การถ่ายทอดแนวความคิด
สู่ชิ้นงานที่เป็นรูปธรรม
สารบัญ
การถ่ายทอดแนวความคิดสู่ชิ้นงาน
หลักการ เตรียมนำเสนอ
การ นำเสนอข้อมูล
5w1H
การถ่ายทอดแนวความคิดสู่ชิ้นงาน
สิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้การนำเสนองาน
มีประสิทธิภาพ คือ การเขียน
Storyboardชึ่งเป็นวิธีการถ่ายทอดแนวความ
คิดออกมาอยู่ในลักษณะของภาพประกอบ
แสดงตามลำดับขั้น
ขั้นตอนการเขียน storyboard
การเขียน storyboard จะช่วยแสดงแนวความ
คิดของผู้ออกแบบให้อยู่ในรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้น
อยู่และช่วยสร้างความชัดเจนของงานที่ต้องการ
นำเสนอได้ดียิ่งขึ้นขั้นตอนในการเขียน
storyboard มี ขั้นตอนหลักไปคือ
1. วางเค้าโครงเรื่อง
2. ลำดับเหตุการณ์ หรือเรื่องราว
3. แต่งบทบรรยาย หรือบทพูด
รูปแบบ Storyboardรูปแบบการเขียน
Storyboard ส่วนใหญ่จะแสดงเป็น
รูปภาพอยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยม และมีคำ
อธิบายภาพ เนื้อหา ข้อความ และเสียงอยู่
ด้านล่าง หรืออาจจะมีเรื่องการวางมุมกล้อง
เพิ่มเติมเข้าไปด้วย
การเขียน Storyboard มีรูปแบบที่หลาก
หลาย และไม่มีกำหนดตายตัวว่ารูปแบบไหน
ถูกหรือผิดสามารถนำมาปรับเปลี่ยนเพื่อให้
เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท
หลักการเตรียมตัวนำเสนอ
ในกรณีที่ต้องการนำเสนออย่างกะทันหัน ทำให้มี
เวลาเตรียมตัวน้อยก็สามารถเตรียมตัว
<< ทำไมจึงมาเสนองาน (Why)
<< เราจะพูดว่าอะไร (What)
<< เราจะเสนองานกับใคร (Who)
<< เราจะพูดเมื่อไร ในช่วงเวลาไหน (When)
<< เราจะเสนองานที่ไหน (Where)
<< เราจะพูดอย่างไร (How)
การนำเสนอข้อมูล
การเสนองานที่ดีสามารถทำได้โดยการฝึกเท่านั้น เช่น
การไปเข้าหลักสูตรหรือฝึกกันเป็นกลุ่มเพื่อให้เพื่อน
วิจารณ์ด้วยข้อติชมในทางสร้างสรรค์ และได้คุยกันเพื่อ
หาวิธีการสร้างสรรค์เทคนิค
วิธีการเสนองานแต่ละครั้งเทคนิคง่าย ๆ ที่
สำคัญมาก ซึ่งไม่ได้เป็นเทคนิคใหม่เลย คือ
ความสามารถในการกำจัดสิ่งกีดขวางของผู้พูด
เพราะคนส่วนมากพูดในหมู่เพื่อนหรือเพื่อนร่วม
งานได้ดี เทคนิคการพูดในที่ชุมชน คือ การรักษา
ความสามารถนั้นไว้ให้ได้ เวลายืนอยู่ต่อหน้าคน
10 - 20 หรือ 5,000 คนที่เราไม่รู้จัก ถ้าผู้พูด
สามารถขจัดสิ่งกีดขวางออกไปได้ ทำให้เราเป็นตัว
ของตัวเองในแบบบุคคลที่เป็นมิตร มีท่าทางเป็น
ธรรมชาติจะช่วยให้คนฟังเข้าข้างเราได้ตั้งแต่ต้น
ข้อพึงระวังที่ทำให้การนำเสนอด้อยประสิทธิภาพ
<<พูดซึมงำ การพูดดังไปนั้นดีกว่าพูดเบาไป
<< ความลังเล การหยุดพูดบ่อย ๆ หรือใช้คำว่า
“เอ้อ...อ้า” เข้าไประหว่างที่นึกคำพูดจะแสดงให้เห็น
ว่าผู้พูดขาดการซ้อมหรือไม่มีความมั่นใจในตัวเอง
ข้อพึงระวังที่ทำให้การนำเสนอด้อยประสิทธิภาพ
<< พูดซึมงำ การพูดดังไปนั้นดีกว่าพูดเบาไป
<< ความลังเล การหยุดพูดบ่อย ๆ หรือใช้คำว่า
“เอ้อ...อ้า”เข้าไประหว่างที่นึกคำพูดจะแสดงให้
เห็นว่าผู้พูดขาดการซ้อมหรือไม่มีความมั่นใจในตัว
เอง
<< การพูดพล่ามหรือพูดคำซ้ำจากบ่อย ๆ จนติด
เป็นนิสัย เช่น พูดว่า “ผมคิดว่า......” “จุด
สำคัญคือ...." ฯลฯ คำพูดเหล่านี้ถึงจะไม่ได้ก่อ
ให้เกิดความเสียหายอะไร
หลักการเตรียมตัวนำเสนอ
ในกรณีที่ต้องการนำเสนออย่างกะทันหัน ทำให้มีเวลา
เตรียมตัวน้อยก็สามารถเตรียมตัว
<< ทำไมจึงมาเสนองาน (Why)
<< เราจะพูดว่าอะไร (What)
<< เราจะเสนองานกับใคร (Who)
<< เราจะพูดเมื่อไร ในช่วงเวลาไหน (When)
<< เราจะเสนองานที่ไหน (Where)
<< เราจะพูดอย่างไร (How)
จัดทำโดย
Name: นันถวัฒน์ แจ้งมณี
Name: พงศพล ติเยาว์
Class: ป.ว.ช2