The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติการ-ปี-66-ต.หัวปลวก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phat25162516, 2023-04-21 03:02:54

เล่มแผนปฏิบัติการ-ปี-66-ต.หัวปลวก

เล่มแผนปฏิบัติการ-ปี-66-ต.หัวปลวก

แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566 กศน.ต าบลหัวปลวก กศน.ต าบลหัวปลวก ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ


กระทรวงศึกษาธิการ บันทึกความเห็นชอบคณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก กศน.ต าบลหัวปลวก ได้จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี2566 คณะกรรมการมีการประชุมเพื่ออนุมัติเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจ าปี 2566 ของ กศน.ต าบลหัวปลวก และมีความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะดังนี้ เห็นชอบอนุมัติแผนปฏิบัติการประจ าปี2566 ของ กศน.ต าบลหัวปลวก ไม่เห็นชอบ เนื่องจาก......................................................................................... ลงชื่อ.......................................ประธานกรรมการ กศน.ต าบล (นายถาวร บุญนาที) ลงชื่อ.............................................กรรมการ ลงชื่อ..........................................กรรมการ (นางประเทือง มุขดา) (นายวิชัย มีเจตนา) ลงชื่อ.............................................กรรมการ ลงชื่อ..........................................กรรมการ (นายนวพล เพ็ญศรี) (นางสาวกนกวรรณ ขลิบเงิน) ลงชื่อ..............................................กรรมการและเลขานุการ (นางสาวพัชรี มะลิแย้ม) -อนุมัติ ลงชื่อ............................................ (นายกิตติภพ อ่วมมั่น) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเสาไห้


ค าน า แผนปฏิบัติการ กศน. ต าบลหัวปลวก ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ฉบับนี้ เป็นเอกสาร ในการ ด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ที่สนองตอบ เจตนารมณ์พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ทิศทางการพัฒนา ของนโยบายรัฐบาลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 รวมทั้งนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 สาระของแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของ กศน. ต าบลหัวปลวก ประกอบด้วย ภารกิจ บทบาทหน้าที่ จุดเน้นการ ด าเนินงาน และรายละเอียดงาน/โครงการและงบประมาณที่จะด าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน. ต าบลหัวปลวก ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ฉบับนี้จนส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของ กศน. ต าบลหัวปลวก จะเป็นแนวทางในการบริหารงาน/โครงการ และงบประมาณ ตลอดจนเป็น เครื่องมือในการก ากับติดตามผลการด าเนินงานของผู้บริหาร รวมทั้งเป็นข้อมูลส าหรับหน่วยงานและผู้สนใจ กิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ต่อไป กศน.ต าบลหัวปลวก


สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ต าบล - สภาพทั่วไป ๑ - โครงสร้างการบริหาร (กศน.ต าบลหัวปลวก) 8 - งบประมาณ (ปีงบประมาณปัจจุบัน) 9 และการใช้จ่าย (ปีงบประมาณที่ผ่านมา) - สิ่งอ านวยความสะดวก 10 - แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย 11 - เกียรติยศ ชื่อเสียง และผลงาน/โครงการดีเด่น 12 - บทบาทอ านาจหน้าที่กศน.ต าบล 13 - บทบาทหน้าที่ของหัวหน้า กศน.ต าบล 13 ส่วนที่ ๒ ทิศทางการด าเนินงานของกศน.ต าบลหัวปลวก (กศน.ต าบลหัวปลวก) - ปรัชญา/วิสัยทัศน์/อัตลักษณ์/พันธกิจ 14 - นโยบายและจุดเน้นปีงบประมาณ ๒๕๖5 15 - เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความส าเร็จ 19 - ผลการประเมินตนเองกศน.ต าบลหัวปลวกประจ าปี๒๕๖4 20 - ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ กศน.ต าบลหัวปลวก 24 ส่วนที่ ๓ รายละเอียดของแผนงานโครงการ - โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 25 - โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 28 - โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและชุมชน 30 - โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ 32 - โครงการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 34 - โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย และแหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น 36


ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ต าบล 1. สภาพทางกายภาพของชุมชน ต าบลหัวปลวก 1.1 ชื่อ : กศน.ต าบลหัวปลวก 1.2 สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเสาไห้ ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ 1.3 ประวัติกศน.ต าบล ศูนย์การเรียนชุมชนต าบลหัวปลวก ได้จัดตั้งเมื่อ ปีพ.ศ. 2546 ตั้งอยู่ที่ ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 2 ต าบลหัวปลวก และต่อมาได้ย้ายสถานที่และเปลี่ยนชื่อเป็น กศน.ต าบลหัวปลวก พร้อมท าพิธีเปิด โดย ส.ส.วัชรพงศ์ คูวิจิตสุวรรณ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ณ อาคารด้านหลังส านักงานเทศบาลต าบล หัวปลวก สถานที่ตั้ง กศน.ต าบลหัวปลวก ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 2 อาคารหลังส านักงานเทศบาลต าบลหัวปลวก ต าบลหัวปลวก อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี 18160 โทร.081-7730082 ข้อมูลบุคลากร พ.ศ. 2546 - 2553 นายธนทัต โกษีโรจน์ ต าแหน่ง ครูอาสาสมัครฯ พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ต าแหน่ง หัวหน้ากศน.ต าบล 1


ประวัติความเป็นมาต าบลหัวปลวก ต าบลหัวปลวกเป็นต าบลเดียวในอ าเภอเสาไห้ ที่อยู่ห่างจากแม่น้ าป่าสักไปทางทิศเหนือประมาณ ๗ กิโลเมตร ที่ชื่อว่าต าบลหัวปลวก เพราะมีหมู่บ้านชื่อว่าบ้านหัวปลวก (หมู่ ๓) พื้นที่โคกสูงดังจอมปลวก ยาวขวางตะวัน ที่มุมด้านเหนือเดิมมีป่าช้าสาธารณะชื่อว่า “ป่าช้าหนองไฮ” เป็นป่าช้าผีดิบ คนโบราณจะเอา ศพที่ตายโหงหรือตายพรายมาฝังที่ป่าช้านี้ก่อน แล้วจึงขุดขึ้นเผาในภายหลัง พ่อใหญ่สอน ทองอุ่นเรือน เล่าว่าคนพื้นเดิมบ้านนี้อพยพมาจากบ้านงิ้วงาม(ปากบาง) ประมาณสมัย รัชกาลที่ 3 เนื่องมาจากเกิดอหิวาตกโรคระบาด จึงย้ายมาจับจองที่อยู่กันที่นี่ ครั้งนั้นมีแต่ป่า มีสัตว์ป่า กลางคืนต้องเอาสุนัขผูกไว้บนบ้านเพราะเกรงเสือจะมาคาบไปกิน ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๓ มีงูเหลือม ๒ ตัว ใหญ่มากเลื้อยเข้ามาในหมู่บ้าน โบราณว่างูเข้าบ้านจะเกิดเสนียดจัญไร ปรากฏว่าปีนั้นมีคนบ้านหัวปลวก ตายไปถึง ๖๒ คน ปัจจุบันบ้านหัวปลวกเจริญ มีถนน มีไฟฟ้าผ่านเข้ามาในหมู่บ้าน น้ ามีใช้ไม่ขาด - ทิศตะวันตกของบ้านหัวปลวก คือ บ้านแพะ (หมู ๔ , ๕ , ๗) เป็นหมู่บ้านที่เกิดพร้อมกับบ้านหัวปลวก คือ เกิดประมาณสมัยรัชกาลที่ ๓ มีคนจากบ้านยาง บ้านปากบาง มาอยู่ที่นี่ “พ่อใหญ่เนตร” “แม่ใหญ่อิ่ม” บรรพบุรุษของแม่ผม (พิเนตร) ถือว่าเป็นครอบครัวหนึ่งของคนรุ่นแรกที่มาอยู่บ้านแพะ คนนิยมเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านแพะหัวปลวก” บางทีเรียกว่า แพะหนองถ่าน ที่รียกเช่นนี้เพราะ สระบุรีมีหมู่บ้านที่ชื่อ “แพะ” อยู่หลายหมู่บ้านเพื่อมิให้เกิดความสับสน จึงเรียกให้มีสร้อยต่อท้าย เช่น แพะกลาง แพะ แขกแดง แพะโคก แพะสนามบิน แพะเชิงเขา เป็นต้น น่าสังเกตว่าบ้านเหล่านี้เป็นหมู่บ้านคนไทยวนทั้งสิ้น และค าว่า “แพะ” ในที่นี้หมายถึงที่ดินที่ไม่ราบเรียบ สมัยก่อนบ้านแพะเป็นชุมชนใหญ่ บ้านเรือนหนาแน่น มีร้านค้า เป็นหมู่บ้านที่ครึกครื้น เป็นหมู่บ้าน ที่อยู่กลางทุ่งนา ไม่มีถนนผ่าน จะไปไหนมาไหนก็ต้องเดินเท้ากันทั้งสิ้น แม้ทางจะไกลก็ตาม ผมเคยแต่งบท จ๊อยกล่าวถึงบ้านแพะไว้ว่า “บ้านแพะบ้านเก่า เพิ่นเล่าเอาไว้ ก่อนเป็นบ้านใหญ่ หมู่คนแน่นหนา เป็นชุมชนคนยวน ม่วนงัน เฮฮา จ๊อยลั่นทุ่งนา สนั่นฟั่นฟื้น คนยวนบ้านนี้ ประเพณียั่งยืน บ่กลายเป็นอื่น แลนา” ใบบอกเมืองสระบุรี ที่ ๒ ลงวัน ๑ ฯ ๑ ๕ ค่ าปีจอ สัปตศก ๑๒๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ความว่า พระ พิทักษ์เทพธานี กรมการเมืองกรุงเก่า แจ้งมายังกรมการเมืองสระบุรีว่า “ให้จับอ้ายโห้กับพวกสามสิบสี่คน ซึ่ง ได้ปล้นแย่งชิงฝูงกระบือของนายร้อยเสารถต้องซู่คนในบังคับอังกฤษ ที่ต าบลบ้านแพะ แขวงพระพุทธบาท” ความตอนนี้บอกว่าสมัยนั้นบ้านแพะขึ้นอยู่กับ เมืองพระพุทธบาท ผู้ร้ายทั้งหลายรายมีชื่อในบัญชีหางว่าว คือ อ้ายทอง อ้ายมี อ้ายจัน อ้ายบัว อ้ายบุญ ห้าคนนี้อยู่ที่บ้านช้าง อ้ายเอี่ยม อ้ายเพา อ้ายปัน อ้ายเชื่อม อ้ายค า อ้ายขาว หกคนนี้อยู่บ้านม่วง อ้ายสาย อยู่บ้านหมาก คนเหล่านี้มาปล้นที่บ้านแพะ นี่คือเหตุการณ์สมัยรัชกาลที่ ๕ ที่มีการปล้นชุกชุม บ้านแพะก็มีชื่อปรากฏอยู่ในบันทึกนี้ด้วย ต่อมาคนบ้านแพะกระจายย้ายไปอยู่ที่นาของตนบ้าง ไปอยู่หมู่บ้านอื่นบ้าง และก็ตั้งชื่อหมู่บ้านตาม สภาพภูมิศาสตร์ น่าสังเกตว่าต าบลหัวปลวกมีค าว่า “ห้วย” อยู่ ๕ หมู่บ้าน คือ บ้านห้วยใหญ่ (หมู่ ๙) 2


บ้านห้วยน้อย (หมู่ ๕) บ้านห้วยน้ าบ่า (หมู่ ๒) บ้านห้วยหวาย (หมู่ ๑๑) บ้านห้วยป่าซาง (หมู่ ๖) ข้างเคียง ต าบลนี้ก็มีบ้านห้วยศาลเจ้า บ้านห้วยน้ าโจน อีกด้วย และมีค าว่า “หนอง” อยู่ ๔ หมู่บ้าน หนองกระเบา (หมู่ ๖) หนองไผ่ หนองน้ าบ่อ (หมู่ ๘) และหนองไม้เลี่ยม(หมู่ ๑๑) ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ พ่อใหญ่ด า จูมิ คนบ้านแพะไปอยู่ที่บ้านหนองกระเบา (มีต้นกระเบาอยู่ริม หนองจึงเรียกว่าบ้านหนองกระเบา) ต่อมาก็มีคนย้ายตามไปอยู่จนเป็นหมู่บ้านใหญ่ พ.ศ. ๒๔๘๓ ก็เปิด โรงเรียนบ้านหนองกระเบา พ.ศ. ๒๔๙๒ ได้สร้างวัดขึ้นชื่อว่า “วัดขตสว่าง” แต่วัดนี้อยู่ในเขตต าบลห้วย ป่า หวาย อ าเภอพระพุทธบาท (ค าบอกเล่าของคุณครูสีห์ มิ่งมณี) ไกลสุด คือ หมู่ ๑๐ บ้านม่วงฝ้าย นายมี อินทร์นา คนบ้านนี้เล่าว่า ตนมาจากบ้านปากบางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ จัดว่าเป็นคนยวนรุ่นแรกที่มาอยู่ถิ่นนี้ ก่อนนี้มีคนกลุ่มบ้านน้ าโตนมาอยู่ก่อนแล้ว ต่อมามีคนยวน จากบ้านแพะ บ้านสันมะค่า บ้านโคกกระพี้ บ้านเสาไห้ ตามมาอยู่ เลยกลายเป็นหมู่บ้านคนยวน เมื่อนายมี อินทร์นา มาอยู่นั้น ที่ดินไม่ต้องซื้อเพราะมีแต่ป่ามาถึงก็จับจองเอาตามความเหมาะสม ที่เรียกว่าบ้านม่วงฝ้ายนั้น แต่ก่อนถิ่นนี้มีมะม่วงชนิดหนึ่งเรียกว่า “มะม่วงฝ้าย” ผลเล็กขาวนวล คล้ายมะนาว เป็นมะม่วงที่เปรี้ยวมาก แม้สุกแล้วก็ยังเปี้ยว ไม่มีใครนิยมปลูก ปัจจุบันเลยไม่มีมะม่วงชนิดนี้ แล้ว “ไปบ้านม่วงฝ้าย อยู่ปลายอ าเภอแต่ก่อนนี้เนอ ไปมายากแท้ เป็นถิ่นกันดาร บ้านป่าเก่าแก่ สัตว์ป่า หลายแท้ ขาดๆเกินๆ เดี๋ยวนี้ม่วงฝ้าย เป็นฝ่ายจ าเริญ ผ่อไหนก็เพลิน ยิ่งนัก” ผมเคยแต่งบทจ๊อย (๒๕๓๗) ไว้ว่าอย่างนั้นเมื่อกลับไปดูวันนี้ก็ยังเห็นตามเดิมว่า “เดี๋ยวนี้ม่วงฝ้ายเป็น ฝ่ายจ าเริญ ผ่อ(ดู) ไหนก็เพลินยิ่งนัก” ท้องทุ่งมีแต่ดงข้าวโพดเขียวไปหมด บางส่วนของพื้นที่ว่างเปล่าเลย เลย เข้าไปถึงน้ าโจนบางคนเรียก “น้ าโตน” เป็นแผ่นดินที่เป็นรอยต่อของเขตอ าเภอเสาไห้กับต าบลหน้าพระลาน อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ เลยขึ้นไปเป็นแผ่นดินสูงชันขึ้นไป ตรงนี้เป็นทางน้ าไหลตกลงมา ทางอบต.หัวปลวกได้ สร้างฝายคอนกรีตเสริมเหล็กกั้นน้ าไว้ตรงนี้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ยามฝนตกหนักมีน้ าไหลลงมามากจะเป็นน้ าตก ที่สวยงาม อ าเภอเสาไห้ก็มีน้ าตกเหมือนกัน หมู่ที่ ๑๒ บ้านเขาดินใต้ อยู่ทางทิศตะวันออกของบ้านม่วงฝ้าย มีภูเขาดิน มีถนนเลียบละที่เชิงเขา ประชาชนรุ่นแรกที่มาอยู่หมู่บ้านนี้มาจากบ้านหนองม่วง บ้านห้วยบง บ้านตั้งใหม่ (อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ) คนรุ่นเก่าเหล่านี้หากสืบลึกลงไปก็มาจากบ้านริมแม่น้ าป่าน้ าทั้งสิ้น พ่อใหญ่ป๋อง มีเจตนา คนบ้านนี้เล่าว่า ท่านเป็นคนรุ่นแรกที่มาอยู่หมู่บ้านนี้ สมัยนั้นยังเป็นป่า มี สัตว์ป่าชุกชุม เช่น เสือ เก้ง งู ฯลฯ ไม้ยางมีมาก ที่ดินรุ่นนั้นเงิน ๗๐๐ บาท ซื้อได้ถึง ๓๐ไร่ พื้นที่แห่ง นี้หมดสภาพป่าไปเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ นี่เอง คงไล่ๆ กับบ้านม่วงฝ้าย หมู่ ๑๑ บ้านห้วยหวาย มีล าห้วยผ่านหมู่บ้านนี้และมีหวายขึ้นอยู่มากตามริมห้วย จึงชื่อว่าบ้านห้วย หวาย คนพื้นเดิมมาจากบ้านป่าคา บ้านหนองม่วง (อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ) และมาจากบ้านแพะ “พ่อใหญ่ สว่าง แม่ใหญ่เตียม แปงตา” ถือว่าเป็นคนรุ่นแรกที่มาบุกเบิกถิ่นนี้ 3


หมู่ ๑๑ อีกกลุ่มหนึ่งชื่อว่า บ้านหนองไม้เลี่ยม เป็นกลุ่มบ้านใหญ่ทีเดียว อยู่เลยห้วยหวายขึ้นไปทาง ตะวันออก ตั้งบ้านอยู่ริมล าห้วยที่ รพช. ไปขุดแต่งไว้อย่างสวยงามแต่เมื่อวันที่ผมไปล าห้วยแห้งผากไม่มีน้ าเลย สมัยก่อนต าบลหัวปลวกเป็นต าบลที่กันดารมากเพราะห่างไกลเส้นทางคมนาคม ปัจจุบันมีถนนเข้าถึง ทุกหมู่บ้าน มีไฟฟ้าใช้ ขณะนี้มีคลองน้ าแยกจากแม่น้ าป่าสักที่อ าเภอแก่งคอย เป็นโครงการต่อเนื่องมาจาก เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ขุดผ่านมายังพื้นที่ต าบลหัวปลวก ท าให้ต าบลหัวปลวกและใกล้เคียงชุ่มฉ่ าด้วยน้ า วิถีชีวิต ของคนถิ่นนี้จะวิไลยิ่งนัก นี่คือน้ าพระทัยอันประเสริฐยิ่งในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว... ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปต าบลหัวปลวก 1. สภาพทั่วไป ที่ตั้งและขนาด ต าบลหัวปลวก เป็นต าบลหนึ่งใน 12 ต าบลของอ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ห่างจากที่ว่าการ อ าเภอประมาณ 12.5 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดสระบุรีประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 21.5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 13,413 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับต าบลต่าง ๆ ดังนี้ คือ ทิศเหนือ ติดกับต าบลเขาวง อ าเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ทิศใต้ ติดกับต าบลบ้านยางและต าบลงิ้วงาม อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ทิศตะวันออก ติดกับต าบลท่าช้าง อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ทิศตะวันตก ติดกับต าบลห้วยป่าหวาย อ าเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม ลาดเอียงจากเหนือจดใต้ มีเทือกเขาตอนบนและล าห้วยไหลผ่าน จากด้านตะวันออกเฉียงเหนือลงมาทางด้านใต้ 5 ล าห้วยได้แก่ ล าห้วยป่าซาง ล าห้วยน้ าโจน ล าห้วยใหญ่ และล าห้วยน้ าบ่า และล าห้วยคลองเรือ จ านวนประชากร หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน จ านวนครัวเรือน ชาย หญิง รวม 1 บ้านโคกกะพี้ 43 87 83 170 2 บ้านห้วยน้ าบ่า 56 163 206 369 3 บ้านหัวปลวก 34 56 81 137 4 บ้านแพะ 36 71 72 149 5 บ้านแพะ 20 42 47 89 6 บ้านหนองกะเบา 84 199 199 398 7 บ้านแพะ 20 31 29 60 8 บ้านหัวปลวก(หนองไผ่) 46 83 104 187 9 บ้านห้วยใหญ่ 30 52 67 119 5 4


10 บ้านม่วงฝ้าย 89 249 240 489 11 บ้านห้วยหวาย 66 146 184 330 12 บ้านเขาดินใต้ 70 142 197 339 รวม 594 1,321 1,509 2,830 ต าบลหัวปลวก แบ่งการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน มีข้อมูลทั่วไป ดังนี้ จ านวนครัวเรือน รวม 594 ครัวเรือน จ านวนประชากรทั้งสิ้น รวม 2,830 คน จ านวนประชากร ( ชาย ) รวม 1,321 คน ( หญิง ) รวม 1,509 คน ความหนาแน่นของประชากรโดยเฉลี่ย 120 คน / ตารางกิโลเมตร 2. สภาพเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก เมื่อสิ้นฤดูการเก็บเกี่ยวประชากร บางส่วนจะไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป 2.2 หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลต าบลหัวปลวก 1. โรงสีข้าว 1 แห่ง 2. โรงงานอุตสาหกรรม 3 แห่ง 3. ฟาร์มไก่ 4 แห่ง 4. โรงเพาะเห็ด 1 แห่ง 3. สภาพสังคม 3.1 การศึกษา - ต าบลหัวปลวก มีโรงเรียนประถมศึกษา จ านวน 5 แห่ง ดังนี้ 1. โรงเรียนวัดบ าเพ็ญพรตฯ หมู่ที่ 4 2. โรงเรียนวัดห้วยหวาย หมู่ที่11 3. โรงเรียนบ้านหนองกะเบา หมู่ที่ 6 4. โรงเรียนบ้านม่วงฝ้าย หมู่ที่ 10 5. โรงเรียนบ้านเขาดินใต้ หมู่ที่ 12 - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ าหมู่บ้าน 4 แห่ง - กศน.ต าบล 1 แห่ง 3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา 6


ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดจ านวน 5 แห่ง ได้แก่ 1. วัดโคกกะพี้ หมู่ที่ 1 2. วัดบ าเพ็ญพรต หมู่ที่ 4 3. วัดห้วยหวาย หมู่ที่ 11 4. วัดม่วงฝ้าย หมู่ที่ 10 5. วัดเขาดินใต้ หมู่ที่ 12 3.3 การสาธารณสุข ต าบลหัวปลวก มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล 2 แห่ง 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 4. การบริการพื้นฐาน 4.1 การคมนาคม ต าบลหัวปลวก มีเส้นทางคมนาคม ดังนี้ 4.1.1 ถนนลาดยาง ซึ่งเชื่อมการคมนาคม ระหว่างทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1 ผ่านวัดโคกกะพี้ วัดห้วยหวาย โรงเรียนวัดห้วยหวาย กับทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3048 4.1.2 ถนนลาดยาง ซึ่งเชื่อมการคมนาคม ระหว่างทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3048 ผ่านวัดบ าเพ็ญพรต โรงเรียนวัดบ าเพ็ญพรต ฯ และสถานีอนามัยหัวปลวกกับทางหลวงจังหวัด หมายเลข 3034 4.2 การโทรคมนาคม ต าบลหัวปลวก มีโทรศัพท์ จ านวน 10 แห่ง 1. บริเวณสามแยกหนองกระเบา จ านวน 1 ตู้ 2. บริเวณหน้าโรงงานขวดประเสริฐกิจ จ านวน 1 ตู้ 3. บริเวณหน้าวัดโคกกะพี้ จ านวน 1 ตู้ 4. บริเวณหน้าบ้านผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 จ านวน 1 ตู้ 5. บริเวณหน้าวัดบ าเพ็ญพรต จ านวน 1 ตู้ 6. บริเวณหน้าร้านค้าหนองกระเบา จ านวน 1 ตู้ 7. บริเวณหน้าโรงเรียนวัดเขาดินใต้ จ านวน 1 ตู้ 8. บริเวณหน้าโรงเรียนบ้านม่วงฝ้าย จ านวน 1 ตู้ 9. บริเวณหน้าโรงงานกรองน้ า จ านวน 1 ตู้ 10. บริเวณหน้าบ้านผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 จ านวน 1 ตู้


ไปเทศบาลหัวปลวก 3 กม. ปลวกงค 5. ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จ าแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย ขนาด กศน.ต าบล จ านวนผู้เรียน/นักศึกษา ระดับการศึกษาที่ให้บริการ กศน.ต าบลหัวปลวก อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี จัดการศึกษาส าหรับผู้ไม่รู้หนังสือระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีนักศึกษาชาย และหญิง รวม ทั้งสิ้นจ านวน 36 คน แผนที่ตั้ง กศน.ต าบลหัวปลวก สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดลพบุรี ป้อมสายตรวจต าบลหัวปลวก วัดเขาดินใต้ ออก ถนนสายสระบุรี - ลพบุรี เทศบาลต าบลหัวปลวก โรงฆ่าสัตว์ กศน.ต าบลหัวปลวก หมู่ที่ 2 ศูนย์ ISUZU หมู่ 6 หนองกระเบา บริษัทธนกิจผ้าไทย สงวนไทย อ.ท่าลาน ถนนสาย ท่าลาน-สระบุรี สระบุร 4.3 การไฟฟ้า ต าบลหัวปลวก มีจ านวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ทั้งสิ้น 594 ครัวเรือน 4.4 แหล่งน้ าที่สร้างขึ้น - บ่อน้ าตื้น 295 บ่อ - บ่อน้ าโยก 30 แห่ง - สระน้ าสาธารณะ 4 แห่ง - ฝาย 1 แห่ง - ประปาหมู่บ้าน 13 แห่ง ทางเข้าวัดโคกกระพี้ ศาลาพัก ร้อน วัดม่วง ฝ้าย 7


โครงสร้างการบริหาร กศน.ต าบลหัวปลวก ครู กศน.ต าบลหัวปลวก คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน งานการศึกษาต่อเนื่อง งานการศึกษาตามอัธยาศัย งานส่งเสริมการรู้หนังสือ งานการศึกษาพื้นฐานนอกระบบ - ระดับประถมศึกษา - ระดับ ม.ต้น - ระดับ ม.ปลาย งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต งานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน งานการศึกษาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง งานจัดพัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาท้องถิ่น งานจัดและพัฒนา กศน.ต าบล งาน กศน.เคลื่อนที่ให้บริการ ประชาชน ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย 8


5. งบประมาณที่กศน.ต าบลหัวปลวก ได้รับจัดสรร (ปีงบประมาณปัจจุบัน) เงินงบประมาณรวมทั้งสิ้น 140,685 บาท จ าแนกเป็น - ประเภทเงินผลผลิตที่ ๔ งบด าเนินงาน 4,๕80 บาท - ประเภทเงินผลผลิตที่ ๕ งบด าเนินงาน 15,000 บาท - ประเภทเงินรายจ่ายอื่น ๒3,200 บาท 6. การใช้จ่ายงบประมาณ (ปีงบประมาณที่ผ่านมา) ที่ กิจกรรม /โครงการ ได้รับจัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ 1. - การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ๑๖,๐๐๐.- ๑๖,๐๐๐.- 2. - การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและชุมชน ๑๒,๐๐๐.- ๑๒,๐๐๐.- 3. - กระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ๕,๖๐๐.- ๕,๖๐๐.- 4. - ค่าหนังสือพิมพ์ กศน.ต าบล ๒,๓๐๐.- ๒,๓๐๐.- 5. - ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช่างพื้นฐาน) ๒๔,๐๐๐.- ๒๔,๐๐๐.- 6. - ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) ๑,๐๕๐๐.- ๑,๐๕๐๐.- 7. - ศูนย์ฝึกอาชีพ ( ๑ อ าเภอ ๑ อาชีพ) - 8. - การบริหารจัดการขยะมูลฝอย - - 10. - Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Famer - - 11. - เศรษฐกิจดิจิทัล - - 12. - ค่าจัดหนังสือสื่อ กศน.ต าบล 20,000.- 20,000.- 13. - ค่าจัดกิจกรรมกศน.ต าบล 10,000.- 10,000.- รวมทั้งสิ้น ๑๐๐,๔๐๐.- ๑๐๐,๔๐๐.- 9


7 .สิ่งอ านวยความสะดวก ๗.๑ อาคารส านักงาน หรืออาคารเรียนฯลฯ ที่ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของ กศน.ต าบลหัวปลวก ที่ รายการ จ านวน หมายเหตุ 1. อาคาร กศน.ต าบลหัวปลวก 1 หลัง ๗.๒ ครุภัณฑ์ เทคโนโลยีของ กศน.ต าบลหัวปลวก ที่ รายงาน จ านวน หมายเหตุ ๑. ๒. อาคารสถานที่ ๑.๑ กศน.ต าบลหัวปลวก ๑.๒ กุญแจ ครุภัณฑ์และพัสดุ ๒.๑ ครุภัณฑ์และวัสดุประเภทส านักงาน - เครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ DTK - ตู้ไม้เก็บเอกสาร 4 ชั้น - โต๊ะวางของสี่เหลี่ยมสีขาว - เก้าอี้บุนวมโครงเหล็ก - ตู้ไม้ 3 ประตูมีกุญแจล็อค - กระดานไวบอร์ดมีล้อ - โทรทัศน์สี 21 นิ้ว - เครื่องเล่น DVD SOKEN - ตู้โครงเหล็กมีล้อเลื่อน - ตู้กระจกบานเลื่อน 4 ฟุต - ชั้นไม้หรับวางหนังสือ - เครื่องปิ๊นเตอร์ - โทรทัศน์สี SAMSUNG 24 นิ้ว - ชุดจานรับสัญญานดาวเทียม - ป้ายศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ประจ าต าบล ๑ อาคาร 6 ดอก 6 ชุด 1 หลัง 2 ตัว 8 ตัว 1 หลัง 1 อัน 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 หลัง 1 หลัง 1 อัน 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 ชุด 1 อัน 10


8. แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ๘.๑ แหล่งเรียนรู้ในต าบลหัวปลวก -ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหมู่ 3 บ้านหัวปลวก ผู้ใหญ่ประเทือง มุขดา 081-9468157 ๘.๒ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในต าบลหัวปลวก แหล่งวิทยาการชุมชน ที่สามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ท าเนียบภูมิปัญญาและวิทยากร ที่ ชื่อ-สกุล สาขาวิชา/เชี่ยวชาญด้าน หมายเหตุ ๑ นายตันติ์ ค าภิบุตร ช่างตัดกระดาษ ภูมิปัญญา ๒ นายน้อย ขจรกุล ช่างท าตุง ภูมิปัญญา ๓ นางสายบัว ขจรกุล ช่างท าตุง ภูมิปัญญา ๔ นายไหลมา เชื้ออินทร์ ช่างท าภาชนะเครื่องจักรสาน ภูมิปัญญา ๕ นายจาก แก้วตูมกา ช่างจักสานไม้ไผ่ ภูมิปัญญา ๖ นายค ามา บุตรธิวงษ์ ช่างท าปราสาทผึ้ง/ประกอบพิธีกรรม ภูมิปัญญา ๗ นายบุญ พรมมา ช่างไม้ ภูมิปัญญา ๘ นายสมพงษ์ พึ่งตาราวี ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ภูมิปัญญา ๙ นายลือ แก้ววิเศษ เศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญา 11


๘.๓ ภาคีเครือข่ายในต าบลหัวปลวก ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ เทศบาลหัวปลวก หมู่ที่ 12 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี โรงเรียนวัดห้วยหวาย หมู่ที่ 11 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี รพสต.หัวปลวก หมู่ที่ 7 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี รพสต.เขาดินใต้ หมู่ที่ 1๒ ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี โรงเรียนเขาดินใต้ หมู่ที่ 12 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี โรงเรียนหนองกะเบา หมู่ที่ 6 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี ศูนย์เด็กเล็กเทศบาลหัวปลวก หมู่ที่ 12 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี โรงเรียนวัดบ าเพ็ญพรต หมู่ที่ 4 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี กลุ่มผู้น าชุมชน ก านันผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกกลุ่ม อสม. หมู่ที่ 1-12 ต าบลหัวปลวก อ.หัวปลวก จ.สระบุรี 9. เกียรติยศ ชื่อเสียง และผลงาน/โครงการดีเด่นของ กศน.ต าบลหัวปลวก ที่ ชื่อรางวัล/การเชิดชูเกียรติ หน่วยงานที่มอบให้ 1 เครือข่ายดีเด่นวันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือประจ าปี 2558 ส านักงานกศน.จังหวัดสระบุรี 2 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 บ้านหนังสือชุมชน ประจ าปี 2558 ส านักงานกศน.จังหวัดสระบุรี 3 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดร้องเพลง วันรักการอ่าน ประจ าปี 2559 ส านักงานกศน.จังหวัดสระบุรี 4 รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดโครงงาน ระดับมัธยมศึกษาต้อนต้น ปีการศึกษา 2/2559 กศน.อ าเภอเสาไห้ 5 รางวัลชนะเลิศ การประกวดร้องเพลง วันรักการอ่าน 2561 กศน.อ าเภอเสาไห้ ๖ เข้ารับการคัดเลือกกศน.ต าบล ๕ ดีพรีเมี่ยม ประจ าปี ๒๕๖๓ ส านักงานกศน.จังหวัดสระบุรี 12


บทบาทและอ านาจหน้าที่กศน.ต าบลหัวปลวก กศน.ต าบล มีบทบาทส าคัญในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน และสร้างชุมชนแห่งการ เรียนรู้ในชุมชน โดยมีหัวหน้า กศน.ต าบล เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนและมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท าหน้าที่ ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงาน กศน.ต าบล ดังนี้ (ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย,ส านักงาน.คู่มือการปฏิบัติงานหัวหน้าครูกศน.ต าบล. กลุ่มแผนงาน, ๒๕๕๓) ๑. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ๓. ด าเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ๔. จัดส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริในพื้นที่ ๕. จัดส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๖. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตรสื่อกระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ ๗. ด าเนินการเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ๘. ก ากับดูแลตรวจสอบนิเทศภายในติดตามประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๙. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๐. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๑. ด าเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด บทบาทหน้าที่ของหัวหน้า กศน. ต าบล ๑. การวางแผน ๑.๑ จัดท าฐานข้อมูลชุมชน ๑.๒ จัดท าแผนพัฒนา กศน. ต าบล ๑.๓ จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ๒. การจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๑ จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบ ดังนี้ - การส่งเสริมการรู้หนังสือ - การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน - การศึกษาต่อเนื่อง ๒.๒ จัดและส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย - กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - จัดและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ - บริการข่าวสารข้อมูล และสื่อทุกประเภท - จัดและส่งเสริมกิจกรรมห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน มุมหนังสือ 13


๓. บริการการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่ายอ าเภอเคลื่อนที่ ร่วมกับอ าเภอ ๔. สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาคี เครือข่ายองค์กรชุมชนผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน เป็นต้น ๕. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่แผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการด าเนินงานของ กศน. ต าบล ในรูปแบบต่างๆ ๖. รายงานผลการปฏิบัติงานรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องตามแบบและระยะเวลาที่ก าหนด และ รายงานผลการปฏิบัติงานประจ าปีของ กศน. ต าบล ส่วนที่ ๒ ทิศทางการด าเนินงานของกศน.ต าบลหัวปลวก ( กศน.อ าเภอเสาไห้) ........................................................................ กศน.ต าบลหัวปลวก ได้ประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของ กศน.ต าบลหัวปลวก โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) การก าหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจาก สภาพแวดล้อมภายในกศน.ต าบลโคกใหญ่ รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก กศน.ต าบล หัวปลวกอันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษา ปรัชญา กศน.ต าบลหัวปลวก สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน์ กศน.ต าบลหัวปลวก กศน. ต าบลหัวปลวก จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ประชาชนในพื้นที่ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ์ เรียนรู้สู่พอเพียง พันธกิจ ๑. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ โดยการบูรณาการหลักปรัชญา ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทุกกิจกรรมอย่างมีคุณภาพและครอบคลุมทุกพื้นที่ ๒. พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และส่งเสริมการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ๔. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนในชุมชน โดยการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการด าเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนรู้ใน รูปแบบต่างๆ ๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ให้สามารถด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพ 14


นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑.ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ๑.๑ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย การมีจิตอาสา และอุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ ๑) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดีเคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและ หลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรม ๒) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติรวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรม อื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร ๑.๒ ร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยบูรณากา ขับเคลื่อนการท างานตามแนวทางประชารัฐ ดาเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่ทั้งในระดับต าบล หมู่บ้าน โดยใช้ ทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับต าบลเป็นแกนหลัก และสนับสนุนกลไก การขับเคลื่อนในพื้นที่ทุกระดับตั้งแต่จังหวัด อ าเภอ ต าบล และหมู่บ้าน ๑.๓ พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ชายแดน ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีความ สอดคล้องกับบริบทของสังคม วัฒนธรรม และพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ ๒) เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยที่ชัดเจนส าหรับหน่วยงานและ สถานศึกษา รวมทั้งบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยบูรณา การแผนและปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานความมั่นคงในพื้นที่ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ใน รูปแบบต่างๆที่หลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิการเพิ่มพูนประสบการณ์การเปิดโลกทัศน์ การยึดมั่นในหลักคุณธรรมและสถาบันหลักของชาติ ๔) สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๔ ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านสังคม การเมือง รวมทั้งความต้องการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ตัดสินใจภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้อง เช่น ความรู้เรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข/การเลือกตั้ง ๒. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ๒.๑ ขับเคลื่อนการด าเนินงานภายใต้แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ๑) สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับบุคลากรของสานักงาน กศน. เกี่ยวกับการดาเนิน งานภายใต้แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค เพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค 15


๒) เร่งจัดท ายุทธศาสตร์และแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสานักงาน กศน. ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ๒.๒ พัฒนากาลังคนให้มีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถ ใช้Social Media และ Application ต่างๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความ เข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับตนเองได้ ๓) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์) มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชีพที่สูงขึ้นให้กับ ประชาชนเพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ๒.๓ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้กับประชาชนเพื่อรองรับการพัฒนา ประเทศ ๑) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่าง เป็นรูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว ๒) พัฒน าคว ามรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล ก า รใช้Social Media แล ะ Application ต่างๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ๓) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร และการพัฒนาอาชีพ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ๓.๑ เร่งรัดด าเนินการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อยกระดับทักษะอาชีพของประชาชนสู่ฝีมือ แรงงาน ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง โดยให้เน้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพช่าง พื้นฐาน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรียนผ่าน Youtube การ เรียนผ่านFacebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นต้น รวมถึงสนับสนุนให้เกิด ระบบการผลิตที่ครบวงจร และเปิดพื้นที่ส่วนราชการเป็นที่แสดงสินค้าของชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับ ชุมชน ๒) บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาฝีมือแรงงานกับสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่วประเทศ เพื่อมุ่งพัฒนาทักษะ ของประชาชนโดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นที่ และดาเนินการเชิงรุกเพื่อเสริม จุดเด่นในระดับภาคในการเป็นฐานการผลิตและการบริการที่สาคัญ รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้าง รายได้เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ ๓) พัฒนากลุ่มอาชีพพื้นฐานที่รองรับพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่สามารถพัฒนาศักยภาพไปสู่ระดับฝีมือแรงงาน โดยศึกษาต่อในสถาบันการอาชีวศึกษา ๓.๒ ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า การท าช่องทาง เผยแพร่และจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร และสนับสนุนการจ าหน่ายสินค้าและ 16


ผลิตภัณฑ์ผ่านศูนย์จ าหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพื่อจ าหน่าย สินค้าออนไลน์ระดับต าบล ๓.๓ ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ การ สนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ให้กับ ประชาชนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล พื้นที่ชายแดน และชายแดนภาคใต้โดยประสานงานร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล และเจ้าหน้าที่ อสม. ในการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยให้กับ ประชาชน รวมทั้งผลิตชุดความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในหลักสูตรการศึกษา ของ กศน. ๓.๔ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่ ผลักดันให้เกิด ห้องสมุดสู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้าใจ ความคิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์รวมทั้งน าความรู้ที่ ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน ๓.๕ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ๑) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการ เตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมี ส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน ๒) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้ส าหรับประชาชนในการเตรียม ความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและ สุขภาพจิต และรู้จักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ๔) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุและให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่างๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและ วัฒนธรรม ๕) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับ ๓.๖ พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กระบวนการ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๔.๑ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของ ประชาชน ๑) ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย ให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนใน เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชน์ใน การใช้ชีวิตประจาวันได้ ๒) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ ประชาชนสามารถอ่านออก เขียนได้และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย 17


๓) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือใน รูปแบบต่างๆรวมทั้งพัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของประชาชน ๔.๒ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ๑) เร่งดาเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้กลับ เข้าสู่ระบบการศึกษา โดยใช้กลวิธี“เคาะประตูบ้าน รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น” โดยประสานกับสานักงานศึกษาธิการ จังหวัด เพื่อดาเนินการตรวจสอบข้อมูลทะเบียนราษฎร์เทียบกับข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาเป็นรายบุคคล และรวบรวมจัดท าเป็นฐานข้อมูล และลงพื้นที่ติดตามหา ตัวตนของกลุ่มเป้าหมายหาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมทั้ง จ าแนกข้อมูลตามประเภทของสาเหตุและประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้รับการศึกษาต่อตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) ติดตามผลของกลุ่มเป้าหมายประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาที่ได้รับ การจัดหาที่เรียน และทั้งจัดท าฐานข้อมูลผู้ส าเร็จการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนาระบบเพื่อการ ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตั้งแต่การเข้า ศึกษาต่อจนจบการศึกษา ๔.๓ ส่งเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System)ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๔ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องให้กับประชาชนในชุมชน โดยก าหนดพื้นที่นาร่องที่ผ่านมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของ ส านักงาน กศน. ๔.๕ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ ๔.๖ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการ เรียนรู้ที่หลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถน าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง เหมาะสม ๔.๗ สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหาร จัดการเรียนรู้เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตาม ความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses :MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ๔.๘ ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมาย พิเศษอื่นๆเช่น ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ๕. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมและจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ ๕.๒ สร้างความตระหนักถึงความส าคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับ ประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยก การแปรรูป และการกาจัดขยะ รวมทั้งการจัดการมลพิษในชุมชน 18


๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลด การใช้ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ๖. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ๖.๑ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็น ระบบ และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการ ข้อมูลของประชาชนอย่างเป็นระบบ ๖.๒ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ต าแหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความช านาญ และความต้องการของบุคลากร ๖.๓ ส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ต าแหน่งครูมีวิทยาฐานะและเลื่อนวิทยาฐานะ (ว๒๑/๒๕๖๐) เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความส าเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 1. คนไทยได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึง ครอบคลุมและเป็นธรรม 1. มี กศน.ต าบล ให้บริการจัดการศึกษาครบทุกต าบล 2. ผู้เรียนและผู้รับบริการได้รับการศึกษาที่มี คุณภาพได้มาตรฐานและมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์เพื่อให้มีความเชื่อมั่นศรัทธาในการ ปกครองระบบประชาธิปไตยที่มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (Democracy) มีคุณธรรมจริยธรรม มีความภูมิใจในความเป็น ไทย (Decency) และมีภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพ ติด (Drug-Free) 1. มีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรและมาตรฐาน กศน. 2. ผู้เรียนที่จบหลักสูตรเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนครบทั้ง 8 กรอบ 3. ชุมชนมีการจัดการความรู้และกระบวนการ เรียนรู้เพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 1. มีการส่งเสริมให้ชุมชนจัดท าแผนพัฒนาชุมชน และ ร้อยละ 70 ของหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถจัดท าแผนพัฒนา ชุมชนได้ 4. แหล่งการเรียนรู้มีอยู่อย่างทั่วถึงและได้รับ การพัฒนาเพื่อสนองตอบความต้องการการ เรียนรู้ของประชาชน 1. มีการจัดตั้ง พัฒนาแหล่งเรียนรู้ครอบคลุมทุกต าบล 2. มีการจัดกิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ อย่างน้อยภาคเรียน ละ 1 ครั้ง 5. ภาคีเครือข่ายมีศักยภาพในการจัดการศึกษา ตลอดชีวิต 1.ร้อยละ 80 ของผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจจากการ ร่วมกิจกรรม/โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 6. หน่วยงานและกศน.ต าบลหัวปลวกน า เทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาใช้ในการบริการการ เรียนรู้แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการ มีความพึงพอใจจากการใช้ บริการ กลยุทธ์ กลยุทธ์ในการท างาน ๕ กลยุทธ์ดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑. ลุยถึงที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ที่ ๒. จัดกิจกรรมหลากหลาย กลยุทธ์ที่ ๓. ขยายแหล่งเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ ๔. ผนึกก าลังภาคีเครือข่าย 19


กลยุทธ์ที่ ๕. บริการเปี่ยมคุณภาพ ผลการประเมินตนเอง กศน.อ าเภอเสาไห้ ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖4 ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก ๓ มาตรฐาน ๒๐ ตัวบ่งชี้ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน / ผู้รับบริการ กศน.อ าเภอเสาไห้ ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่ ๑ ไว้ที่ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่ง กศน.อ าเภอเสาไห้ ได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑ ได้ผลดังนี้ มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ น้ าหนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถน าไป ประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิต ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พื้นฐาน ๕ ๓.๕๐ ดี การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ๕ ๓.๕๐ ดี การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือ ประสบการณ์ จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ๕ ๓.๕๐ ดี ผลรวมคะแนนคุณภาพผู้เรียน / ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๔.๕๐ ดี สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑ จากการประเมินตนเอง ของ กศน.อ าเภอเสาไห้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน / ผู้รับบริการ มี คะแนนรวมเท่ากับ ๒๔.๕๐ คะแนน ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี โดยมีจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ตัวอย่างที่ดีหรือ ต้นแบบ และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาดังนี้ จุดเด่น ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย สามารถน าความรู้ไปพัฒนาอาชีพของตนเอง มีรายได้เลี้ยงครอบครัวได้อย่างมีความสุข 20


จุดที่ควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีความรู้พื้นฐานมากขึ้น โดยจัดท าโครงการ พัฒนาผู้เรียนด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างที่ดี สถานศึกษาควรจัดท าโครงการที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โครงการ สอนเสริมรายวิชาบังคับที่มีค่าต่ ากว่าค่าเป้าหมาย โครงการค่ายติวเข้ม เป็นต้น ข้อเสนอแนะในการพัฒนา สถานศึกษาควรจัดท าโครงการที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โครงการ สอนเสริมรายวิชาบังคับที่มีค่าต่ ากว่าค่าเป้าหมาย โครงการค่ายติวเข้ม เป็นต้น มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาและการให้บริการ กศน.อ าเภอเสาไห้ ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่๒ไว้ที่ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่ง กศน. อ าเภอเสาไห้ ได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒ ได้ผลดังนี้ มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ น้ าหนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาและการให้บริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ๕ ๒.๕๐ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา ๕ ๓.๐๐ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ๕ ๓.๐๐ พอใช้ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๓.๐๐ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพหลักสูตรและสื่อการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๓.๐๐ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๓.๕๐ ดี การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๘ คุณภาพการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๙ คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัย ๕ ๔.๐๐ ดี ผลรวมคะแนนคุณภาพการจัดการศึกษาและการให้บริการ ๔๕ ๒๙.๐๐ ดี สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒ จากการประเมินตนเอง ของ กศน.อ าเภอเสาไห้ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาและการ ให้บริการมีคะแนนรวมเท่ากับ ๒๙.๐๐ คะแนน ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี โดยมีจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบ และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาดังนี้ 21


จุดเด่น สถานศึกษามีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นไปตามเป้าหมาย จุดที่ควรพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรจัดท าหลักสูตรรายวิชาเลือกของสถานศึกษาเอง โดยการจัดอบรมให้ความรู้กับครู และบุคลากรทุกระดับได้มีส่วนร่วมในการจัดท าหลักสูตรรายวิชาเลือก ๒. สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดท าสื่อ โดยการจัดอบรมให้ความรู้กับครู มีการประกวด สื่อ มีการมอบรางวัลส าหรับผู้ชนะอย่างต่อเนื่อง ๓. สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนจัดท าแผนการเรียนรู้ที่สามารถน าไปใช้ได้จริง มีการตรวจบันทึก หลังการสอนของครูอย่างต่อเนื่อง มีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้ของครู และให้ครูท าวิจัยเพื่อแก้ไข ปัญหาของผู้เรียนจากการบันทึกหลังการสอน 4. สถานศึกษาควรมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องได้พัฒนาตนเอง เช่น การประชุมชี้แจงท าความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของวิทยากร การน าไปศึกษาดูงาน การนิเทศติดตามการจัดการ เรียนรู้ การประเมินการจัดการเรียนรู้ของวิทยากร เป็นต้น 5. สถานศึกษาควรจัดท าหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดยเชิญวิทยากร หรือผู้เรียน ภูมิปัญญา เข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดท าหลักสูตร และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรรมการสถานศึกษา มีการนิเทศติดตาม ประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อน าผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้ตรงตาม ความต้องการของผู้เรียน ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษา ๒. สถานศึกษาควรอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการจัดท าสื่อการเรียนการสอนการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. สถานศึกษาควรอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้การศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. สถานศึกษาควรส่งเสริมศักยภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ๕. สถานศึกษาควรอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การท าหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 22


มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา กศน.อ าเภอเสาไห้ ก าหนดเป้าหมายความส าเร็จของมาตรฐานที่๓ไว้ที่ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่ง กศน. อ าเภอเสาไห้ ได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๓ ได้ผลดังนี้ มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ น้ าหนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๓ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ๕ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของ ภาคีเครือข่าย ๕ ๓.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ๕ ๓.๐๐ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๕ ๓.๐๐ พอใช้ ผลรวมคะแนนประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ๒๐ ๑๓.๕๐ ดี สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒ จากการประเมินตนเอง ของ กศน.อ าเภอเสาไห้ .มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาและการ ให้บริการ มีคะแนนรวมเท่ากับ ๑๓.๕๐ คะแนน ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี โดยมีจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบ และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาดังนี้ จุดเด่น ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาล จุดที่ควรพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ระดับอ าเภอ ระดับต าบล เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบก าหนด ๒. สถานศึกษามีการประชุม ติดตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับครูและบุคลากรทุกคนเห็นความส าคัญของการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒. สถานศึกษาควรมีการประชุม ติดตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาส าหรับ บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา 23


ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ กศน.อ าเภอเสาไห้ ปีงบประมาณ ๒๕๖4 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของสถานศึกษา(สภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกองค์กร เพื่อระบุ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค)ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเสาไห้ได้วิเคราะห์หาจุดแข็ง จุดอ่อนโอกาสและอุปสรรคของสถานศึกษา เพื่อให้ มีทิศทางในการท างานและมีความมั่นใจมากขึ้น มีผลการวิเคราะห์ดังนี้ ส่วนที่ ๓ รายละเอียดแผนงาน /โครงการ ปีงบประมาณ 256๕ แผนงานโครงการของ กศน.ต าบลหัวปลวก ที่จะด าเนินการจ านวน โครงการ ดังนี้ ล า ดับ ชื่องาน/โครงการ /ชื่อกิจกรรม เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ งบ ประมาณ ( บาท ) ระยะเวลา ด าเนินการ หมาย เหตุ จ านวน หน่วยนับ ( คน ) หมู่ที่ ชื่อบ้าน 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 ระดับประถม - - - - 1.2 ระดับ ม.ต้น 13 2 หัวปลวก ๒๖,๑00 ไตรมาส 1 - 4 1.3 ระดับ ม.ปลาย 2๗ 2 หัวปลวก ๗๘,๓00 ไตรมาส 1 - 4 1.4 ผู้ไม่รู้หนังสือ - - - - 2. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 12 2 ห้วยน้ าบ่า 1,380 ไตรมาส 2 - 3 การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและชุมชน 4 7 หัวปลวก 1,600 ไตรมาส 2 - 3 การเรียนรู้ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4 3 หัวปลวก 1,600 ไตรมาส 2 - 3 3. การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 3.1 โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน ในต าบล 1 แห่ง 2 หัวปลวก 2,306 ไตรมาส 1 - 4 3.2 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (1) ศูนย์เรียนรู้ กศน.ต าบลหัวปลวก 12 12 หัวปลวก - ไตรมาส 1 - 4 (2) บ้านหนังสือชุมชน 100 4 หัวปลวก - ไตรมาส 1 - 4 (3) หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) 100 4 หัวปลวก - ไตรมาส 2 - 4 (4) อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 75 3 หัวปลวก - ไตรมาส 1 - 4 (5) ห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาวตลาด 25 12 หัวปลวก - ไตรมาส 1 - 4 4. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน - - พัฒนาอาชีพรูปแบบกลุ่มสนใจ (หลักสูตร ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) 10 1,๗ หัวปลวก 7,000 ไตรมาส 2 - 4 - 1 อ าเภอ 1อาชีพ 9 7 บ้านแพะ 8,100 ไตรมาส 2 - ชั้นเรียนวิชาชีพ(๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป) 11 2 หัวปลวก 11,000 ไตรมาส 3 – ๔ 5. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการขยะมูลฝอย - - หัวปลวก 2,000 - 6. ขยายโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต - - - - - 24


6.1 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 2 - อ าเภอเสาไห้ - 6.2 ศูนย์ดิจิทัลชุมชน หัวปลวก 6,600 ไตร 3 6.3 Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer - - หัวปลวก - - 6.4 ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตย ประจ าต าบล - - หัวปลวก - - 6.5 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง - - หัวปลวก - - 6.6 ป้องกันยาเสพติด - - หัวปลวก - - 1) ชื่อโครงการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2564 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา กศน. ข้อ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางการศึกษา ๔.๑ ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และ ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน ๑) ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย ให้กับประชาชนในรูปแบบ ต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อ ประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจาวันได้ ๒) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคง สภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถอ่านออก เขียนได้และ คิดเลขเป็น โดยมีก า ร วัด ร ะดับก า ร รู้หนังสือ ก า รใช้สื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบต่างๆ ที่ เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ๓) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรม พัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบต่างๆรวมทั้งพัฒนาให้ ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ -ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม -ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิต -ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้ พื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาและการให้บริการ -ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมี คุณธรรม -ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิต -ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้ พื้นฐาน 2) หลักการและเหตุผล เพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือ และพัฒนาศักยภาพการด าเนินชีวิตของประชาชน ในด้านการศึกษาให้ดี ยิ่งขึ้นสามารถน าไปใช้ในการประกอบอาชีพ และยกฐานะทางการศึกษาของตนเอง ให้สามารถอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข 3) วัตถุประสงค์ เพื่อจัดการศึกษาให้ผู้ที่พลาดโอกาส ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ได้มีโอกาสพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ตนเองให้มีความรู้ มีวุฒิทางการศึกษา สามารถน าไปประกอบอาชีพที่มั่นคงยิ่งขึ้น 25


4) เป้าหมาย จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 ระดับ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก จ านวน 40 คนดังนี้ 4.1) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จ านวน 13 คน 4.2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 27 คน 5) วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลักที่ต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - การยกระดับ การศึกษาขั้น พื้นฐาน - เพื่อยกระดับ การศึกษาให้กับ ประชาชนและ ประชากรวัย แรงงานในพื้นที่ ต าบลหัวปลวก - ประชาชน ทั่วไป ที่มีอายุ ระหว่าง 15 – 59 ปี ในพื้น ต าบลหัวปลวก 40 คน หมู่ 1 -12 หมู่บ้าน ในต าบล หัวปลวก ไตรมาสที่ 1, 4 6) วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน - บาท 7) แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 64) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65) - ยกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้แก่ประชากรวัยแรงงาน อายุระหว่าง 15–59 ปี 8) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครู กศน.ต าบลหัวปลวก 9) เครือข่าย 9.1) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.2) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.3) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.4) คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก 9.5) องค์กรนักศึกษา กศน.ต าบลหัวปลวก 26


10) โครงการที่เกี่ยวข้อง 10.1) โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 10.2) โครงการกิจกรรมห้องสมุดประชาชนมีชีวิตและแหล่งการเรียนรู้ 10.3) โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 9) ผลลัพธ์(Outcomes) ผู้ที่ประสบปัญหาด้านการเรียนในระบบได้มีโอกาสกับเข้ามาศึกษาต่อและ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 12) ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 12.1) ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ได้มีการยกระดับการศึกษา ของตนเองให้สูงขึ้น จนสามารถพัฒนาศักยภาพชีวิตในการด้านการด าเนินชีวิตให้มีคุณภาพ 12.2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม และ สามารถกลับเข้ามาศึกษาต่อจนจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และน าความรู้ความสามารถที่ได้รับ ไปใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันได้ ท าให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 13) การติดตามประเมินผลโครงการ 13.1) จากการสังเกต 13.2) จากแบบประเมินผลผู้เรียน 13.3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 13.4) จากแบบสอบถามความพึงพอใจ 27


1) ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2) หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นกิจกรรมที่สร้างองค์ความรู้กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ต าบลบ้านหลวง ได้มีประสบการณ์ มีทักษะการด ารงชีวิต ที่เกิดจากการฝึกหัด บ่ม เพาะกล่อมเกลาปลูกฝังจิตส านึก เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมชุมชน และสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ สามารถด ารงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข 3) วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิด วิเคราะห์ ปลูกฝังจิตส านึก ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมชุมชน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม 4) เป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 12 หมู่หัวปลวก จ านวน 12 คน 5) วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลักที่ต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - จัดอบรมให้ความรู้ ด้านทักษะชีวิต สร้างองค์ความรู้ คิด วิเคราะห์ เพื่อให้ ประชาชนผู้เข้าร่วม กิจกรรมมี ประสบการณ์ มี ทักษะในการ ด ารงชีวิต - เพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิต สร้างองค์ ความรู้ กระบวนการคิด วิเคราะห์ ปลูกฝัง จิตส านึก ให้มี คุณธรรม จริยธรรม มีความ รับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมชุมชน ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม - ประชาชนใน พื้นที่ต าบล หัวปลวก 2 หมู่บ้าน 12 คน ต าบลหัวปลวก ไตรมาส 2- 3 1,380.- 6) วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน 1,380.- บาท 28


7) แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 64) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65) - จัดอบรมให้ความรู้ด้านทักษะชีวิต สร้าง องค์ความรู้ คิดวิเคราะห์ เพื่อให้ประชาชน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีประสบการณ์ มีทักษะ ในการด ารงชีวิต 8) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครู กศน.ต าบลหัวปลวก 9) เครือข่าย 9.1) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.2) รพสต.หัวปลวก รพสต.เขาดินใต้ 9.3) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.4) คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก 9.5) องค์กรนักศึกษา กศน.ต าบลหัวปลวก 10) โครงการที่เกี่ยวข้อง 10.1) โครงการพัฒนาทักษะอาชีพ 10.2) โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน 10.3) โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 11) ผลลัพธ์(Outcomes) ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ มีการคิด วิเคราะห์ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความ รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมชุมชน และสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ สามารถด ารงตนอยู่ ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 12) ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 12.1) ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 มีแนวทางในการด ารงชีวิตที่ เหมาะสม และสามารถพัฒนาทักษะชีวิตของตนเอง ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมชุมชน และสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ สามารถด ารงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข 12.2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 75 มีความพึงพอใจต่อการจัด กิจกรรม 13) การติดตามประเมินผลโครงการ 13.1) จากการสังเกต 13.3) จากแบบสอบถามความพึงพอใจ 29


1) ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 2) หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ทางการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความตระหนักและบ่มเกลาจิตส านึกให้รู้รักสามัคคี ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง และเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่สังคมและชุมชน 4) เป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 2 หมู่บ้าน จ านวน 4 คน 5) วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลักที่ต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - ส่งเสริมการจัดกิจกรรม ร่วมกับหน่วยงานภาคี เครือข่าย ในเรื่องของการมี ส่วนร่วมทางการเมือง การ ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่สังคมและชุมชน - เพื่อสร้างความ ตระหนักและบ่ม เกลาจิตส านึกให้รู้รัก สามัคคี ต่อต้านการ ซื้อสิทธิ์ ขายเสียง และเพื่อส่งเสริม ความเข้มแข็งให้แก่ สังคมและชุมชน - ประชาชนใน พื้นที่ต าบล หัวปลวก 12หมู่บ้าน 4 คน ต าบลหัวปลวก ไตรมาส 2- 3 ๑,600.- 6) วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน 1,600 - บาท 7) แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 64) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย.65) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65 ) - ส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกับ หน่วยงานภาคีเครือข่าย ในเรื่องของ การมีส่วนร่วมทางการเมือง การ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่สังคมและชุมชน 30


8) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครู กศน.ต าบลหัวปลวก 9) เครือข่าย 9.1) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.2) รพสต.หัวปลวก รพสต.เขาดินใต้ 9.3) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.4) คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก 9.5) องค์กรนักศึกษา กศน.ต าบลหัวปลวก 10) โครงการที่เกี่ยวข้อง 10.1) โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 10.2) โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ( 3D) 11) ผลลัพธ์(Outcomes) ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักและบ่มเกลาจิตส านึกให้รู้รักสามัคคี ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียงและเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่สังคมและชุมชน 12) ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 12.1) ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมชุมชน รู้รัก ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง และร่วมกันส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่สังคมและชุมชนของ ตนเองใหม่เข้มแข็ง 12.2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 75 มีความพึงพอใจต่อการจัด กิจกรรม 13) การติดตามประเมินผลโครงการ 13.1) จากการสังเกต 13.2) จากแบบติดตามผล 13.3) จากแบบสอบถามความพึงพอใจ 31


1) ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ 2) หลักการและเหตุผล การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ต าบล หัวปลวก เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องของการพัฒนาตนเองให้มีพื้นฐานด้านอาชีพเพื่อน าไปประกอบอาชีพ ให้เกิดรายได้ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน 3) วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและจัดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องของการพัฒนาอาชีพให้แก่ผู้ว่างงาน และผู้ที่ ถูกเลิกจ้าง ให้มีการพัฒนาด้านอาชีพเพื่อน าความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันท าให้มีการ สร้างรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว 4) เป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 12 หมู่บ้าน จ านวน 28 คน 5) วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลักที่ต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - จัดฝึกอบรม พัฒนาอาชีพให้แก่ ประชาชนในพื้นที่ ต าบลหัวปลวก ตาม ความต้องการของ ผู้รับบริการ - เพื่อส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ ในด้านอาชีพให้แก่ ผู้ที่ว่างงาน และผู้ที่ ถูกเลิกจ้างจาก สถานประกอบการ ได้มีการพัฒนา อาชีพให้สามารถ น าไปใช้ในการ ด าเนินชีวิต ประจ าวันได้ - ประชาชนใน พื้นที่ต าบล หัวปลวก 12หมู่บ้าน 28 คน ต าบลหัวปลวก ไตรมาส 1-3 28,000.- 6) วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน 28,000.- บาท 7) แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 64) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65) - ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้แก่ กลุ่มเป้าหมายตามความต้องการของ ผู้รับบริการ 32


8) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครู กศน.ต าบลหัวปลวก 9) เครือข่าย 9.1) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.2) รพสต.หัวปลวก รพสต.เขาดินใต้ 9.3) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.4) คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก 9.5) องค์กรนักศึกษา กศน.ต าบลหัวปลวก 10) โครงการที่เกี่ยวข้อง 10.1) โครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10.4) โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 11) ผลลัพธ์(Outcomes) ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาทักษะด้านอาชีพ และสามารถน าความรู้ที่ได้รับ ไปปรับใช้ในการด ารงชีวิตของตนเองให้มีรายได้ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 12) ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 12.1) ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 ของประชาชนผู้ว่างงาน และผู้ ที่ถูกเลิกจ้างจากสถานประกอบการในพื้นที่ ได้มีการพัฒนาตนเองด้านอาชีพ และมีแนวทางในการด ารงชีวิตที่ เหมาะสม 12.2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcomes) ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 มีความพึงพอใจต่อการจัด กิจกรรม และได้รับความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพที่ตรงตามความต้องการของตนเอง จนสามารถน าไปเป็นการ สร้างรายได้ ลดรายจ่ายให้แก่ตนเอง และครอบครัว 13) การติดตามประเมินผลโครงการ 13.1) จากการสังเกต 13.2) จากแบบติดตามผล 13.3) จากแบบสอบถามความพึงพอใจ 33


1) ชื่อโครงการ การจัดการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) หลักการและเหตุผล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในปี พ.ศ. 2541 เป็นแนวทางการด าเนินชีวิตแก่ประชาชนมา และน าไปสู่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 10 ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้มีการก าหนดกรอบแนวทางการ จัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ดังนั้น ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอหัวปลวก จึงได้จัดการศึกษาที่ส่งเสริมและสนับสนุน กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชนและกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 3) วัตถุประสงค์ เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนในชุมชน ขยายผลการด าเนิน การกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้ครอบคลุมในพื้นที่ 4) เป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 12 หมู่บ้าน จ านวน 4 คน 5) วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลักที่ต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - จัดกระบวนการ ส่งเสริมความรู้ให้แก่ ประชาชนในพื้นที่ ในเรื่องของการ ด าเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง - เพื่อสร้างความ ตระหนักและบ่มเกลา จิตส านึกให้รู้รัก สามัคคี ต่อต้านการซื้อ สิทธิ์ ขายเสียงและ เพื่อส่งเสริมความ เข้มแข็งให้แก่สังคม และชุมชน - ประชาชนใน พื้นที่ต าบล หัวปลวก 12หมู่บ้าน ประชาชน ทั่วไปต าบล หัวปลวก 4 คน ต าบลหัวปลวก ไตรมาส 2-3 1,600.- 6) วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน 1,600.- บาท 34


7) แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 64) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65) - จัดกระบวนการส่งเสริมความรู้ให้แก่ ประชาชนในพื้นที่ ในเรื่องของการ ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 8) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครู กศน.ต าบลหัวปลวก 9) เครือข่าย 9.1) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.2) รพสต.หัวปลวก รพสต.เขาดินใต้ 9.3) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.4) คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก 9.5) องค์กรนักศึกษา กศน.ต าบลหัวปลวก 10) โครงการที่เกี่ยวข้อง 10.1) โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 10.2) โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ( 3D) 11) ผลลัพธ์(Outcomes) ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน การ ด าเนินงานได้อย่างเหมาะสมตามบริบทของชุมชน 12) ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 12.1) ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75 ด ารงชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ท าให้มีรายได้ ลดรายจ่ายของครัวเรือน 12.2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 75 มีความพึงพอใจต่อการจัด กิจกรรม 13) การติดตามประเมินผลโครงการ 13.1) จากการสังเกต 13.2) จากแบบติดตามผล 35


13.3) จากแบบสอบถามความพึงพอใจ 1) ชื่อโครงการ การศึกษาตามอัธยาศัย และแหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) หลักการและเหตุผล การจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และแหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการจัดกิจกรรมการศึกษาที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าถึงการบริการทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ที่ เหมาะสมต่อความต้องการของชุมชน และเพื่อเป็นการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3) วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนา กศน.ต าบลหัวปลวก ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัยต่อเนื่องตลอดชีวิต ในเรื่องของการอ่าน การศึกษาค้นคว้า และเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้ใช้แหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาภายใน ท้องถิ่นของตนเองเป็นการเสริมสร้างโอกาสการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 4) เป้าหมาย ประชาชนและนักศึกษา ในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 12 หมู่บ้าน 300 คน 5) วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลักที่ต้องด าเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - จัดกิจกรรม ภายใน กศน.ต าบล หัวปลวก ให้เป็น ศูนย์การศึกษาตาม อัธยาศัยต่อเนื่อง ตลอดชีวิต - เพื่อส่งเสริมการ อ่านและให้เป็น แหล่งการเรียนรู้ ต่อเนื่องตลอดชีวิต - ประชาชน ใน เขตพื้นที่ ต าบลหัว ปลวก 300 คน ร่วมจัดแบบ ภาคีเครือข่าย ต าบลหัวปลวก ไตรมาส 1- 4 - 6) วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน - บาท 7) แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 64) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65) - จัดกิจกรรมภายใน กศน.ต าบล หัวปลวก ให้เป็นศูนย์การศึกษา ตามอัธยาศัยต่อเนื่องตลอดชีวิต 36


8) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครู กศน.ต าบลหัวปลวก ร่วมกับงานห้องสมุด ประชาชนอ าเภอเสาไห้ 9) เครือข่าย 9.1) ห้องสมุดประชาชนอ าเภอเสาไห้ 9.2) เทศบาลต าบลหัวปลวก 9.3) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.4) ผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก 9.5) คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก 9.6) องค์กรนักศึกษา กศน.ต าบลหัวปลวก 10) โครงการที่เกี่ยวข้อง 10.1) โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 10.2) โครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10.1) โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ 10.2) โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 10.3) โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 11) ผลลัพธ์(Outcomes) ประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก มีแหล่งการเรียนรู้ แหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูล และแหล่งเสริมสร้างโอกาสการเรียนรู้ ภายในท้องถิ่น สามารถศึกษาค้นคว้าได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 12) ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 12.1) ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ร้อยละ 75 ของประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก มีแหล่ง การศึกษาค้นคว้า และแหล่งการเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ศึกษาค้นคว้าได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จนท าให้ พัฒนาศักยภาพชีวิตให้มีคุณภาพและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 12.2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcomes) ร้อยละ 75 ของประชาชนในพื้นที่ต าบลหัวปลวก เกิดความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม 13) การติดตามประเมินผลโครงการ 13.1) จากการสังเกต 13.2) จากแบบสอบถามความพึงพอใจ 37


คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเสาไห้ คณะกรรมการ กศน.ต าบลหัวปลวก คณะผู้จัดท า นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครูกศน.ต าบลหัวปลวก ร่าง/รวบรวม/พิมพ์ นางสาวพัชรี มะลิแย้ม ครูกศน.ต าบลหัวปลวก


Click to View FlipBook Version