวทีชุมชน เพ่ือหาแนวทางร่วมกัน และน้าไปสู่

แนวทางแก้ไขปัญหาท่ีเร่งด่วน แล้วท้าการเปิดเวทีชุมชนอีกครัง เพื่อรับฟังความคิดเห็น

พร้อมหาแนวทางการแก้ไข และน้าไปปฏิบัติ ทา้ เช่นนวี นไปเรื่อย ๆ จนสมาชิกเกิดสามัคคีกัน

มากขึน เป็นความร่วมมือ ด้วยการให้สมาชิกทุกภาคส่วน ทังภาคประชาชน ประชาสังคม

ภาคเอกชน และภาครัฐ เข้ามามีส่วนร่วมอย่างตอ่ เน่ืองตังแตเ่ ร่ิมต้น ตังแต่การเก็บรวมรวมข้อมูล

การวางแผนการบรหิ ารจัดการน้า การปฏิบัติ รวมถึงการตดิ ตามควบคมุ เพ่ือลดความขัดแย้ง และ

เกิดความเป็นธรรมและได้รับน้าทั่วถึงทุกแปลงนา ด้วยการใช้เทคนิคแผนท่ีท้ามือวาดแผนท่ีแปลง

กรรมสิทธิ์ของทุกแปลงนา การเดินตรวจจุดที่เกิดปัญหาต่าง ๆ คัดเลือกผู้แทนฝาย เพื่อน้าไปสู่

การวางกติกาการรบั นา้

ผลลพั ธ์

การมีกลไกการบริหารจดั การน้าได้อยา่ งทัว่ ถึง และเกษตรกรสามารถปลกู พืชได้หลากหลาย

ชนิดมากขึน ปญั หาได้คลี่คลายลง เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นตวั แบบการบรหิ ารจัดการน้า

ที่สร้างความเป็นธรรมของชุมชนอย่างย่ังยืน ที่ทุกฝ่ายร่วมมือกัน ชุมชนรู้จักแบ่งปันและมี

ความสามคั คีกันมากขึน ลดภาระภาครฐั รวมทัง เพิม่ ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการน้า

ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ย่างแท้จริง ซึ่งสามารถน้าไปประยุกต์ใช้เพ่ือ

ขยายผลตอ่ ไป

8

การสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

! โครงกำรพัฒนำแหลง่ นำ้ เพื่อกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน:
แม่น้ำลีแ้ ละลำนำ้ แม่ทำ จงั หวัดลำพูน

กองบญั ชาการกองทัพไทย

สภำพปัญหำ
จากสถานการณ์ภัยแล้งในพืนท่ีภาคเหนือ ในปี 2559 ท้าให้น้าในล้าน้าแม่น้าปิงและ
ลมุ่ น้าสาขาแหง้ ขอด เกิดการขาดแคลนน้ากินน้าใช้และท้าการเกษตรกรรม ส่งผลลุกลาม
ท้าให้เกดิ ปัญหาแยง่ ชิงน้า กระทบทังดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสงั คม และดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

กำรดำเนินกำร
กองบัญชาการกองทัพไทยตระหนักถึงความเดือดร้อนของประชาชนในปัญหาภัย
แล้งที่เกิดขึน เนื่องจากปัญหาดังกล่าวเกินก้าลังของฝ่ายพลเรือนในการจัดการ
กองบัญชาการกองทัพไทยจึงเป็นผู้น้ากระบวนการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามี
สว่ นร่วมในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมแกป้ ัญหา และส่งเสรมิ ให้มีการรวมกลุ่ม
เครือข่ายนักพัฒนา โดยกองบัญชาการกองทัพไทยเป็นผู้ให้การสนับสนุน
เคร่ืองจักรกลและงบประมาณในการขุดลอกแม่น้าลีและล้าน้าแม่ทา พร้อมทังให้
ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางวิชาการ วิธีการสร้างฝายประชารัฐ การสร้าง
ความตระหนกั ในการรักและหวงแหนแหล่งนา้ สนบั สนุนการจัดตังศนู ยก์ ารเรียนรู้
เป็นโครงการหมู่บ้านตัวอย่างตามรอยเท้าพ่อด้านการพัฒนาแหล่งน้า รวมถึง
ขับเคลื่อนเครือข่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบริหารจัดการเครือข่าย
ใหม้ คี วามเข้มแข็งและยั่งยนื

ผลลพั ธ์
ชุมชมมีแหล่งน้าส้าหรับการอุปโภคบริโภคและท้าการเกษตรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึน และ
มรี ายได้จากการท้าสวน และขยายพนื ที่ การท้าฝายไปในชมุ ชมโดยรอบ

9

การสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

โครงกำรกำรมีสว่ นรว่ มของเครอื ขำ่ ยภำคประชำชน
ในกำรป้องกนั กำรเกิดอำชญำกรรรมคดีพิเศษ

กรมสอบสวนคดพี ิเศษ

! สภำพปญั หำ

จากการรับเร่ืองเป็นคดีพิเศษ เรื่องสืบสวน และเรื่องตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า
กลุ่มคดีอาญาที่เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจ (อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การเงิน
การธนาคาร ภาษีอากร ฟอกเงิน กู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน แชร์ลูกโซ่) และ
คดีด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและส่ิงแวดล้อม (อาชญากรรมท่ีมีผลกระทบต่อผู้บริโภค
ส่ิงแวดล้อมการบุกรุกที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)
มีจ้านวนเพ่ิมขึนอย่างชัดเจน และเป็นคดีที่ประชาชนในระดับฐานรากหรือผู้ท่ีมีฐานะ
ยากจนถึงปานกลาง ตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรม รวมทังมีผู้เสียหายเป็นจ้านวนมาก
โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2559 - 2560 ท่ีผ่านมา นอกจากนี การเคล่ือนย้ายคน/แรงงาน
อาจน้าไปสู่ปัญหาการค้ามนุษย์ การเพ่ิมขึนของประชากร การไม่สมดุลของการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจและส่ิงแวดล้อม อาจน้ามาซึ่งขบวนการอาชญากรรมระหว่างประเทศ
ซ่ึงองค์กรอาชญากรรมจะไม่ใช่เพียง Organized Crime แต่อาจอยู่ในรูปกลุ่มธุรกิจ หรือ
กลุ่มผลประโยชน์ที่ด้าเนินธุรกิจปกติ และการส่งเสริมการท่องเท่ียว หรือธุรกิจ
การท่องเที่ยว ท้าให้เกิดการบุกรุกพืนท่ีป่าหรือพืนที่สงวนของรัฐจากกลุ่มนายทุนชาวไทย
และชาวต่างประเทศเพื่อปลูกสร้างโรงแรม รีสอร์ท หรือบ้านพัก ส่งผลกระทบกับการเกิด
อาชญากรรมกลุ่มคดที รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

กำรดำเนินกำร

กรมสอบสวนคดีพิเศษ ปรับระบบและวิธีการท้างาน ที่เน้นการเปิดระบบราชการให้ภาคส่วน
ท่ีเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วม โดยมุ่งเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการเฝา้ ระวัง
แจ้งเบาะแส การป้องกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษในพืนท่ี และเป็นผู้แทน
ในการประสานงานรับเร่ืองร้องทุกข์ของประชาชนกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อส่งเสริม
การมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนในการป้องกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษ
อย่างยง่ั ยนื โดยมีวธิ ีการ ดงั ต่อไปนี

1. ส่งเสริมให้ภาคประชาชนท่ีมีจิตอาสาเข้ามามีส่วนร่วมในการ “ร่วมคิด ร่วมท้า
ร่วมรับผิดชอบ” บนฐานแนวคิดในการขับเคล่ือนกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน คือ
“เสรมิ สร้าง พัฒนา รักษา ยกระดบั เชดิ ชู”

2. เป็นแกนกลางในการเช่ือมโยง/บูรณาการกับหน่วยงานภาครัฐอื่นที่เก่ียวข้อง
เข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนและเป็นหุ้นส่วน (Partnership) เช่น สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ การสังเกตพฤติการณ์บุคคล
ส้านักข่าวกรองแห่งชาติเกี่ยวกับการข่าว การวิเคราะห์ข่าว การตรวจสอบ/ทานข่าว และ

10

การสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561
การให้ข่าว การหาข่าวเชิงลึก ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยใน
พนื ท่ีการกระท้าความผิดรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นภัยต่อสังคม และกรมป่าไม้ กรมทรพั ยากรธรณี
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช เป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับป่าไม้แนวเขต
อุทยานแห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับแกนน้าเครือข่ายภาคประชาชนเกี่ยวกับ
การใหข้ ่าว การเขยี นข่าวและการรายงานข่าวภาคประชาชน เป็นต้น

ผลลพั ธ์

การพัฒนาอย่างย่ังยืนในการเฝา้ ระวังการเกิดอาชญากรรมคดพี ิเศษ โดยการมีตน้ แบบ
ชุมชนท่ีเข้มแข็งในการปกป้องและดูและชุมชนตนเอง และบังคับใช้กฎหมาย
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยสามารถลงโทษผ้กู ระท้าความผิดได้ และเรียกคืนที่ดินของรัฐ
ได้จ้านวนมาก เกิดการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายป้องกันอาชญากรรมคดีพิเศษ ที่มาจาก
ประชาชนท่ีมีจิตอาสา ที่มีพลังบริสุทธิ์ ซึ่งมีการเช่ือมโยง/ประสานความร่วมมือกัน
และเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันการบุกรุกทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รวมทังรักษาสิทธิขันพืนฐานของประชาชน รวมทังเกิดศูนย์รับข้อมูลและเผยแพร่
อาชญากรรมคดีพิเศษ ที่เป็นศูนย์กลางในการกระจายความรู้ การรับรู้ และเตือนภัย
ประชาชนในพืนที่ และเป็นศูนย์รับเร่ืองร้องเรียน ร้องทุกข์ของเครือข่ายภาค
ประชาชนและประชาชนในพืนท่ี โดยเครือข่ายจะท้าหน้าท่ีเป็นตัวแทนเจ้าหน้าที่ของ
กรมฯ ในการอ้านวยความยุติธรรมและป้องกันการเกิดอาชญากรรมในพืนที่
ได้อย่างย่ังยืน นอกจากนี ยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายของประชาชนในการมาติดต่อ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษไดอ้ กี ดว้ ย

11

การส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

โครงกำรสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในพืน้ ทีป่ ำ่ อนุรกั ษ์ :
ปำ่ ต้นน้ำขนุ ลำว อุทยำนแห่งชำตขิ นุ แจ จังหวัดเชียงรำย

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่าและพนั ธ์ุพืช

! สภำพปญั หำ

ปัจจุบันมีชุมชนตังถิ่นฐานและท้ากินในพืนท่ีลุ่มน้าขุนลาว บริเวณบ้านแม่ขะ
จาน ต้าบลแม่เจดีย์ใหม่ อ้าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ขึนไปจนถึงดอยลังกา ซ่ึง
พนื ท่ีส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงมคี วามลาดชัน มีพืนท่ีราบลุ่มในหบุ เขาบรเิ วณล้าน้าไหลผ่าน
มีสภาพป่าเป็นพืนท่ี ร้อยละ 80.55 ของพืนที่ลุ่มน้า ซ่ึงเป็นป่าต้นน้า มีชาวบ้านอาศัย
อยู่เป็นจ้านวนมาก แต่พืนที่ดังกล่าวถูกประกาศให้เป็นพืนที่ป่าอนุรักษ์ทับที่ท้ากินของ
ชาวบ้าน ห้ามมิให้เปลี่ยนแปลงลักษณะพืนท่ีป่าไม้เป็นรูปแบบอ่ืน ท้าให้เกิดความ
ขัดแยง้ ระหวา่ งชาวบา้ นกบั เจา้ หนา้ ที่

กำรดำเนนิ กำร

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ได้ปรับบทบาทจากผู้บังคับใช้
กฎหมายมาเป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุน (Facilitator) อาศัยกระบวนการ
มีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก เพ่ือให้ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกับป่า
ได้อย่างย่ังยืน โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องมาพูดคุยกันถึง
ต้นเหตุและความต้องการของชุมชน รวมถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึน
เริ่มแต่การจัดให้มีเวทีชาวบ้านในการระดมความคิดเห็น ส้ามะโนปัญหา
จัดล้าดับความส้าคัญของปัญหา ค้นหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข สร้างสรรค์
กิจกรรมในการคุ้มครองป้องกันและฟื้นฟูพืนท่ีป่าขึนมาตามสภาพพืนท่ี และ
ความต้องการท่ีแท้จริงของชุมชน เช่น การสร้างฝายต้นน้า จัดสร้างระบบ
ประปาภเู ขา การท้าแนวป้องกันไฟป่า จัดเวรลาดตระเวนป้องกนั พืนที่ ปลูกป่า
ฟื้นฟูระบบนิเวศ ปลูกเสริมป่าด้วยไม้ในท้องถ่ิน พืชกินได้ สมุนไพร เป็นต้น
หน่วยจัดการต้นน้าจะท้าหน้าที่ให้ค้าปรึกษา ประสานงาน แสวงหาความร่วมมือ
จากหน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนอ่ืน เช่น กรมวิชาการเกษตร องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยโป่ง โครงการพัฒนา
คุณภาพชีวิตชุมชนในพืนที่อนุรักษ์ตามแนวพระราชด้าริ มูลนิธิสายใยแผ่นดิน
เพ่ือให้เข้ามาร่วมด้าเนินการกับชุมชนผ่านเวทีชาวบ้าน ร่วมกันส้ารวจข้อมูล
พืนฐานของชุมชน จัดท้าแผนท่ีการใช้ประโยชน์ท่ีดินและที่ท้ากินโดยชุมชน
มีส่วนร่วม มีการก้าหนดกฎระเบียบในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรของชุมชน
โดยมีการท้าบันทึกข้อตกลง ในการ “ไม่ซือไม่ขายที่ดินในเขตป่าอนุรักษ์” กับ
อุทยานแห่งชาติขุนแจ และได้ร่วมกันก้าหนดกฎ ระเบียบในการใช้ประโยชน์

12

การส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการบริหารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

ทรัพยากรของชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน โดยผ่านการลงมติจากเวทีประชุม
ชาวบ้าน รวมทัง มีการศึกษาวิจัยหาพืชที่เหมาะสมกับสภาพพืนที่ เพ่ือฟื้นฟู
พืนที่ป่าต้นน้าขุนลาว และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับชุมชนในพืนท่ี ให้ชุมชน
ดงั เดิมสามารถอยกู่ บั ปา่ ไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื

ผลลพั ธ์

จากกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมดังกล่าว ท้าให้มีการจัดตัง “เครือข่ายรักษ์ป่าต้น
น้าขุนลาว” ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มชุมชนในพืนที่ต้นน้าขุนลาวทัง 8 หมู่บ้าน ร่วมกัน
ท้ากิจกรรมด้านการอนุรักษ์แหล่งน้าและป่าต้นน้าในพืนที่ชุมชน สามารถรักษาและ
คงความสมบูรณ์ของพืนที่ป่าต้นน้าขุนลาว ให้เหมาะสมต่อการเป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์
ครึ่งบกคร่ึงน้าท่ีหาพบได้ในล้าห้วยท่ีใสสะอาดบนยอดภูเขาสูงเท่านัน ได้แก่ ซาลาแมน
เดอร์ หรือ กะท่าง หรือจงิ จกน้า ชุมชนในพืนท่ตี น้ น้าขุนลาว ได้ใช้นา้ จากลา้ ห้วยท้าเป็น
ระบบประปาภูเขา ซึ่งเป็นน้าสะอาด มีน้าไหลตลอดปี ปราศจากสารพิษเจือปน อย่าง
เพียงพอตลอดทังปี ท้าให้มีผลผลิตจ้าหน่าย เพื่อเพ่ิมรายได้ให้ครัวเรือน ได้แก่ ใบชา
กาแฟ กล้วยไม้ สับปะรดสี และน้าผึงป่า เป็นต้น โดยไม่ต้องตัดไม้ท้าลายป่า รักษาป่า
ภายใต้วิถีเกษตรอินทรีย์ ส่งผลให้ชาวบ้านในชุมชนพนื ที่ต้นน้าขนุ ลาวมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดี
ขึ น
ทังยังท้าให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีกองทุนเงินรายได้จากการขายผลผลิตจากระบบ
การค้าที่เป็นธรรม ส้าหรับใช้ในกิจกรรมสาธารณะของชุมชน จนท้าให้พืนท่ีป่าต้นน้า
บ้านขุนลาว บ้านปางมะกาด บ้านห้วยคุณพระ บ้านห้วยทราย และบ้านห้วยน้ากืน
เป็นหมู่บ้านต้นแบบ และแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าต้นน้า ร่วมกับการท้าเกษตร
อินทรียแ์ บบรกั ษาป่าอยา่ งย่ังยนื การเลยี งผึงโพรง และการจดั การโฮมสเตย์

13

การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบรหิ ารราชการไทย ประจาปี พ.ศ. 2561

บันทกึ

___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________

14




Click to View FlipBook Version