The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศุภกรณ์ หมายทวี, 2020-02-20 01:06:09

Dinosour

Dinosour

ไดโนเสาร์ ออิ ิ

1

ไดโนเสาร์

ไดโนเสาร์ (องั กฤษ: dinosaur) เป็นชือ่ เรียกโดยรวมของสตั ว์ดกึ
ดำบรรพใ์ นอนั ดบั ใหญ่ Dinosauria ซ่ึงเคยครองระบบนเิ วศบนพื้นพิภพ
ในมหายคุ มีโซโซอิก เป็นเวลานานถงึ 165 ล้านปี ก่อนจะสญู พนั ธุ์ ไปเม่ือ
65 ลา้ นปีท่ีแล้ว คนส่วนใหญเ่ ขา้ ใจวา่ ไดโนเสาร์เป็นสตั วเ์ ล้อื ยคลาน แต่
อันที่จรงิ ไดโนเสารเ์ ปน็ สัตว์ในอันดับหน่งึ ท่ีมลี กั ษณะกำ้ กึ่งระหวา่ ง
สตั ว์เลอื้ ยคลานและนก

2

คำว่า ไดโนเสาร์ ในภาษาองั กฤษ dinosaur ถูกตัง้ ขึน้ โดย เซอร์ ริชารด์
โอเวน นักบรรพชวี ินวทิ ยา ชาวองั กฤษ ซง่ึ เปน็ การผสมของคำในภาษากรกี สองคำ
คือคำวา่ deinos (δεινός) (ใหญ่จนน่าสะพรงึ กลวั ) และคำวา่ sauros
(σαύρα) (สตั ว์เลื้อยคลาน) หลายคนเขา้ ใจผิดว่า ไดโนเสาร์ คือสัตว์ที่อาศยั อยู่
ในมหายุคมีโซโซอกิ ทง้ั หมด แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ไดโนเสาร์ คือสตั วช์ นิดหนง่ึ ทอ่ี าศัยอยู่
บนพน้ื ดนิ เท่านน้ั สตั ว์บกบางชนดิ ที่คลา้ ยไดโนเสาร์ สตั ว์น้ำและสตั วป์ กี ที่มีลกั ษณะ
คล้ายไดโนเสาร์ ไมถ่ อื ว่าเปน็ ไดโนเสาร์ เปน็ เพียงสตั ว์ชนิดท่อี าศัยอยใู่ นยคุ เดียวกับ
ไดโนเสาร์เท่าน้นั

แมว้ า่ ไดโนเสาร์จะสญู พันธไ์ุ ปนานหลายล้านปีแล้ว แตค่ ำวา่ ไดโนเสาร์ก็
ยังเปน็ ทร่ี ู้จกั กันอย่างแพรห่ ลาย ทงั้ น้อี าจเป็นเพราะไดโนเสารน์ น้ั นบั ว่าเปน็ สัตว์ชนิด
หนง่ึ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยปริศนาและความน่าอศั จรรย์เปน็ อันมากนนั่ เอง

3

ประวตั ิการค้นพบ

มนษุ ย์ค้นพบซากดกึ ดำบรรพไ์ ดโนเสารม์ าเปน็ เวลานบั พนั ปแี ลว้ แตย่ ังไม่
มผี ้ใู ดเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแท้ว่าเศษซากเหลา่ นเ้ี ปน็ ของสัตวช์ นิดใด และพากนั คาดเดาไป
ต่าง ๆ นานา ชาวจีนมีความคดิ วา่ นีค่ ือกระดูกของมังกร ขณะทช่ี าวยโุ รปเชอ่ื วา่ นี่
เปน็ สิง่ หลงเหลือของสตั วท์ ส่ี ญู พนั ธ์ุไปเมอ่ื คร้ังเกดิ น้ำท่วมโลกครงั้ ใหญ่ จนกระทั่ง
เมอ่ื มกี ารคน้ พบซากดึกดำบรรพ์ในปี ค.ศ. 1822 โดย กเิ ดียน แมนเทล นัก
ธรณวี ิทยาชาวอังกฤษ ไดโนเสาร์ชนดิ แรกของโลกจงึ ไดถ้ ูกตั้งชอื่ ข้นึ วา่ อกิ วั โน
ดอน เน่ืองจากซากดึกดำบรรพน์ ้ีมลี ักษณะละม้ายคลา้ ยคลึงกบั โครงกระดกู ของตวั อิ
กัวนาในปัจจบุ ัน

สองปตี อ่ มา วลิ เลียม บกั แลนด์ (William Buckland) ศาสตราจารยด์ า้ น
ธรณวี ิทยา ประจำมหาวทิ ยาลยั ออกซฟอร์ด กไ็ ดเ้ ป็นคนแรกท่ีตพี มิ พข์ อ้ เขียนอธบิ าย
เกี่ยวกบั ไดโนเสาร์ในวารสารทางวทิ ยาศาสตร์ โดยเปน็ ไดโนเสาร์ชนิด เมกะโลซอรัส
บักแลนดี (Megalosaurus bucklandii) และการศกึ ษาซากดกึ ดำบรรรพ์ของสตั ว์
พวกกิง้ ก่า ขนาดใหญน่ ้กี ไ็ ด้รบั ความนยิ มเพมิ่ ขน้ึ เรือ่ ย ๆ จากนักวทิ ยาศาสตร์ทั้งใน
ยโุ รปและอเมริกา

จากน้นั ในปี ค.ศ. 1842 เซอร์ ริชาร์ด โอเวน เหน็ วา่ ซากดกึ ดำบรรพข์ นาด
ใหญท่ ถ่ี ูกคน้ พบมลี กั ษณะหลายอยา่ งรว่ มกัน จงึ ได้บญั ญตั ิคำวา่ ไดโนเสาร[์ 1] เพ่อื จดั
ใหส้ ตั วเ์ หล่านอ้ี ยู่ในกลมุ่ อนกุ รมวธิ านเดยี วกัน นอกจากนี้ เซอรร์ ชิ ารด์ โอเวน ยงั ได้
จัดตง้ั พพิ ธิ ภัณฑ์ประวตั ิศาสตรธ์ รรมชาติ ขึ้น ท่ีเซาทเ์ คนซงิ ตัน กรงุ ลอนดอน เพอ่ื
แสดงซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ รวมท้งั หลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาและชวี วิทยาอน่ื ๆ ท่ี
ถกู ค้นพบ โดยไดร้ ับการสนบั สนนุ จากเจา้ ชายอลั เบริ ต์ แหง่ แซกซ์-โคเบริ ก์ -โกทา
(Prince Albert of Saxe-Coburg-Gotha) พระสวามีของสมเดจ็
พระบรมราชินนี าถวกิ ตอเรียแห่งสหราชอาณาจกั ร

จากนัน้ มา กไ็ ดม้ กี ารคน้ หาซากดกึ ดำบรรพไ์ ดโนเสารใ์ นทุกทวปี ทว่ั โลก
(รวมทง้ั ทวีปแอนตาร์กติกา) ทกุ วันนีม้ ีคณะสำรวจซากดกึ ดำบรรพไ์ ดโนเสาร์อยู่
มากมาย ทำให้มกี ารคน้ พบไดโนเสารช์ นดิ ใหมเ่ พมิ่ ขน้ึ อกี เป็นจำนวนมาก ประมาณ
ว่ามีการคน้ พบไดโนเสาร์ชนดิ ใหม่เพ่ิมขีน้ หน่งึ ชนิดในทุกสัปดาห์ โดยทำเลทอง
ในตอนนีอ้ ยทู่ ่ีทางตอนใต้ของทวปี อเมรกิ าใต้ โดยเฉพาะประเทศอารเ์ จนตินา และ
ประเทศจีน

ลักษณะทางชวี วิทยา

ไดโนเสาร์เป็นสัตวเ์ ลือ้ ยคลานขนาดยกั ษซ์ ึ่งพวกมันมผี วิ หนังท่ปี กคลมุ เป็น
เกล็ดเชน่ เดียวกบั งู จระเข้ หรอื เตา่ กระเพาะอาหารของไดโนเสารก์ ินพืช มกั มี
ขนาดใหญแ่ ตอ่ ยา่ งไรกต็ ามเนือ่ งจากเซลลูโลสของพืชทำใหบ้ างคร้ังมันจึงต้องกลนื
ก้อนหินไปชว่ ยยอ่ ย ส่วนไดโนเสารก์ ินเนื้อจะยอ่ ยอาหาร ได้เรว็ กวา่ แตก่ ระนน้ั ข้อมุ
ลของไดโนเสาร์ยังไม่ทราบแน่ชดั นกั เน่ืองจากไดโนเสาร์สญู พันธไ์ ปหมดเหลือเพยี ง
ซากดกึ ดำบรรพ์ ดังนน้ั นกั บรรพชวี นิ วิทยาจึงตอ้ งใชซ้ ากฟอสซิลนใ้ี นการสนั นษิ ฐาน
ของ ข้อมูลต่าง ๆ พฤติกรรม การล่าเหยอ่ื และการดำรงชีวิตของไดโนเสารข์ ้ึนมาซึง่
อาจจะไม่ตรงกับความเปน็ จรงิ เท่าไรนัก

ววิ ัฒนาการ

บรรพบรุ ุษของไดโนเสารค์ ือ อารโ์ คซอร์ (archosaur) ซ่ึงไดโนเสารเ์ รมิ่ แยกตัว
ออกมาจากอารโ์ คซอร์ในยคุ ไทรแอสซิก ไดโนเสาร์ชนิดแรกถือกำเนดิ ขึ้นราว ๆ
230 ล้านปที แ่ี ลว้ หรอื 20 ลา้ นปี หลงั จากเกดิ การสญู พันธ์ุเพอรเ์ มียน-ไทรแอสซิก
(Permian-Triassic extinction event|Permian-Triassic extinction) ซงึ่ ครา่
ชวี ติ ของส่งิ มีชีวติ ทัง้ หมดบนโลกสมยั นนั้ ไปกว่า 90 เปอร์เซน็ ต์

สายพนั ธุไ์ ดโนเสารแ์ พรก่ ระจายอย่างรวดเร็วหลงั ยคุ ไทรแอสซิก กลา่ วได้
ว่าในยุคทองของไดโนเสาร์ (ยุคจูแรสซิก และยุคครเี ทเชยี ส) ทกุ สงิ่ มชี ีวิตบนพ้นื พิภพ
ท่มี ีขนาดใหญก่ วา่ หนง่ึ เมตรคือไดโนเสาร์ จนกระทง่ั เม่อื 65 ล้านปที แ่ี ลว้ การการ
สูญพนั ธคุ์ รเี ทเชียส-เทอรเ์ ทียรี (Cretaceous-Tertiary extinction) ก็ได้กวาดล้าง
ไดโนเสาร์จนสญู พันธ์ุ เหลอื เพยี งไดโนเสารบ์ างสายพนั ธ์ทุ ีเ่ ป็นบรรพบรุ ษุ ของนกใน
ปัจจบุ นั ยคุ ต่าง ๆของไดโนเสาร์

มหายคุ มโี ซโซอิก (Mesaozoic Era) 65-225 ล้านปี ในยคุ น้ีมี 3 ยุค คอื
ยคุ ไทรแอสซกิ ยคุ จูแรสซิก และยคุ ครเี ทเชยี ส ในยุคไทรแอสซิกนี้ สภาพอากาศใน
ขณะน้นั จะมี สภาพรอ้ นและแลง้ มากขนึ้ กวา่ ในอดตี ทำใหต้ ้นไมใ้ หญน่ อ้ ยในเขตร้อน
สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ ดมี าก จนกระทัง่ ไดโนเสารต์ วั แรกไดถ้ อื กำเนิดข้ึนมาบนโลก
นี้ ไดโนเสารก์ ลมุ่ แรกที่ไดก้ ำเนดิ ขนึ้ มาจะมีขนาดเล็ก เดิน 2 เทา้ และมีลกั ษณะ
พเิ ศษ คอื เท้ามีลกั ษณะคล้ายกับเท้าของนก ตอ่ มาในยุคจูแรสซกิ นจ้ี ดั ว่าเปน็ ยคุ ท่ี
เฟ่ืองฟเู ปน็ อย่างมาก บรรดาพชื พรรณธญั ญาหารทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ทำใหไ้ ดโนเสาร์
จำนวนมากขยายพนั ธ์ไุ ปอยา่ งรวดเรว็ ทำใหม้ รี า่ งกายใหญโ่ ต ซึ่งสว่ นใหญจ่ ะกินพชื
เปน็ อาหาร และนกยังไดถ้ ือกำเนดิ ขนึ้ มาเป็นคร้ังแรกในยคุ น้ีอกี ด้วย ต่อมาในยคุ ครี
เทเชียสน้ี จัดว่า เป็นยคุ ท่ีไดโนเสาร์นน้ั ร่งุ เรอื่ งทีส่ ดุ เพราะยคุ นี้ไดโนเสารไ์ ดม้ ีการ
พฒั นาพันธอ์ุ อกมาอย่างมากมาย

ยคุ ของไดโนเสาร์

ยุคไทรแอสซิก

การครอบครองโลกของไดโนเสารใ์ นยคุ น้ีโลกถกู ปกคลมุ ด้วยป่าไม้จำนวน
มาก พชื ตระกลู ทีใ่ ชส้ ปอรใ์ นการขยายพนั ธป์ ระสบความสำเรจ็ และมวี วิ ฒั นาการถึง
ข้ันสูงสดุ ในปา่ ยคุ ไทรแอสซิกชว่ งแรกน้นั มสี ตั ว์ใหญไ่ มม่ ากนกั สตั ว์ปกี ทใ่ี หญท่ ี่สุดคอื
แมลงปอยักษท์ ่ีปีกกวา้ งถงึ 2ฟตุ และไดช้ อ่ื ว่าเปน็ นกั ล่าเวหาเพียงชนิดเดียวของยุคน้ี
เนอื่ งจากในชว่ งปลายของยคุ เปอรเ์ มียนเกดิ การสญู พันธคุ์ ร้ังใหญข่ องสิ่งมีชวี ิตทำให้
พวกสตั ว์เลอ้ื ยคลานกึ่งเลี้ยงลกู ด้วยนมจำนวนมาก สูญพนั ธไ์ุ ปพวกทเ่ี หลอื ได้สืบทอด
เผา่ พนั ธ์มุ าจนถงึ ต้นยคุ ไทรแอสซิกในกลุ่มสตั วเ์ หลา่ น้เี จา้ ซนิ นอกนาตสั เป็นสตั วน์ ัก
ลา่ ท่ีนา่ เกรงขามทสี่ ดุ ในหม่พู วกมนั และในชว่ งนเี้ องไดโนเสาร์ก็ถอื กำเนดิ ขนึ้ โดย
พวกมนั วิวัฒนาการมาจากสตั ว์เลอ้ื ยคลานทเี่ ดนิ ด้วยขาหลังอย่างเจา้ ธโี คดอนซึ่งถือ
กันว่าเป็นบรรพบรุ ษุ ของไดโนเสาร์ การสญู พนั ธ์คร้ังใหญใ่ นยุคเปอรเ์ มียนทำให้พวก
มันสามารถขยายเผ่าพนั ธไ์ุ ด้อย่างมากมายในช่วงต้นยคุ ไทรแอสซิกและกลายมาเปน็
คูแ่ ข่งของพวกสตั ว์เลือ้ ยคลานกึง่ เล้ยี งลกู ดว้ ยนมทีเ่ หลือ ไดโนเสารใ์ นยุคแรกเปน็
พวกเดินสองขา เชน่ พลาทีโอซอร์ ไดโนเสาร์กินพืชคอยาวทีเ่ ปน็ บรรพบุรุษของ
พวก ซอโรพอด หรือเจ้าซีโลไฟซสิ บรรพบรุ ษุ ของพวกกินเนื้อ นกั ลา่ สองขาความสูง
1 เมตร การทมี่ ันสามารถเคลือ่ นไหวไดด้ ว้ ยสองขาหลังทำให้พวกมันมคี วามคลอ่ งตวั
ในการล่าสูงกวา่ ซนิ นอกนาตสั หรอื อรี โี ทรซคู สั ทีย่ าวถงึ 15 ฟตุ ซ่งึ มีกรามขนาด
ใหญแ่ ละแข็งแรงนกั ลา่ เหลา่ นไี้ ด้เปรยี บซินนอกนาตสั และสตั ว์เลอ้ื ยคลานกงึ่ เลย้ี งลกู
ด้วยนมอน่ื ๆทำให้พวกน้ีต้องววิ ัฒนาการให้มขี นาดเล็กลงเพอื่ ทีจ่ ะหลบหนพี วก
ไดโนเสาร์ และหลีกทางให้เผา่ พนั ธไ์ุ ดโนเสารก์ ้าวมาครองโลกนแี้ ทนในท่สี ุด

ยุคจูแรสซิก

ไดโนเสาร์ครอบครองโลกไดส้ ำเรจ็ ในตอนปลายยุคไทรแอสซกิ จนเมอื่
เขา้ ถงึ ยคุ จูแรสซิกพวกมันกข็ ยายเผา่ พันธไ์ุ ปทั่วโลกในยคุ น้ผี ืนแผน่ ดนิ ถกู ปกคลุมดว้ ย
พชื ขนาดยักษ์จำพวกสนและเฟริ น์ อยา่ งไรก็ตามไดเ้ รม่ิ มพี ืชดอกปรากฏข้ึนเป็นครง้ั
แรกในช่วงกลางของยุคน้ี นับวา่ เป็นจดุ เรมิ่ ของการขยายพันธ์รุ ปู แบบใหม่ของพวก
พชื ยุคจแู รสซิกนบั ได้วา่ เป็นยุคทพี่ วกไดโนเสารค์ อยาวตระกูลซอโร
พอด (Sauropod) ขยายเผ่าพันธอุ์ ยา่ งกว้างขวาง ไดโนเสาร์ขนาดยกั ษส์ ายพันธ์ุที่
รจู้ ักกนั ดีก็คอื แบรกคโิ อซอรสั (Brachiosaurus) ดิปโพลโดคสั (Diplodocus)
และอะแพโทซอรัส (Apatosaurus) หรอื อีกชอื่ คือบรอนโทซอรัส นอกจากนยี้ งั มี
ชนดิ อื่น ๆ อกี มากมายสตั วย์ ักษเ์ หลา่ นค้ี รง้ั หน่งึ ถูกมองวา่ เป็นสัตว์ทโ่ี งแ่ ละไมอ่ าจ
ป้องกันตัวจากสัตวน์ กั ลา่ ได้ ทว่าในปัจจุบนั นักโบราณคดีชวี วทิ ยา (paleontology)
เชอ่ื วา่ พวกมันใชห้ างที่หนาหนักศัตรทู ่ีมาจโู่ จมซ่ึงนับว่าเปน็ การตอบโตท้ ่ีน่ายำเกรง
ไมน่ อ้ ย เพราะหางที่ยาวและมนี ำ้ หนกั มากน่เี องท่ีทำใหพ้ วกมันต้องมคี อยาวเพอื่
สรา้ งสมดลุ ของสรรี ะของมัน

ยุคครีเทเชยี ส

ยุคครเี ทเชียสเปน็ ยุคท่ตี อ่ จากยคุ จแู รสซกิ สตั วเ์ ลอื้ ยคลานเจรญิ มากในยคุ
น้ี ทส่ี หรฐั อเมริกาก็มีการค้นพบสตั ว์ทะเลที่เคยอาศยั อย่ใุ นช่วงเดียวกนั กับไดโนเสาร์
ไดแ้ ก่ พวกพลสี โิ อซอร์เช่น อีลาสโมซอรสั พวกกงิ้ ก่าทะเลโมซาซอรอ์ ยา่ งไฮโน
ซอรัส และอาเครอนเป็นพวกเต่าอาศยั อยใู่ นทะเล บนทอ้ งฟ้าก็มเี คอาร์โคโทรุสซง่ึ มี
ขนาดปีกยาวถงึ 15 เมตร บินอย่มู ากมายยุคนเี้ ปน็ ยุคทไี่ ดโนเสารม์ ีการพฒั นาตัวเอง
อย่างมาก พวกซอรสิ เชยี นท่ีกินเนอ้ื มีตัวขนาดใหญไ่ ดแ้ ก่ อลั เบอรโ์ ตซอรัส ไทรันโน
ซอรสั ปรากฏในยุคนม้ี ลี กั ษณะดงั นไี้ ทรนั โนซอรสั นั้นมเี ลบ็ ทข่ี าหลังใหญโ่ ตและมีฟัน
แหลมยาวประมาณ 13 เซนตเิ มตร เพือ่ ใช้จบั เหยอ่ื พวกซอริสเชยี นทกี่ นิ ท้ังพืชและ
สัตว์เปน็ อาหารก็ไดแ้ ก่ ออนโิ ตมมิ สั พวกออร์นิธสิ เชยี นมักจะเปน็ พวกกนิ พืชพวกท่ี
ถูกคน้ พบครงั้ แรกก็ไดแ้ ก่ อกิ ัวโนดอน แล้วก็พบ ฮพิ ุชิโรโฟดอน และฮาโดโรซอรัส
พวกออรน์ ิธิสเชียน ไดแ้ ก่ ไทรเซอราทอปส์ แองคิโลซอรสั พบเจริญอย่มู ากมาย แต่
ว่าก่อนจะหมดยคุ ครเี ทเชียส น้ันอากาศก็เรมิ่ เปลย่ี นแปลงไดโนเสารบ์ างพวกเรมิ่ ตาย
ลงและสญู พนั ธ์ุ หลงั จากไดโนเสารส์ ูญพนั ธไ์ุ ปแลว้ สตั ว์เลี้ยงลูกด้วยนมก็มบี ทบาท
ข้นึ มาบนโลก

การจดั จำแนก

ไดโนเสารถ์ กู แบง่ ออกเป็นสองอนั ดับใหญ่ ๆ ตามลักษณะโครงสร้างของ
กระดูกเชงิ กราน คอื Saurischia (เรยี กไดโนเสารใ์ นอันดบั นีว้ า่ ซอรสิ เชยี น) ซึ่งมี
ลกั ษณะกระดกู เชิงกรานแบบสตั วเ์ ล้ือยคลาน มที ั้งพวกกนิ พชื และกนิ สตั ว์
และ :en:Ornithischia|Ornithischia (เรียกไดโนเสารใ์ นอนั ดบั นี้วา่ ออรน์ ิทิสเชียน)
มกี ระดกู เชงิ กรานแบบนกและเปน็ พวกกินพืชท้งั หมด[2]

ไดโนเสารส์ ะโพกสตั ว์เลือ้ ยคลาน หรือ ซอรสิ เชียน (จากภาษากรกี แปลว่าสะโพก
สัตว์พวกกิ้งก่า) เป็นไดโนเสารท์ ี่คงโครงสร้างของกระดกู เชิงกรานตามบรรพบรุ ษุ
ซอริสเชยี นรวมไปถงึ ไดโนเสาร์เทอโรพอด (theropod) (ไดโนเสารก์ ินเน้อื เดินสอง
ขา) และซอโรพอด (sauropod) (ไดโนเสาร์กินพชื คอยาว)

ไดโนเสารส์ ะโพกนก หรอื ออร์นทิ สิ เชยี น (จากภาษากรีก แปลว่าสะโพกนก) เป็น
ไดโนเสาร์อกี อันดบั หนึ่ง สว่ นใหญเ่ ดนิ สี่ขา และกนิ พชื

ไดโนเสารใ์ นวฒั นธรรมสมัยนยิ ม

แมว้ า่ ยุคสมยั ของไดโนเสารส์ น้ิ สดุ ลงเป็นเวลาหลายสิบลา้ นปแี ล้ว แต่
ปัจจบุ นั ไดโนเสารย์ ังคงปรากฏอยใู่ นวฒั นธรรมสมัยนยิ มและวถิ ชี วี ติ ประจำวนั ของ
มนุษย์ นยิ ายหลายเลม่ มกี ารกลา่ วถึงไดโนเสาร์ เช่น เพชรพระอมุ า ของ พนมเทียน,
เดอะลอสตเ์ วิลด์ (:en:The Lost World (Arthur Conan Doyle)|The Lost
World) ของ เซอร์ อาเทอร์ โคแนน ดอยล์, และ "จูราสสคิ พารค์ " (ซง่ึ ถา้ สะกดตาม
หลักการถ่ายคำต้องสะกดเปน็ จแู รสซกิ พารก์ ) ของ ไมเคิล ไครชต์ นั (Michael
Crichton) ไมเ่ พียงแตใ่ นหนงั สอื นยิ ายเทา่ น้นั การต์ นู สำหรับเด็กกม็ กี ารกล่าวถงึ
ไดโนเสาร์ด้วยเชน่ กนั เช่นในเร่ือง มนุษยห์ นิ ฟลนิ ทส์ โตน (The Flintstones) โดรา
เอมอน ตำรวจกาลเวลาและก๊องส์

นอกจากน้ี ไดโนเสารย์ งั ได้ปรากฏตัวอย่ใู นภาพยนตร์หลายเร่อื ง เชน่ คิง
คอง (ปี ค.ศ. 1933) และ จรู าสสคิ พาร์ค (ปี ค.ศ. 1993) ซ่งึ ภาพยนตรเ์ ร่อื งหลังน้ี
ดัดแปลงมาจากนิยายของ ไมเคลิ ไครช์ตัน และประสบความสำเร็จอยา่ งสูง เป็นการ
ปลุกกระแสไดโนเสาร์ให้คนทั่วไปหันมาสนใจกันมากขน้ึ ในปีค.ศ. 2000 Walt
Disney ได้นำไดโนเสารม์ าสรา้ งเปน็ ภาพยนตร์แอนเิ มชัน ชอื่ เรอื่ งว่า Dinosaur

ในปี 2549 มีภาพยนตรเ์ รือ่ งเกยี่ วกบั พพิ ิธภณั ฑ์ประวตั ศิ าสตร์ธรรมชาติ
(Natural History Museum) ชอ่ื Night at the Museum ของ ชอน เลวี่ (Shawn
Levy) มเี น้อื เรื่องเกยี่ วกับส่ิงต่าง ๆในพิพธิ ภัณฑ์ที่ตอ้ งคำสาบใหก้ ลบั มชี วี ติ ขน้ึ มาใน
ตอนกลางคืน มีตวั เอกตัวหนง่ึ เป็นไดโนเสาร์ชื่อซู (Sue) ซึ่งเป็นโครงกระดกู
ไดโนเสาร์ทเี ร็กท่มี คี วามสมบูรณท์ สี่ ดุ มีขนาดลำตวั ยาวกว่า 12.8 เมตร และความ
สูงถึงสะโพก 4 เมตร [3] ปจั จุบนั จดั แสดงทีพ่ พิ ธิ ภณั ฑ์ Field Museum ทชี่ ิคาโก

ระหว่าง 23 กรกฎาคม - 30 กันยายน พ.ศ. 2550 ทางองคก์ ารพิพธิ ภณั ฑ์
วทิ ยาศาสตร์แหง่ ชาติ (อพวช) ได้นำโครงกระดูกของซู มาจดั แสดงรว่ มกบั ไดโนเสาร์
ท่ีพบในประเทศไทย ทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ คลอง 5 ปทมุ ธานี

ในประเทศไทย ไดโนเสารไ์ ด้รบั เลอื กใหเ้ ป็นสัตวป์ ระจำจังหวดั ของจงั หวดั
ขอนแกน่ ส่วนในภาษาไทยนั้น ไดโนเสารม์ คี วามหมายนัยประวตั สิ ำหรบั ใชเ้ รยี กคน
หัวโบราณ ล้าสมัย และน่าจะสญู พนั ธุ์ไปต้ังนานแล้ว บา้ งก็ใชว้ ่า ไดโนเสารเ์ ตา่ ลา้ นปี

รายช่ือไดโนเสาร์และประวัติของไดโนเสาร์

แคมปโ์ ทซอรัส มชี ีวติ อยู่ในชว่ งปลายยุคจแู รสสิค ทางตะวนั ตกของทวีปอเมริกาเหนือ ช่ือหมาย ช่ือนม้ี าจาก

โครงสร้างของของมนั ทีส่ ามารถยืนตรง 2 เท้าหรอื 4 เทา้ ก็ได้ ขนาดตวั ไม่ใหญม่ ากนกั ความยาวประมาณ 6.5 เมตร
และ สว่ นสงู 2 เมตรจากพื้นถงึ เอว และประมาณน้ำหนัก 785-874 กโิ ลกรัม เปน็ ไดโนเสาร์ในกล่มุ สะโพกนก
(Ornithischia) รุ่นแรกๆของกลุ่มสายพันธทุ์ ่ตี ่อไปในสมยั หลงั จะววิ ฒั นาการไปเป็น อกิ ัวโนดอน และ ไดโนเสาร์
ตระกลู ปากเปด็ ในยุคครีเทเชียส มันมีปากตัด เพ่อื เอาไวส้ ำหรับกินพืชในปา่

เตาเจียงโกซอรัส เป็นช่อื ไดโนเสาร์สายพนั ธุใ์ กล้เคียงกับไดโนเสาร์ตระกูลสเตโกซอรสั ซง่ึ มีแผงเต็มหลังและมี

หนามแหลมอยทู่ ่ีปลายหางหลายเล่ม โดยคณะสำรวจได้คน้ พบในประเทศจนี ท้ังน้ี ช่อื "เตาเจยี งโกซอรสั " หมายถึง
"ก้งิ ก่าแห่งแมน่ ้ำเตา" นน่ั เอง

ซอโรโพไซดอน มชี ่อื มาจาก "เทพโพไซดอน" ของกรกี เปน็ ไดโนเสาร์ในสกลุ ซอโรพอด ขนาดใหญ่ ถูกขดุ พบ

ใน ทวปี อเมริกาเหนือในทศิ ตะวันออกเฉียงใต้ของรฐั โอคลาโฮมาของสหรัฐอเมริกา ถูกคน้ พบครั้งแรกในปี ค.ศ.1994
อาศัยอยใู่ นยคุ ครเี ตเชียสเม่อื ประมาณ 110 ลา้ นปที ่แี ล้ว

ภูเวียงโกซอรสั สริ ินธรเน ไดโนเสาร์ทีพ่ บในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย ในหมวดหินเสา

ขัว อายรุ าวยคุ ครเี ตเชียสตอนตน้ ประมาณ 130 ล้านปีมาแลว้ เปน็ ไดโนเสาร์ซอโรพอด (sauropod - ไดโนเสารก์ ิน
พชื คอยาว) ชนิดแรกท่บี รรยายลกั ษณะจากประเทศไทย จัดอยใู่ นกล่มุ Titanosaur ซึ่งเป็นซอโรพอดขนาดกลาง
ความยาวประมาณ 15-20 เมตร โดยตวั อยา่ งต้นแบบ (type specimens) พบท่ีภูเวยี ง อำเภอภูเวยี ง (อำเภอเวยี ง
เก่า ในปจั จุบัน) จังหวัดขอนแกน่ เมือ่ ปี พ.ศ. 2525 และได้รับการบรรยายลักษณะเมอื่ ปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994)

อมาร์กาซอรัส เปน็ สกลุ ของไดโนเสาร์ประเภทซอโรพอดในยคุ ครเี ทเชยี สตอนตน้ (129.4–122.46 ลา้ นปกี ่อน)

ท่ีอาร์เจนตนิ า โครงกระดกู ทีม่ สี ภาพสมบูรณ์ถูกคน้ พบเมอื่ ปี1984 มีสปีชีส์เดยี วคือ Amargasaurus cazaui.

โครโิ ทซอรสั เป็นไดโนเสาร์จำพวกแฮดโดรซอร์ อาศยั ชว่ งปลายยุคครเี ตเซียส เมือ่ 65 ล้านปีกอ่ น ขนาด 12

เมตร รวิ เท ซนู ฟอสซิลของมันพบท่ที วีปอเมริกาเหนือ ช่อื แปลว่าก้ิงกา่ มงกุฏ ลักษณะปากของโคริโทซอรัสคล้าย
กระสนุ ปืน สามารถกนิ หินได้อย่างสบาย ๆ เลยทเี ดยี ว มันเปน็ หนึ่งในเหย่ือ ที่โปรดปราณ ของ ไทรันโนซอรัส

แกลลมิ มิ สั ช่อื มคี วามหมายวา่ ไก่จำแลง วิ่งเรว็ มีลกั ษณะคล้ายนกกระจอกเทศ อาศัยอยใู่ นชว่ งปลายยุคครีเท

เชยี ส ชว่ ง 70-65 ลา้ นปกี ่อน มีความสูง 1.9 เมตร ความยาว 6 เมตร หนกั 440 กิโลกรัม ฟอสซลิ ถกู คน้ พบทป่ี ระเทศ
มองโกเลีย ทวีปเอเชยี เป็นทีร่ จู้ กั จากภาพยนตร์เรอ่ื งจรู าสสคิ พารค์ กำเนิดใหม่ไดโนเสาร์

ซลั ตาซอรสั ซลั ตาซอรัส ( ก้งิ ก่าจากซลั ตา ) เป็นไดโนเสาร์ตระกูลซอโรพอดในกล่มุ ไททนั โนซอร์ ขนาดเล็กท่ี

เหลืออยู่ถงึ ปลายยุคครีเตเซียส 75 - 65 ล้านปีในอเมริกาใต้ และ เปน็ สายพนั ธทุ์ ่ีมขี นาดเลก็ ลงมาอีก คือมคี วามยาว
เพยี ง 12 เมตร หนัก 7 ตนั แต่ก็นบั วา่ ใหญโ่ ตสำหรบั สัตวใ์ นปัจจบุ นั

ไซคาเนยี เปน็ ไดโนเสาร์ห้มุ เกราะชนดิ หน่งึ ชือ่ ของมันมีความหมายว่าสวยงาม อาศัยอยู่ใน ยุคครเี ทเชยี สตอน

ปลายประมาณ 70 ลา้ นปมี าแล้ว มันเปน็ ไดโนเสาร์หุ้มเกราะชนดิ หน่ึง ตรงท่ีหางคล้ายมีกระบองติดอยู่ กระบองใช้
เป็นอาวุธฟาดศัตรู สาเหตุที่มนั ไดช้ อ่ื วา่ งดงามเป็นเพราะฟอสซิลของมันอยูในสภาพสมบูรณม์ าก ยาวประมาณ
7 เมตร กนิ พชื เปน็ อาหาร คน้ พบฟอสซิลทจ่ี นี และมองโกเลยี เมอ่ื ปี ค.ศ. 1977

ดิพโพลโดคสั หรือ คานคู่ เป็นไดโนเสารซ์ อโรพอดขนาดใหญ่ เมื่อโตเตม็ ทีจ่ ะมีความยาวจากปลายจมูกถึงปลาย

หางประมาณ 25-27 เมตร( David Gillete คำนวณขนาดมันวา่ ใหญ่ไดม้ ากทีส่ ุด 33 เมตร) และมนี ำหนกั เพียง 17-
25 ตัน อาศยั อยกู่ ลางถึงปลายยคุ จูแรสซิก 154 - 152 ล้านปีก่อนในหมวดหนิ Morrison Formation ดิพโพลโดคสั
เป็นหน่ึงในไดโนเสาร์ซอโรพอดท่พี บมากทส่ี ดุ ในหมวดหนิ น้ี โดยพบร่วมกับอะแพทโทซอรสั อัลโลซอรสั แบรคคีโอ
ซอรัส บรอนโทซอรัส คามาราซอรัส ฯลฯ

ทีน่ อนโตซอรสั ชื่อของมันมคี วามหมายว่า กง้ิ ก่าเอน็ กล้ามเนือ้ ท่ีช่ือของมนั มีความหมายแบบนี้เพราะมเี ส้น

เอ็นแข็งๆ ตั้งแต่หลงั ไปจนถึงหาง พบในยุคครีเทเซยี สตอนต้น ฟอสซลิ ของมนั ค้นพบทอี่ เมรกิ าเหนือและแอฟรกิ า
ขนาด 5 เมตร เวลายืนมนั ใชข้ าหลงั เวลาเดนิ มันจะใช้ขาทัง้ หมด อาวุธของมันคือหางท่มี ีขนาดใหญ่เต็มไปดว้ ย
กล้ามเน้ือของมนั เพื่อใชป่ ้องกนั ตวั จากไดโนนคี สั ทเ่ี ปน็ นกั ลา่ ยคุ เดียวกบั มัน

ไททันโนซอรสั จัดเปน็ ไดโนเสารก์ ินพชื ในกลุ่มซอโรพอด ลำตวั ยาว 9-12 เมตร นำหนัก 13 ตนั เกิดในยคุ ครีเท

เชียสตอนปลาย พบทางตอนใต้ของทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาใต้ ไททันโนซอรสั มลี ำตัวขนาดใหญ่ คอยาวหนา หาง
ยาว เดนิ 4 ขา เชอื่ งช้า มกั อาศยั อยู่รวม - กันเป็นฝูง กินพืชเป็นอาหาร สมองขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกบั ขนาดลำตัว

อารเ์ จนตโิ นซอรัส เป็นไดโนเสาร์ซอโรพอด กลุม่ ไททนั โนซอร์ที่ใหญ่ทส่ี ดุ ยาวถึง 35 เมตร เป็นไดโนเสาร์ที่

ใหญ่รองลงมาจาก พาตาโกไททนั ท่ียาวถึง 37-40 เมตร อารเ์ จนติโนซอรัส หนักถึง 75-80 ตนั ถูกคน้ พบโดย กลั ลิ
เมอร์ เฮเลเดีย ทปี่ ระเทศ อาร์เจนตนิ า ช่ือมคี วามหมายวา่ กิ้งกา่ แห่งอารเ์ จนตนิ า เปน็ เหย่อื ท่ใี หญ่ท่ีสุดของกิกา้ โนโต
ซอรัส ค้นพบฟอสซิลท่ีประเทศอาร์เจนตนิ า อาศัยอยู่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นเม่ือประมาณ 97-94 ลา้ นปีกอ่ น

ไทรเซราทอปส์ เปน็ ไดโนเสาร์ทม่ี ีชวี ิตอยู่ในปลายยุคครีเทเชยี สราว 68-65ล้านปมี นั เปน็ 1ในไดโนเสาร์ชนิด

สดุ ทา้ ย ไทรเซราทอปส์เปน็ ไดโนเสาร์ขนาดใหญ่หนกั ราว 6-8ตันและยาวได้กว่า 6-10เมตรโดยทั่วไปแล้วไทรเซรา
ทอปสจ์ ะกนิ เฟิรน์ สนซงึ่ เปน็ พืชเนื้อหยาบมนั มีจะงอยปากคล้ายนกแกว้ ไว้ตดั พืช และมันจะกลืนหนิ ไปในกระเพาะ
เพอื่ บดอาหารหนิ น้ีเรียกวา่ แกสโตรลิท ไทรเซราทอปส์มีวิถชี ีวิตคล้ายแรดอยรู่ วมเป็นฝงู เล็มอาหารเมอ่ื ถกู คกุ คามจาก
นกั ล่า เชน่ ไทรันโนซอรสั จะหนั หนา้ เปน็ วงกลมให้ตวั อ่อนแอและเดก็ อยใู่ นวงลอ้ ม หากศัตรเู ข้ามาทางใดจะพุ่งชน
ด้วยแรงชนกวา่ 6ตัน ไทรเซราทอปส์มเี ขา3เขาอยู่บนหวั เขาแรกยาว20เซนติเมตรอยเู่ หนอื จมกู ส่วน2เขาหลงั อยทู่ ตี่ า
ยาวราว1เมตรแทงเพียงคร้ังเดียวอาจถงึ ตาย บางตวั เขาอาจยาวกว่า2เมตร แตด่ ว้ ยพละกำลงั และขนาดเปน็ 2เทา่ ของ
ช้างนักลา่ ส่วนใหญ่จึงไมค่ อ่ ยโจมตมี นั แต่มันมจี ุดอ่อนทีแ่ ผงคอทำใหม้ นั มองหลงั ไม่ดแี ต่หากโจมตขี า้ งหนา้ สถานการ
จะกลบั กนั ไทรเซราทอปส์กินคอ่ นข้างมากเฉลย่ี ถึง500กิโลกรมั มนั มชี ือ่ เสียงพอๆกบั ที-เร็กซ์และมกั เหน็ ภาพมนั เข้า
ปะทะกบั ที-เรก็ ซ์ทำให้เจา้ 3เขาตัวน้ีได้คำขนานนามว่า คปู่ รับแหง่ ราชาไดโนเสาร์ นอกจากนี้มันยงั เปน็ พระเอกใน
การต์ นู ญป่ี ุ่นเรือ่ งไดโนคิง (DINOSAUR KING) อีกดว้ ย ไทรเซราทอปสม์ ีชอ่ื เต็มวา่ ไทรเอราทอปส์ ฮอริดัส ฟอสซลิ ของ
ไทรเซราทอปส์ตวั แรกพบโดยมารช์ คแู่ ขง็ ของโคป ในสงครามกระดูกไดโนเสาร์

เทอรสิ ิโนซอรัส เป็นไดโนเสาร์กลมุ่ เทอโรพอดชนิดหน่ึง โดยสายพนั ธุน์ ้ีจะไมก่ ินเน้ือ แตจ่ ะกินพืช มนั กินพชื เพราะ

ลกั ษณะของฟันมนั ทาใหเ้ ทอริสิโนซอรัส เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดทก่ี ินพชื เทอริสิโนซอรสั อาศยั อยใู่ นยคุ ครีเทเชียสเม่ือ
72-68 ลา้ นปี กอ่ น คน้ พบฟอสซิลท่ีประเทศจีน มองโกเลีย และตะวนั ออกกลาง

แบรคิโอซอรัส บราชิโอซอรสั เปน็ ซอโรพอดขนาดใหญ่ ลำตวั ยาว 30 เมตร สูง 13-15 เมตร หนัก 78

ตนั หรอื เทา่ กับชา้ งแอฟรกิ า 15 เชือก อาศยั อยู่ในยคุ จแู รสซกิ 200-130 ลา้ นปีก่อน ขุดค้นพบในอเมรกิ าเหนือและ
แอฟรกิ า เคยเป็นซอโรพอดท่ตี วั ใหญท่ ่ีสดุ ก่อนค้นพบซุปเปอร์ซอรสั อาร์เจนตโิ นซอรัส และ ซูเปอรซ์ อรัส

พาราซอโรโลฟสั เป็นไดโนเสาร์ท่ีมีชวี ิตอยู่ ในยคุ ครเี ตเชียสตอนปลายพบไดใ้ นทวีปอเมริกาเหนือ เชน่ ใน

รฐั อัลเบอรต์ า้ ประเทศแคนาดา หรือรฐั ยทู าห์ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า เป็นตน้ ลักษณะเดน่ ของพาราซอโรโลพัส คือ
หงอนที่มีลักษณะเหมอื นท่อกลวงยาว บางตวั อาจจะมีหงอนยาวถึง 1.5 เมตร มไี ว้ส่งเสยี งหาพวก สามารถเดนิ ไดท้ ้งั 2
เทา้ และ 4 เทา้ มขี นาดใหญโ่ ตพอสมควร เทา่ ที่ค้นพบไดโนเสาร์พันธน์ุ ้จี ะมคี วามยาวประมาณ 10 เมตร กินพชื เปน็
อาหาร

กินรไี มมสั เป็นช่ือที่ต้งั ข้ึนมาอยา่ งไมเ่ ป็นทางการของไดโนเสาร์สกลุ หน่ึงทย่ี งั ไมไ่ ดร้ ับการบรรยายลกั ษณะ

(โนเมน นูดมั ) ของไดโนเสาร์เทอร์โรพอดพบในหินทรายหมวดหินเสาขวั ยคุ ครีเทเชียส จากหลมุ ขดุ คน้ ท่ี
5 อทุ ยานแห่งชาติภูเวียง อาเภอเวียงเกา่ จงั หวดั ขอนแก่น ลกั ษณะกระดูกทีไ่ ดม้ คี วามละมา้ ยคลา้ ยคลึงกบั
ไดโนเสาร์พวกออร์นิโธมโิ มซอเรียน หลกั ฐานที่พบเป็นเพยี งกระดูกอุง้ ตนี ขอ้ ที่สามที่มสี ภาพท่ไี ม่สมบูรณแ์ ต่มี
ลกั ษณะของพนิ ช่ิงดา้ นขา้ งท่ีเดน่ ชดั ซ่ึงพบไดใ้ น ออร์นิโถมิโมซอร์ ไทรันโนซอรอยด์ ทรูดอนติดส์ และ ครีแนก
นาธิดส์ หากมอี ายยุ คุ ครีเทเชียสตอนตน้ จริง จะถอื วา่ เป็นออร์นิโถมิโมซอร์รุ่นแรกๆที่มีความเกา่ แก่กว่าท่เี คยพบ
เห็นมา ชื่อกินรีไมมสั ไดร้ ับการตพี มิ พค์ ร้งั แรกโดย ริวอิชิ คาเนโกะ (Ryuichi Kaneko) ดว้ ยช่ือว่า
"Ginnareemimus" ในปี ค.ศ. 2000 ท้งั น้ียงั ไมถ่ ือว่าเป็นส่ิงตพี มิ พท์ างวิชาการ

เอด็ มอนโตซอรัส ปน็ พวกไดโนเสาร์ปากเป็ดชนิดหน่ึง ฟอสซิลของมันพบในทวีปอเมรกิ าเหนอื อาศยั อย่ใู น

ยคุ ครีเทเชยี สตอนปลาย เม่อื ประมาณ 73 ลา้ นปี ถึง 65 ลา้ นปกี อ่ น มันเป็นเหยอ่ื ของนักลา่ อย่างไทรนั โนซอรสั และ
อยรู่ ว่ มยคุ กบั ไทรเซอราทอปส์ เอ็ดมอนโตซอรัส เปน็ หนึง่ ในพวกแฮดโดรซอร์ริเด (ไดโนเสารป์ ากเป็ด) ท่ีใหญ่ทส่ี ุด
ความยาวของมนั วัดไดถ้ ึง 13 เมตร (43 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 4.0 ตนั มนั เป็นท่ีร้จู ักกนั จากตวั อย่างฟอสซลิ ทม่ี ี
สภาพสมบูรณ์ มันมีญาติอย่างอนาโตไททนั (อังกฤษ: Anatotitan) ซึง่ อาศยั อยู่ในชว่ งเวลาเดียวกัน ฟอสซิลช้นิ แรก
ของมัน ถูกค้นพบในภาคใต้ ของรฐั อัลเบอรต์ า ประเทศแคนาดา ในปี 1917 เอด็ มอนโตซอรัส มชี ่อื ก่อนหน้าน้วี ่า
annectens ซ่ึงตงั้ โดย โอลเนยี ท ชาล มาร์ชในปคี .ศ. 1892

พลาทีโอซอรสั เป็นไดโนเสาร์โปรซอโรพอดของยุคไทรแอสซกิ ขนาด 7.8 เมตร อยู่กันเปน็ ฝูง กนิ พชื เปน็

อาหาร พบที่ทวปี ยโุ รปและอเมรกิ าเหนือ เมื่อหน้าแลง้ มาถึงมนั จะอพยพ มันสามารถเดินได้ท้ัง 4 ขาและ 2 ขา เวลา
กินอาหารบนต้นไม้จะยนื ด้วย 2 ขา แตเ่ วลาเดินหรือกินอาหารที่อย่บู นพ่ืนอย่างหญ้า มันก็จะเดิน 4 ขา พบในยคุ ไทร
แอสซกิ ตอนปลาย-ยุคจแู รสซิกตอนต้น

เอ๋อเหมยซอรสั เป็นไดโนเสาร์ซอโรพอดขนาดเลก็ ค้นพบฟอสซลิ ท่ีภูเขาเออ๋ เหมย ประเทศจีน ขนาดประมาณ

10-21เมตร ค้นพบในปี ค.ศ. 1939 อาศัยอยูใ่ นยุคจแู รสซกิ ตอนปลาย

แพคเิ ซอฟาโลซอรัส เปน็ ไดโนเสาร์หวั แข็ง หรือแพคเิ ซอฟาโลซอร์ชนิดหนึ่ง ไดโนเสาร์ชนดิ นมี้ ีหวั หนาถงึ

25 เซนตเิ มตร ซ่งึ นา่ จะมีไว้ต่อสูห้ รือปอ้ งกนั ตัว ฟอสซิลของค้นพบที่รฐั ไวโอมงิ ในปี ค.ศ. 1931 โดยนกั ลา่ ฟอสซิลชื่อ
กลิ มอร์ แพคเิ ซอฟาโลซอรสั อาศัยอยูใ่ นยุคครีเทเชียสตอนปลายเมือ่ ประมาณ 70-65 ลา้ นปีกอ่ น มญี าตอิ ยา่ งพรีโน
เซฟาลี และดราโกเร็กซ์

มาเมนชีซอรัส เป็นไดโนเสาร์กนิ พชื ท่คี อยาวท่สี ดุ [1] ซึ่งเป็นความสงู คร่งึ หนึ่งของความสูงทั้งหมด [2] สปชี สี ส์ ว่ น

ใหญ่อาศัยบนโลกในชว่ ง 145 - 150 ลา้ นปมี าแลว้ ในชว่ ง Tithonian ช่วงปลายของยุคจูแรสซิก

ไมอาซอรา เป็นไดโนเสาร์ปากเป็ดชนิดหน่ึง มชี ่อื เสยี งในการเลีย้ งลูก จดั อย่ใู นพวกออร์นิทิสเชียน ในปีค.ศ. 1970 ในรฐั มอนแท

นา สหรฐั อเมริกา ไดม้ กี ารค้นพบรงั ของฝูงไมอาซอราพร้อมลูกๆของมัน แต่ละรงั ห่างกนั ประมาณ 6 เมตร จงึ เปน็ หลกั ฐานว่าไดโนเสาร์
กเ็ ล้ียงลกู เหมือนกนั ความยาวประมาณ 9 เมตร อาศัยอยู่ในยคุ ครเี ทเชียสตอนปลายเมื่อประมาณ 80-75 ล้านปีกอ่ น ฟอสวลิ ของมนั
ค้นพบท่ีทวปี อเมริกาตัง้ แตท่ ี่สหรฐั อเมริกา ไปจนถงึ รฐั อะแลสกา มันเป็นเหยอื่ ตวั โปรดของเทอโรพอดช่ือแดซพโี ตซอรสั ญาติของมัน
คืออกิ ัวโนดอน และอนาโตไททนั

ยูโอโพลเซอฟารัส เปน็ ไดโนเสารแ์ องคลี อซอร์หรอื ไดโนเสารห์ มุ้ เกราะชนดิ หนึ่ง อาศัยอย่ใู น
ยคุ ครเี ทเชียสตอนปลาย ร่างกายของมันหมุ้ เกราะ ขนาดของมันประมาณ 6 เมตร มลี กู ตุ้มอยู่
ทหี่ าง ลกู ตุ้มนัน้ หนกั ถึง 29 กิโลกรมั ดงั นนั้ ยูโอโพลเซอฟาลสั จึงกลายเป็นรถถังแหง่ ยุคครเี ท
เชยี ส

สเตโกซอรัส สเตโกซอรสั (ก้ิงก่ามีหลงั คา) เปน็ ไดโนเสาร์กนิ พชื จำพวกสะโพกนก (Ornithischia) ที่มีเกราะปอ้ งกันตวั จำพวก

แรกๆ มลี กั ษณะโดดเดน่ มีขาหนา้ สั้น และปากเล็ก มีแผ่นเกลด็ เรยี งบนหลงั ยาวไปจนถึงปลายหางแผ่นเกลด็ นี้มไี ว้ขศู่ ตั รูโดดสูบฉดี
เลอื ดไปท่เี กลด็ ซึง่ สันนิษฐานว่ามนั มีเสน้ เลือดเป็นจำนวนมากในบรเิ วณนี้ และแผ่นกระดูกนี้ไม่ไดม้ ีไว้สำหรบั ปอ้ งกันตัว แตม่ ีไวเ้ พ่ือ
ช่วยในการควบคุมอุณหภูมขิ องร่างกาย นอกจากน้มี นั ยงั หนามแหลมที่ปลายหาง ซงึ่ เอาไว้ปอ้ งกันตัวจากไดโนเสารก์ นิ เนื้อในยคุ นั้นได้
ดี อย่าง อลั โลซอรสั

สไตราโคซอรสั หมายถงึ "กงิ้ ก่าหัวแหลม" มาจากภาษากรีกโบราณ สไทรกั ซ์/στύραξ "หัวหอก" และ ซอรสั /

σαῦρος "กิ้งก่า") [1] เปน็ สกลุ ของไดโนเสาร์กินพืชในอันดับเซราทอปเซีย มีชวี ติ อยู่ในยุคครีเทเชียส (ชว่ งแคมปาเนียน) เม่ือ
ประมาณ 76.5 ถงึ 75.0 ลา้ นปีมาแลว้ มันมีเขา 4-6 อัน ย่ืนออกมาจากแผงคอ และยังมเี ขาทมี่ ีขนาดเล็กยนื่ ออกมาบรเิ วณแก้มแต่
ละข้าง และมเี ขาเดี่ยวย่นื ออกมาบรเิ วณเหนอื จมูก ซ่งึ น่าจะมคี วามยาวถึง 60 เซนติเมตร (2 ฟุต) และกวา้ ง 15 เซนตเิ มตร (6 นว้ิ )
ส่วนหนา้ ทขี่ องเขาและแผงคอยังไม่มีการยืนยันเป็นทแี่ น่นอนมาจนถึงปัจจุบัน

อรู าโนซอรสั ชอื่ ของมนั มคี วามหมายวา่ กิ้งกา่ ผกู้ ล้าหาญ ตรงกลางทหี่ ลังมีกระดกู ทีเ่ หมือนกบั หนามโผลข่ ้ึนมาเรยี งเปน็ แถว

และมีหนังหอ่ หุ้มอยู่ เหมือนพวกสไปโนซอรดิ ซ์ แตก่ ลับเปน็ พวกอกิ วั โนดอน ครีบนมี้ ีหนา้ ท่ปี รบั อณุ ภูมิของรา่ งกาย ขนาด
7 เมตร อยู่ในยคุ ครเี ทเชียสตอนตน้ เมื่อประมาณ 110 ล้านปีกอ่ น พบทีท่ วปี แอฟรกิ าเปน็ เหย่ือทลี่ ่างา่ ยๆของสไปโนซอรสั ท่ยี าว 17
เมตร

อกิ วั โนดอน เปน็ สิ่งมีชวี ิตสกุลหน่ึงในกล่มุ ของไดโนเสาร์กนิ พชื มีขาหลังใหญ่และแขง็ แรง คน้ พบซากดกึ ดำบรรพ์ในปลายยุคจู

แรส ซิกและตน้ ยุคครเี ทเชยี ส (ประมาณ 135 ถึง 110 ล้านปมี าแล้ว) ในพื้นท่ีกว้างใหญต่ ้ังแต่ทวปี ยุโรป ไปจนถงึ ตอนเหนอื ของทวีป
แอฟรกิ า และเอเชียตะวนั ออก กิเดยี น แมนเทล แพทยแ์ ละนักธรณวี ทิ ยาชาวอังกฤษ ค้นพบอกิ ัวโนดอนเมอ่ื พ.ศ. 2365 (ค.ศ. 1822)
นับเปน็ ไดโนเสารช์ นดิ แรก ๆ ที่พบ และมีรายงานทางวิทยาศาสตร์เผยแพร่ในสามปีต่อมา ท่ีตั้งช่ือว่าอกิ วั โนดอนเพราะฟนั ของมัน
คล้ายกับฟันของอกิ วั นา และเป็นหลกั ฐานชน้ิ แรกทแ่ี สดงว่าไดโนเสารพ์ ัฒนามาจากสัตวเ์ ล้อื ยคลาน อกิ ัวโนดอนเป็นสง่ิ มีชวี ิตสกลุ ท่มี ี
ขนาดใหญ่และพบกระจัดกระจายอยู่เป็นบริเวณกว้างมากทีส่ ดุ เมอื่ เทียบกบั สงิ่ มชี วี ิตวงศ์เดียวกนั ลำตัวของมันยาวกว่า 10 เมตร เมื่อ
ยดื ตัวขึ้นจะมคี วามสงู 5 เมตร หนัก 4-5 ตนั สันนษิ ฐานว่าอิกัวโนดอนเคล่ือนท่โี ดยใชข้ าทั้ง 4 ขา แต่ก็อาจเดินได้โดยใชเ้ พยี งสอง
ขา มอื ที่ขาหนา้ ของอกิ วั โนดอนมี 5 น้ิว หัวแม่มือแข็งแรงและชขี้ นึ้ ตั้งฉากกับฝา่ มือ ซากดกึ ดำบรรพ์และรอยเท้าที่พบทำใหเ้ ชื่อว่าอิกวั
โนดอนมกั อยเู่ ปน็ ฝูง

คามาราซอรสั เป็นไดโนเสาร์กนิ พชื ตระกูลซอโรพอด 4 เท้า มีขนาดลำตัวไมใ่ หญ่ มชี ีวิตอยใู่ นกลางถึงปลายยคุ จูแรสซกิ เมื่อ 155 -145

ล้านปีก่อน มคี วามยาว 18 เมตร มีน้ำหนกั ประมาณ 18-20 ตัน กะโหลกศีรษะมีลักษณะสน้ั แต่ลึกเข้าไปด้านใน ขากรรไกรมีขนาดใหญ่ คอและ
หางสนั้ กว่าซอโรพอดตวั อนื่ ไม่มปี ลายหางแส้ ลำตัวกลมหนาและคอ่ นข้างสั้น แขนขาใหญ่โตมีลักษณะคลา้ ยเสาหนิ ขาหลังยาวกวา่ ขาหน้า
เล็กนอ้ ย มีรจู มูกขนาด ใหญเ่ หนอื ดวงตา เพือ่ ช่วยในการระบายความรอ้ นและดมกลนิ่

ไซส์โมซอรัส เป็นอดตี สกุลไดโนเสาร์ซอโรพอดทีม่ คี วามยาวประมาณ 30-35 เมตร และหนกั ถงึ 60 ตัน มีความหมายว่ากิ้งก่าแหง่

แผน่ ดินไหว เพราะเวลาเดินจะทำให้พื้นสน่ั เหมือนแผ่นดินไหว กินพืชเปน็ อาหาร รักสงบ อาศยั อยใู่ นจูแรสซิกตอนปลาย คน้ พบโดยกลิ ตเ์ ลตต์ เม่อื
ปคี .ศ.1991 รัฐนิวเม็กซิโก สหรฐั อเมรกิ า แต่ในปจั จบุ นั ได้มีการค้นพบวา่ ไซสโ์ มซอรสั น้ัน แท้จรงิ แล้วคือชนิดหนึ่งของสกุลดปิ โพลโดคสั

เคนโทรซอรสั ชื่อของมนั มีความหมายวา่ กง้ิ ก่าแหลมคม เพราะลำตัวส่วนหน้าของมนั มีแผงกระดูกอยู่ ส่วนจากหลังถึงหาง

ของมันมีหนามแหลมคมอยู่ อาศยั อยู่ในยุคจแู รสซิกตอนปลาย ถูกคน้ พบในประเทศแทนซาเนยี ขนาดทั่วไปประมาณ 4.5 เมตร (15
ฟตุ ) มีนำ้ หนกั ประมาณหนึ่งตัน (1.1 ตนั ) ลักษณะการเดนิ ส่ีขาตรง อาวุธหลกั คือหนามยาวหน่ึงค่ตู รงหาง กินพืชเป็นอาหาร

อะแพทโทซอรัส หรือ อะแพตโตซอรสั หรอื ชอ่ื ทค่ี ุน้ เคยกันในอดตี ว่า บรอนโตซอรัส (Brontosaurus) เปน็

ไดโนเสารย์ กั ษ์ในยุคจูแรสซกิ กินพชื เปน็ อาหาร เคยมีสมญาว่า ยักษ์ใหญ่ไร้พิษสง อาศยั อยู่บนโลกน้เี มือประมาณ 190-135 ลา้ นปีที่
ผา่ นมา ชอ่ื ของไดโนเสาร์ชนดิ น้เี มอ่ื แปลออกมาแลว้ จะมคี วามหมายวา่ "ก้ิงกา่ ปลอม"

แองคโิ ลซอรัส เป็นไดโนเสารท์ ใี่ หญท่ ีส่ ุดในสกุล แองคิโลซอร์ (องั กฤษ: ankylosaurid) อาศยั อยู่ในยคุ ครเี ตเชยี ส ในทวีปอเมรกิ า

เหนือ โครงกระดกู ของ แองคโิ ลซอรสั ที่คน้ พบยงั ไม่สมบูรณ์ แองคโิ ลซอรัส เปน็ ไดโนเสารท์ ีม่ ลี กั ษณะในแบบสกุล แองคิโลซอร์ที่มีน้ำหนักตวั หนัก
มเี กราะแข็งหุ้มทว่ั ทัง้ ตัวมันอดึ มาก และมลี กู ต้มุ ขนาดใหญ่(ลกั ษณะคล้ายกบั รงั ผงึ้ )สำหรับไว้ป้องกนั ตัวจากนกั ล่าในยุคนนั้ อย่าง ไทรันโนซอรสั

พาราไลไททัน เปน็ ซอโรพอด สกลุ ไททันโนซอรัส พบในประเทศอยี ปิ ต์ อาศยั อยู่ในปลายยคุ ครีเตเชยี ส ลกู พาราลไิ ททันหรอื พาราลิไททันตัว

เตม็ วยั ยังเป็นอาหารจานหลักของคารค์ าโรดอนโตซอรัสและซารโ์ คซคู สั อกี ด้วย ประมาณ 99.6 – 93.5 ลา้ นปีกอ่ นมนั มีขนาดใหญ่ทส่ี ุด
ในซอร์โรพอดแอฟริกา จนศตั รูตามธรรมชาตินอ้ ยมากเห็นคงจะมีแค่ คาร์ชาโรดอนโทซอรัส หรือซาร์โคซูคสั ความสูงของมนั มขี นาด
พอๆกบั ตึก 15 ช้นั มนั ยงั ปรากฏใน Planet Dinosaur ตอน Giant Dinosaur หำหำหำหำหำหำหำหำ

ไดโนเสาร์ ประเภทกนิ เนื้อ

คารโ์ นทอรัส ค้นพบท่ที งุ่ ราบปาตาโกเนยี ของประเทศอาร์เจนตนิ า มเี ขาอยู่บนหัว 2 เขา เป็นลักษณะทพ่ี ิเศษของคารโ์ น

ทอรัส และมีขาหน้าทส่ี นั้ มากเม่ือเทียบกบั เทอโรพอดชนิดอืน่ ๆ ช่อื ของมนั มคี วามหมายวา่ กงิ้ กา่ กระทิงกนิ เนอื้ ขนาดประมาณ 7.5
เมตร หนกั ประมาณ 2 ตัน ซึ่งถือวา่ เบาเมื่อเทียบกบั ขนาดตัว ซึง่ ทำให้มนั เปน็ ไดโนเสารท์ ปี่ ราดเปรยี วและว่องไวอกี ชนดิ อาศัยอยใู่ น
ยคุ ครีเทเชยี สตอนปลายเม่อื ประมาณ 75-80 ล้านปีก่อนและวิ่งเร็วมากรา่ งกายทำงานพรอ้ มกนั จงึ ทำให้คารโ์ นทอรสั ตีวงกวา้ ง
เหมือนรถยนตเ์ วลาเล้ยี วเพราะฉะน้นั ถา้ เหยื่อวิ่งโค้งบ่อยๆคาร์โนทอรัสจะไลต่ ามเหย่ือไมท่ นั

ไจกาโนโทซอรสั โนโทซอรสั นัน้ ไม่ได้ใหญ่ทสี่ ุดตามทเ่ี ราคิด จริง ๆ แลว้ กะโหลกไดโนเสารเ์ ขาวัดกนั ทีค่ วามกว้าง ไจกาโนโทซอรัส
มีถน่ิ อาศัยอยู่ท่ที ุ่งปาตาโกเนยี ในประเทศอาร์เจนตินา ช่วงกลางยคุ ครเี ตเซียส 93 - 89 ล้านปี พบซากดึกดำบรรพ์ในปี 1993 เปน็
1 ใน 3 ไดโนเสารก์ นิ เนื้อท่ีใหญเ่ ป็นอันดับ3ของโลก ยาว 13 เมตร และนำ้ หนกั อยู่ระหวา่ ง 7-13.8ตนั [ตอ้ งการอา้ งองิ ] ความยาวกะโหลก
ศรี ษะ 1.53 ถึง 1.80 เมตร (5.0 ถงึ 5.9 ฟุต) ขนาดของมันยาวกว่าไทแรนโนซอรสั แต่เลก็ กว่าสไปโนซอรสั และคาร์ชาโรดอนโท
ซอรสั แต่ทว่ามนั ก็ยังมีคู่แข่งทางด้านขนาดอย่างอัลโลซอรัส ที่ยาว 9เมตร (36 ฟุต) คาร์คาโรดอนโทซอรสั ที่ยาว 13.8 เมตร (44.8
ฟตุ ) สไปโนซอรัส ทย่ี าว 15-18 เมตร (49-59ฟุต) ไทแรนโนซอรัส ทยี่ าว 12.3เมตร (40 ฟตุ ) อโครแคนโตซอรัส ทยี่ าว 12 เมตร
(39 ฟตุ ) มาพูซอรสั ท่ยี าว 12 เมตร (39 ฟุต) ซึ่งไม่ได้มชี วี ิตอยใู่ นช่วงเวลาเดยี วกันกนั กับไจกาโนโทซอรสั นักวิทยาศาสตร์
คาดการณ์ว่า ไจกาโนโทซอรัส สามารถทำความเร็วได้ถึง 14 เมตรต่อวนิ าที (50 กิโลเมตรต่อช่วั โมง) ด้วยขนาดอันใหญโ่ ตและขาที่
ยาวของมัน ไจกาโนโทซอรัสเน้นวิธกี ารลา่ เป็นฝงู แบบเฉพาะกิจ โดยจะรอพวกเดยี วกันมาจนได้จำนวนท่ีมากพอ พวกมนั ก็จะออกล่า
เหย่ือของพวกมันส่วนใหญเ่ ปน็ ซอโรพอด อยา่ งอารเ์ จนตโิ นซอรัส โดยมันจะใช้วธิ กี ดั เพ่ือสร้างบาดแผลฉกรรจ์ แลว้ รอจนเหย่ืออ่อน
แรงเพราะเสียเลอื ดในปริมาณมาก ฟนั ของจีกาโนโทซอรัสนั้นถูกออกแบบมาเพื่อเฉอื นเน้ือนัน้ เอง

คาร์คาโรดอนโทซอรสั เปน็ หน่ึงในไดโนเสารเ์ ทอโรพอดกินเนอื้ ท่มี ีขนาดใหญท่ ส่ี ุดชนดิ หนึ่ง มีชวี ิตอย่ใู นช่วง

(En:Cenomanian) ของยคุ ครเี ทเชยี สมีขนาดโดยประมาณ 12-13.4 เมตร คาร์คาโรดอนโทซอรัสจดั อยู่ในกลมุ่ ไดโนเสาร์เทอโรพอ
ดวงศ์ Carcharodontosaurid ทม่ี ีความใกล้ชิดกับ Giganotosaurus

ซโี ลไฟซสิ เป็นไดโนเสาร์มคี วามสามารถในการวงิ่ อย่างรวดเร็ว เพราะกระดกู ของซโี ลไฟซิสนัน้ กลวง ซโี ลไฟซิสยาวประมาณ

3.2 เมตร อาหารของพวกซีโลไฟซสิ คือซากสัตว์ท่ีตายแล้ว ก้ิงก่า และแมลง แตบ่ างครัง้ เมอ่ื หนา้ แลง้ มาถึงซ่ึงเป็นช่วงหาอาหาร
ลำบาก ซโี ลไฟซสิ จึงกินพวกเดยี วกันดว้ ย ฟอสซิลของซโี ลไฟซสิ พบท่ีรัฐนิวเม็กซโิ ก ซีโลไฟซิสอยู่ในยคุ ไทรแอสซกิ ตอนปลาย เคยมี
การพบฟอสซลิ ของซีโลไฟซสิ 1,000 ตัวที่ทงุ่ ปีศาจ จึงกลา่ ววา่ ซโี ลไฟซสิ อาจจะอย่เู ป็นฝูง แต่นกั วทิ ยาศาสตร์บางคนคา้ นวา่ ซโี ลไฟ
ซิสไมได้อยู่เป็นฝงู เพียงแตต่ ายในทีเ่ ดียวกันเท่านั้น

เมก้าแรป็ เตอร์ ฟอสซลิ ของมันค้นพบครงั้ แรกท่ีอาร์เจนตินา โดยนายโนวาส เมื่อปีค.ศ.1998 มีชือ่ เตม็
วา่ เมกา้ แร็ปเตอร์ นามนั ฮวั อิควิ อิ (Megaraptor namunhuaiquii) ซึ่งมคี วามหมายวา่ หวั ขโมยขนาดยกั ษ์
อาศัยอยูใ่ นยุคครเี ทเชยี สตอนปลาย เม่อื ประมาณ 98 ล้านปกี อ่ น เป็นไดโนเสาร์กินเนือ้ ขนาดใหญ่ประมาณ
รถเมล์ มคี วามยาวระหวา่ ง 6-8 เมตร สงู จากพนื้ ถงึ หวั 4 เมตร แตก่ เ็ คยพบขนาดใหญ่ทสี่ ุดยาว 9 เมตร มเี ล็บ
ทม่ี ือยาวถงึ 15 นิ้ว ซง่ึ อาจจะยาวท่ีสดุ ในไดโนเสาร์ท้งั หมด คาดวา่ มีไวล้ ่าเหยือ่ ขนาดใหญอ่ ยา่ งอมารก์ า
ซอรสั หรอื อารเ์ จนตโิ นซอรัส ในช่วงแรกมันถูกจัดอยูใ่ นพวกแร็พเตอร์โดรเมโอซอร์ เน่ืองจากค้นพบฟอสซลิ
เพยี งช้นิ เดียวคอื กรงเล็บรปู ร่างโคง้ คลา้ ยเคียวขนาดใหญข่ องมนั แต่ทว่าเร่อื งจรงิ ก็ถูกเปิดเผย จากการคน้ พบ
ฟอสซิลเพ่มิ เติม นกั บรรพชวี นิ พบวา่ แทจ้ ริงแลว้ กรงเลบ็ นน้ั ไม่ได้อยบู่ นนว้ิ เท้าแบบของพวกโดรมีโอซอร์ แต่
กลับอยูบ่ นมอื ทำใหเ้ มก้าแรพเตอรเ์ ปลีย่ นสถานะไปในทนั ที ปจั จบุ นั เมกา้ แรพเตอร์มวี งศย์ ่อยเปน็ ของมนั เอง
คือ Megaraptora ซง่ึ จะประกอบไปดว้ ยเทอโรพอดแปลกประหลาดอีกหลายตวั เช่น อโี อไทแรนนสั ออสต
ราโลเวเนเทอร์ ฯ สว่ นวงศใ์ หญ่ที่คลมุ Megaraptora อีกทีนน้ั ยังไม่แน่ชดั บา้ งก็ว่าเป็น Tyrannosauroid
บ้างก็ว่าเป็น Allosauroid หรอื Spinosauroid ไปเลยกม็ ี

คาร์โนทอรัส ค้นพบที่ทงุ่ ราบปาตาโกเนยี ของประเทศอาร์เจนตนิ า มเี ขาอยู่บนหัว 2 เขา เปน็ ลักษณะทพ่ี ิเศษ
ของคาร์โนทอรสั และมขี าหน้าที่สัน้ มากเม่ือเทยี บกับเทอโรพอดชนดิ อืน่ ๆ ชอ่ื ของมนั มีความหมายว่าก้ิงกา่
กระทิงกนิ เน้ือ ขนาดประมาณ 7.5 เมตร หนักประมาณ 2 ตัน ซ่งึ ถือวา่ เบาเมื่อเทียบกับขนาดตวั ซงึ่ ทำใหม้ นั
เปน็ ไดโนเสาร์ที่ปราดเปรียวและวอ่ งไวอกี ชนดิ อาศยั อยใู่ นยุคครีเทเชยี สตอนปลายเมอื่ ประมาณ 75-80 ลา้ นปี
กอ่ นและวิ่งเรว็ มากรา่ งกายทำงานพร้อมกนั จงึ ทำให้คารโ์ นทอรสั ตวี งกว้างเหมอื นรถยนต์เวลาเลีย้ วเพราะฉะนั้น
ถ้าเหยื่อวงิ่ โค้งบ่อยๆคารโ์ นทอรสั จะไล่ตามเหยอื่ ไม่ทนั
เขาของมันนา่ จะมไี วเ้ พอ่ื ดงึ ดดู ตวั เมีย

คารค์ าโรดอนโทซอรสั (Carcharodontosaurus) เปน็ หนงึ่ ในไดโนเสาร์เทอโรพอดกินเนือ้ ทีม่ ีขนาดใหญ่ท่สี ดุ
ชนดิ หน่งึ มีชีวติ อยใู่ นชว่ ง (En:Cenomanian) ของยคุ ครีเทเชยี สมีขนาดโดยประมาณ 12-13.4 เมตร คาร์คา
โรดอนโทซอรสั จดั อยู่ในกลมุ่ ไดโนเสาร์เทอโรพอดวงศ์ Carcharodontosaurid ที่มคี วามใกล้ชดิ
กบั Giganotosaurus

ซีโลไฟซิส (อังกฤษ: Coelophysis) เปน็ ไดโนเสาร์มคี วามสามารถในการว่ิงอยา่ งรวดเร็ว เพราะกระดกู ของซโี ล
ไฟซสิ น้นั กลวง ซีโลไฟซสิ ยาวประมาณ 3.2 เมตร อาหารของพวกซีโลไฟซิสคือซากสัตว์ทต่ี ายแล้ว กิง้ กา่ และ
แมลง แตบ่ างครั้งเมอื่ หนา้ แลง้ มาถงึ ซง่ึ เปน็ ชว่ งหาอาหารลำบาก ซีโลไฟซิสจงึ กินพวกเดียวกนั ดว้ ย ฟอสซิลของ
ซโี ลไฟซสิ พบที่รัฐนวิ เม็กซโิ ก ซโี ลไฟซสิ อยใู่ นยคุ ไทรแอสซกิ ตอนปลาย เคยมกี ารพบฟอสซิลของซโี ลไฟซิส 1,000
ตวั ทท่ี ุ่งปศี าจ จึงกลา่ ววา่ ซีโลไฟซิสอาจจะอยเู่ ปน็ ฝงู แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนค้านว่าซีโลไฟซิสไมได้อยู่เป็นฝงู
เพียงแตต่ ายในท่เี ดยี วกนั เท่าน้ัน

เมกา้ แรป็ เตอร์ (อังกฤษ: Megaraptor) ฟอสซลิ ของมันคน้ พบครง้ั แรกท่ีอารเ์ จนตินา โดยนายโนวาส เม่ือปี
ค.ศ.1998 มีช่อื เต็มว่า เมกา้ แรป็ เตอร์ นามนั ฮัวอคิ วิ อิ (Megaraptor namunhuaiquii) ซงึ่ มีความหมายวา่
หัวขโมยขนาดยักษ์ อาศยั อย่ใู นยุคครีเทเชียสตอนปลาย เมอื่ ประมาณ 98 ลา้ นปีกอ่ น เป็นไดโนเสาร์กนิ เน้อื
ขนาดใหญป่ ระมาณรถเมล์ มคี วามยาวระหวา่ ง 6-8 เมตร สงู จากพ้ืนถึงหัว 4 เมตร แต่ก็เคยพบขนาดใหญ่
ที่สดุ ยาว 9 เมตร มีเลบ็ ท่ีมือยาวถึง 15 น้ิว ซงึ่ อาจจะยาวท่สี ุดในไดโนเสาร์ทัง้ หมด คาดว่ามไี วล้ า่ เหยอ่ื ขนาด
ใหญ่อย่างอมาร์กาซอรสั หรืออาร์เจนตโิ นซอรัส ในช่วงแรกมันถกู จดั อยู่ในพวกแรพ็ เตอร์โดรเมโอ
ซอร์ เนือ่ งจากค้นพบฟอสซิลเพยี งชน้ิ เดยี วคอื กรงเลบ็ รูปร่างโค้งคล้ายเคียวขนาดใหญ่ของมนั แต่ทวา่ เร่อื งจรงิ
กถ็ ูกเปดิ เผย จากการค้นพบฟอสซลิ เพิม่ เตมิ นักบรรพชวี นิ พบว่าแท้จรงิ แล้วกรงเล็บนัน้ ไม่ไดอ้ ย่บู นน้วิ เทา้ แบบ
ของพวกโดรมโี อซอร์ แตก่ ลบั อยบู่ นมอื ทำใหเ้ มก้าแรพเตอร์เปลีย่ นสถานะไปในทนั ที ปัจจุบัน เมกา้ แรพเตอร์
มีวงศ์ยอ่ ยเปน็ ของมนั เองคอื Megaraptora ซึ่งจะประกอบไปดว้ ยเทอโรพอดแปลกประหลาดอีกหลายตวั

มอโนโลโฟซอรัส (อังกฤษ:Monolophosaurus) เปน็ เทอโรพอดจากยคุ จแู รสซกิ เมือ่ ประมาณ 170 ลา้ นปี
ก่อน มีขนาดยาว 5 เมตร (16ฟุต) พ้นื ทท่ี ี่ขดุ พบมอโนโลโฟซอรัส มีการพบสัญญาณของน้ำจงึ เปน็ ไปไดว้ า่
ไดโนเสาร์ชนิดนี้อาศัยอยู่บนชายฝง่ั ของทะเลสาบหรอื มหาสมุทร มอโนโลโฟซอรัส น่าจะพัฒนามาจากเมกะโล
ซอรสั มอโนโลโฟซอรัสถกู จัดใหอ้ ยู่ในตระกลู อลั โลซอร์ แต่ในปี2009 ชาล์ เอ็ทอลั กลา่ วคุณสมบตั ิพื้นฐานต่าง
ๆ ของโครงกระดูกโดยบอกว่า มอโนโลโฟซอรัส เป็นหนึ่งในไดโนเสารใ์ นตระกลู เทตันนูรี

หยง่ ชวนโนซอรสั (องั กฤษ: Yangchuanosaurus) คน้ พบในจนี เมือ่ ปีค.ศ. 1978 เป็นไดโนเสาร์กนิ เนอื้ ตระกูล
อัลโลซอร์ ขนาดและความยาวของรา่ งกายประมาณ 8-11 เมตร กะโหลก ยาว 1.11 เมตร (3.6ฟตุ ) มปี มุ่ ท่ี
บริเวณจมูก และนำ้ หนกั 3.4-3.7 ตนั

ไมโครแรปเตอร์ (องั กฤษ: Microraptor; ศพั ทมลู วทิ ยา: ภาษากรีก, μίκρος, mīkros: "เล็ก"; ภาษาละตนิ ,
raptor: "ผูท้ ีค่ วา้ ที่หน่ึง") เป็นไดโนเสาร์กินเน้ือขนาดเลก็ สกลุ หน่ึง ในวงศโ์ ดรมีโอซอร์ (Dromaeosauridae) เช่น
เดียวกบั เวโลซีแรปเตอร์

ไมโครแรปเตอร์ มรี ูปร่างคลา้ ยไดโนเสาร์ผสมนกมีขนปกคลมุ ลาตวั เหมอื นนก ขนาดลาตวั เท่า ๆ กบั นกพิราบ มปี ี กท้งั หมด
4 ปี ก (ขาหนา้ 2 ปี ก และขาหลงั 2 ปีก) มขี นหางทเ่ี รียวยาว และเช่ือว่าดารงชีวิตและหากินบนตน้ ไมเ้ ป็นหลกั รวมถงึ ทารังบนตน้ ไม้
และมหี ลกั ฐานว่าจบั นกในยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์กินเป็นอาหาร จากการพบซากในส่วนทเ่ี ป็นกระเพาะ[1]

ไมโครแรปเตอร์ ไม่สามารถบินได้ แต่จะใชป้ ี กและขนร่อนไปมาเหมือนสัตวใ์ นยคุ ปัจจบุ นั หลายชนิดเช่น กระรอกบิน หรือ
บ่าง[2] นอกจากน้ีแลว้ ยงั เชอื่ ว่า เป็นไดโนเสาร์ท่ีถอื เป็นตน้ แบบบรรพบุรุษของนกจาพวกแรก ทใี่ ชข้ นในการเป็นเคร่ืองดึงดดู ทางเพศ
และเป็นเสมือนเครื่องประดบั เนื่องจากมีขนทมี่ ีสีสันเลอื่ มเป็นพรรณราย สีสันของขนเช่นน้ีเกิดจากเซลลผ์ ลติ เมด็ สี ที่เรียกว่า เมลาโน
โซมส์ โครงสร้างการเรียงตวั ของเมลาโนโซมส์แต่ละแบบจะใหส้ ีสันผดิ แผกกนั ไป ดว้ ยกาลงั ขยายของกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอน นกั
บรรพชีพวทิ ยาไดว้ เิ คราะหร์ ูปร่างของเมลาโนโซมส์ในรอยประทบั รูปขนนกท่ไี ดก้ ลายเป็นฟอสซิลจากน้นั นาขอ้ มลู น้ีไปเปรียบเทียบกบั
นกในปัจจุบนั เพอ่ื คาดการณ์ถงึ สีสนั ของไมโครแรปเตอร์ ซ่ึงสีเลอ่ื มพรายจะเกิดข้นึ เม่อื เมลาโนโซมส์มกี ารเรียงตวั กนั เป็นช้นั ๆ

เซราโตซอรัส (องั กฤษ: En:Ceratosaurus - ก้ิงก่ามเี ขา) เปน็ ไดโนเสาร์กนิ เนื้อ (เทอโรพอด) อยใู่ นชว่ ง
(Kimmeridgian กับ Tithonian) ของชว่ งปลายยุคจูแรสสิค มีความใกลช้ ดิ กบั NoasauridaeและAbelisauridaeแตข่ นาด
ตัวใหญ่และเลก็ กวา่ คร่ึงหนึ่ง ความยาวลำตวั ประมาณ 6 เมตร แต่จากการคำนวณคาดวา่ ตวั โตท่ีสุดอาจยาวได้ 8.8 เมตร
มีลกั ษณะ คลา้ ยอลั โลซอรสั แต่มีสว่ นหวั ท่ีโตกว่าเมอื่ เทยี บกับสดั ส่วนลำตวั แขนส้นั และเลก็ มี 4 น้ิวไม่น่าใชเ้ ป็นอาวธุ ได้
และมีเขายื่นออกมาจากเหนอื จมกู และดวงตา เป็นเอกลกั ษณ์และทมี่ าของชื่อ "กง้ิ กา่ มีเขา"ของมัน แต่เขาของเซราโต
ซอรัส เป็นแผ่นกระดูกบางๆ ไม่แขง็ แกรง่ พอจะเอาไปใชเ้ ป็นอาวุธได้ จึงมีการต้ังขอ้ สังเกตว่า เขาของมนั น่าจะมไี วเ้ พอ่ื
ดงึ ดูดตัวเมีย

ฟนั ของของ(เซราโตซอรัส)ยาวมากเมื่อเทยี บกับขนาดลำตวั แต่แบนและบางกวา่ นกั ล่ายุคเดียวกัน เหมาะกบั
การตัดเนือ้ กนิ แตไ่ มส่ ามารถบดกระดกู ได้ ทำใหค้ าดได้ว่า เหยื่อของมนั นา่ จะเปน็ ไดโนเสารก์ ินพชื ขนาดกลาง ทฉี่ ีกเน้อื กนิ
ไดง้ ่ายกว่า ปัจจบุ นั พบรอยกัดของ เซราโตซอรัส หรอื อาจจะเปน็ ทอรว์ อซอรสั ท่บี รเิ วณขาของ อลั โลซอรัส

บวกกบั การศกึ ษาทีพ่ บฟอสซลิ เชอื่ วา่ เซราโตซอรสั มักจะล่าเหยอ่ื ในป่าทึบ ตามลำพงั คลา้ ยๆกับ เสอื ดาว จงึ มี
คนเรยี กมนั วา่ เสอื ดาวแห่งโลกลา้ นปี แมจ้ ะมีขนาดตวั เลก็ กวา่ นกั ลา่ อื่นๆ แตก่ ็มีรา่ งกายแข็งแกร่ง และ ปราดเปรยี ว จดั ได้
ว่าเป็นนักลา่ ตวั ยงอกี สายพันธหุ์ นงึ่

ไดโนนีคัส (Deinonychus) เปน็ ไดโนเสารก์ นิ เน้อื ทฉ่ี ลาดและว่องไว มีความยาวประมาณ 2-5 เมตร หนกั 73
กโิ ลกรัม อยใู่ นวงศ์โดรเมโอซอร์ มกี ารออกล่าเหยอ่ื เปน็ กลุม่ เหมอื นหมาปา่ อาวธุ คอื เลบ็ เท้าแหลมคมเหมอื น
ใบมดี ท่พี ับเกบ็ ไดแ้ ละฟันทีค่ มกรบิ เปน็ ไดโนเสาร์ท่มี ชี ีวติ อยูบ่ นโลก ชว่ งประมาณ 83-70 ล้านปีก่อนในยุคครีเท
เชียส (Cretaceous) มหี ลักฐานพบเปน็ ฟอสซลิ ในบริเวณอเมรกิ าเหนือช่อื กอ่ นคือ เวโลซแี ร็พเตอร์ แอนเทอโร
ฟสั

ไดโลโฟซอรัส (องั กฤษ: Dilophosaurus) หงอนของมนั จะมเี ฉเพาะตวั ผเู้ ท่าน้นั สันนิษฐานวา่ มีไวอ้ วดตวั เมยี เวลา
ผสมพนั ธุค์ ลา้ ยกบั ของสตั วป์ ีกในปัจจบุ นั ชือ่ ของมนั มีความหมายว่ากิง้ กา่ มสี องหงอน พบทท่ี วปี อเมริกาเหนือ อาศยั อยใู่ น
ยคุ จูราสสิคตอนตน้ เมื่อประมาณ 208 ลา้ นปี ก่อน ยาวประมาณ 6-7 เมตร มนั มีฟันหนา้ อนั แหลมคมทีน่ กั บรรพชีวิน
วทิ ยาเช่ือวา่ มไี วส้ าหรบั ฉีกเน้ือมากกวา่ การขย้าหรือขบกดั เพราะมีกระโหลกทคี่ ่อนขา้ งจะเปราะบาง
ไดโลโฟซอรัส เป็นที่รู้จกั ของบคุ คลทวั่ ไปจากการปรากฏตวั ใน ภาพยนตร์เรื่อง จรู าสสิค พาร์ค โดยภายในภาพยนตร์ไดม้ ี
การแสดงวา่ ไดโลโฟซอรสั สามารถพน่ พิษออกจากปากได(้ คลา้ ยงูเห่าแอฟริกา) แต่เป็นเพียงเพ่ือการเพ่ิมอรรถรสในการชม
เท่าน้นั ซ่ึงในความเป็นจริงแลว้ ยงั ไม่มขี อ้ มลู ยืนยนั ว่า ไดโลโฟซอรสั สามารถพน่ พิษหรือกางแผงคอได้
ภายหลงั มีการพิสูจนท์ างวทิ ยาศาสตร์วา่ แพงคอน้นั ไมม่ อี ยจู่ ริงตามซากดึกดาบรรพ์

ทรโู อดอน (อังกฤษ: Troodon หรอื Troödon) เปน็ ไดโนเสาร์ กนิ เนอื้ ทีจ่ ดั วา่ เป็นไดโนเสาร์ทมี คี วามฉลาดมาก
ทีส่ ดุ ไดโนเสารท์ รโู อดอนเปน็ ไดโนเสารท์ ่ีมชี วี ิตอยใู่ น ชว่ งยุคครเี ตเชยี สตอนปลาย พบได้ ในประเทศ
สหรัฐอเมรกิ าและประเทศแคนาดา ไดโนเสาร์ทรโู อดอนจดั วา่ เปน็ ไดโนเสารท์ ม่ี ขี นาดเลก็ กวา่ ไดโนเสารพ์ นั ธอุ์ น่ื
ๆ เพราะโครงสร้างทีบ่ อบบาง ลำตวั มคี วามยาวประมาณ 1.8 เมตร ข้างกะโหลกศรี ษะของมัน ค่อนขา้ งแตกตา่ ง
จากไดโนเสารพ์ ันธอ์ุ ื่น ๆ เพราะบรเิ วณด้านหลงั และดา้ นข้างของจมูก จะมโี ครงกระดกู แหลมโผล่ออกมา ฟนั มี
ลกั ษณะแหลมและเป็นซี่เล็ก ๆ ตาโต ทำให้สามารถ มองเห็นวตั ถุต่าง ๆ ได้ดี มนี ิ้วมอื สำหรบั ตะครุบ

ด้วยความฉลาดและมนี ว้ิ มอื สำหรบั ตะครบุ ในปี ค.ศ. 1982 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมรกิ ัน เดล รสั เซล์ ไดต้ ั้ง
ทฤษฎแี บบสุดนา่ เชอื่ วา่ ทรูโอดอนอาจจะววิ ัฒนาการตอ่ มาจนกลายเป็นนกในปจั จุบนั ได้

ไทรันโนซอรสั แปลว่า ก้งิ กา่ ทรราชย์ มาจากภาษากรกี ) เปน็ สกุลหน่ึงของไดโนเสารป์ ระเภทเทอโรพอด ชนดิ
เดยี วท่เี ปน็ ทีร่ ูจ้ ักในสกลุ นี้คอื ไทแรนโนซอรัส เรกซ์ (ชอื่ วทิ ยาศาสตร์: Tyrannosaurus rex; rex
แปลวา่ ราชา มาจากภาษาละตนิ ) หรอื เรียกอยา่ งยอ่ วา่ ที. เรกซ์ (T. rex) เป็นไดโนเสารก์ ินเนือ้ ขนาดใหญ่ มี
ถิ่นอาศยั ตลอดทวั่ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื ของทวปี อเมริกา ซง่ึ กว้างกวา่ ไดโนเสาร์วงศ์เดียวกัน ไทแรนโนซอรัสอาศยั
อยู่ในยุคครเี ทเชียสตอนปลายหรือประมาณ 68 ถงึ 65 ล้านปีมาแลว้ เปน็ หนง่ึ ในไดโนเสารพ์ วกสดุ ท้ายและที
เรก็ ซเ์ ก่ียวข้องกับนก จำพวกนกนกั ล่าอย่าง นกอนิ ทรีหรอื เหยยี่ ว ซึ่งมีชีวติ อยู่กอ่ นการสญู พนั ธุ์ครั้งใหญค่ รงั้ ที่
สามในยคุ ครีเทเชียส

ไทแรนโนซอรัสเปน็ สัตว์กินเนอ้ื เดินสองขา มกี ะโหลกศรี ษะทใ่ี หญ่ และเพือ่ สรา้ งความสมดลุ มนั จงึ มีหางทม่ี ี
น้ำหนกั มาก มีขาหลังทใ่ี หญ่และทรงพลงั แต่กลับมีขาหนา้ ขนาดเลก็ มสี องกรงเลบ็ ถึงแมว้ า่ จะมไี ดโนเสารก์ นิ
เนื้อชนดิ อ่นื ทม่ี ีขนาดใหญก่ วา่ ไทแรนโนซอรสั เรกซ์ แต่มนั กม็ ีขนาดใหญท่ สี่ ดุ ในไดโนเสาร์วงศ์เดียวกนั และเปน็
หนง่ึ ในผู้ล่าทม่ี ขี นาดใหญ่ท่ีสดุ บนพน้ื พภิ พ วัดความยาวได้ 12-13 ม.[1] [2]สูง 4.6 ม. จากพื้นถงึ สะโพก[3] และมี
น้ำหนกั ถึง16-18 ตนั [4] ในยุคสมัยของไทแรนโนซอรัส เรกซ์ท่ียงั มีนักล่าขนาดใหญ่ชนิดอ่ืนๆนัน้ ไทแรนโนซอรสั
เรกซน์ ้นั เป็นนกั ลา่ ที่อยูบ่ นสดุ ของหว่ งโซ่อาหารในทวปี อเมริกาเหนือ เหยอื่ ของมนั เชน่ แฮโดรซอร์, เซอราทอป
เซีย หรอื ซอโรพอด [5]เป็นตน้ ถงึ แมว้ า่ ผู้เช่ยี วชาญบางคนเชือ่ ว่าโดยพืน้ ฐานแลว้ ไทแรนโนซอรัส เรกซ์เป็นสัตว์
กนิ ซาก การถกเถยี งในกรณีของไทแรนโนซอรสั วา่ เป็นนักลา่ หรือสตั ว์กนิ ซากน้นั มีมานานมากแลว้ ในหมกู่ าร
โต้แยง้ ทางบรรพชวี นิ วทิ ยา ปจั จบุ ัน ทเี รก็ ซ์น้ันสามารถ ลา่ เหยอ่ื ตวั เดยี ว ลา่ เปน็ ฝูงท้ังครอบครวั และกนิ ซาก
แน่นอนรวมถงึ ไดโนเสาร์นกั ล่าทุกชนิด ทล่ี ้วนแลว้ กม็ โี อกาสเป็นนักกินซากได้ทง้ั หมด

ไทแรนโนซอรสั เปน็ ไดโนเสาร์ทีโ่ ด่งดังที่สุดในโลก ดว้ ยฐานะไดโนเสารก์ ินเน้ือทต่ี วั ใหญ่ทส่ี ุด กอ่ นจะเสยี อนั ดบั
ให้ คาร์ชาโรดอนโทซอรัส และ สไปโนซอรัส

ไดโนเสาร์ทีเรกซ์ ชอื่ ซู (Sue) เป็นโครงกระดกู ไดโนเสาร์ทีเรกซ์ ท่ีมคี วามสมบูรณท์ สี่ ุด มขี นาดลำตวั ยาวกวา่
12.3 เมตร และความสูงถงึ สะโพก 4 เมตร โดยตง้ั ช่อื มาจากซูฃานนักธรณีวิทยาท่ีค้นพบ[6] ปจั จุบนั จัดแสดงที่
พิพิธภณั ฑ์ Field Museum ทีช่ ิคาโก ในปี 2549

บารีออนิกซ์ หรือ แบรีออนิกซ์ (Baryonyx) เป็นไดโนเสาร์กินเน้ือทอ่ี ยู่ในวงศ์สไปโนซอร์ มีถน่ิ กำเนดิ ที่อังกฤษ
หรอื สหราชอาณาจักร ชอ่ื ของมันมคี วามหมายว่าอ้งุ เล็บหนัก แบรีออนิกซ์มีฟนั รูปกรวย มนั มเี ล็บหัวแม่มอื ที่
ใหญก่ ว่าเล็บอืน่ ยงั มีการพบเกล็ดปลาดกึ ดำบรรพ์ เลปิโดเทส ที่กระเพาะอาหารของมันอีกดว้ ย ดังนัน้
นักวทิ ยาศาสตร์จึงคาดวา่ มนั คงจะกนิ ปลาเป็นอาหาร โดยใชเ้ ล็บจกิ ปลาขนึ้ มากนิ อยา่ งไรก็ตาม มนั ก็กนิ
ไดโนเสารอ์ ่นื ๆ และอาจกินแม้กระทั่งลกู ของมันเอง มนั มีความยาวประมาณ7.5-10.5เมตร หนกั ราว 1.2-1.7
ตนั อาศัยอยใู่ นยคุ ครีเทเชียสตอนตน้ ประมาณ120ล้านปกี อ่ น
จากการท่แี บรีออนกิ ซ์กินปลาเปน็ อาหาร จงึ อาจอาศัยอยใู่ กล้แหล่งน้ำ

อลั เบอร์โตซอรสั (Albertosaurus)เปน็ ไดโนเสารท์ คี่ ้นพบในทวีปอเมริกาเหนอื มคี วามยาว 9 เมตร ความสงู
5 เมตร หนกั 2,500 กโิ ลกรัม เดิน 2 ขา ฟนั เหมือนเล่ือยเปน็ ซีเ่ ล็กๆ ใชก้ นิ เน้อื โดยเฉพาะเปน็ สตั ว์กนิ เน้อื
ไดโนเสาร์และกินพืชตา่ ง ๆ อาศยั อยใู่ นยุคครีเตเชยี ส เมื่อประมาณ 76-70 ลา้ นปที ี่แล้ว มันมีญาตทิ ่ดี ุร้ายและ
โด่งดังอยา่ ง ไทรนั โนซอรสั เร็กซ์และคลา้ ยคลึงกบั กอร์โกซอรสั สมาชิกในเครือญาตขิ องมนั เป็นอย่างมาก

วลิ อซแิ รปเตอร์ (อังกฤษ: velociraptor) เปน็ วงดนตรีชื่อดังในไทย อยู่ (Dromaeosauridae) วิลอซแิ รปเตอรน์ ัน้ มี 2
ชนดิ คือมองโกเลียนซิสกับ แอนโทพทิ ุส โดยการออกลา่ เหย่ือเป็นกลุ่มเหมอื นหมาปา่ อาวธุ คือเลบ็ เท้าแหลมคมเหมือน
ใบมดี และฟันที่คมกริบ เป็นไดโนเสาร์ทม่ี ชี วี ิตอยูบ่ นโลกชว่ งประมาณ 83-70 ลา้ นปีกอ่ นในยคุ ครีเทเชียสตอนปลาย มี
หลกั ฐานพบเปน็ ฟอสซิลในบริเวณเอเชยี กลางสำหรบั มองโกเลยี นซิสและพบทีอ่ เมรกิ าสำหรับ แอนโทพทิ สุ (เคยมกี าร
คน้ พบฟอสซิล วลิ อซิแรปเตอร์ มองโกเลียนซสิ วา่ ต่อสกู้ ับ โปรโตเซอราทอปส์ด้วย) มนั ยังถกู เข้าใจวา่ คอื ไดโนนีคสั ของ
เอเชีย จงึ แยกประเภทใหมเ่ พราะมนั มีรปู ร่างคล้ายกันกบั ไดโนนคี ัส

ยูทาหแ์ รปเตอร์ (อังกฤษ: Utahraptor) เปน็ ไดโนเสาร์เทอโรพอดครอบครวั โดรมีโอซอร์ หรอื แรพเตอร์ ชนดิ หนึ่ง เปน็
หนง่ึ ในไดโนเสาร์ครอบครวั โดรมีโอซอร์ท่ีมีชอ่ื เสียงทีส่ ุด นอกจากนั้นมันยังมขี นาด 7 เมตร ซง่ึ ถือวา่ ใหญท่ ี่สุดในครอบครัว
นี้ ฟอสซลิ ของมนั พบท่ีรฐั ยูทาห์ ประเทศสหรัฐอเมริกา (เพ่ิมเตมิ :กอ่ นทยี่ ทู าหแ์ รปเตอร์ จะเปน็ โดรมีโอซอร์ทีใ่ หญท่ ีส่ ุด ใน
อดตี เมก้าแรพเตอร์ยาว 9 เมตร เคยใหญท่ ส่ี ุดมากอ่ น แตป่ จั จบุ นั มนั จดั อยูใ่ นครอบครวั เมกะโลซอร์) ยูทาห์แรปเตอรเ์ คย
ได้เป็นตวั ละครไดโนเสาร์ ตวั เอกในสารคดขี องบบี ซี ี ชุด ไดโนเสารอ์ าณาจักรอศั จรรย์

สไปโนซอรัส (องั กฤษ: Spinosaurus) มีความหมายวา่ สตั ว์เลอื้ ยคลานมกี ระโดง ถูกคน้ พบครั้งแรกใน
ทะเลทรายซาฮารา่ ของอยี ิปต์ เม่ือปี ค.ศ. 1910 โดยนกั บรรพชวี นิ วทิ ยาชาวบาวาเรีย นาม เอริ ์ล สโตรเมอร์
โดยขดุ ค้นไปตามชายขอบด้านตะวันออกของระบบแม่นำ้ โบราณซึ่งมีหนิ ในชนั้ แคมเบรียนกอ่ ตัวเป็นพรมแดน
ดา้ นตะวันตก สไปโนซอรสั เปน็ สัตว์กินเนื้อทเ่ี ดนิ 4 ขาเป็นหลกั สว่ นอาหารน้นั ส่วนมากจะเป็นปลา มีจุดเด่น คือ
กระดูกสันหลังสูงเปน็ แผน่ คล้ายใบเรือ รปู ครง่ึ วงรี มี11ช้นิ ชิ้นที่ยาวทีส่ ุดมีความยาว 1.69 เมตร เน่ืองจากถกู
คน้ พบฟอสซิลในอยี ปิ ต์จงึ ได้สันนษิ ฐานเชน่ น้นั กะโหลกมีจงอยปากแคบท่ีเตม็ ไปด้วยฟันรูปกรวย มหี งอนคู่
ขนาดเลก็ อย่เู หนอื ดวงตา แขนแข็งแกร่งมี 3น้ิว สามารถใช้เปน็ อาวธุ และจับเหยอ่ื ได้ มีความสงู จากพ้ืนถึงสะโพก
ที่ 3 เมตร ความยาวตั้งแตป่ ลายจมกู จรดปลายหางประมาณ 15 เมตร คน้ พบฟอสซิลท่ีสมบรู ณ์ท่สี ดุ ยาว 15
เมตร (ส่วนกะโหลก ยาว 1.75 ม.) น้ำหนัก 6-10 ตัน

อาศยั อยู่ใน ทวปี แอฟรกิ า มชี วี ติ อยูใ่ นตอนกลางของยุคครีเตเชียส (100-97 ล้านปีท่ีแลว้ ) ในชว่ งที่มันอาศัยอยู่
ในยุคครเี ตเชียสตอนกลางมีไดโนเสาร์คาร์คาโรดอนโทซอรดิ สข์ นาดใหญ่ คือ คารค์ าโรดอนโทซอรัส ไดอ้ าศัยอยู่
ร่วมระบบนิเวศเดียวกันที่มคี วามยาวประมาณ 13 เมตร และเป็นไดโนเสาร์กนิ เนอื้ ขนาดใหญ่ทไี่ มใ่ ชค่ ู่แข่งของส
ไปโนซอรัสและไดโนเสาร์กนิ เน้ือสกุลอืน่ แต่อย่างใด สไปโนซอรสั เปน็ ไดโนเสารก์ นิ เนือ้ ทใ่ี หญ่ท่ีสุดเปน็ อนั ดบั 1ใน
โลก , มันมีญาตอิ ยา่ ง ซโู คไมมสั บารอี อนนิกซ์

สยามโมซอรัส สุธธี รนี[1] (องั กฤษ: Siamosaurus suteethorni) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอด ขนาดกลาง พบ
คร้ังแรกทห่ี ลมุ ขดุ คน้ ที่ 1 ท่ีภปู ระตตู หี มา อทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวยี ง อาเภอเวยี งเกา่ จงั หวดั ขอนแก่น ช้ินส่วนตวั อยา่ งตน้ แบบ
เป็นฟัน 9 ซี่ มีลกั ษณะคลา้ ยฟันจระเข้ เป็นรูปกรวยยาวเรียว คอ่ นขา้ งตรง และโคง้ เลก็ นอ้ ยในแนวดา้ นหลงั ของฟัน บนผิว
ของฟันมีร่องและสันนูนเลก็ ๆตามแนวความยาวของตวั ฟันดา้ นละ 15 ลายเสน้ โยงจากฐานของตวั ฟันไปยงั ส่วนของยอด
ฟันห่างจากส่วนปลายสุดประมาณ 5 มลิ ลิเมตร แต่ไม่มลี กั ษณะเป็นหยกั แบบฟันเลือ่ ย ความยาวของตวั ฟันท้งั หมด 62.5
มลิ ลเิ มตร ลกั ษณะฟันดงั กล่าวไม่เคยมรี ายงานการคน้ พบจากที่ใดๆในโลกมาก่อน จึงพจิ ารณาให้เป็นสกลุ และชนิดใหม่ คอื
"สยามโมซอรสั สุธีธรนี"[1]

สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส[1] (องั กฤษ: Siamotyrannus isanensis) เป็นไดโนเสาร์เทอโร
พอด ลาตวั ยาวประมาณ 6.5 เมตร ชอ่ื ของมนั หมายถงึ "ทรราชแห่งสยามจากภาคอสี าน" พบกระดกู เป็นคร้งั แรกท่ีหลมุ
ขดุ คน้ ท่ี 9 ที่ภปู ระตูตหี มา อทุ ยานแห่งชาตภิ เู วยี ง อาเภอเวียงเกา่ จงั หวดั ขอนแกน่ โดยนายสมชยั เตรียมวชิ านนท์ นกั
ธรณีวิทยา กรมทรพั ยากรธรณี เมื่อปี พ.ศ. 2536 พบอยใู่ นเน้ือหินทรายเน้ือแน่นหมวดหินเสาขวั ยคุ ครีเทเชียสตอนตน้
ช้ินส่วนกระดกู ประกอบดว้ ยกระดกู สะโพก 1 ช้ิน กระดูกเชิงกรานดา้ นซ้าย ทว่ี างตวั ฝังอยใู่ ตก้ ระดูกสันหลงั ลกั ษณะของ
กระดกู เปรียบเทียบไดก้ บั ของไดโนเสาร์วงศไ์ ทรนั นอซอริดี ลกั ษณะไม่เคยมรี ายงานการคน้ พบจากท่ีใดๆในโลกมากอ่ น
จึงพจิ ารณาใหเ้ ป็นสกลุ และชนิดใหม่ คอื สยามโมไทรนั นสั อสิ านเอนซิส[1]

อัลโลซอรัส (องั กฤษ: Allosaurus) ไดโนเสาร์นกั ลา่ ก่อนยุคไทรันโนซอรัสแต่ตัวเลก็ กวา่ อาศยั อยู่ในยุคจแู รสซกิ เมอื่ 155-
145 ลา้ นปกี อ่ น ขนาดท่วั ไปมคี วามยาวประมาณ 8.5 เมตร (29 ฟตุ ) สูงจากพื้นถึงไล่ประมาณ 3.2 เมตร แตก่ ็มีพบขนาด
ใหญท่ ่ีสดุ มากกว่า 10 เมตร (34 ฟุต) เหนอื หัวของอัลโลซอรัสมปี มุ่ เขาขนาดเลก็ เหนือดวงตา ขากรรไกรอ้าได้กวา้ งถึง 92
องศาพร้อมด้วยฟนั ท่มี ีลักษณะเปน็ ใบเลอื่ ยเรยี งรายอยู่ กระโหลกของมนั นน้ั สามารถรบั แรงกระแทกไดม้ ากดงั นน้ั เมื่อมัน
ล่าเหย่ือมันจะใชก้ ะโหลกฟาดลงบนตวั เหย่อื คล้ายขวานทจ่ี ามลงบนไม้ รา่ งกายมีความสมดุลโดยยาวและหางหนักตาม
คณุ สมบัติของตระกูล อลั โลซอร์ มนั มญี าติหา่ งๆอยา่ ง ซอโรฟากาแน็กซ์ ซ่ึงมีขนาดใหญก่ วา่

โอวแิ รปเตอร์(องั กฤษ: Oviraptor)มหี งอนเปน็ เอกลกั ษณ์ ยาว 2 เมตร ส่วนสูงประมาณหัวเข่าของผใู้ หญ่ท่ีโตเต็มไวแลว้
พบทม่ี องโกเลีย มีการคน้ พบฟอสซิลของมนั อยู่กับลกู ในรงั ของมนั ในทา่ กกไข่ หลายชุด เปน็ หลักฐานที่ระบวุ ่ามันเป็น
ไดโนเสารท์ ีเ่ ล้ยี งลูกของมันอยา่ งดี ฟอสซิลในทา่ กกไขข่ องโอวแิ รปเตอร์ ตวั น้ันอาจตายตอนมีพายุทรายพดั มา พบในช้ัน
หินของยุคครเี ทเซียส ชว่ งเวลา 90-85 ล้านปี

ซูโคไมมสั (องั กฤษ: Suchomimus) เป็นไดโนเสาร์ที่อยใู่ นสกุล สไปโนซอร์ [spinosaurid] ทอ่ี าศยั อยใู่ น
แอฟริกา ประเทศอียิปต,์ ไนเจอร์ Suchomimus มปี ากที่มีความยาวต่าและแคบเป็นจะงอย ฟันคมมาก และโคง้ ยอ้ นหลงั ออก
หาอาหารบริเวณริมแม่น้า อาหารหลกั ของมนั คอื ปลา และสตั วน์ ้าในยคุ ดึกดาบรรพ์ Suchomimus มีความยาว 11 เมตร หนกั
ประมาณ 2.9-4.8 ตนั อาศยั อยใู่ นยคุ ครีเทเซียสตอนตน้ เมอื่ ประมาณ 112 ลา้ นปี กอ่ น มนั มศี ตั รูคู่แขง่ ตามธรรมชาติทอี่ าศยั อยใู่ น
ยคุ เดียวกนั อยา่ ง จระเขย้ กั ษ์ ซาร์โคซูคสั (Sarcosuchus) ทอ่ี าศยั อยรู่ ิมน้าและจะคอยดกั ซุ่มโจมตีเหยอื่ อยใู่ นน้า
Suchomimus มญี าติใกลช้ ิดอยา่ ง สไปโนซอรสั ทม่ี ีความยาว 15-17 เมตร กบั อิริอาเตอร์ ยาว 8 เมตร (26ฟุต) ทม่ี ี
ลกั ษณะรูปร่างและการดารงชีวิตคลา้ ยกนั แตม่ ขี นาดเล็กกว่า

ซินแรปเตอร์ (องั กฤษ: Sinraptor) เป็นไดโนเสาร์กินเน้ือชนิดหน่ึง ช่ือของมนั มคี วามหมายว่าราชาหัวขโมย
แห่งจีน คน้ พบฟอสซิลท่ีประเทศจีนในปี ค.ศ. 1987 ยาวประมาณ 6 เมตร อาศยั อยใู่ นยคุ จแู รสซิกตอนปลานเม่อื
ประมาณ 160 ลา้ นปี ก่อน

เมกะโลซอรัส หรือ เมกาโลซอรสั (ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Megalosaurus bucklandii) เป็นไดโนเสาร์กินเน้ือหรือเทอโร
พอด มชี ีวติ อยใู่ นยคุ จแู รสซิกตอนกลาง เมอ่ื ประมาณ 166 ลา้ นปี มาแลว้ ฟอสซิลของเมกาโลซอรสั ถกู คน้ พบในประเทศแถบยโุ รป
เป็นส่วนใหญ่ คน้ พบโดย บาทหลวงโรเบริ ์ต พลอ็ ต ลกั ษณะของเมกะโลซอรสั คอื มหี วั ทมี่ ขี นาดใหญ่ ฟันแบบสัตวก์ ินเน้ือ เดินดว้ ยสอง
ขา้ หลงั อนั ทรงพลงั มีหางท่ยี าวและใหญ่เพอื่ รักษาสมดุลของร่างกาย เคลื่อนไหวคอไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ยืดหยนุ่ ขาหนา้ เลก็ และส้นั
ประกอบดว้ ยกลา้ มเน้ือแขง็ แรง เมกาโลซอรสั มีลาตวั ยาวประมาณ 9-10 เมตร และมนี ้าหนกั ราว 1.5 ตนั ช่ือของเมกะโลซอรสั เป็น
ภาษากรีก ทมี่ คี วามหมายวา่ กงิ้ ก่าตวั ใหญ่ เมกาโลซอรสั มีสกั ษณะนิสัยล่าเหยอื่ ตวั คนเดียว หรือบางคร้ังพวกมนั กจ็ ะออกล่าเป็นฝงู ถา้ ลา่
ไดโนเสาร์กินพชื ตวั ใหญ่ เน่ืองจากเมกะโลซอรัสมรี ่างกายที่ใหญ่โตและทรงพลงั เมกะโลซอรัสน้นั เป็นไดโนเสาร์ตวั แรกของโลกทถี ูก
ต้งั ช่ืออยา่ งเป็นทางการโดยมคี วามหมายว่า กงิ้ กา่ ยกั ษ์

คอมปซ์ อกนาทัส (องั กฤษ: Compsognathus) เปน็ ไดโนเสาร์เทอโรพอด สกลุ ไดโนเสารท์ ่ีตวั เล็กทสี่ ุดในโลก ลำตัวยาวประมาณ 70
เซนติเมตร และมีนำ้ หนักเพียง 3 กโิ ลกรัม ฟอสซลิ ของมันพบในเหมอื งทป่ี ระเทศเยอรมนี นอกจากน้ยี งี พบในประเทศไทยของเราดว้ ย พบ
เศษกระดูก 2 ช้ินของกระดูกแข้งดา้ นซ้าย และกระดูกน่องดา้ นขวา มคี วามยาวประมาณ 3 เซนติเมตร พบท่หี ลุมขดุ คน้ ที่ 1 ที่ภูประตูตี
หมา อทุ ยานแหง่ ชาติภเู วยี ง อำเภอเวยี งเก่า จงั หวดั ขอนแกน่ [ต้องการอา้ งองิ ] พบอย่ใู นเน้ือหนิ ทรายหมวดหนิ เสาขัว ยคุ ครีเทเชียสตอนต้น
ลักษณะของกระดูกท่ีพบมีลกั ษณะใกลเ้ คียงกบั คอมพซ์ อกเนธสั ลองกเิ ปส

อิกทโิ อซอรัส (องั กฤษ: Ichthyosaurus; Ichthyo = ปลา, saurus = ก้งิ ก่า)เปน็ สตั วเ์ ล้ือยคลานทะเลในวงศ์
อิกทิโอซอร์ ชอ่ื ของมนั หมายถึง กงิ้ กา่ ปลาอิกทโิ อซอรัส ถูกต้ังชื่อโดย De la Beche และ Conybeare ในปี
ค.ศ.1821 มันอยู่ในทะเลรว่ มกับสัตว์ทะเลอนื่ ๆ เชน่ โรเมลลีโอซอรัส ทีเ่ ปน็ ผู้ลา่ ในตระกลู ไพลโอซอร์ อกิ ทิโอ
ซอรสั อาศัยอยู่ในยุคจแู รสซิก ท่ีทวปี ยุโรป เช่นเบลเยยี ม อังกฤษ สวิตเซอรแ์ ลนดอ์ กิ ทิโอซอรสั มคี วามยาว
ประมาณ 2 เมตร ลา่ ปลาและปลาหมกึ เปน็ อาหารอกิ ทิโอซอรช์ นิดสุดทา้ ยอยู่ในยคุ ครเี ทเชยี ส ช่อื สเตน็ นอปที
รเี จียส ท่ีมีการค้นพบเซลล์สใี นตัวของมนั ทำให้รวู้ ่ามนั มีสีน้ำตาลแดง นอกจากนย้ี ังมอี ิกทิโอซอร์อกี หลายชนดิ
ในยุคจแู รสซิก เช่น เทม็ โนดอนโตซอรสั ซง่ึ มดี วงตาขนาดใหญ่

พรอ็ กนาโทดอน(prognathodon)เป็นสตั ว์เล้ือยคลานทะเลในกลุม่ โมซาซอร์ทีใ่ หญ่เป็นอันดับ2รองจากไทโล
ซอรสั ทย่ี าว19เมตร(ในอดตี เคยเป็นไฮโนซอรสั ทใ่ี หญ่ท่สี ดุ ) มันมคี วามยาว 14.9 เมตรและอาจหนกั ถงึ 7 ตนั
อาหารท่พี รอ็ กนาโทดอนชอบกนิ คือหอยแอมโมไนตเ์ พราะฟันของมนั คมและแขง็ แรงมาก มนั จึงสามารถกัด
เปลอื กแอมโมไนตไ์ ด้ และเรายงั เคยพบรอยฟนั ของพรอ็ กนาโทดอนบนเปลือกแอมโมไนต์ดว้ ย(เป็นทม่ี าของ
ฉายา "ฟนั ทแี่ ข็งเหมือนเหลก็ ")นอกจากนี้ พรอ็ กนาโทดอนยงั กินทุกอยา่ งท่ขี วางหนา้

ซอโรฟากาแนก็ ซ์ (อังกฤษ: Saurophaganax) ช่ือมีความหมายวา่ นายพรานลา่ ซอโรพอด เป็นไดโนเสาร์กนิ
เนอ้ื ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในยคุ จแู รสซิก ยาวประมาณ 13 เมตร และหนกั ประมาณ 3-5 ตนั อยใู่ นตระกูลอัลโลซอริดี
(allosauridae) มเี ขี้ยวแบบใบเล่ือยไวส้ ำหรับตดั ชิ้นเน้อื ออกจากเหยอื่ อยา่ งซอโรพอดตามความหมายของชอ่ื
ของมัน คน้ พบในรัฐโอคลาโฮมา สว่ นกระดกู ขาออ่ นกระดกู สนั หลงั หลายหางและกระดกู สะโพกมกี ารพบใน
ภาคเหนอื ของรฐั นิวเม็กซิโก ของประเทศสหรัฐอเมริกา มนั ถกู พบครัง้ แรกเมือ่ ปี 1995 โดย ดร.คลชั ในครง้ั
แรกที่ดร.คลัช ค้นพบฟอสซลิ ยังไม่สมบูรณ์ แตใ่ นปี 2003 ได้มกี ารค้นพบฟอสซลิ กระดูกเพิ่ม ซง่ึ ประมาณการ
ความยาวได้ 11-13 เมตร หนกั ประมาณ 3-5ตนั สงู 4เมตร

ไฮโนซอรสั (องั กฤษ: Hainosaurus) เปน็ สกลุ ของสัตว์เลอ้ื ยคลานทะเลในวงศ์ โมซาซอร์ เคยได้รบั การขนานวา่
เป็น โมซาซอร์ ท่ใี หญท่ ีส่ ุด โดยได้รบั ฉายาวา่ “ท.ี เร็กซ์แห่งมหาสมุทร” ตอนแรกประมาณการความยาวไว้ท่ี 17
เมตร(54 ฟตุ ) ต่อมาในปี 1990 มกี ารปรับขนาดลดลงมาท่ี15 เมตร(49 ฟตุ ) แต่ตอ่ มา นักวิทยาศาสตร์ จอหน์
ลนิ เกรน ไดล้ ดขนาดลงมาที่ 12.2เมตร (40 ฟตุ ) (ปัจจบุ นั โมซาซอร์ทใ่ี หญ่ทสี่ ุดคือไทโลซอรัส ฮอฟมานี โดยมี
ความยาว 19 เมตร) มนั เป็นหนึ่งในนักลา่ ในทะเลที่อยบู่ นสดุ ใน ยุคครีเทเซียส มันมีคู่แขง่ รว่ มยคุ อยา่ ง อลี าสโม
ซอรสั โดยมกี ารพบหลักฐานฟอสซลิ รอยกดั ของ ไฮโนซอรัส ที่บริเวณหาง และครบี ของ อลี าสโมซอรัส

ทอรว์ อซอรัส (องั กฤษ:Torvosaurus) เปน็ หนึง่ ใน เทอโรพอดขนาดใหญท่ ี่อาศัยอยูใ่ นช่วงปลาย ยคุ จแู รสซกิ ชือ่ ทอร์วอซอรสั มาจาก
ทอร์วสั ในภาษาละติน แปลว่า อำมหติ

อลี าสโมซอรัส (หมายถึง แผน่ บาง ๆ ในกระดกู เชิงกราน) + σαυρος sauros 'กิ้งก่า') เป็นสัตวเ์ ล้อื ยคลานทะเลใน
สกุล Elasmosaurus ในตระกลู เพลสิโอซอร์ เป็นสตั วป์ ระเภทคอยาว โดยมีคอยาวกวา่ คร่ึงหน่ึงของลาตวั เสียอีกอาศยั อยู่ยคุ ครี
เทเชียสตอนปลายเมอ่ื ราว 80.5 ลา้ นปี กอ่ น ในสถานท่ี ๆ ปัจจบุ นั คอื ทวปี อเมริกาเหนือ

เอบิลซิ อรัส (องั กฤษ: Abelisaurus) เป็นไดโนเสาร์เทอโรพอดในกล่มุ ย่อยเอบิซอรอ์ าศยั อยู่ในทวีปอเมรกิ าใต้
ในยุคครเี ตเชียส เปน็ สัตว์กินเนือ้ สองเท้า มคี วามยาวประมาณ 7-9 เมตร (25-30 ฟตุ ) ถกู ค้นพบในปีในปี ค.ศ.
1995 โดยโรเบอร์โต้ อาเบล อดีตผู้อำนวยการพิพธิ ภณั ฑ์Cipolletti ในประเทศอารเ์ จนตนิ าในแควน้ ปาตาโก
เนีย

ทิแรโนดอน (อังกฤษ: Pteranodon, มาจากภาษากรกี πτερόν pteron "ปกี " และ ἀνόδων
anodon ว่า "เขย้ี วกดุ ") เป็นสกลุ หนึง่ ของเทอโรซอร์ ซึง่ รวมถงึ สตั วเ์ ล้ือยคลานที่บนิ ได้ท่ีรู้จกั กนั สว่ นใหญ่
ขนาดของปกี ยาวมากกวา่ 6 เมตร (20 ฟตุ ). พวกมันอาศัยอยใู่ นชว่ งยุคครเี ทเชียสตอนปลายในรฐั แคนซสั , อะ
ลาบามา, เนบราสก้า, ไวโอมงิ และเซาวด์ าโกตาในชว่ งปัจจบุ นั มีฟอสซลิ ทแิ รโนดอนมากกวา่ เทอโรซอรช์ นดิ
อนื่ โดยประมาณ 1,200 ตวั อย่างรูจ้ กั ในแวดวงวทิ ยาศาสตร์ สว่ นใหญ่มักจะพบในสภาพกะโหลก และโครง
กระดูกข้อต่อท่สี มบรู ณ์ น่ันเป็นสว่ นทีส่ ำคญั มากในกลุม่ ของสัตวใ์ น Western Interior Seaway


Click to View FlipBook Version