The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงงานคุณธรรมม2.2ปี63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายสมชัย ลีสุรพงศ์, 2020-11-06 04:07:09

รายงานโครงงานคุณธรรมม2.2ปี63

รายงานโครงงานคุณธรรมม2.2ปี63

Keywords: E-Book

ช่ือกจิ กรรม/โครงงาน “คณุ ธรรมนาความรู้ สหู่ ลุมพอเพยี ง”
ผู้ดาเนินงาน นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/2
ครูทป่ี รึกษา นายสมชยั ลสี รุ พงศ์
นางสาวคุณัญญา ไกรนรา
ภาคเรียนท่ี 1
ปกี ารศกึ ษา 2563

บทคัดยอ่

การจัดกิจกรรม/โครงงาน “คุณธรรมนาความรู้ สู่หลุมพอเพียง” มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรมท่ีดีงามให้กับนักเรียน ให้ครูและนักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบบองค์รวมเน้น
กระบวนการมีส่วนร่วม และใช้โครงงานคุณธรรม เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ความดีความงาม จากการลงมือ
ปฏิบัติจริง นอกจากน้ีเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่เสริมสร้างคุณธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงด้วยการใช้พ้ืนท่ีในโรงเรียนทาหลุมพอเพียง เป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนให้แก่เยาวชนอย่างย่ังยืน
ตอ่ ไป โดยมีการดาเนินงานโครงงานดงั น้ี

1. นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/2 รว่ มกันวางแผนการทาโครงงานคุณธรรมของห้องเรยี น
2. ดาเนินงานโครงงานโดยใช้หลัก PDCA และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. เตรียมสถานที่ปลูก วัสดุ และอปุ กรณ์ ในการทาโครงงาน
4. รว่ มกนั ทาความสะอาดพืน้ ทใี่ นการทาโครงงาน ด้วยการเก็บขยะ ถางหญา้ เตรยี มพนื้ ทใ่ี นการทา

หลมุ พอเพียง
5. นาผกั สวนครัวและพชื ยนื ต้นท่ีสามารถนาสว่ นตา่ งๆ มารบั ประทานได้ มาปลกู ตามหลกั การของ

หลมุ พอเพยี ง โดยปลกู ไม่ต่ากวา่ 10 ชนดิ ในพ้ืนท่ีหลมุ พอเพียงท่เี ตรียมไว้
6. ทาการหม่ ดนิ พืชท่ีปลูกโดยใช้ฟางขา้ ว และดแู ลรกั ษาการเจรญิ เตบิ โตของต้นไม้ในหลมุ พอเพยี ง
7. ตรวจสอบผลการดาเนินการ และปรับปรุงพัฒนาโครงงาน
8. รายงานผลการดาเนินงานโครงงาน
ผลของการดาเนนิ งานโครงงานดงั กล่าวทาให้เกิดแหล่งเรยี นรู้การทาหลมุ พอเพยี งซ่ึงประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลัก PDCA โดยความร่วมมือรว่ มใจของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/2 ภายใน
โรงเรยี น เพื่อเปน็ แหลง่ เรยี นรู้การทาหลมุ พอเพยี งให้แกน่ ักเรยี นและผทู้ สี่ นใจ สามารถนาพ้ืนที่รกร้างวา่ งเปลา่
ภายในโรงเรยี นมาใช้ประโยชนใ์ หค้ ุ้มค่ามากทีส่ ุดภายใต้องค์ความรเู้ รอื่ งการทาหลมุ พอเพียงท่ีไมใ่ ชส่ ารเคมีใน
การปลูกพชื ผักสวนครัวในหลุมพอเพยี งดังกลา่ ว นอกจากน้ียังปลูกฝงั ใหน้ กั เรียนไดร้ ู้จักการอนรุ กั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนการมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทดี่ งี ามในการอยูร่ ว่ มกันในสงั คม

กิตติกรรมประกาศ

รายงานโครงงานคุณธรรม เร่ือง “คุณธรรมนาความรู้ สู่หลุมพอเพียง” ฉบับน้ี ผู้ดาเนินการไดร้ ับความ
อนเุ คราะห์จาก คุณครูสมชัย ลสี รุ พงศ์ และ คุณครูคุณัญญา ไกรนรา เป็นทป่ี รึกษาให้คาแนะนา ชี้แนะแนวทาง
ในการดาเนนิ งาน รวมทง้ั การจดั รูปเล่มรายงานฉบบั นี้

การจัดทาโครงงานคร้ังนี้ สาเร็จได้ด้วยความร่วมมือของผู้ร่วมงาน ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2/2 โรงเรียนสินปนุ คุณวิชญ์ ปีการศึกษา 2563 และผู้บริหารโรงเรียน ซ่ึงมีส่วนส่งเสริมและสนับสนุนให้
การดาเนินงานบรรลุสาเรจ็ ผจู้ ัดทาขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้

นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/2

ลงชือ่ …………………………………………………………………ครูท่ปี รึกษา
(นายสมชยั ลีสุรพงศ)์

ลงชือ่ …………………………………………………………………ครทู ี่ปรึกษา
(นางสาวคุณญั ญา ไกรนรา)

สารบญั หนา้

เรื่อง 1
บทคัดย่อ
กจิ ติกรรมประกาศ 3
16
บทที่ 1 บทนา 18
-ที่มาและความสาคัญโครงงาน 19
-วัตถุประสงค์โครงงาน 20
-ขอบเขตการดาเนนิ การ 21

บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
บทที่ 3 การดาเนินการ
บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน
บทท่ี 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดาเนนิ งาน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

1

บทที่ 1

บทนา

ท่ีมาและความสาคญั
เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชีถ้ ึงแนวทางการดารงอยู่และปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่

ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสาย
กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียง หมายถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้
ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ
ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่
เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อม
ต่อการรองรบั การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง ท้งั ด้านวัตถุ สงั คม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี

โรงเรียนเป็นสถานท่ีในการผลิตพลเมืองท่ีมีคุณภาพของชาติ เป็นแหล่งการเรียนรู้ พัฒนาทางด้าน
สติปัญญา ทางด้านร่างกาย ทางด้านอารมณ์ และทางด้านสังคม ในสังคมปัจจุบันมีความเจริญและพัฒนา
ทางด้านเทคโนโลยีมากมาย การพัฒนาด้านจิตใจ คุณธรรมและจริยธรรมยังมีน้อย ดังนั้นโรงเรียนจึงได้จัดทา
โครงงานคณุ ธรรม เพ่อื เป็นการปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ กดิ กับนกั เรียน นกั เรียนสามารถเรียนรู้ในโรงเรียน
ได้อยา่ งมคี วามสขุ เม่อื นกั เรยี นมคี ุณธรรมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว จะทาให้ผลการเรียนดีขึ้น และบรรลุ
ตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรการศกึ ษาแห่งชาติทีว่ ่านักเรียนเปน็ ผ้ทู ่ี ดี เก่ง มีสุข และดารงชีวิตในสังคมได้อย่าง
มีความสุข เป็นพลเมืองทีม่ ีคณุ ภาพของประเทศชาตติ ่อไป

ด้วยเหตุผลดังกล่าวนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 จึงได้ร่วมกันจัดทาโครงงานคุณธรรม เรื่อง
“คุณธรรมนาความรู้ สู่หลุมพอเพียง” นี้ข้ึน เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้การทาหลุมพอเพียงให้แก่นักเรียนและ
ผู้ท่ีสนใจ สามารถนาพื้นที่รกร้างว่างเปล่าภายในโรงเรียนมาใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่ามากที่สุดภายใต้องค์ความรู้
เรอ่ื งการทาหลมุ พอเพียงทไี่ มใ่ ชส่ ารเคมใี นการปลกู พชื ผักสวนครัวในหลมุ พอเพียงดังกล่าว นอกจากน้ียังปลูกฝัง
ใหน้ กั เรยี นไดร้ ้จู ักการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ตลอดจนการมคี ุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงาม
ในการอยรู่ ่วมกันในสงั คมตอ่ ไป

2

วัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน
1. เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูก้ ารทาหลุมพอเพยี งให้แกน่ ักเรียนและผทู้ ่ีสนใจ
2. เพือ่ นาพนื้ ทร่ี กรา้ งวา่ งเปลา่ ภายในโรงเรียนมาใชป้ ระโยชนใ์ ห้ค้มุ คา่ มากท่ีสุดภายใต้องคค์ วามรู้เรื่อง
การทาหลมุ พอเพียงทไ่ี ม่ใช่สารเคมใี นการปลูกพชื ผักสวนครัว
3. เพ่ือปลูกฝังใหน้ ักเรียนได้ร้จู กั การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
4. เพ่อื เสริมสรา้ งให้นกั เรยี นมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมท่ดี งี ามในการอยรู่ ว่ มกันในสงั คม

เปา้ หมาย
เป้าหมายเชิงปรมิ าณ

1. มแี หล่งเรียนรู้ เร่ือง หลมุ พอเพยี ง ภายในโรงเรียน อย่างน้อย 1 แหล่งเรยี นรู้
2. นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/2 ทุกคน ได้มีสว่ นรว่ มในการทาโครงงานคุณธรรม
3. เพอ่ื ปรับปรุงพัฒนาพน้ื ทรี่ กร้างอยา่ งน้อย 1 แหง่ (บริเวณพ้ืนท่ีหลังหอ้ งเกษตรของโรงเรยี น)

ใหเ้ กดิ ประโยชน์มากที่สุด
4. นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/2 ทุกคนไดร้ บั การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมที่ดงี ามในการอยู่

ร่วมกนั ในสังคม
เป้าหมายเชิงคุณภาพ

1. มแี หลง่ เรยี นรู้ เรอ่ื ง หลมุ พอเพียง ภายในโรงเรยี นใหแ้ ก่นักเรยี นและผ้สู นใจท่ีมีคุณภาพ
2. นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2/2 ทกุ คน ไดม้ สี ่วนร่วมในการทาโครงงานคุณธรรม
3. เพอื่ ปรับปรุงพัฒนาพื้นที่รกร้าง (บรเิ วณพนื้ ทห่ี ลงั ห้องเกษตรของโรงเรยี น) ใหเ้ กดิ ประโยชน์

มากทสี่ ดุ
4. นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2/2 ทุกคน มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมที่ดีงามในการอย่รู ว่ มกันในสงั คม

ขอบเขตของการศึกษา

เรือ่ ง โครงงานคุณธรรม “คณุ ธรรมนาความรู้ สูห่ ลุมพอเพยี ง”

กลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/2

สถานทด่ี าเนินการ บริเวณทรี่ กร้างหลงั ห้องเกษตรของโรงเรียน

ระยะเวลาดาเนนิ การ เดือนกันยายน – เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2563

3

บทที่ 2

เอกสารและทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน “คณุ ธรรมนาความรู้ ส่หู ลุมพอเพยี ง” ประกอบดว้ ยประเดน็ สาคญั
ต่อไปนี้

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพ่อื ใหก้ ้าวทันต่อโลกยุคโลกาภวิ ตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กนั ในตัวทด่ี ีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก
การเปลยี่ นแปลงทั้งภายในภายนอก ทัง้ น้ีจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิง
ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้อง
เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มี
สานกึ ในคุณธรรม ความซ่ือสตั ย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร
มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ
กว้างขวาง ทง้ั ดา้ นวตั ถุ สังคม สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จึงประกอบดว้ ยคณุ สมบัติ ดงั นี้

1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ีไม่น้อยเกนิ ไปและไม่มากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเอง
และผ้อู น่ื เชน่ การผลิตและการบริโภคทอ่ี ยใู่ นระดับพอประมาณ

2. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตดั สินใจเกย่ี วกับระดบั ความพอเพยี งน้นั จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ทีเ่ กย่ี วข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานัน้ ๆ
อย่างรอบคอบ

3. ภูมคิ มุ้ กัน หมายถงึ การเตรยี มตัวใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ทจี่ ะเกดิ ข้ึน
โดยคานงึ ถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขึ้นในอนาคต
โดยมี เง่ือนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง 2 ประการ ดังน้ี

1. เงอื่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบ
ทีจ่ ะนาความรูเ้ หล่านั้นมาพิจารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ

2. เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซ่ือสัตย์
สจุ ริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวิต

4

แนวทางการทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง

เน้นหาขา้ วหาปลาก่อนหาเงนิ หาทอง คือ ทามาหากินก่อนทามาคา้ ขาย
โดยการสง่ เสริม:
1. การทาไรน่ าสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพ่ือใหเ้ กษตรกรพฒั นาตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. การปลูกพืชผักสวนครัวลดคา่ ใช้จา่ ย เช่น การทาหลมุ พอเพยี งสาหรบั ครัวเรือน
3. การทาปุย๋ หมกั ปยุ๋ คอกและใช้วสั ดเุ หลือใช้เป็นปัจจัยการผลติ (ป๋ยุ ) เพ่อื ลดคา่ ใช้จ่ายและบารุงดิน
4. การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลอื ใชใ้ นไร่นา
5. การปลูกไมผ้ ลสวนหลงั บา้ น และไม้ใช้สอยในครวั เรือน
6. การปลูกพืชสมนุ ไพร ช่วยสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั
7. การเลี้ยงปลาในรอ่ งสวน ในนาขา้ วและแหลง่ น้า เพอ่ื เป็นอาหารโปรตีนและรายได้เสริม
8. การเลี้ยงไก่พื้นเมือง และไก่ไข่ ประมาณ 10-15 ตวั ต่อครวั เรอื นเพอื่ เป็นอาหารในครวั เรอื น

โดยใชเ้ ศษอาหาร รา และปลายขา้ วจากผลผลติ การทานา ขา้ วโพดเลย้ี งสตั วจากการปลูกพชื ไร่ เปน็ ต้น
9. การทาก๊าซชวี ภาพจากมลู สตั ว์

พระราชดารัสโดยย่อเกย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพียงในวนั ฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่าง
ลึกซ้ึงและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพ่ึงตนเองได้มี
ความ " พออยูพ่ อกนิ " และมคี วามอิสระทจ่ี ะอยไู่ ด้โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงของ
กระแสโลกาภวิ ฒั น์ ทรงวเิ คราะห์ว่าหากประชาชนพ่ึงตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติ
โดยส่วนรวมได้ในที่สุด พระราชดารัสท่ีสะท้อนถึงพระวิสัยทัศน์ในการสร้างความเข้มแข็งในตนเองของ
ประชาชนและสามารถทามาหากนิ ใหพ้ ออยู่พอกนิ ได้ ดังน้ี

5

"….ในการสร้างถนน สร้างชลประทานให้ประชาชนใช้น้ัน จะต้องช่วยประชาชนในทางบุคคลหรือพัฒนาให้
บุคคลมีความรู้และอนามัยแข็งแรง ด้วยการให้การศึกษาและการรักษาอนามัย เพ่ือให้ประชาชนในท้องท่ี
สามารถทาการเกษตรได้ และคา้ ขายได้…"

ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นนี้จึงทาให้เกิดความเข้าใจได้
ชัดเจนในแนวพระราชดารขิ อง "เศรษฐกิจพอเพียง" ซ่งึ ได้ทรงคิดและตระหนักมาช้านาน เพราะหากเราไม่ไป
พง่ี พา ยดึ ตดิ อยู่กบั กระแสจากภายนอกมากเกินไป จนได้ครอบงาความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด
มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานที่ไม่ม่ันคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นน้ีอาจไม่เกิดข้ึน
หรือไม่หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นนี้ ดังน้ัน "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงได้ส่ือ
ความหมาย ความสาคญั ในฐานะเปน็ หลักการสังคมท่ีพงึ ยดึ ถือ

ในทางปฏิบัติจุดเร่ิมต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นท้ังหลักการและกระบวนการทางสังคม ตั้งแต่ขั้นฟ้ืนฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรม
ยั่งยืน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่พอกินขึ้นไปถึงขั้นแปรรูป
อุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและทักษะวิชาการที่หลากหลายเกิดตลาดซ้ือขาย สะสมทุน ฯลฯ บน
พ้ืนฐานเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชนน้ี เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพัฒนาข้ึนมาอย่างมั่นคงทั้งในด้านกาลังทุนและ
ตลาดภายในประเทศ รวมท้งั เทคโนโลยีซึ่งจะค่อยๆ พัฒนาขน้ึ มาจากฐานทรพั ยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่ภายใน
ชาติ และทงั้ ที่จะพึงคดั สรรเรยี นรูจ้ ากโลกภายนอก

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตัวเอง ทาให้อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีสิ่งจาเป็นท่ีทาได้
โดยตวั เองไม่ต้องแขง่ ขันกับใคร และมีเหลือเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผทู้ ไี่ มม่ ี อันนาไปสกู่ ารแลกเปลี่ยนในชุมชน และขยาย
ไปจนสามารถท่ีจะเป็นสินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดที่เริ่มจากตนเองและความ
ร่วมมอื วธิ กี ารเช่นน้ีจะดึงศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครวั ซงึ่ มคี วามผูพ้ ันกับ
“จิตวิญญาณ” คือ “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า” ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลาดับความสาคัญ
ของ “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า” มูลค่าน้ันขาดจิตวิญญาณ เพราะเป็นเศรษฐกิจภาคการเงิน ท่ีเน้นท่ีจะ
ตอบสนองต่อความต้องการที่ไม่จากัดซ่ึงไร้ขอบเขต ถ้าไม่สามารถควบคุมได้การใช้ทรัพยากรอย่างทาลายล้าง
จะรวดเร็วข้ึนและปัญหาจะตามมา เป็นการบริโภคท่ีก่อให้เกิดความทุกข์หรือพาไปหาความทุกข์ และจะไม่มี
โอกาสบรรลุวัตถุประสงค์ในการบริโภค ที่จะก่อให้ความพอใจและความสุข (Maximization of
Satisfaction) ผู้บริโภคต้องใช้หลักขาดทุนคือกาไร (Our loss is our gain) อย่างนี้จะควบคุมความต้องการที่
ไม่จากัดได้ และสามารถจะลดความต้องการลงมาได้ ก่อให้เกิดความพอใจและความสุขเท่ากับได้ตระหนักใน
เร่ือง “คุณค่า” จะช่วยลดค่าใช้จ่ายลงได้ ไม่ต้องไปหาวิธีทาลายทรัพยากรเพื่อให้เกิดรายได้มาจัดสรรส่ิงที่
เป็น “ความอยากท่ีไม่มีท่ีสิ้นสุด” และขจัดความสาคัญของ “เงิน” ในรูปรายได้ที่เป็นตัวกาหนดการบริโภคลง
ได้ระดับหนึ่ง แล้วยังเป็นตัวแปรท่ีไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพ่ึงพิงกลไกของตลาด ซึ่งบุคคล
โดยท่ัวไปไม่สามารถจะควบคุมได้ รวมทั้งได้มีส่วนในการปูองกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration

6

Effects) จะไม่ทาให้เกิดการสูญเสีย จะทาให้ไม่เกิดการบริโภคเกิน (Over Consumption) ซ่ึงก่อให้เกิดสภาพ
เศรษฐกิจดี สังคมไมม่ ปี ญั หา การพฒั นายงั่ ยืน

การบรโิ ภคทฉ่ี ลาดดงั กล่าวจะชว่ ยปูองกนั การขาดแคลน แม้จะไม่รา่ รวยรวดเรว็ แต่ในยามปกติก็จะทา
ให้ร่ารวยมากขน้ึ ในยามทุกข์ภยั กไ็ ม่ขาดแคลน และสามารถจะฟน้ื ตัวไดเ้ ร็วกวา่ โดยไม่ต้องหวังความชว่ ยเหลือ
จากผ้อู น่ื มากเกนิ ไป เพราะฉะนั้นความพอมีพอกินจะสามารถอุม้ ชูตัวได้ ทาให้เกดิ ความเข้มแขง็ และความ
พอเพียงนน้ั ไม่ไดห้ มายความวา่ ทกุ ครอบครวั ต้องผลติ อาหารของตวั เอง จะต้องทอผา้ ใสเ่ อง แต่มีการ
แลกเปลยี่ นกนั ไดร้ ะหว่างหมู่บา้ น เมือง และแม้กระท่ังระหว่างประเทศ ทส่ี าคญั คอื การบริโภคนน้ั จะทาให้เกิด
ความรทู้ ี่จะอยู่รว่ มกับระบบ รักธรรมชาติ ครอบครัวอบอนุ่ ชมุ ชนเขม้ แขง็ เพราะไม่ต้องทิ้งถิ่นไปหางานทา เพอ่ื
หารายได้มาเพ่ือการบรโิ ภคท่ีไมเ่ พียงพอ

ประเทศไทยอดุ มไปด้วยทรัพยากรและยังมีพอสาหรับประชาชนไทยถา้ มีการจดั สรรท่ีดี โดยยึด "
คุณค่า " มากกว่า " มลู คา่ " ยึดความสมั พันธ์ของ “บุคคล” กับ “ระบบ” และปรับความต้องการท่ีไม่จากดั ลง
มาใหไ้ ดต้ ามหลักขาดทนุ เพ่อื กาไร และอาศัยความรว่ มมือเพอ่ื ใหเ้ กิดครอบครัวที่เขม้ แขง็ อันเปน็ รากฐานที่
สาคญั ของระบบสังคม

การผลิตจะเสยี ค่าใช้จ่ายลดลงถา้ ร้จู ักนาเอาสิ่งท่ีมีอยู่ในขบวนการธรรมชาตมิ าปรุงแต่ง ตามแนว
พระราชดาริในเร่ืองต่าง ๆ ที่กลา่ วมาแลว้ ซึ่งสรุปเป็นคาพดู ทีเ่ หมาะสมตามท่ี ฯพณฯ พลเอกเปรม ตนิ ณสูลา
นนท์ ทว่ี ่า “…ทรงปลกู แผน่ ดิน ปลูกความสุข ปลดความทุกขข์ องราษฎร” ในการผลติ น้ันจะต้องทาด้วยความ
รอบคอบไม่เห็นแก่ได้ จะต้องคดิ ถงึ ปจั จยั ที่มีและประโยชนข์ องผูเ้ กี่ยวข้อง มฉิ ะน้นั จะเกิดปัญหาอยา่ งเชน่ บาง
คนมีโอกาสทาโครงการแต่ไม่ไดค้ านึงวา่ ปจั จยั ตา่ ง ๆ ไม่ครบ ปจั จยั หน่ึงคอื ขนาดของโรงงาน หรอื เครอื่ งจักรท่ี
สามารถทีจ่ ะปฏิบตั ิได้ แต่ข้อสาคัญท่ีสดุ คือวตั ถดุ บิ ถ้าไม่สามารถที่จะให้ค่าตอบแทนวตั ถุดิบแก่เกษตรกรที่
เหมาะสม เกษตรกรก็จะไม่ผลิต ยิ่งถ้าใช้วตั ถุดบิ สาหรบั ใช้ในโรงงานน้ั เป็นวตั ถดุ ิบที่จะต้องนามาจากระยะไกล
หรือนาเขา้ ก็จะยิ่งยาก เพราะว่าวตั ถุดิบท่นี าเข้าน้นั ราคาย่ิงแพง บางปีวตั ถดุ ิบมบี รบิ รู ณ์ ราคาอาจจะตา่ ลงมา
แต่เวลาจะขายสง่ิ ของท่ีผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมอื นกัน เพราะมีมากจึงทาให้ราคาตก หรอื กรณใี ช้
เทคโนโลยีทางการเกษตร เกษตรกรรดู้ ีว่าเทคโนโลยีทาให้ตน้ ทนุ เพิ่มขึ้น และผลผลติ ทเี่ พม่ิ นัน้ จะล้นตลาด ขาย
ได้ในราคาท่ลี ดลง ทาให้ขาดทุน ตอ้ งเปน็ หน้ีสิน

การผลิตตามทฤษฎีใหม่สามารถเป็นต้นแบบการคดิ ในการผลิตท่ีดีได้ ดังน้ี
1. การผลิตน้ันม่งุ ใช้เปน็ อาหารประจาวันของครอบครัว เพ่ือให้มีพอเพียงในการบริโภคตลอดปี เพ่ือใช้

เปน็ อาหารประจาวนั และเพอ่ื จาหน่าย
2. การผลิตตอ้ งอาศยั ปัจจยั ในการผลติ ซึง่ จะต้องเตรยี มให้พร้อม เช่น การเกษตรต้องมีน้า การจัดให้มี

และดูแหล่งนา้ จะก่อใหเ้ กิดประโยชนท์ ั้งการผลิต และประโยชน์ใชส้ อยอนื่ ๆ

7

3. ปัจจัยประกอบอื่นๆ ท่ีจะอานวยให้การผลิตดาเนินไปด้วยดี และเกิดประโยชน์เชื่อมโยง
(Linkage) ที่จะไปเสริมให้เกิดความย่ังยืนในการผลิต จะต้องร่วมมือกันทุกฝุายท้ัง เกษตรกร ธุรกิจ ภาครัฐ
ภาคเอกชน เพ่อื เชอ่ื มโยงเศรษฐกิจพอเพียงเขา้ กับเศรษฐกิจการค้า และให้ดาเนนิ กิจการควบคู่ไปดว้ ยกนั ได้
การผลิตจะต้องตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่าง “บุคคล” กับ “ระบบ” การผลิตนั้นต้องยึดมั่นในเรื่อง
ของ “คุณค่า” ให้มากกว่า “มูลคา่ ” ดงั พระราชดารัส ซง่ึ ได้นาเสนอมากอ่ นหน้าน้ที ่ีวา่

“…บารมีนั้น คือ ทาความดี เปรียบเทียบกับธนาคาร …ถ้าเราสะสมเงินให้มากเราก็สามารถท่ีจะใช้
ดอกเบี้ย ใช้เงินท่ีเป็นดอกเบี้ย โดยไม่แตะต้องทุนแต่ถ้าเราใช้มากเกิดไป หรือเราไม่ระวัง เรากิน เข้าไปใน
ทุน ทุนมันก็น้อยลง ๆ จนหมด …ไปเบิกเกินบัญชีเขาก็ต้องเอาเร่ือง ฟูองเราให้ล้มละลาย เราอย่าไปเบิกเกิน
บารมีที่บ้านเมือง ที่ประเทศได้สร้างสมเอาไว้ตั้งแต่บรรพบุรุษของเราให้เกินไป เราต้องทาบ้าง หรือเพ่ิมพูนให้
ประเทศของเราปกตมิ ีอนาคตท่ีม่ันคง บรรพบุรุษของเราแต่โบราณกาล ได้สร้างบ้านเมืองมาจนถึงเราแล้ว ใน
สมยั นท้ี ี่เรากาลังเสียขวญั กลวั จะได้ไม่ต้องกลวั ถา้ เราไมร่ ักษาไว้…”

การจัดสรรทรัพยากรมาใช้เพ่ือการผลิตที่คานึงถึง “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า” จะก่อให้เกิด
ความสัมพันธ์ระหว่าง “บุคคล” กับ “ระบบ” เป็นไปอย่างย่ังยืน ไม่ทาลายทั้งทุนสังคมและทุนเศรษฐกิจ
นอกจากนี้จะต้องไม่ติดตารา สร้างความรู้ รัก สามัคคี และความร่วมมือร่วมแรงใจมองกาลไกลและมีระบบ
สนับสนนุ ที่เปน็ ไปได้

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวทรงปลูกฝังแนวพระราชดาริให้ประชาชนยอมรับไปปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง
โดยให้วงจรการพัฒนาดาเนินไปตามครรลองธรรมชาติ กล่าวคือ ทรงสร้างความตระหนักแก่ประชาชนให้รับรู้
(Awareness) ในทุกคราเมอ่ื เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมประชาชนในทุกภูมิภาคต่าง ๆ จะทรงมีพระราช
ปฏิสันถารให้ประชาชนได้รับทราบถึงส่ิงท่ีควรรู้ เช่น การปลูกหญ้าแฝกจะช่วยปูองกันดินพังทลาย และใช้ปุ๋ย
ธรรมชาติจะช่วยประหยัดและบารุงดนิ การแก้ไขดนิ เปรีย้ วในภาคใต้สามารถกระทาได้ การ ตัดไม้ทาลายปุาจะ
ทาให้ฝนแล้ง เป็นตน้ ตัวอยา่ งพระราชดารสั ทีเ่ กยี่ วกบั การสร้างความตระหนักใหแ้ กป่ ระชาชน ได้แก่

“….ประเทศไทยนเี้ ปน็ ทท่ี เ่ี หมาะมากในการต้งั ถ่นิ ฐาน แต่วา่ ตอ้ งรักษาไว้ ไม่ทาให้ประเทศไทยเป็นสวน
เป็นนากลายเป็นทะเลทราย กป็ ูองกนั ทาได้….”

ทรงสร้างความสนใจแก่ประชาชน (Interest) หลายท่านคงได้ยินหรือรับฟัง โครงการอันเน่ือง มาจาก
พระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่มีนามเรียกขานแปลกหู ชวนฉงน น่าสนใจติดตามอยู่เสมอ เช่น
โครงการแกม้ ลงิ โครงการแกลง้ ดิน โครงการเสน้ ทางเกลอื โครงการนา้ ดไี ล่น้าเสีย หรือโครงการน้าสามรส ฯลฯ
เหล่าน้ี เป็นต้น ล้วนเชิญชวนให้ติดตามอย่างใกล้ชิด แต่พระองค์ก็จะมีพระราชาธิบายแต่ละโครงการอย่าง
ละเอียด เป็นที่เข้าใจง่ายรวดเร็วแก่ประชาชนท้ังประเทศ ในประการต่อมา ทรงให้เวลาในการประเมินค่าหรือ
ประเมินผล (Evaluate) ด้วยการศึกษาหาข้อมูลต่าง ๆ ว่าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริของพระองค์
นั้นเป็นอย่างไร สามารถนาไปปฏิบัติได้ในส่วนของตนเองหรือไม่ ซึ่งยังคงยึดแนวทางที่ให้ประชาชนเลือกการ
พัฒนาด้วยตนเอง ท่ีว่า

“….ขอให้ถอื ว่าการงานทจี่ ะทานั้นต้องการเวลา เป็นงานท่ีมีผู้ดาเนินมาก่อนแล้ว ท่านเป็นผู้ที่จะเข้าไป
เสริมกาลงั จึงตอ้ งมีความอดทนท่ีจะเขา้ ไปร่วมมือกับผู้อ่ืน ต้องปรองดองกับเขาให้ได้ แม้เห็นว่ามีจุดหนึ่งจุดใด
ตอ้ งแกไ้ ขปรบั ปรงุ ก็ตอ้ งค่อยพยายามแก้ไขไปตามท่ถี กู ท่ีควร….”

8

ในขนั้ ทดลอง (Trial) เพ่ือทดสอบว่างานในพระราชดาริท่ีทรงแนะนาน้ันจะได้ผลหรือไม่ซ่ึงในบางกรณี
หากมีการทดลองไมแ่ น่ชัดก็ทรงมักจะมิให้เผยแพร่แก่ประชาชน หากมีผลการทดลองจนแน่พระราชหฤทัยแล้ว
จึงจะออกไปสู่สาธารณชนได้ เช่น ทดลองปลูกหญ้าแฝกเพ่ืออนุรักษ์ดินและน้าน้ัน ได้มีการค้นคว้าหาความ
เหมาะสมและความเปน็ ไปไดจ้ นทั่วทงั้ ประเทศว่าดยี ่งิ จงึ นาออกเผยแพร่แกป่ ระชาชน เปน็ ตน้
ขั้นยอมรับ (Adoption) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริน้ัน เมื่อผ่านกระบวนการมาหลายขั้นตอน บ่ม
เพาะ และมีการทดลองมาเปน็ เวลานาน ตลอดจนทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริและ
สถานท่ีอ่ืน ๆ เป็นแหล่งสาธิตท่ีประชาชนสามารถเข้าไปศึกษาดูได้ถึงตัวอย่างแห่งความสาเร็จ ดังน้ัน แนว
พระราชดารขิ องพระองคจ์ ึงเปน็ ส่งิ ที่ราษฎรสามารถพสิ ูจน์ไดว้ ่าจะได้รับผลดีต่อชีวิต และความเป็นอยู่ของตนได้
อย่างไร

แนวพระราชดาริท้งั หลายดงั กล่าวข้างต้นนี้ แสดงถงึ พระวริ ยิ ะอุตสาหะท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงทุ่มเทพระสตปิ ญั ญา ตรากตราพระวรกาย เพอ่ื คน้ คว้าหาแนวทางการพัฒนาให้พสกนิกรทั้งหลายได้มีความ
ร่มเย็นเป็นสุขสถาพรย่ังยืนนาน นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงที่ได้พระราชทานแก่ปวงไทย
ตลอดเวลามากกว่า 50 ปี จึงกล่าวได้ว่าพระราชกรณียกิจของพระองค์น้ันสมควรอย่งยิ่งที่ทวยราษฎรจักได้
เจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท ตามที่ทรงแนะนา สั่งสอน อบรมและวางแนวทางไว้เพื่อให้เกิดการอยู่ดีมีสุข
โดยถว้ นเชน่ กนั โดยการพฒั นาประเทศจาเปน็ ตอ้ งทาตามลาดับข้ึนตอนต้องสรา้ งพนื้ ฐาน คือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญ่เปน็ เบอ้ื งต้นก่อน โดยใช้วธิ ีการและอปุ กรณท์ ี่ประหยัด แต่ถูกต้องตาหลักวิชาการ
เพื่อได้พื้นฐานท่ีม่ันคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริม ความเจริญ และฐานะทาง
เศรษฐกิจข้ึนท่ีสูงข้ึนไปตามลาดับ จะก่อให้เกิดความยั่งยืนและจะนาไปสู่ความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน
และสงั คม สดุ ทา้ ยเศรษฐกิจดี สังคมไมม่ ปี ัญหา การพฒั นายัง่ ยนื

ประการท่สี าคญั ของเศรษฐกิจพอเพียง

1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอท่ีจะมีไว้กินเองใน
ครวั เรอื น เหลอื จงึ ขายไป

2. พออยู่พอใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหม็น ใช้แต่ของท่ีเป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์
ผสมน้าถพู น้ื บา้ น จะสะอาดกวา่ ใช้นา้ ยาเคม)ี รายจา่ ยลดลง สขุ ภาพจะดีข้ึน (ประหยัดคา่ รกั ษาพยาบาล)

3. พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับ
วัตถุ ปญั ญาจะไมเ่ กดิ

" การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ท่ีเราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบ
พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อมุ้ ชตู ัวเองได้ ใหม้ ีพอเพียงกับตวั เอง "
"เศรษฐกิจพอเพียง" จะสาเรจ็ ได้ดว้ ย "ความพอดขี องตน"

ที่มา : https://sites.google.com/site/prachyasersthkicphxpheiyng12/-site-
prachyasersthkicphxpheiyng12

9

หลมุ พอเพยี ง

เป็นแนวคิดแบบบูรณาการบรหิ ารจดั การให้มีกินมีใช้แบบประหยดั ทนุ ประหยัดเวลา
ที่เรียกว่าหลุมพอเพียงกค็ อื วธิ กี ารบริหารจัดการส่ิงที่อยู่ในหลุมเริ่มจากเตรียมพื้นที่ตามขนาดท่ีกาหนด
แล้วก็ปลูกหญ้าแฝกเป็นรูปวงกลมหรือเป็นล็อกส่ีเหลี่ยม จากนั้นปลูกไม้ในหลุมน้ี ลงได้ถึง ๔ – ๕ ประเภทใน
หลุมเดียว เพ่อื ลดภาระการรดนา้ ปลูกซา้ และเกือ้ ต่อการกาจัดศัตรูพชื เพราะให้ทุกอย่างเกอื้ กูลอันเอง
แทนท่ีจะต้องรถน้าต้นไม้ทุกต้นหลายคร้ัง การทาหลุมพอเพียงก็เหลือการรดน้าเพียงคร้ังเดียว
นอกจากนั้น หัวใจหลักของหลุมพอเพียงคือ หากปลูกไม้ยืนต้น ไม่ว่าไม้ผลหรืไม้ใช้สอย ต้องรอไป ๓ – ๑๐ ปี
หรืทอมากกว่าน้ันกว่าจะได้ผลผลิต แล้วระหว่างนั้นจะอยู่กินอย่างไร ส่วนหญ้าแฝกท่ีเป็นเสมือนขอบหลุมก็จะ
ชว่ ยดักตะกอนดนิ ไม่ให้ไหลออกเวลารดนา้ เก็บกกั ป๋ยุ ไว้ให้ดว้ ย
พ้ืนที่ใต้ร่มเงาหรือบริเวณหลุมที่มีการเตรียมดิน ใส่ปุ๋ย ปรับปรุงดิน รดน้า และดูแล ยังสามารถใช้
ประโยชนไ์ ดอ้ กี มาก แทนทีจะปลอ่ ยให้วชั พชื ข้นึ เป็นภาระท่ตี อ้ งคอยกาจัด การปลูกพืชบางอย่างท่ีมีกล่ินเฉพาะ
ช่วยไล่แมลงศตั รพู ืช นอกจากน้ันยังเปน็ กศุ โลบายทีท่ าให้พืชหลักท่ีต้องการปลูก เช่น ไม้ผล ยืนต้น ไม้ปุายืนต้น
เจริญเติบโตและมโี อกาสรอดสูง เพราะผู้ปลกู จะคอยหว่ งใย หม่ันดูแล ทาให้พืชหลัก ดังกล่าวเจริญเติบโตดีกว่า
ปกติอีกด้วย และหากพืชชนิดใด ชนิดหน่ึงจะเบียดเบียนพืชอ่ืนมากเกินไปก็คอยควบคุมให้เหมาะสม ตัดแต่ง
ทรงพุ่ม จัดพืชหรือเถาเลื้อยให้เหมาะสม สาหรับพืชพ่ีเล้ียงก็ไม่ต้องมาก ในหนึ่งหลุมปลูกกล้วยเพียง ๑ -๒ ต้น
เทา่ นนั้ คอื ต้นทีก่ าลังใหเ้ ครอื อกี หนึ่งต้นสารองไว้สาหรบั เครอื ตอ่ ไปนอกนัน้ ให้ขุดหน่อไปขายหรอื ไปปลูกทอ่ี ืน่
ทมี่ า : https://kasetsanjorn.com/56/

หลุมพอเพียง คือ การปลูกพืชหลายอย่างในหลุมเดียว หลุมที่ว่าน้ีไม่ได้สภาพเป็นหลุมลึกๆ แต่เป็นการปลูก

พชื เป็นกลมุ่ ขนาดที่น่าลองทาคือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร แต่สาหรับคนที่มีพ้ืนที่ว่าง เพื่อเตรียมปลูก
พืช อาจจะทาหลายๆหลุม ขนาดท่ีกาลังพอแรง คือขนาดกว้าง 80 – 100 เซนติเมตร จะทาวงกลมหรือ
สี่เหลี่ยมก็ได้ ระยะห่างระหว่างหลุม 4 x4 เมตร ถ้ามีพื้นที่ 1 ไร่ จะได้ 100 หลุม หรือถ้าไม่มีท่ีเป็นผืนก็สร้าง
หลมุ ไวต้ ามหัวไรป่ ลายนา มมุ บ้าน หลังครวั ขอบบอ่ นา้ ริมทางเดนิ ได้หมด
หลุมพอเพยี ง เปน็ วิธกี ารบรหิ ารจัดการสิ่งท่ีอยู่ในหลุม เร่ิมจากเตรียมพื้นท่ีตามขนาดที่กาหนด แล้วก็ปลูกหญ้า
แฝกเป็นรูปวงกลมหรือเปน็ ลอ็ กส่ีเหลี่ยม จากนั้นปลูกไม้ในหลุมนี้ ลงได้ถึง 4 – 5 ประเภทในหลุมเดียว เพ่ือลด
ภาระการรดนา้ ปลกู ซ้า และเกือ้ ต่อการกาจัดศัตรูพืชเพราะให้ทกุ อยา่ งเกอ้ื กูลอันเอง

10

ต้นไมท่ จี่ ะปลูกในหลุมแบ่งเปน็ 5 ประเภท
1. ไมพ้ เ่ี ล้ียง เปน็ ไม้ทใี่ ห้ร่มเงา เกบ็ นา้ เกบ็ ความชื้นโดยเฉพาะชว่ งร้อนหรือหนา้ แล้ง เช่น กล้วยน้าวา้ กล้วย
หอม ควรปลกู ทางทศิ ตะวนั ตก เพราะชว่ ยบังแสงชว่ งบา่ ยท่ีอากาศร้อนจดั เปน็ พี่เลยี้ งให้พืชท่ไี ม่ชอบแดดจัด
มาก ได้กล้วยเครอื แรกเมื่อปลูก 1 ปี กต็ ัดทิ้ง ปล่อยหนอ่ ใหม่ให้ทางาน
2. ไม้ฉลาด เป็นไมข้ า้ มปี ที่สามารถเอาตัวรอดได้ดี เก็บผลไดน้ านพอสมควร เช่น ชะอม ผกั หวาน มะละกอ ผกั
ต้ิว ผักเม็ก เร่ิมเก็บกนิ ได้ตัง้ แต่ 1 เดอื นไปเร่ือยๆ
3. ไมป้ ญั ญาอ่อน หรือ ไมร้ ายวนั เป็นไม้ล้มลกุ ปลกู ง่าย ตายเร็ว ต้องคอยปลูกใหม่ ดูแลรดนา้ ทุกวัน แต่เก็บ
ผลได้เร็ว ได้ทุกวัน เชน่ พรกิ มะเขือ กะเพรา โหระพา ตะไคร้ ขา่ ฟักทอง แตงไทย แตงกวา ผกั บุ้งจีน คะน้า
เปน็ ตน้ เรม่ิ เก็บกินได้ต้ังแต่ 15 วัน
4. ไมบ้ านาญ เป็นไม้ผลยืนตน้ ใช้เวลาปลูก 2 - 4 ปี แตเ่ ม่ือใหผ้ ลผลิตแล้ว เกบ็ กนิ เก็บขายได้เรื่อย ๆ เช่น
ขนุน มะม่วง มะนาว กระท้อน เงาะ ทเุ รียน มังคดุ ยางพารา เปน็ ต้น ในหลุมหนึ่งควรเลอื กปลูกแค่ประเภท
เดยี ว
5. ไมม้ รดก เป็นกลุม่ ไมใ้ ชส้ อยท่ีอายุยืน ใช้เวลาปลูกนาน เกบ็ ไวเ้ ปน็ มรดกให้ลกู หลาน ตัดขาย กไ็ ดเ้ งินก้อน
ใหญ่หรอื จะเอาไว้ใชซ้ อ่ มแซมบ้านก็ได้ เชน่ ประดู่ สักทอง ยางนา สะเดา พะยงู ชิงชัน ไม้พวกน้เี ป็นไม้ใหญ่
ปลูกฝัง่ ตรงข้ามกับต้นกลว้ ย

พน้ื ท่ใี ต้ร่มเงาหรือบริเวณหลมุ ทีม่ ีการเตรียมดนิ ใส่ปุย๋ ปรับปรุงดนิ รดนา้ และดูแล ยังสามารถใชป้ ระโยชน์
ไดอ้ ีกมาก แทนทจี ะปลอ่ ยให้วชั พืชข้ึนเป็นภาระท่ตี ้องคอยกาจดั การปลกู พืชบางอยา่ งที่มกี ลนิ่ เฉพาะ ช่วยไล่
แมลงศัตรูพชื นอกจากน้ันยังเปน็ กศุ โลบายทที่ าให้พืชหลักที่ต้องการปลูก เช่น ไม้ผล ไม้ยืนตน้ ไม้ปุายืนต้น
เจรญิ เติบโตและมีโอกาสรอดสงู เพราะผู้ปลกู จะคอยห่วงใย หม่นั ดูแล ทาให้พชื หลัก ดงั กลา่ วเจรญิ เตบิ โตดีกว่า
ปกติอีกด้วย และหากพชื ชนิดใด ชนดิ หน่งึ จะเบยี ดเบียนพืชอ่ืนมากเกนิ ไปก็คอยควบคมุ ใหเ้ หมาะสม ตดั แต่ง
ทรงพมุ่ จดั พชื หรือเถาเล้ือยใหเ้ หมาะสม สาหรบั พชื พ่ีเล้ียงก็ไม่ต้องมาก ในหนึง่ หลุมปลูกกล้วยเพียง ๑ -๒ ตน้
เทา่ น้นั คือ ตน้ ทกี่ าลงั ให้เครอื อกี หนง่ึ ต้นสารองไวส้ าหรับเครอื ต่อไปนอกน้ันใหข้ ดุ หน่อไปขายหรอื ไปปลูกที่อ่นื

การปลูกหญ้าแฝกลอ้ มต้นไมห้ ลกั ไม่วา่ จะอย่ใู นรปู แบบหลมุ พอเพยี งหรือไมเ้ ดย่ี วรากหญ้าแฝกจะเปน็
ร่างแหในแนวดงิ่ ช่วยยึดดินให้คงรปู เปรียบเสมือนกระถางธรรมชาติ เพราะปมรากแฝกจะ ช่วยเพ่ิมธาตอุ าหาร
ในดิน ชว่ ยดดู ซับน้าในดนิ ไว้ แทนท่จี ะซมึ หายลงใต้ดนิ อยา่ งรวดเรว็ กอแฝกทเี่ บียดชดิ ช่วยดกั ตะกอนดนิ ซง่ึ รวม
ปยุ๋ ทใ่ี ส่ และ ใบแฝกทตี่ ดั มาคลมุ ดินยงั ช่วยรกั ษาดนิ ให้ชุ่มช้ืนในท่สี ดุ ก็ย่อย
ทีม่ า : http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1430206176

11

โครงงานคุณธรรม (Moral Project)

โครงงานคุณธรรม เป็นกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ (Integral Learning Activity) ท่ีพัฒนา
ผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวม (Holistic Development) ท่ีมีคุณธรรมหรือความดีงามเป็นพ้ืนฐานหรือแก่นหลัก
(Moral based) โดยใช้เทคนิควิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) ที่เกิดขึ้นมาจากความสนใจ
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ของผู้เรียนเอง (Learner centered) และเน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง
(Learning by doing) ดว้ ยความพากเพยี รจดจอ่ ต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาท่ยี าวนานตามสมควรในลักษณะวิจัย
ปฏิบัติการ (mini Action Research) ก่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านความเส่ือมทรามทางศีลธรรม (Problem
solving) และส่งเสริมการบ่มเพาะความดีมีคุณธรรม (Moral Incubation) อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
(Pragmatic & Systematic) รวมทัง้ การขยายความมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆ (Participation) ในสถานศึกษา
และชุมชนของตนเอง หรือชมุ ชนอ่นื ที่เกีย่ วขอ้ ง

กระบวนการเรียนรู้แบบ “โครงงานคุณธรรม” นั้น มีหลักการสาคัญว่าต้อง “ร่วมกัน-ทาดี-อย่างมี
ปัญญา” กล่าวคือ กระบวนการเรียนรู้ท่ีดีและสมบูรณ์นั้น จะต้องเริ่มต้นจากการสร้างความเป็นกัลยาณมิตร
ต่อกันก่อน อันเป็นปัจจัยต้นเร่ิมที่สาคัญท่ีสุด จึงต้องออกแบบและจัดวางเงื่อนไขให้เกิดการรวมกลุ่มกัน โดยมี
องค์ประกอบโครงสร้างและความสัมพันธ์ในกลุ่ม ให้สามารถดึงด้านบวกของแต่ละคนออกมาหากันให้ได้มาก
ท่สี ดุ ซงึ่ ก็จะทาให้เกดิ การใฝุดคี ิดดแี ละทาดรี ่วมกันออกมาไดอ้ ยา่ งเต็มทเี่ ต็มตามศักยภาพของแต่ละคน เกิดการ
ซึมซับความดี พร้อมๆ กับมีการเรียนรู้หรือมีกระบวนการทางปัญญาเกิดข้ึนตลอดสาย ตั้งแต่เร่ิมต้นระดม
ความคดิ การสังเกตสารวจสภาพปัญหา ปัญญาตระหนักรใู้ นสถานการณ์หรือสภาพปัญหาและสืบสาวถึงสาเหตุ
ปัญญาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพ่ิมเติม การรวบรวมประมวลข้อมูล ปัญญาคิดวิเคราะห์คิด
สังเคราะห์ ปัญญาคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การทาความคิดให้ชัดและเป็นระบบ การคิดวางแผนงาน การร่าง
โครงงาน ปัญญาการปรับประยุกต์จากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม ปัญญาการติดตามดาเนินงานปรับปรุงงาน
ปัญญาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญญาการประเมินผลสรุปผล และปัญญาการนาเสนอ ตลอดจนสติปัญญาท่ี
จะเท่าทนั และสามารถวางใจตอ่ โลกธรรมท้งั ๘ ที่มาถกู ต้องสัมผสั ใจไดอ้ ยา่ งฉลาดและเปน็ กุศลได้ในทส่ี ดุ

การพัฒนาการเรียนรู้และคุณธรรมของผู้เรียนผ่านการทาโครงงานคุณธรรมนั้น จะเกิดข้ึนควบคู่กันไป
จากกระบวนการกัลยาณมิตร, กระบวนการเปิดการเรียนรู้ภายใน (ปรโตโฆสะ สู่ สัทธาและโยนิโสมนสิการ),
กระบวนการเรยี นร้อู ย่างเปน็ องค์รวม (ตามหลักไตรสิกขา-ภาวนา๔) และกระบวนการพฒั นาแบบเวียนรอบ

12

ขัน้ ตอนในการทาโครงงานคุณธรรม
โครงงานคณุ ธรรมนน้ั เป็นกจิ กรรมท่ีจะต้องคดิ และดาเนินการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ควบคู่ไปกับการเรียนรู้และ

การพัฒนาคุณธรรม โดยอาศัยพระสงฆ์-ผู้รู้ทางศาสนา ครู หรือ ผู้บริหารเป็นกัลยาณมิตรต้ังแต่เริ่มต้นไปจน
เสร็จสิ้นโครงงาน ในการให้คาปรึกษา เสริมสร้างพลังและแรงบันดาลใจ สนับสนุนปัจจัยทรัพยากรข้อมูลและ
องค์ความรู้ต่างๆ ให้แก่ผู้ดาเนินการโครงงานอย่างใกล้ชิด ในทุกข้ันตอนของการทาโครงงาน ซ่ึงมี ๖ ข้ันตอน
สาคญั ดงั น้ี

ขั้นตอนที่ ๑ การตระหนักรู้และพิจารณาเลอื กหวั เรอ่ื งหรอื ประเดน็ ปัญหา
ขั้นตอนที่ ๒ การรวบรวมประมวลขอ้ มลู และองคค์ วามรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
ขั้นตอนท่ี ๓ การจัดทารา่ งโครงงาน
ขน้ั ตอนที่ ๔ การดาเนนิ การโครงงาน
ขน้ั ตอนท่ี ๕ การสรุปประเมนิ ผลและเขียนรายงาน
ข้ันตอนท่ี ๖ การนาเสนอโครงงาน

ขน้ั ตอนท่ี ๑ การตระหนกั รู้และพิจารณาเลือกหัวเรอ่ื งหรอื ประเด็นปัญหา
ข้ันตอนนี้เป็นขั้นตอนท่ีสาคัญที่สุด ท่ีต้องอาศัยภาวะการตระหนักรู้ในสถานการณ์หรือสภาพปัญหา
ด้วยสติปญั ญา หรอื ภาวะท่ีมแี รงบันดาลใจที่จะทาสิ่งดีงามอะไรบางอย่างที่เป็นความฝันหรืออุดมคติ ซึ่งอาจจะ
เกดิ จากผ้เู รียนเองโดยตรง หรืออาจจะเกิดจากการแนะนาหรือชี้ชวนจากผู้อื่นเป็นเง่ือนไขภายนอกที่กระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้หรือแรงบันดาลใจข้ึนก็ได้ การสร้างความตระหนักรู้นั้นเป็นขั้นตอนท่ียาก เพราะ
โดยทัว่ ไปสภาพการณ์ทเ่ี ปน็ ปัญหาต่างๆ น้ันมักจะเกิดข้ึนอยู่แล้ว แต่มักจะถูกละเลยมองข้าม หรือชาชินเคยชิน
จนมองไม่เห็นปัญหา หรือไม่รู้สึกว่าตนเองมีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหาน้ันอย่างไรในทานอง “เส้นผมบังภูเขา”
หรือ “ปลาอยู่ในน้ามองไม่เห็นน้า” จึงต้องอาศัยเหตุปัจจัยภายนอก จากกัลยาณมิตรที่กระตุ้นปัจจัยภายในใจ
ของผู้เรียนได้ถูกตรงกับจริตนิสัย ในเงื่อนไขสถานการณ์แวดล้อม และจังหวะเวลาท่ีพอเหมาะพอดี จนเกิด
ฉนั ทะร่วมกนั ทจี่ ะรวมกนั เปน็ กลมุ่ เพือ่ ดาเนนิ การโครงงาน
ขน้ั ตอนที่ ๒ การรวบรวมประมวลขอ้ มลู และองคค์ วามรูท้ ีเ่ ก่ยี วข้อง
เมื่อสมาชิกทุกคนในกลุ่มเห็นพ้องกันและตัดสินใจเลือกประเด็นปัญหาหรือหัวเร่ืองได้แล้ว และได้รับ
ความเห็นชอบจากท่ีปรึกษาแล้ว ก็จะเป็นข้ันตอนของการระดมความคิดวางแผนงานในเบื้องต้น โดยเร่ิมจาก
การร่วมกันพิจารณาวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วสืบสาวไปหาสาเหตุและปัจจัยร่วมต่างๆ การวางเปูาหมายและ
วิธีการแก้ปัญหา ซึ่งจะพบว่ายังมีข้อมูลของสภาพปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่เก่ียวข้องไม่เพียงพอหรือยังมี
รายละเอียดที่ไม่ชัดเจน ตัวแปรสนับสนุนและองค์ความรู้ต่างๆ ที่จะนามาใช้ในการวางแผนแก้ปัญหาก็ยังมีไม่
ครบถ้วนหรือยังไม่ชัดเจนเป็นต้น จึงต้องมีการรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้เพ่ิมเติม (ซ่ึงอาจจะได้มาจากการ
สารวจโดยละเอียดหรือประมาณการโดยคร่าวๆ ก็ได้) จากการพบปะสนทนาขอความร่วมมือจากบุคคลต่างๆ
และจากการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือตาราและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนาข้อมูลท่ีรวบรวมได้ทั้งหมดมา
ประมวลเพ่อื จัดเตรยี มสาหรบั คิดวางแผนทาร่างโครงงานต่อไป

13

ขั้นตอนที่ ๓ การจดั ทารา่ งโครงงาน
ข้ันตอนนเี้ ปน็ การคดิ พิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและภาพรวมท้ังหมด โดยนาข้อมูลที่รวบรวม
และประมวลได้ท้ังหมดนั้นมาเรียบเรียงและจัดทาเป็นเอกสารร่างโครงงาน ท่ีมีหัวข้อต่างๆ ตามที่กาหนดไว้
อยา่ งนอ้ ย ๑๓ หัวข้อ (จานวนหนา้ ๑๐ – ๒๐ หนา้ กระดาษขนาด A4) ดงั นี้
(๑) ชอ่ื โครงงาน (ช่ือโครงงานเปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ)
(๒) กลุ่มเยาวชนผ้รู ับผิดชอบโครงงาน และสถานศึกษา
แสดงชื่อกลุ่ม รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม ตาแหน่ง ชั้นเรียน, ชื่อสถานศึกษา ท่ีตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร E-mail
และเวบไซต์สถานศกึ ษา(ถ้ามี)
(๓) ท่ีปรึกษาโครงงาน
ชอื่ -นามสกุล ตาแหนง่ โทรศพั ท์และ E-mail (กรณีเปน็ พระภกิ ษใุ ห้ระบฉุ ายาและชื่อวดั ดว้ ย)
(๔) วตั ถปุ ระสงค์ (ไม่ควรเกนิ ๕ ข้อ)
(๕) สถานที่และกาหนดระยะเวลาดาเนนิ การ
พื้นที่ท่ีเลือกดาเนินการจะเป็นภายในหรือภายนอกสถานศึกษาก็ได้ ส่วนกาหนดระยะเวลาดาเนินการนั้น
แบ่งเป็น ๒ ระยะ ระยะที่ ๑ ควรอยู่ในช่วงเดือน พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๐ และระยะที่ ๒ ในช่วง
เดอื น ตลุ าคม ๒๕๕๐ – มกราคม ๒๕๕๑
(๖) ผังมโนทัศน์
สรปุ ภาพรวมของรา่ งโครงงานทั้งหมดเปน็ ผงั มโนทศั น์ ใน ๑ หน้ากระดาษ
(๗) สาระสาคญั ของโครงงาน (คาอธิบายสาระสาคัญของโครงงานโดยย่อ ๕ - ๑๐ บรรทัด)
(๘) การศกึ ษาวิเคราะห์
(๘.๑) ปญั หาและสาเหตุ (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา แล้ววิเคราะห์สืบสาวหาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่

เกี่ยวขอ้ งกับปัญหา เพือ่ ให้เหน็ ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน)
(๘.๒) เปูาหมาย (วางเปูาหมายของการแก้ปญั หาทั้งเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ)
(๘.๓) หลักการและหลกั ธรรมท่นี ามาใช้ (แสดงหลักธรรมและแนวพระราชดาริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ท่ี

นามาใช้ พร้อมอธิบายความหมายโดยย่อ แล้วอธิบายเช่ือมโยงกับการดาเนินการโครงงาน อย่าง
สอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล)
(๙) วิธกี ารดาเนินงาน (แสดงวธิ ีการดาเนนิ งานเป็นขอ้ ๆ หรอื เปน็ แผนผังที่มีคาอธบิ ายท่ชี ัดเจน)
(๑๐) งบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ (แสดงงบประมาณโครงงานและแหล่งที่มา หากมีการ
ระดมทนุ เพิ่ม ให้บอกแผนงานหรือวธิ ีการระดมทุนดว้ ย)
(๑๑) ผลที่คาดวา่ จะได้รับ (ผลโดยตรงและผลกระทบทต่ี อ่ เน่ืองออกไป)
(๑๒) ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของท่ีปรกึ ษา
(๑๓) ความคิดเหน็ และความรูส้ ึกของประธานกลุ่มเยาวชนผูร้ บั ผิดชอบโครงงาน

14

ข้ันตอนที่ ๔ การดาเนินการโครงงาน
การดาเนนิ การโครงงานแบง่ ออกเปน็ ๒ ระยะ ดงั น้ี
- ระยะที่ ๑ บกุ เบิก-ทดลอง ช่วงเดอื น พฤษภาคม – สงิ หาคม ๒๕๕๐
- ระยะที่ ๒ ตอกยา้ -ขยายผล ชว่ งเดอื น ตลุ าคม ๒๕๕๐ – มกราคม ๒๕๕๑
ขั้นตอนน้ีเป็นการนารา่ งโครงงานมาปฏิบตั จิ ริงไปตามลาดับข้นั ตอนและวธิ กี ารดาเนนิ งาน ซ่ึงจะมีทั้งใน
ส่วนท่ีแบ่งงานและดาเนินงานกันในระหว่างสมาชิกในกลุ่มผู้รับผิดชอบโครงงาน และงานในส่วนที่สร้างการมี
ส่วนร่วมให้กับเพ่ือนนักเรียนอ่ืนหรือบุคคลต่างๆ ท่ีเข้ามาช่วยทางานในด้านต่างๆ ตลอดจนการจัดกิจกรรม
รณรงคข์ ยายการมสี ว่ นร่วมออกไปสชู่ ุมชน การดาเนินงานในชว่ งนอ้ี าจมีข้อมลู ย้อนกลบั มาท่ีเป็นเรื่องใหม่ท่ีเพิ่ง
ทราบ หรือคลาดเคลื่อนไปจากท่ีคาดการณ์ไว้ หรือเกิดสถานการณ์ท่ียุ่งยากเป็นอุปสรรคข้อขัดข้องหรือข้อ
ขดั แยง้ ใหต้ อ้ งเผชญิ หนา้ และแกป้ ัญหาอยู่เสมอๆ อันอาจจะนามาซึ่งความอ่อนล้า ความเหน่ือยหน่ายท้อแท้ ได้
บอ่ ยๆ ซึ่งท้งั หมดนล้ี ้วนเปน็ แบบฝกึ หดั สาคญั ของการเรียนรู้และพัฒนาคุณธรรม ของผรู้ บั ผิดชอบโครงงานและ
ผู้มาช่วยงานทั้งส้ิน และจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีการติดตาม สนับสนุน ดูแล ให้ความช่วยเหลือท้ังทาง
ทรัพยากรภายนอกและทางจิตใจ จากคณะที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิด ตลอดระยะเวลาดาเนินการโครงงานท้ัง ๒
ช่วง
ผูร้ บั ผิดชอบโครงงานพึงระลึกไว้ว่า การทางานจริงอาจมีหลายสิ่งท่ีไม่เป็นไปตามท่ีคาดการณ์และระบุ
ไว้ในร่างโครงงาน และหลายครั้งอาจต้องมีการปรับเปล่ียนแผนงานไปจากเดิม ก็ไม่เป็นไร แต่ต้องเข้าใจว่า
เพราะอะไร สามารถอธิบายได้ถึงเหตุผลของการท่ีผิดพลาดไปจากแผนงานที่วางไว้ได้ อย่าทางานเพียงเพื่อให้
ได้ผลตามร่างโครงงานที่วางแผนไว้เท่าน้ัน แต่ทางานเพ่ือก่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาคุณธรรมของตนเอง
และทกุ คนที่เกย่ี วข้องเปน็ หลกั ทาแล้วคุณธรรมความดตี ้องเพ่ิมขึ้นและควรมีความสุขจากการทาความดีนั้น ทา
โครงงานและความดี เพอ่ื นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มิใชก่ ารแข่งขนั เพ่อื ลา่ รางวัล

ขนั้ ตอนท่ี ๕ การสรุปประเมนิ ผลและเขยี นรายงาน
จากการดาเนนิ งาน ในข้ันตอนท่ี ๔ น้ันใหก้ ลุ่มเยาวชนได้ทาการประเมินผลและสรุปผลการดาเนินงาน
เฉพาะในระยะที่ ๑ ช่วงเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม เพื่อนามาใช้จัดทาเป็น เอกสารและส่ือการนาเสนอ
โครงงาน ๕ หรือ ๖ รายการ ดงั นี้ (ดรู ายละเอียดในภาคผนวก ก.)
(๑) รายงานโครงงาน (๒๐–๕๐ หนา้ กระดาษขนาด A4 ไมร่ วมปก)
(๒) สรปุ ย่อโครงงานใน ๑ หนา้ กระดาษ (๑ หนา้ กระดาษขนาด A4)
(๓) แผ่นพับนาเสนอโครงงาน (๑ แผ่นกระดาษขนาด A4 หน้า-หลัง)
(๔)สอื่ Presentation เช่น Powerpoint หรอื VCD (เวลาไมเ่ กนิ ๗ นาที)
(๕)แผน่ ป้ายนทิ รรศการโครงงาน
(๖) เวบเพจ นาเสนอโครงงานผ่านทางอินเตอร์เนต (บงั คบั เฉพาะกรณีทไี่ ด้ท่ี ๑ ของ สพท.)
รายการที่ (๑) (๒) (๓) และ (๔) ให้บันทึกไฟล์ข้อมูลรวมลงในแผ่น CD แผ่นเดียว (ถ้ารายการท่ี (๔)
เปน็ VCD ให้แยกเป็นอกี หนึง่ แผน่ ) ท่ีหนา้ แผ่น CD ให้เขียนระบุชื่อโครงงาน สถานศึกษา และสพท. และแสดง
รายการไฟล์รายงาน, ไฟล์สรุปยอ่ , ไฟลแ์ ผ่นพับ และไฟลน์ าเสนอใหค้ รบถ้วนถูกตอ้ ง

15

ขัน้ ตอนที่ ๖ การนาเสนอโครงงาน
การนาเสนอโครงงาน เป็นทักษะท่ีสาคัญของผู้รับผิดชอบโครงงานทุกคนท่ีจะต้องทาหน้าท่ีเป็น
กัลยาณมิตร ทาการสื่อสารและถ่ายทอดความดีงามจากโครงงานของตนเองออกสู่การรับรู้ของบุคคลอ่ืนและ
สาธารณะ สมาชิกทุกคนในกลุ่มควรทาความเข้าใจในรายละเอียดและภาพรวมของโครงงานท้ังหมด แล้ว
ซักซอ้ มการนาเสนอในประเด็นสาคัญๆ ไว้เพื่อเตรียมตัวสาหรับการนาเสนอบนเวที การสัมภาษณ์ซักถาม และ
การนาเสนอหน้าแผ่นปูายนิทรรศการโครงงาน ให้คณะกรรมการและผู้มาชมนิทรรรศการโครงงานสามารถ
เขา้ ใจได้ในระยะเวลาอันจากัด
ทม่ี า : http://www.sesarea23.go.th/web/news_file/p93439151058.doc

หลัก PDCA

PDCA หรือท่ีเรียกว่าวงจรเดมิง (อังกฤษ: Deming Cycle) หรือวงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คือ
วงจรการควบคุมคณุ ภาพ

1. Plan (วางแผน) หมายถงึ การวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการกาหนดหัวข้อ
ที่ต้องการปรับปรุงเปล่ียนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน อาจ
ประกอบด้วย การกาหนดเปูาหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาคัญของ
เปูาหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนินการและ
กาหนดงบประมาณท่ีจะใช้ การเขียนแผนดังกล่าวอาจปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การ
ดาเนินงาน การวางแผนยงั ชว่ ยให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่างๆที่
อาจเกดิ ขึ้นได้

2. Do (ปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การดาเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมีโครงสร้างรองรับ
การดาเนินการ (เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะ) มีวิธีการ ดาเนินการ (เช่น มีการประชุมของ
คณะกรรมการมกี ารจัดการเรียน การสอน มกี ารแสดงความจานงขอรับนักศึกษาไปยังทบวงมหาวิทยาลัย) และ
มีผลของการดาเนนิ การ (เชน่ รายชื่อนกั ศึกษาท่ีรับในแตล่ ะปี)

3. Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมิน
โครงสร้างทร่ี องรบั การดาเนนิ การ การประเมนิ ขนั้ ตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ การดาเนินงาน
ตามแผนที่ได้ต้ังไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถ ทาได้เอง โดยคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบแผนการ
ดาเนนิ งานนั้น ๆ ซ่ึงเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมาประเมิน
แผน หรือไมจ่ าเปน็ ต้องคิดเครอื่ งมือหรอื แบบประเมิน ท่ยี งุ่ ยากซบั ซ้อน

4. Act (ปรบั ปรงุ แกไ้ ข) หมายถงึ การนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วย การนาผลการ
ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือข้ันตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาส่ิงท่ีดีอยู่แล้วให้ดี
ย่งิ ขนึ้ ไปอีก และสังเคราะห์รปู แบบ การดาเนนิ การใหมท่ ่เี หมาะสม สาหรบั การดาเนินการ ในปตี อ่ ไป

ท่มี า : https://th.wikipedia.org/wiki/PDCA

16

บทที่ 3

การดาเนนิ งาน

โครงงานเรอ่ื ง “คณุ ธรรมนาความรู้ สหู่ ลมุ พอเพียง” จดั ทาขน้ึ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้การทา
หลุมพอเพียงให้แก่นักเรยี นและผู้ทสี่ นใจซ่ึงประยุกต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลัก PDCA โดย
ความรว่ มมอื รว่ มใจของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2/2 ภายในโรงเรียน สามารถนาพืน้ ที่รกร้างวา่ งเปล่าภายใน
โรงเรยี นมาใชป้ ระโยชนใ์ หค้ ้มุ ค่ามากทส่ี ดุ ภายใต้องค์ความรู้เรือ่ งการทาหลุมพอเพียงที่ไม่ใช่สารเคมใี นการปลูก
พืชผักสวนครวั ในหลุมพอเพียงดังกลา่ ว นอกจากน้ยี งั ปลูกฝงั ให้นกั เรียนไดร้ จู้ ักการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ ม ตลอดจนการมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทีด่ งี ามในการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม
ลาดบั ขัน้ ตอนการดาเนินการดังน้ี

ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
ดาเนินการ -
การดาเนินการ 1-7 กันยายน 2563 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีท่ี 2/2
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 และครู ครทู ี่ปรกึ ษา
ที่ปรึกษาร่วมกันวางแผนในการทาโครงงาน
(Plan : P)

2. เตรียมสถานที่ทาโครงงาน (Do : D) 7- 15 กันยายน - นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
(หลุมพอเพียง) 2563 ปีที่ 2/2
- ร่วมกนั เก็บขยะ
- รว่ มกนั ถากหญ้า ถางหญ้า 15- 30 กันยายน - นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
- เตรยี มดิน เตรียมตน้ ไม้ วสั ดุ อุปกรณ์ 2563 ปีท่ี 2/2

3. ช่วยกันปลูกผักสวนครัว/ต้นไม้
ในหลุมพอเพียง (Do : D)

4. ช่วยกันดูแลรักษาการเจริญเติบโตของ 1- 31 ตุลาคม - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2/2
พืชในหลุมพอเพียง (Do : D) 2563

5. ตรวจสอบผลการดาเนินงานเป็นระยะ 1- 31 ตุลาคม - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
(Check : C) 2563 ปีที่ 2/2

6. ปรับปรุงพัฒนาและรายงานผล 1-7 พฤศจิกายน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
การดาเนินงาน (ACT : A) 2563 ปีที่ 2/2

17

ข้ันตอนการทา
1. นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/2 และครทู ่ีปรึกษาร่วมกนั วางแผนในการทาโครงงาน (Plan : P)

2. เตรียมสถานท่ีทาโครงงาน (Do : D) (หลุมพอเพียง)
- รว่ มกนั เก็บขยะ
- รว่ มกนั ถากหญ้า ถางหญ้า
- เตรยี มดิน เตรยี มต้นไม้ วสั ดุ อุปกรณ์

3. ช่วยกันปลูกผักสวนครัว/ต้นไม้ ในหลุมพอเพียง (Do : D)
4. ช่วยกันดแู ลรักษาการเจริญเตบิ โตของพชื ในหลุมพอเพยี ง (Do : D)
5. ตรวจสอบผลการดาเนินงานเป็นระยะ (Check : C)
6. ปรับปรุงพัฒนาและรายงานผลการดาเนินงานโครงงานคุณธรรม (ACT : A)

วสั ดอุ ุปกรณ์
1. พรา้
2. จอบ
3. ปยุ๋ อินทรีย์
4. ชอ้ นปลกู
6. ถงุ ดา/เขง่ ใส่ขยะ
5. ตน้ ผักสวนครัว ไดแ้ ก่ ต้นกลว้ ย ต้นแคดอกแดง ตน้ ผกั หวาน ตน้ ผักบุง้ ตน้ มะเขือเปราะ
ตน้ ขา่ แดงเลก็ ต้นย่หี รา่ ต้นมะนาว ตน้ ผักเหลยี ง ตน้ ปลอก ต้นพริกขีห้ นู ตน้ มะระขนี้ ก
ต้นชะมวง ตน้ ตะลงิ ปลงิ ต้นมะกอกเตยี้ ตน้ เตยหอม ตน้ มะกรดู ตน้ ตะไคร้ ตน้ กะเพรา
ต้นคะน้าเมก็ ซิโก ตน้ ธัมมงั ต้นโหระพา

18

บทที่ 4

ผลการดาเนนิ การ

ประเมินผลการดาเนินงาน
การจัดกจิ กรรม/โครงงาน “คุณธรรมนาความรู้ สู่หลุมพอเพียง” มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อ ปลกู ฝังคุณธรรม

จริยธรรมท่ดี งี ามให้กบั นกั เรียน ให้ครูและนักเรยี นทุกคนได้รับการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมแบบองค์รวมเนน้
กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม และใชโ้ ครงงานคุณธรรม เปน็ เครื่องมือในการเรียนรู้ความดคี วามงาม จากการลงมือ
ปฏบิ ตั จิ ริง นอกจากน้ีเพื่อสง่ เสริมและสนบั สนนุ กิจกรรมท่ีเสริมสรา้ งคณุ ธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งดว้ ยการใชพ้ ืน้ ท่ีในโรงเรยี นทาหลุมพอเพียง เปน็ แหลง่ เรียนรู้ในโรงเรยี นให้แก่เยาวชนอย่างย่งั ยืนตอ่ ไป

ผลของการดาเนินงานโครงงานดงั กล่าวทาใหเ้ กิดแหลง่ เรียนรู้การทาหลมุ พอเพียงซ่ึงประยกุ ตใ์ ช้หลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลกั PDCA โดยความรว่ มมือร่วมใจของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2/2
ภายในโรงเรยี น เพือ่ เป็นแหล่งเรยี นร้กู ารทาหลมุ พอเพยี งให้แก่นักเรียนและผทู้ ส่ี นใจ สามารถนาพื้นท่ีรกรา้ ง
วา่ งเปลา่ ภายในโรงเรียนมาใช้ประโยชน์ใหค้ ้มุ คา่ มากท่ีสุดภายใต้องค์ความรเู้ รื่องการทาหลุมพอเพยี งทไ่ี ม่ใช่
สารเคมใี นการปลูกพืชผักสวนครวั ในหลุมพอเพยี งดังกลา่ ว นอกจากนี้ยังปลกู ฝังใหน้ ักเรยี นได้รู้จักการอนรุ ักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนการมีคณุ ธรรมและจริยธรรมที่ดีงามในการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม

19

บทท่ี 5

บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรุปผลการดาเนนิ การโครงงาน
จากการดาเนินงานโครงงานคุณธรรม เร่ือง “คุณธรรมนาความรู้ สู่หลุมพอเพียง” บรรลุตาม

วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงานที่ตั้งไว้ คือ
1. มแี หล่งเรยี นรู้การทาหลมุ พอเพยี งใหแ้ ก่นกั เรยี นและผู้ที่สนใจ
2. สามารถนาพ้นื ทร่ี กรา้ งว่างเปล่าภายในโรงเรยี นมาใชป้ ระโยชนใ์ หค้ มุ้ ค่ามากที่สดุ ภายใต้องค์ความรู้
เร่ืองการทาหลุมพอเพยี งทีไ่ มใ่ ช่สารเคมีในการปลกู พชื ผักสวนครัว
3. สามารถปลกู ฝังใหน้ กั เรียนได้รู้จักการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
4. สามารถเสริมสร้างให้นักเรียนมีคุณธรรมและจรยิ ธรรมทด่ี ีงามในการอยู่ร่วมกนั ในสงั คมดว้ ย
กระบวนการทาโครงงานคุณธรรม

5.2 อภปิ รายผลการดาเนนิ งาน
การดาเนนิ งานโครงงานคุณธรรม เร่ือง “คุณธรรมนาความรู้ สู่หลุมพอเพยี ง” ในครั้งนปี้ ระสบ

ความสาเรจ็ ด้วยดี ดว้ ยความรว่ มแรงร่วมใจรว่ มมอื ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/2 ทุกคน ซ่งึ เปน็ การ
เสรมิ สรา้ งให้นักเรียนมีคณุ ธรรมและจริยธรรมทด่ี งี ามในการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมผ่านกระบวนการทาโครงงาน
คณุ ธรรมและภูมิใจในความสาเร็จร่วมกัน
5.3 ประโยชน์ที่ไดร้ บั

1. . มแี หลง่ เรยี นร้กู ารทาหลมุ พอเพยี งในโรงเรียนให้แก่นักเรียนและผทู้ ีส่ นใจ
2. สามารถนาพื้นทีร่ กรา้ งวา่ งเปลา่ ภายในโรงเรยี นมาใช้ประโยชนใ์ ห้ค้มุ ค่ามากท่สี ดุ ภายใต้องค์ความรู้

เรือ่ งการทาหลุมพอเพยี ง โดยประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลกั PDCA มาใชใ้ น
กระบวนการทาโครงงานคณุ ธรรมในครง้ั นี้
3. นักเรยี นได้รจู้ ักการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมผา่ นกระบวนการทา
โครงงานคุณธรรม เรื่อง “คุณธรรมนาความรู้ สหู่ ลุมพอเพยี ง”
4. นักเรยี นมีคณุ ธรรมและจริยธรรมทดี่ งี ามในการอยู่ร่วมกันในสังคมดว้ ยกระบวนการทา
โครงงานคณุ ธรรม
5.4 ข้อเสนอแนะ
1. สามารถทาหลมุ พอเพยี ง กับพ้ืนที่อ่นื ๆ ที่รกรา้ งวา่ งเปล่าหรือทไี่ ม่ใชป่ ระโยชน์ของโรงเรียนได้
เพอื่ เพม่ิ คุณค่าท่ดี ิน และสร้างความมนั่ คงทางด้านอาหาร ตลอดจนนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชีวิตเล้ยี งชีพในปัจจบุ ัน
2. เม่ือพืชในท่ปี ลกู ในหลุมพอเพียงใหผ้ ลผลติ เกยี่ วเก่ียวได้แลว้ ตอ้ งมีการต่อยอดทางความคิด
นาผลผลติ ไปใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ กดิ คุณคา่ อย่างสูงสดุ และรักษาระบบนิเวศภายในหลุมพอเพยี งให้เกิด
ความสมดลุ มัน่ คงย่งั ยนื ต่อไป

20

บรรณานกุ รม

https://sites.google.com/site/prachyasersthkicphxpheiyng12/-site-
prachyasersthkicphxpheiyng12
https://kasetsanjorn.com/56/
http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1430206176
http://www.sesarea23.go.th/web/news_file/p93439151058.doc
https://th.wikipedia.org/wiki/PDCA

21

ภาคผนวก

- ภาพถา่ ยกจิ กรรม
- เอกสารการดาเนนิ งาน

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41


Click to View FlipBook Version