The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.6 การวิเคราะห์ สังเคราะห์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by weerachon.kj36, 2022-09-15 08:20:08

1.6 การวิเคราะห์ สังเคราะห์

1.6 การวิเคราะห์ สังเคราะห์

การพัฒนาทักษะความคล่องแคล่วว่องไว(Agility) ในการสรา้ งเสริมและ
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โดยการใช้

โปรแกรมการฝกึ ตาราง 9 ช่อง

ประเดน็ ท่ที ้าทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นของผจู้ ัดทาขอ้ ตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดารงตาแหนง่ ครู (ยงั ไมม่ วี ิทยฐานะ) ตอ้ งแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติท่คี าดหวัง คือ การปรับประยกุ ต์ การ
จดั การเรียนรูแ้ ละการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ดี ขี ึ้นหรือมีการ
พัฒนามากขนึ้ (ท้งั นี้ประเดน็ ทา้ ทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติทีค่ าดหวงั ทีส่ งู กว่าได)้

1. สภาพปญั หาการจดั การเรยี นร้แู ละคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาที่ผ่านมาพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหาในเร่ืองความ
คลอ่ งแคล่ววอ่ งไว (Agility) ทาให้การเคล่ือนท่ีในการเลน่ กีฬาหรือการทากจิ กรรมตา่ งๆ เปน็ ไปอย่างชา้ และผล
การทดสอบสมรรถภาพด้านความคล่องแคลว่ วอ่ งไว(วง่ิ เก็บของ)ที่ผา่ นมาของผูเ้ รยี น พบว่าผู้เรยี นมที กั ษะความ
คลอ่ งแคล่ววอ่ งไวทต่ี ่า ครผู ู้สอนจงึ ตอ้ งใชแ้ บบฝึกเก่ยี วกับดา้ นความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว โดยนาแบบฝึกตาราง 9
ช่องมาใช้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีสมรรถภาพทางกายด้านความคล่องแคล่วว่องไวเพิ่มข้ึนเพราะสมรรถภาพ
ทางด้านความคล่องแคลว่ ว่องไวเปน็ สิ่งสาคญั ในการเสริมสร้างบคุ คลใหส้ ามารถประกอบภารกิจและดารงชีวิต
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจที่ดี ความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ มี
ความสัมพันธ์กันเม่ือสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แล้วสุขภาพจิตใจย่อมดีตามไปด้วย ย่อมทาให้ประสิทธิภาพของ
ระบบต่างๆ ในร่างกายทางานได้ดีขึ้น มีความต้านทานโรค รูปร่างและสัดส่วนของร่างกายดีขึ้นการทางานมี
ประสทิ ธภิ าพมีบุคลิกภาพทด่ี ีสามารถเคลอื่ นไหวได้ ดว้ ยความสงา่ งาม
ดังนั้นครูผู้สอนจึงจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย เรื่อง การพัฒนาทักษะความ
คล่องแคลว่ ว่องไว(Agility) ในการสร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกาย ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี
4/2 โดยการใช้โปรแกรมการฝึกตาราง 9 ชอ่ ง

1. วิธีการดาเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล

2.1 ศึกษาวิธีการแผนจัดการเรยี นรูแ้ ละการสร้างแบบฝกึ การพัฒนาสมรรถภาพดา้ นความ
คล่องแคลว่ วอ่ งไว (Agility) โดยศึกษาจากผู้เช่ยี วชาญทางพลศกึ ษาและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ งและมาปรบั ให้
เหมาะสมกบั ผู้เรียนแล้วนาไปปรบั ใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4/2

2.2 จัดทาแผนจัดการเรยี นรแู้ ละแบบฝกึ การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ดา้ นความคลอ่ งแคล่ว
วอ่ งไว(Agility)

2.3 ทดสอบสมรรถภาพผูเ้ รียนก่อนการจัดกจิ กกรมการเรียนรเู้ นอื้ หาเรอ่ื งการสรา้ งเสริม
สมรรถภาพทางกาย ดา้ นความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว (Agility) (ทดสอบกอ่ นเรียน)

2.4 นาแผนจัดการเรยี นรแู้ ละแบบฝกึ ตาราง 9 ช่อง ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นร้ใู หแ้ ก่ผู้เรยี น
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4/2

2.5 เมอื่ สน้ิ สุดการเรียนการสอนตามกาหนดจึงทาการทดสอบสมรรถภาพผูเ้ รยี นหลงั การจาก
ฝกึ (ทดสอบหลังเรียน)

2.6 นาผลการฝึก กอ่ น-หลัง มาวิเคราะหโ์ ดยวธิ ที างสถิติ ดกู ารเปลย่ี นแปลงของผู้เรียนและแจง้
ผลการทดสอบให้ผ้เู รยี นทราบเปน็ รายบุคคล

2.7 สาหรบั ผเู้ รียนท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ในการวดั และประเมนิ ผล จะจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ สริมใน
คาบว่างหรือหลงั เลกิ เรียน

3. ผลลพั ธ์การพฒั นาที่คาดหวงั
3.1 เชิงปรมิ าณ

ผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4/2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เรื่องการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ด้าน
ความคล่องแคล่วว่องไว (Agility) โดยมีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ด้านความคล่องแคล่วว่องไวหลัง
การฝึกสูงกวา่ กอ่ นการฝกึ ร้อยละ 80 ขน้ึ ไปของจานวนนกั เรยี นทงั้ หมด

3.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4/2 มีสมรรถภาพทางกาย ดา้ นความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว(Agility) เพิม่ ขน้ึ
หลงั จากการฝกึ และเพิม่ ขดี ความสามารถในการทากจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจาวนั ได้

ว่ิงเกบ็ ของ

วง่ิ เก็บของ
วัตถุประสงค์ วัดความคล่องตวั
อุปกรณ์
1. นาฬิกาจับเวลา
2. ทางว่ิงเรียบระหวา่ งเส้นขนาน 2 เสน้ ห่างกัน 10 เมตร ชิดดา้ นนอกของเส้นทั้งสองมวี งกลมขนาด
เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 50 ซม. ถัดออกไป จากเสน้ เริม่ ควรมีทางว่งิ ใหว้ ิ่งตอ่ ไปอีกอย่างน้อย 3 เมตร
3. แปรงลบกระดาน 2 อัน
วธิ กี ารทดสอบ วางแปรงลบกระดานไวก้ ลางวงทอี่ ย่ชู ิดเส้นตรงขา้ มเสน้ เรมิ่ ผ้รู บั การทดสอบยนื ให้เทา้ ข้าง
หนง่ึ ชดิ เสน้ เรมิ่ เมอ่ื พร้อมแล้วผปู้ ลอ่ ยตัวส่ัง "ไป" ใหผ้ ูร้ ับการทดสอบวิง่ ไปหยบิ แปรงลบกระดานในวงกลม 1
อัน วง่ิ กลบั มาวางในวงกลมหลงั เส้นเร่ิม แลว้ กลับตวั ว่ิงไปหยบิ แปรงลบกระดานอีกอันแลว้ วิ่งกลบั มาวางไวใ้ น
วงกลมหลังเสน้ เริ่มแล้วว่ิงเลยไป ห้ามโยน ถ้าวางไม่เข้าในวงตอ้ งเร่มิ ตน้ ใหม่
การบันทกึ บันทกึ เวลาตัง้ แต่ "ไป" จนถึงวางแปรงลบกระดานอันท่ี 2 ลงและบนั ทกึ เวลาให้ละเอยี ดถึง
ทศนยิ มอันดบั แรกของวนิ าทีใหป้ ระลอง 2 ครั้งใช้ผลของครัง้ ท่เี วลาดที ่ีสุด

เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 10 ปี รวมทัว่ ประเทศ ป.4
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนหญงิ อายุ 10 ปี รวมทั่วประเทศ ป.4

*แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐานนานาชาติ (ICSPFT)

วิเคราะห์ข้อมูลการพฒั นาการวิ่งเกบ็ ของสาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โรงเรยี นอนบุ าลพิบูลมงั สา
หารวภิ าคยว์ ทิ ยากร โดยใชค้ ่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และหาความกา้ วหน้ากอ่ นฝึกและหลงั ฝึก ดังตาราง
ท่ี 1 และ ตารางที่ 2

ตารางท่ี 1 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนกอ่ นเรียนและหลังเรียนในการพฒั นาการ

ว่ิงเกบ็ ของสาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4/2 โรงเรยี นอนุบาลพบิ ลู มังสาหารวภิ าคยว์ ทิ ยากร

รายการ N S.D.
ทดสอบก่อนเรยี น 10 40.2 6.62
ทดสอบหลงั เรียน 10 62.4 7.36

จากตารางท่ี 1 พบว่า คะแนนการพัฒนาการวิ่งเก็บของสาหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4/2
โรงเรียนอนุบาลพบิ ูลมงั สาหารวภิ าคย์วิทยากร

1.จากการทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี นได้ค่าเฉลย่ี ( ) เทา่ กับ 40.2 และ 62.4 ตามลาดับ
2.จากการทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียนได้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 6.62 และ 7.36
ตามลาดับ
3.จากตารางท่ี 1 ซงึ่ จะเหน็ ได้วา่ นกั เรียนมีความสามารถเพิ่มข้นึ โดยเห็นได้จากผลของการทดสอบ

ก่อนเรียนและหลังเรียนในเร่ืองของคา่ เฉลี่ย ( ) และค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ที่มากขึ้นตามลาดับ

ตารางที่ 2 เปรียบเทยี บคะแนนการพัฒนาการวง่ิ เก็บของสาหรับนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4/2 โรงเรยี น

อนบุ าลพิบลู มงั สาหารวภิ าคยว์ ทิ ยากรก่อนฝึกและหลังฝึกจานวน 10 คน (คะแนนเตม็ 100 คะแนน)

นักเรยี นคนท่ี คะแนนก่อนเรยี น คะแนนหลงั เรียน ความกา้ วหนา้ รอ้ ยละ ผลการประเมนิ

1 40 68 +28 46.66 ระดับปานกลาง
44.44 ระดับปานกลาง
2 28 60 +32 60.00
48.14 ระดับสูง
3 50 80 +30 42.85 ระดับปานกลาง
29.41 ระดับปานกลาง
4 46 72 +26 37.93 ระดับปานกลาง
46.66 ระดับปานกลาง
5 44 68 +24 43.75 ระดับปานกลาง
35.71 ระดับปานกลาง
6 32 52 +20 43.55 ระดับปานกลาง
ระดับปานกลาง
7 42 64 +22

8 40 68 +28
9 36 64 +20
10 44 64 +20

คะแนนรวม 402 624 +250

คะแนนเฉลยี่ 40.2 62.4 25

จากตารางท่ี 2 จะสามารถสรปุ การเปรยี บเทยี บคะแนนการพฒั นาการวง่ิ เกบ็ ของสาหรบั นกั เรยี นช้นั
ประถมศกึ ษาปีที่ 4/2 โรงเรียนอนุบาลพบิ ลู มงั สาหารวิภาคย์วทิ ยากรไดด้ งั นี้

1.จากตารางพบวา่ คะแนนเฉลี่ยความก้าวหน้าในการฝกึ มีความกา้ วหนา้ เฉลีย่ 25
2.จากการประเมลิ ผลพัฒนาการในการปฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี น มดี งั นี้
2.1.ผลการประเมนิ พัฒนาการระดับสงู จากกลุ่มตวั อย่างคิดเปน็ รอ้ ยละ 10 ของกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2.2.ผลการประเมนิ พฒั นาการระดับปานกลางจากกลมุ่ ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 90 ของกล่มุ ตัวอย่าง

2.3.ผลการประเมนิ พฒั นาการระดบั ตน้ จากกลมุ่ ตัวอย่างคิดเป็นรอ้ ยละ 0 ของกลมุ่ ตวั อย่าง
3.จากการประเมินพัฒนาการในกล่มุ ตัวอย่างท้งั หมดคิดเปน็ รอ้ ยละ 43.55 จะอยู่ในเกณฑ์การ
พฒั นาการอยู่ในระดบั ปานกลาง ซึ่งจะเห็นไดว้ า่ นกั เรยี นมีการพฒั นาการหลังจากการใช้แบบฝกึ ดขี ้ึนตามลาดับ

คะแนนการทดสอบการวงิ่ เก็บของ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ื่ 4/2

ลาดบั ที่ ช่อื -นามสกุล เวลาการ ปฏิบัตกิ อ่ น เวลาการ ปฏิบตั หิ ลงั
ปฏบิ ัตกิ อ่ น เรียน ปฏิบตั ิหลัง เรยี น
1 ด.ช.ณัทพงศ์ พมุ่ จันทร์
2 ด.ช.พงษ์ศักด์ิ พรเพ็ชร เรยี น (100 คะแนน) เรยี น (100 คะแนน)
3 ด.ช.อิทธพิ ทั ธ์ สระทองทอม 10.3
4 ด.ช.ปณุ ณาธรณ์ สงิ หาออง 11.5 40 68
5 ด.ช.ถริ ภัทร ผลขาว 10.5
6 ด.ญ.วัชรวี รรณ แกว้ วิมล 11.8 28 60
7 ด.ญ.อนุธดิ า ทาคา 10.0 80
8 ด.ญ.ชุติมา บญุ อาจ 11.0 50
9 ด.ญ.เดชนิ ี วงศค์ ูณ 10.2 72
10 ด.ญ.นนั ทน์ ภัส ชมภูบุตร 11.2 46 68
10.3 52
คะแนนรวม 11.3 44 64
10.9
S.D. 11.7 32 68
10.5 64
11.4 42 64
10.3
11.5 40 624
10.4
11.6 36 62.4
10.4
11.3 44 7.36

402

40.2

6.62

สรปุ ผลของการพฒั นาทกั ษะความคล่องแคลว่ วอ่ งไวท่ใี ช้ โปรแกรมการฝกึ ตาราง 9 ช่องโดย
เปรยี บเทียบทักษะความคล่องแคลว่ ว่องไวกอ่ นและหลังการฝกึ กลุ่มตวั อยา่ งคอื นักเรยี นที่เรยี นวชิ าพลศกึ ษา
ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4/2 ของโรงเรยี นอนบุ าลพิบูลมงั สาหารวิภาคย์วทิ ยากร ในจงั หวัดอุบลราชธานี
จานวน 10 คน เครือ่ งมือทใ่ี ช้คอื แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตฐานนานาชาติ (ICSPFT) ก่อนทาการ
ทดลองได้ทดสอบความคล่องแคลว่ วอ่ งไวของนกั เรยี น โดยวัดความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว จานวน 2 คร้งั หา
ค่าเฉลยี่ ของเวลา จากนน้ั จงึ เริ่มฝกึ ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไวโดยใชโ้ ปรแกรมการฝึก ตาราง 9 ช่อง เมื่อฝึกครบ 3
สปั ดาหไ์ ด้ทาการทดสอบความคลอ่ งแคล่วว่องไวอกี ครัง้ วเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยการหาค่าเฉล่ียและส่วนเบย่ี งเบน
มาตรฐาน เปรยี บเทยี บความคล่องแคล่วว่องไวด้วยคา่ สถิติ t-Test ผลการวิจัยพบว่าหลังการฝึกด้วยโปรแกรม
ตาราง 9 ชอ่ งค่าเฉล่ยี โดยรวม 62.4 คะแนน ซ่ึงมกี ารเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดขี ึน้ จากค่าเฉล่ียกอ่ นการฝึก
โดยรวมได้ 40.2 มคี วามแตกต่างอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงใหเ้ ห็นวา่ หลงั การฝึกดว้ ย

โปรแกรมตาราง 9 ชอ่ ง สง่ ผลให้ทกั ษะความคลอ่ งแคล่ววอ่ งไวเพิ่มข้นึ สามารถนาไปใช้พฒั นา ทกั ษะในการเลน่
กฬี าตา่ งๆทเี่ กยี่ วกับความคลอ่ งแคล่วว่องไวได้

ข้อเสนอแนะ
จากการใช้กจิ กรรมการทดสอบและการฝกึ การว่งิ เก็บของ ปรากฏวา่ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4/2

มีการปฏบิ ตั ใิ นการวิง่ เก็บของผ่านเกณฑม์ ากข้นึ ซึง่ เมือ่ พจิ ารณาความก้าวหนา้ ในการฝึกของนกั เรียนพบว่า มี
การพฒั นาขึ้นตามระยะเวลาและทกี่ จิ กรรมท่ีฝกึ ทั้งนี้อาจเปน็ เพราะแบบฝึกท่ีพฒั นาขึ้นสง่ ผลตอ่ การฝกึ
ดังนั้นผ้วู ิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้

ข้อเสนอแนะการนาไปใช้
1.ควรนาผลการวิจยั ไปใช้และใช้เปน็ ขอ้ มูลในการฝึกการวิง่ เก็บของ ของนกั เรยี นในระดบั ช่วงช้นั อน่ื
ต่อไป
2.ควรนาตารางโปรแกรมการฝกึ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการฝึกซอ้ มในระดบั ชว่ งช้ันอ่ืน
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครัง้ ต่อไป
1.ผู้วจิ ยั ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกในตารารงโปรแกรมการฝกึ จาก 3 สัปดาห์ เป็นอยา่ งน้อย 5 สปั ดาห์
2.ผวู้ จิ ยั ควรเลือกแบบฝึกที่ไดผ้ ลการฝกึ ทด่ี ีท่สี ุดในการฝกึ การวิง่ เก็บของ

สูตรทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู มีดังน้ี
1.การหาค่าเฉล่ีย

เมื่อ (เอ็กซบ์ าร์) คอื คา่ เฉล่ยี เลขคณิต
คือ ผลบวกของขอ้ มูลทุกค่า
คือ จานวนข้อมลู ทัง้ หมด

2.การหาค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

สูตรที่ 1 หรอื
สูตรที่ 2

เมือ่ S.D. คือ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
คอื ขอ้ มูล (ตัวท่ี1,2,3…,n)
คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
คือ จานวนขอ้ มูลทัง้ หมด

หมายเหตุ ในกรณที ่ี เปน็ ทศนิยมทาใหเ้ กิดความยุ่งยากในการคานวณ จงึ ควรเลอื กใชส้ ูตรท่ี 2

3.การหาค่าความกา้ วหน้า

Pd = Pp – Pe

เมอ่ื Pd คือ คะแนนเฉลยี่ ทีพ่ ฒั นา
Pp คือ คะแนนหลังเรยี น
Pe คอื คะแนนกอ่ นเรยี น

4.วิเคราะหค์ ะแนนพฒั นาการของผู้เรยี น (ศริ ิชยั กาญจนวาสี 2548)
จากสตู ร

s = (Y−X) × 100

(F−X)

S = รอ้ ยละของพัฒนาการเรียนรู้
F = คะแนนเต็ม
X = คะแนนความร้แู ละทักษะก่อนเรยี น
Y = คะแนนความร้แู ละทักษะหลังเรยี น

ระดับของคะแนนพฒั นาการ
ต่ากว่ารอ้ ยละ 25 พัฒนาการระดบั ตน้
ร้อยละ 25-49.99 พฒั นาการระดับปานกลาง
ร้อยละ 50-74.99 พฒั นาการระดบั สูง
ร้อยละ 75 ข้นึ ไป พัฒนาการระดับสงู มาก

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก.
แบบทดสอบการวงิ่ เก็บของ

ว่ิงเกบ็ ของ

วง่ิ เก็บของ
วัตถุประสงค์ วัดความคล่องตวั
อุปกรณ์
1. นาฬิกาจับเวลา
2. ทางว่ิงเรียบระหวา่ งเส้นขนาน 2 เสน้ ห่างกัน 10 เมตร ชิดดา้ นนอกของเส้นทั้งสองมวี งกลมขนาด
เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 50 ซม. ถัดออกไป จากเสน้ เริม่ ควรมีทางว่งิ ใหว้ ิ่งตอ่ ไปอีกอย่างน้อย 3 เมตร
3. แปรงลบกระดาน 2 อัน
วธิ กี ารทดสอบ วางแปรงลบกระดานไวก้ ลางวงทอี่ ย่ชู ิดเส้นตรงขา้ มเสน้ เรมิ่ ผ้รู บั การทดสอบยนื ให้เทา้ ข้าง
หนง่ึ ชดิ เสน้ เรมิ่ เมอ่ื พร้อมแล้วผปู้ ลอ่ ยตัวส่ัง "ไป" ใหผ้ ูร้ ับการทดสอบวิง่ ไปหยบิ แปรงลบกระดานในวงกลม 1
อัน วง่ิ กลบั มาวางในวงกลมหลงั เส้นเร่ิม แลว้ กลับตวั ว่ิงไปหยบิ แปรงลบกระดานอีกอันแลว้ วิง่ กลับมาวางไวใ้ น
วงกลมหลังเสน้ เริ่มแล้วว่ิงเลยไป ห้ามโยน ถ้าวางไม่เข้าในวงตอ้ งเร่มิ ตน้ ใหม่
การบันทกึ บันทกึ เวลาตัง้ แต่ "ไป" จนถึงวางแปรงลบกระดานอันท่ี 2 ลงและบนั ทกึ เวลาให้ละเอยี ดถึง
ทศนยิ มอันดบั แรกของวนิ าทีใหป้ ระลอง 2 ครั้งใช้ผลของครัง้ ท่เี วลาดที ่ีสุด

ภาคผนวก ข.
โปรแกรมการฝกึ ทกั ษะการว่ิงเก็บของ

โปรแกรมการฝึกพฒั นาการว่งิ เก็บของ

ฝกึ 3 สัปดาห์ ฝึกสัปดาห์ละ 3 วนั คือ วันจนั ทร์ วันพธุ และวันศุกร์ ใช้เวลาชว่ งพกั เทยี่ งช่วงเวลา

12.00-13.00 น. รวมเวลาในการฝกึ ท้ังส้นิ 9 ชวั่ โมง

การอบอุ่นรา่ งกายกอ่ นการฝกึ

กอ่ นการฝกึ ประจาวนั ทกุ คร้ัง ใหผ้ รู้ ับการฝึกอบอุ่นรา่ งกายกอ่ นประมาณ 10 นาที กจิ กรรมในการ

อบอุ่นรา่ งกายดงั นี้

1.วิง่ เหยาะ ๆ รอบบรเิ วณที่ใชใ่ นการฝกึ 1 รอบ

2.ยนื ยืดกลา้ มเนื้อด้านข้าง 5 ครัง้

3.หมุนเอว 5 ครงั้

4. ยนื เอยี งตัวทางซา้ ย – ขวา 20 วินาที

5. ยืดกลา้ มเน้ือด้านหลงั 5 ครง้ั

6. นงั่ แยกเทา้ ก้มแตะปลายเท้าสลบั ซ้าย – ขวา 10 ครั้ง

7. บรหิ ารกล้ามเนอื้ ตน้ ขา 5 ครง้ั

ตารางโปรแกรมการฝกึ พัฒนาการวง่ิ เก็บของ

สปั ดาห์ท่ี วัน รายการฝึก เวลา(นาท)ี

1. อบอนุ่ รา่ งกายและกายบริหาร 10
2. ผ้ฝู กึ สอนอธิบาย 10

- ฝึกตาราง 9 ชอ่ งท่าท่ี 1,2,3 10
จันทร์ 3. กลมุ่ ตวั อย่างฝกึ ทกั ษะพืน้ ฐานทผ่ี ู้ฝกึ สอนอธบิ ายสาธติ 20
10
4. ผู้ฝึกให้กลมุ่ ตัวอยา่ งทบทวนการฝกึ ทา่ ท่ี 1,2,3
5. บริหารกาย และผ่อนคลายกลา้ มเนื้อก่อนเลกิ ฝึกซ้อม 10
10
1
20
1. อบอุน่ ร่างกายและกายบริหาร 10
2. ผ้ฝู ึกสอนอธิบาย 10

- ฝึกตาราง 9 ช่องทา่ ที่ 4,5,6
พุธ 3. กลมุ่ ตัวอย่างฝึกทักษะพ้นื ฐานทีผ่ ู้ฝกึ สอนอธิบายสาธติ

4. ผ้ฝู กึ ให้กล่มุ ตวั อยา่ งทบทวนการฝกึ ท่าท่ี 4,5,6
5. บริหารกาย และผ่อนคลายกลา้ มเนื้อก่อนเลิกฝึกซอ้ ม

1. อบอนุ่ ร่างกายและกายบริหาร 10
2. ผฝู้ ึกสอนอธบิ าย 10

ศกุ ร์ - ฝกึ ตาราง 9 ช่องท่าท่ี 7,8,9 20
3. กลมุ่ ตัวอยา่ งฝึกทักษะพ้นื ฐานท่ีผู้ฝึกสอนอธบิ ายสาธิต 10
10
4. ผ้ฝู ึกใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งทบทวนการฝึกท่าที่ 7,8,9
5. บริหารกาย และผ่อนคลายกลา้ มเนอื้ ก่อนเลิกฝึกซอ้ ม เวลา(นาท)ี

สปั ดาหท์ ี่ วนั รายการฝึก 10
10
1. อบอุ่นร่างกายและกายบริหาร
20
2. ผูฝ้ ึกสอนอธบิ าย 10
จนั ทร์ - ฝึกตาราง 9 ช่องท่าที่ 1,2,3 10

3. กล่มุ ตัวอยา่ งฝึกทักษะพ้นื ฐานทผ่ี ู้ฝกึ สอนอธบิ ายสาธติ 10
4. ผฝู้ กึ ใหก้ ลุ่มตวั อย่างทบทวนการฝกึ ท่าท่ี 1,2,3 10
5. บรหิ ารกาย และผ่อนคลายกล้ามเนื้อก่อนเลิกฝึกซอ้ ม
20
1. อบอ่นุ ร่างกายและกายบรหิ าร 10
2. ผูฝ้ กึ สอนอธบิ าย 10

- ฝกึ ตาราง 9 ชอ่ งท่าท่ี 4,5,6 10
2 พุธ 3. กลมุ่ ตัวอย่างฝกึ ทักษะพืน้ ฐานท่ีผู้ฝึกสอนอธิบายสาธติ 10

4. ผ้ฝู กึ ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งทบทวนการฝึกทา่ ที่ 4,5,6 20
5. บริหารกาย และผอ่ นคลายกล้ามเนอื้ กอ่ นเลิกฝึกซอ้ ม 10
10
1. อบอุ่นรา่ งกายและกายบรหิ าร

2. ผฝู้ ึกสอนอธบิ าย
- ฝึกตาราง 9 ชอ่ งทา่ ท่ี 7,8,9

ศุกร์ 3. กลุ่มตวั อยา่ งฝึกทกั ษะพ้นื ฐานที่ผู้ฝึกสอนอธบิ ายสาธติ

4. ผู้ฝึกให้กล่มุ ตัวอยา่ งทบทวนการฝึกท่าที่ 7,8,9
5. บริหารกาย และผ่อนคลายกล้ามเนื้อกอ่ นเลกิ ฝึกซ้อม

สปั ดาหท์ ่ี วัน รายการฝกึ เวลา(นาท)ี

1. อบอ่นุ รา่ งกายและกายบรหิ าร 10
10
2. ผู้ฝึกสอนอธิบาย
จันทร์ - ฝกึ ตาราง 9 ช่องท่าที่ 1,2,3 20
10
3. กลุ่มตวั อยา่ งฝึกทักษะพ้ืนฐานทผ่ี ู้ฝึกสอนอธิบายสาธติ 10

4. ผู้ฝึกใหก้ ล่มุ ตวั อยา่ งทบทวนการฝึกทา่ ท่ี 1,2,3 10
5. บริหารกาย และผอ่ นคลายกล้ามเน้ือกอ่ นเลกิ ฝึกซอ้ ม 10

1. อบอนุ่ รา่ งกายและกายบริหาร 20
2. ผู้ฝกึ สอนอธิบาย 10
10
- ฝึกตาราง 9 ช่องทา่ ที่ 4,5,6
พุธ 3. กลมุ่ ตัวอยา่ งฝกึ ทกั ษะพน้ื ฐานท่ผี ู้ฝกึ สอนอธบิ ายสาธติ 10
3 4. ผู้ฝึกใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งทบทวนการฝึกท่าที่ 4,5,6 10

5. บริหารกาย และผอ่ นคลายกลา้ มเนอ้ื กอ่ นเลกิ ฝึกซอ้ ม 20
10
1. อบอุ่นร่างกายและกายบริหาร 10
2. ผู้ฝึกสอนอธบิ าย

- ฝึกตาราง 9 ชอ่ งทา่ ท่ี 7,8,9

ศุกร์ 3. กลมุ่ ตัวอย่างฝึกทกั ษะพน้ื ฐานท่ีผู้ฝกึ สอนอธบิ ายสาธติ
4. ผฝู้ กึ ใหก้ ลุม่ ตัวอยา่ งทบทวนการฝกึ ท่าที่ 7,8,9

5. บริหารกาย และผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ก่อนเลิกฝึกซอ้ ม

ภาคผน
แบบฝึกทักษะก

นวก ค.
การว่ิงเก็บของ

แบบฝึกตาร

แบบท่ี 1 “กา้ วขึ้น-ลง” ดว้ ยการวางเท้าซา้ ยท่ชี อ่ งหมายเลข 2 เท้าขวาอย่ทู ช่ี อ่
ช่องหมายเลข 6 ต่อด้วยกา้ วเท้าซ้ายตอ่ ไปที่ช่องหมายเลข 8 เท้า ก้าวขวาก้าวตอ่

ไปท่ชี อ่ งหมายเลข 6 ถอยเทา้ ซา้ ยลงไปท่ีช่องหมาย

ราง 9 ชอ่ ง

องหมายเลข 3 จากน้ันก้าวเทา้ ซ้ายข้นึ ไปท่ีชอ่ งหมายเลข 5 ก้าวเท้าขวาข้ึนไปท่ี
อไปที่ช่องหมายเลข 9 จากน้ันถอยเท้าซ้ายลงไปที่ช่องหมายเลข 5 ถอยเทา้ ขวา
ยเลข 2 สุดทา้ ยถอยเทา้ ขวาลงไปท่ชี อ่ งหมายเลข 3

แบบที่ 2 “ก้าวออกดา้ นขา้ ง” ทา่ เตรียมวางเทา้ ท้งั สองข้างยนื อยู่ที่ชอ่ งหมาย
หมายเลข 3 ก้าวเทา้ ซา้ ยกลับมาท่ชี ่องหมายเลข 2 พ

ยเลข 2 จากนั้นเร่มิ ต้นกา้ วเท้าซา้ ยไปท่ีชอ่ งหมายเลข 1 ก้าวเทา้ ขวาไปที่ชอ่ ง
พร้อมทัง้ ก้าวเทา้ ขวากลบั มาท่ีช่องหมายเลข 2 ดว้ ย

แบบที่ 3 “กา้ วเป็นรปู กากบาท” ทา่ เตรยี มวางเทา้ ซา้ ยไวท้ ่ีช่องหมายเลข 1 เท
กับก้าวเทา้ ขวาต่อไปทีช่ อ่ งหมายเลข 5 ดว้ ย ก้าวเทา้ ซ้ายขนึ้ ไปทช่ี อ่ งหมายเลข 7

5 ถอยเท้าขวาลงไปท่ชี อ่ งหมายเลข 5 และถอยเท้าซ้ายลงไปท

ทา้ ขวาอยูท่ ชี่ อ่ งหมายเลข 3 จากนน้ั ก้าวเท้าซ้ายขึ้นไปทชี่ อ่ งหมายเลข 5 พร้อม
7 ก้าวเท้าขวาข้ึนไปท่ชี ่องหมายเลข 9 ตอ่ ด้วยถอยเท้าซา้ ยลงไปทชี่ ่องหมายเลข
ท่ชี ่องหมายเลข 1 สุดท้ายถอยเท้าขวาลงไปท่ชี อ่ งหมายเลข 3

แบบที่ 4 “ก้าวเปน็ รูปสเ่ี หลยี่ มข้าวหลามตดั ” ทา่ เตรียมเท้าทัง้ สองข้างวางอย่ทู
หมายเลข 6 ตอ่ ดว้ ยก้าวเท้าซา้ ยไปที่ชอ่ งหมายเลข 8 ตามดว้ ยกา้ วเท้าขวาไปท

ขวาไปทช่ี ่องหมายเลข 6 สดุ ท้ายถอยเทา้ ซ้ายลงไปท่ีช่องหมายเลข 2 ตาม

ที่ช่องหมายเลข 2 จากนัน้ ก้าวเท้าซ้ายไปทชี่ ่องหมายเลข 4 กา้ วเทา้ ขวาไปทช่ี อ่ ง
ทชี่ ่องหมายเลข 8 เช่นกนั จากน้นั ถอยเท้าซา้ ยลงไปที่ชอ่ งหมายเลข 4 ถอยเทา้
มดว้ ยถอยเทา้ ขวาลงไปท่ีช่องหมายเลข 2 เชน่ กัน เปน็ อนั จบท่าแบบที่ 4

แบบที่ 5 “ก้าวทแยงมุมแบบไขว้เท้า” เริม่ ตน้ ทา่ เตรยี ม ยืนอยแู่ ถวลา่ งสดุ ของต
จากน้ันเริม่ ด้วยกา้ วเทา้ ซา้ ยเฉยี งขนึ้ ไปทีช่ อ่ งหมายเลข 9 ก้าวเท้าขวาไขว้ขา้ มไปท
ลงมาท่ีชอ่ งหมายเลข 3

ตาราง โดยวางเท้าซา้ ยไว้ทช่ี อ่ งหมายเลข 1 เท้าขวาวางไวท้ ี่ช่องหมายเลข 3
ท่ชี ่องหมายเลข 7 ต่อด้วยถอยเทา้ ซ้ายลงมาที่ชอ่ งหมายเลข 1 และถอยเทา้ ขวา

แบบที่ 6 “กา้ วทแยงมมุ แบบรัศมีดาว” ท่าเตรียมเท้าท้ังสองข้างยนื อยู่ทช่ี อ่ งห
ขวาเฉยี งขน้ึ ไปที่ช่องหมายเลข 9 และก้าวเทา้ ซ้ายกลบั มาท่ีช่องหมายเลข 5 พร

ขนึ้ ไปท่ีช่องหมายเลข 7 ก้าวเท้าขวาเฉยี งลงไปที่ช่องหมายเลข 3 จากน้นั ก

หมายเลข 5 จากน้นั เร่มิ ต้นด้วยก้าวเท้าซา้ ยเฉยี งลงไปทชี่ ่องหมายเลข 1 กา้ วเทา้
ร้อมด้วยกา้ วเท้าขวากลับไปทช่ี ่องหมายเลข 5 เช่นกนั ต่อด้วยก้าวเทา้ ซ้ายเฉียง
ก้าวเท้าซา้ ยกลับมาท่ีช่องหมายเลข 5 ก้าวเท้าขวากลับมาช่องหมายเลข 5

แบบที่ 7 “ก้าวเฉยี งเปน็ รปู ตวั v” ท่าเตรียมยนื ด้วยเท้าทัง้ สองข้างอยูท่ ่ชี อ่ งห
หมายเลข 9 ต่อด้วยก้าวเทา้ ซา้ ยกลับมาท่ีชอ่ งหมายเล

หมายเลข 2 เริ่มตน้ ด้วยก้าวเท้าซา้ ยข้ึนไปทหี่ มายเลข 7 ก้าวเท้าขวาข้นึ ไปที่ชอ่ ง
ลข 2 และสุดท้ายกา้ วเทา้ ขวากลับมาทีช่ ่องหมายเลข 2

แบบท่ี 8 “กา้ วสามเหล่ียม” ทา่ เตรยี มยนื ดว้ ยเทา้ ทั้งสองข้างในช่องหมายเลข 2
ท่ีช่องหมายเลข 8 จากนัน้ ถอยเท้าซา้ ยลงมาท่ชี อ่ งหมายเลข 1 ถอยเทา้ ขวาลงม

ขวากลับมาทีช่ อ่ ง

2 จากนั้นเริ่มตน้ ก้าวเท้าซ้ายข้นึ ไปที่ช่องหมายเลข 8 ตามด้วยก้าวเท้าขวาข้นึ ไป
มาท่ชี อ่ งหมายเลข 3 ต่อดว้ ยกา้ วเทา้ ซา้ ยกลับมาที่ช่องหมายเลข 2 และก้าวเทา้
งหมายเลข 2 ด้วย

แบบท่ี 9 “กา้ ว-ชิด สามเหลยี่ มซ้อน” เรม่ิ ดว้ ยท่าเตรยี มยืนด้วยเทา้ ทงั้ สองข้าง
หมายเลข 6 ต่อดว้ ยก้าวเทา้ ซ้ายเขา้ มาที่ช่องหมายเลข 5 ก้าวเทา้ ขวาเขา้ มาช่อ

ไปที่ชอ่ งหมายเลข 9 ก้าวเท้าซา้ ยเข้ามาที่ชอ่ งหมายเลข 8 พรอ้ มกับก้าวเท

งอยู่ที่ช่องหมายเลข 2 ก้าวเท้าซา้ ยข้นึ ไปทีช่ อ่ งหมายเลข 4 ก้าวเทา้ ขวาไปท่ชี ่อง
องหมายเลข 5 ด้วย จากน้ันกา้ วเท้าซ้ายขึน้ ไปที่ช่องหมายเลข 7 กา้ วเท้าขวาขึ้น
ทา้ ขวาเขา้ มาท่ชี ่องหมายเลข 8 ด้วย จากนั้นทายอ้ นกลับลงไปสู่ชอ่ งเรม่ิ ตน้

ภาคผนวก ง.
ตารางคะแนนการทดสอบการเรียน – หลงั เรยี น

( Pre test – Post test )

คะแนนการทดสอบการวิ่งเก็บของ นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ื 4/2

ลาดบั ที่ ช่อื -นามสกุล เวลาการ ปฏบิ ตั ิกอ่ น เวลาการ ปฏิบัติหลัง
ปฏบิ ตั ิกอ่ น เรียน ปฏบิ ัติหลงั เรียน
1 ด.ช.ณัทพงศ์ พุม่ จนั ทร์
2 ด.ช.พงษ์ศกั ด์ิ พรเพ็ชร เรยี น (100 คะแนน) เรียน (100 คะแนน)
3 ด.ช.อิทธิพัทธ์ สระทองทอม 10.3
4 ด.ช.ปณุ ณาธรณ์ สิงหาออง 11.5 40 68
5 ด.ช.ถริ ภัทร ผลขาว 10.5
6 ด.ญ.วัชรีวรรณ แก้ววิมล 11.8 28 60
7 ด.ญ.อนุธดิ า ทาคา 10.0 80
8 ด.ญ.ชุตมิ า บญุ อาจ 11.0 50
9 ด.ญ.เดชนิ ี วงศ์คณู 10.2 72
10 ด.ญ.นันทน์ ภัส ชมภูบุตร 11.2 46 68
10.3 52
คะแนนรวม 11.3 44 64
10.9
S.D. 11.7 32 68
10.5 64
11.4 42 64
10.3
11.5 40 624
10.4
11.6 36 62.4
10.4
11.3 44 7.36

402

40.2

6.62

ภาคผนวก จ.
แผนการจัดการเรียนรปู้ ระกอบงานวจิ ยั

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 เร่ือง การสร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกาย

รหสั -ช่ือรายวิชา พ 14101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ชั้นประถมศกึ ษาปี ที่ 4

ผ้สู อมนาวตา่ รทฐ่ีรา.ตน.วกีราชรนเรกยี ุลนจริตู้/ตวั์ ชวี้ ัด

มาตรฐานการเรียนรู้
พ 4.1 เห็นคณุ คา่ และมีทกั ษะในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การดารงสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค
และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่อื สขุ ภาพ

ตัวชีว้ ดั
พ 4.1 ป.4/4 ทดสอบและปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

สาระสาคัญ

การสรา้ งเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกายจะทาใหท้ ราบภาวะความสมบรู ณแ์ ข็งแรงของ
รา่ งกายเพ่อื จะไดส้ รา้ งเสรมิ ในดา้ นบกพรอ่ งและพฒั นาใหด้ ขี นึ้ เพ่อื การมีสขุ ภาพท่สี มบูรณแ์ ข็งแรง

ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring
Understanding)

การสรา้ งเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกายจะทาใหท้ ราบถงึ สภาพของรา่ งกาย

สาระการเรียนรู้

1. สมรรถภาพทางกายและกิจกรรมสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย
2. การทดสอบสมรรถภาพทางกายและกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย
3. การปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการตรวจสอบสมรรถภาพทางกาย

คุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์

ม่งุ ม่นั ในการทางาน
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6.1 ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบตั หิ นา้ ท่กี ารงาน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชนิ้ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

ชิน้ งานท่ี 10 เร่อื ง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

1. นกั เรยี นรว่ มกนั เสนอความคดิ เห็นเก่ียวกบั สมรรถภาพทางกาย และบนั ทกึ ขอ้ มลู เป็น
แผนภาพความรู ้

2. นกั เรยี นทดสอบสมรรถภาพทางกายในดา้ นต่าง ๆ
3. นกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาอภิปรายเก่ียวกบั ลกั ษณะของผทู้ ่มี ีสมรรถภาพทางกายท่ดี แี ละสรุป

ขอ้ มลู เป็นแผนภาพความรู้
4. นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายทา่ ทางตา่ ง ๆ
5. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นรว่ มกนั เลือกชนิดของกีฬาท่ชี อบเลน่ และวเิ คราะหว์ า่ กีฬาชนดิ นนั้ ๆ

ตอ้ งอาศยั สมรรถภาพทางกายดา้ นใดบา้ ง และบนั ทกึ เป็นแผนภาพความรู้
6. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย และบนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ิ

ลงในแบบบนั ทกึ
7. นกั เรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย และบนั ทกึ ผลการทดสอบลงใน

แบบบนั ทกึ
8. นกั เรยี นวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบสมรรถภาพทางกายและอธิบายวธิ ีการปรบั ปรุงแกไ้ ขและ

ผลท่เี กิดขนึ้
9. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรูเ้ ก่ียวกบั การสรา้ งเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกาย
10. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี้

การสรา้ งเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกายจะทาใหท้ ราบถงึ สภาพของรา่ งกาย

สือ่ การเรียนรู้

1. กรวยหรอื เกา้ อี้
2. ภาพการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
3. ชิน้ งานท่ี 10 เรอ่ื ง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ไดค้ ะแนน

ช่ือ ______________________ นามสกลุ ________________ เลขท่ี________ ชนั้ ________ _________
ใหร้ ะบายคาตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกใหเ้ ตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. การว่ิงระยะสนั้ เป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกายดา้ นใด คะแนน

1 ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว
2 การทรงตวั
3 ความทนทาน
4 ความเรว็
2. ถา้ ตอ้ งการปรบั ปรุงความออ่ นตวั ของกลา้ มเนอื้ ควรฝึกทา่ ใด
1 ยืนกม้ ตวั แตะปลายเทา้
2 ยืนขาเดยี วทรงตวั
3 ว่งิ ซกิ แซ็ก
4 ดนั พนื้
3. ขอ้ ใดกลา่ วถึงสมรรถภาพทางกายไดถ้ กู ตอ้ ง
1 ความสามารถของรา่ งกายในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นเวลานาน
2 ความพรอ้ มในการทากิจกรรมหลายอยา่ งในเวลาเดียวกนั
3 ความสามารถในการทากิจกรรมดว้ ยทา่ ทางท่สี งา่ งาม
4 ความพรอ้ มในการทากิจกรรมอยา่ งรวดเร็ว
4. การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
1 มีทกั ษะดา้ นกีฬาดีขนึ้
2 ทราบนา้ หนกั ของรา่ งกาย
3 ช่วยเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเลน่ กีฬา
4 ทราบระดบั ความสามารถของรา่ งกาย
5. บคุ คลในขอ้ ใดตอ้ งทดสอบสมรรถภาพทางกายอยา่ งสม่าเสมอมากท่สี ดุ
1 นกั เรยี น
2 อาจารย์
3 นกั กีฬา
4 แมบ่ า้ น

6. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายมีความสาคญั อยา่ งไร
1 ช่วยพฒั นาสมอง
2 ชว่ ยพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ
3 ใชค้ ดั เลอื กนกั กีฬาทีมชาติ
4 ใชท้ ดสอบความสามารถและความพรอ้ มของรา่ งกาย

7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย
1 การทรงตวั
2 ความแขง็ แรง
3 การเคลอ่ื นไหว
4 ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว

8. กอ่ นทดสอบสมรรถภาพทางกายตอ้ งปฏิบตั อิ ยา่ งไร
1 ลา้ งมือใหส้ ะอาด
2 อบอนุ่ รา่ งกาย
3 อาบนา้ สระผม
4 ด่มื นา้ มาก ๆ

9. นกั กีฬายิมนาสติกควรสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายดา้ นใดมากท่สี ดุ
1 ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว
2 ความออ่ นตวั
3 ความทนทาน
4 ความเรว็

10. ขอ้ ใดเป็นผลท่เี กิดจากการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย
1 รา่ งกายแข็งแรง
2 หนา้ ตาสวยงาม
3 รบั ประทานอาหารอรอ่ ยขนึ้
4 เกิดความสบายใจไมม่ ีเรอ่ื งทกุ ขใ์ จ

แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ไดค้ ะแนน

ช่ือ ______________________ นามสกลุ ________________ เลขท่ี________ ชนั้ ________ _________
ให้ระบายคาตอบที่ถกู ตอ้ งลงในวงกลมตวั เลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง)
1. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย คะแนน

1 ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว
2 การเคล่อื นไหว
3 ความแขง็ แรง
4 การทรงตวั
2. ขอ้ ใดกลา่ วถึงสมรรถภาพทางกายไดถ้ กู ตอ้ ง
1 ความสามารถของรา่ งกายในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นเวลานาน
2 ความพรอ้ มในการทากิจกรรมหลายอยา่ งในเวลาเดียวกนั
3 ความสามารถในการทากิจกรรมดว้ ยทา่ ทางท่สี งา่ งาม
4 ความพรอ้ มในการทากิจกรรมอยา่ งรวดเรว็
3. ขอ้ ใดเป็นผลท่เี กิดจากการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย
1 รา่ งกายแขง็ แรง
2 หนา้ ตาสวยงาม
3 รบั ประทานอาหารอรอ่ ยขนึ้
4 เกิดความสบายใจไมม่ ีเร่อื งทกุ ขใ์ จ
4. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายมีความสาคญั อยา่ งไร
1 ชว่ ยพฒั นาสมอง
2 ช่วยพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ
3 ใชค้ ดั เลอื กนกั กีฬาทีมชาติ
4 ใชท้ ดสอบความสามารถและความพรอ้ มของรา่ งกาย
5. กอ่ นทดสอบสมรรถภาพทางกายตอ้ งปฏบิ ตั ิอยา่ งไร
1 ลา้ งมือใหส้ ะอาด
2 อบอุ่นรา่ งกาย
3 อาบนา้ สระผม

4 ด่มื นา้ มาก ๆ
6. นกั กีฬายมิ นาสติกควรสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายดา้ นใดมากท่สี ดุ

1 ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว
2 ความอ่อนตวั
3 ความทนทาน
4 ความเรว็
7. การว่ิงระยะสนั้ เป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกายดา้ นใด
1 ความเรว็
2 ความทนทาน
3 การทรงตวั
4 ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว
8. ถา้ ตอ้ งการปรบั ปรุงความอ่อนตวั ของกลา้ มเนอื้ ควรฝึกทา่ ใด
1 ดนั พนื้
2 ว่งิ ซกิ แซก็
3 ยนื ขาเดียวทรงตวั
4 ยืนกม้ ตวั แตะปลายเทา้
9. การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
1 มีทกั ษะดา้ นกีฬาดขี นึ้
2 ทราบนา้ หนกั ของรา่ งกาย
3 ทราบระดบั ความสามารถของรา่ งกาย
4 ชว่ ยเตรยี มความพรอ้ มก่อนเลน่ กีฬา
10. บุคคลในขอ้ ใดตอ้ งทดสอบสมรรถภาพทางกายอยา่ งสม่าเสมอมากท่สี ุด
1 แม่บา้ น
2 นกั เรยี น
3 อาจารย์
4 นกั กีฬา

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 4 2. 1 3. 1 4. 4 5. 3

6. 4 7. 3 8. 2 9. 2 10. 1

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)

1. 2 2. 1 3. 1 4. 4 5. 2

6. 2 7. 1 8. 4 9. 3 10. 4


Click to View FlipBook Version