The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประชาคมอาเซียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศุภกรณ์ หมายทวี, 2020-02-20 00:39:54

ประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียน

ประชำคมอำเซียน 48

ประเทศฟิ ลิปปิ นส์

ประธำนำธิบดี : นำยเบนิกโน อำกีโนที่ 3

ประเทศฟิ ลิปปิ นส์เคยเป็นเมืองข้ึนของประเทศ
สหรัฐอเมริกำ จึงรับเอำกำรปกครองระบอบ
ประชำธิปไตยตำมแบบประเทศสหรัฐอเมริกำมำใช้
บริหำร ประเทศ โดยมปี ระธำนำธิบดีเป็นประมขุ
และเป็นหวั หนำ้ คณะผบู้ ริหำรประเทศ ซ่ึง
ประธำนำธิบดีคนปัจจุบนั คือ นำยเบนิกโน อำกีโนที่
3 หรือ เบนิกโน ซีเมออน โกฮวงโก อำกีโนท่ี 3 ปัจจุบนั อำยุ 52 ปี ดำรงตำแหน่ง
ตำแหน่งประธำนำธิบดีคนท่ี 15 ของประเทศฟิลิปปิ นส์ และเป็นนำยกรัฐมนตรีคน
ปัจจุบนั ของประเทศ ต้งั แต่วนั ที่ 30 มิถนุ ำยน พ.ศ. 2553

49 ประชำคมอำเซียน

ประเทศลำว

ประธำนำธิบดี : พลโทจูมมะลี ไซยะสอน

สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำวมีระบบกำรปกครอง
แบบสงั คมนิยมคอมมิวนิสต์ ซ่ึงทำงกำรลำวใชค้ ำวำ่ ระบอบ
ประชำธิปไตยประชำชน โดยมีพรรคประชำชนปฏิวตั ิลำวเป็น
องคก์ รช้ีนำประเทศ ผนู้ ำสูงสุดของประเทศเรียกวำ่ “ประธำน
ประเทศ” เทียบเทำ่ กบั ตำแหน่งประธำนำธิบดี ซ่ึงประธำนำธิบดีคนปัจจุบนั คือ พลโทจูมมะลี
ไซยะสอน อำยุ 76 ปี เป็นประธำนำธิบดีคนที่ 6 ของประเทศ และดำรงตำแหน่งเลขำธิกำรใหญ่
คณะบริหำรงำนศูนยก์ ลำงพรรคประชำชนปฏิวตั ิลำวอีก หน่ึงตำแหน่ง

ประชำคมอำเซียน 50

ประเทศสิงคโปร์

ประธำนำธิบดี : นำยโทนี ตนั เคง็ ยมั

ประเทศสิงคโปร์ ปกครองในระบอบสำธำรณรัฐ
ประชำธิปไตย มีประธำนำธิบดีเป็นประมุข ประธำนำธิบดี
คนปัจจุบนั คือ นำยโทนี ตนั เคง็ ยมั ปัจจุบนั อำยุ 72 ปี เพง่ิ
ดำรงตำแหน่งประธำนำธิบดี เมื่อวนั ท่ี 1 กนั ยำยน พ.ศ. 2554
หลงั จำกทำคะแนนเฉือนชนะคูแ่ ข่งในกำรเลือกต้งั
ประธำนำธิบดีสิงคโปร์ ไปเพียง 0.34% จึงไดด้ ำรงตำแหน่งประธำนำธิบดีสิงคโปร์
คนที่ 7 นบั แต่น้นั มำ

เศรษฐกิจของแต่ละประเทศในประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศไทย

ประเทศไทยนบั เป็นประเทศอตุ สำหกรรมใหมเ่ ศรษฐกิจของประเทศส่วนใหญ่ข้ึนอยู่
กบั กำรส่งออก ในปี พ.ศ. 2555 (2012)กำรส่งออกของไทยมีมลู คำ่ มำกกวำ่ 2 ใน 3
ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (Gross DomesticProduct : GDP) โดย GDP มี
มูลคำ่ 366 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐ ฯ (11.933.796 พนั ลำ้ นบำท)รำยไดต้ ่อหวั ตอ่ ปี

เท่ำกบั 5,390 ดอลลำร์สหรัฐฯ
(175,746 บำท) นบั วำ่ มขี นำดใหญ่
เป็นอนั ดบั ที่32ของโลก ทำงดำ้ น
โครงสร้ำงกำรผลิต สดั ส่วนของมลู ค่ำ
ผลผลิตสำขำเกษตรกรรมสำขำ
อุตสำหกรรมกำรผลิต และสำขำบริกำรต่อ GDP คิดเป็นร้อยละ 8.4 39.2 และ 52.4
ตำมลำดบั สำหรับผลผลิตหลกั ในภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรมสินคำ้ ออกหลกั และ
สินคำ้ เขำ้ หลกั ของไทยรวมท้งั ประเทศคู่คำ้ สำคญั ประชำกรมีจำนวน 64.46 ลำ้ นคน
ประชำกรทอี่ ยตู่ ำกวำ่ เสน้ ควำมยำกจนมีอยรู่ ้อยละ 13.15กำลงั แรงงำนจำนวน 39.41
ลำ้ นคน อตั รำกำรวำ่ งงำนร้อยละ 0.7 และในปี 2554 (2011)สดั ส่วนกำรจำ้ งงำนในภำค
เกษตรกรรม อตุ สำหกรรมและบริกำร ต่อกำรจำ้ งงำนท้งั สิ้น เทำ่ กบั ร้อยละ 41.1
19.3 และ 39.6 ตำมลำดบั

ประชำคมอำเซียน 52

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศอินโดนีเซีย

ประเทศอินโดนีเซียมีขนำดเศรษฐกิจใหญท่ ี่สุดของอำเซียน เป็นสมำชิกของกลุ่ม
ประเทศ 20 ชำติวำ่ ดว้ ยเศรษฐกิจ (G-20 major economies) และนบั เป็นประเทศ
อุตสำหกรรมใหม่เช่นเดียวกนั มีระบบ
เศรษฐกิจแบบตลำดแตร่ ัฐบำลมีบทบำท
สำคญั โดยกำรเป็นเจำ้ ของรัฐวิสำหกิจ
รัฐบำลกลำงเป็นเจำ้ ของรัฐวสิ ำหกิจ
จำนวน 141 แห่งและเป็นผกู้ ำหนดรำคำ
สินคำ้ และบริกำรของรฐั วิสำหกิจ ซ่ึง
กิจกำรรัฐวิสำหกิจครอบคลมุ สินคำ้ พ้นื ฐำนประกอบดว้ ยเช้ือเพลิง ขำ้ ว และไฟฟ้ำ ใน
ปี พ.ศ. 2555 GDP ของอินโดนีเซียมีมลู ค่ำเทำ่ กบั 894.9 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐ ฯ
(29,179.109 พนั ลำ้ นบำท) รำยไดต้ ่อหวั ตอ่ ปี เทำ่ กบั 4,943 ดอลลำร์สหรัฐฯ (161,171
บำท) สดั ส่วนผลผลติ ของสำขำเกษตรกรรม สำขำอตุ สำหกรรม และสำขำบริกำร ต่อ
GDP เทำ่ กบั ร้อยละ 14.4 47.0 และ 38.6 ตำมลำดบั สำหรับผลผลิตหลกั ในภำค
เกษตรกรรม อตุ สำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของอินโดนีเซียรวมท้งั
ประเทศคูค่ ำ้ สำคญั สำหรับประชำกร ในปี พ.ศ. 2555 มีจำนวน 241.0 ลำ้ นคน และ
จำกขอ้ มูลในปี พ.ศ. 2554 มีประชำกำรทีอ่ ยตู่ ่ำกวำ่ เส้นควำมยำกจนร้อยละ 12.5 คำ่
สัมประสิทธ์ิจีน่ี (Gini coefficient) เทำ่ กบั 0.343 เม่ือพจิ ำรณำจำกขอ้ มลู ในปี พ.ศ.
2551(2008) มีกำลงั แรงงำนเทำ่ กบั 119.5 ลำ้ นคน โดยอยใู่ นสำขำเกษตรกรรม
อุตสำหกรรม และบริกำร ร้อยละ 38.9 22.2 และ 47.9 ตำมลำดบั

53 ประชำคมอำเซียน

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศมำเลเซีย

มำเลเซียเป็นประเทศที่มีพ้ืนที่ประกอบดว้ ย 3 ภมู ิภำคหลกั คือ คำบสมทุ รมำเลเซีย ซำบำห์ และ
ซำวำรัค โดย 2 ภูมิภำคหลงั อยบู่ นเกำะบอร์เนียวที่มีพ้นื ท่ีติดกบั บรูไน ดำรุสซำลำม และ
อินโดนีเซีย มำเลเซียมีลกั ษณะทำงเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจตลำดอุตสำหกรรมใหม่ ระบบ
เศรษฐกิจเปิ ดและกิจกำรหลำยอยำ่ งเป็นของรัฐ (relatively open and state oriented) รัฐบำลมี
บทบำทสำคญั ในกำรกำหนดและช้ีแนะกิจกรรมทำงเศรษฐกิจผำ่ นแผนเศรษฐกิจมหภำค ในปี
พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) เศรษฐกิจมำเลเซียมีขนำดใหญใ่ นอำเซียนอนั ดบั 3 รองจำกอินโดนีเซีย
และไทย ในปี พ.ศ. 2556 (2013) GDP ของมำเลเซียมีมูลค่ำ 312.4 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐ ฯ
(10,186.114 พนั ลำ้ นบำท) และรำยไดต้ ่อหวั ตอ่ ปี เท่ำกบั 10,412 ดอลลำร์สหรัฐฯ (339,493
บำท) ในปี พ.ศ. 2555 ประชำกรมีจำนวน 29.0 ลำ้ นคน ในปี 2556 มีกำลงั แรงงำน 13.19 ลำ้ นคน
อตั รำกำรวำ่ งงำน ร้อยละ 3.1 จำกขอ้ มูลในปี พ.ศ. 2555 กำลงั แรงงำนอยใู่ นภำคเกษตร
อตุ สำหกรรม และบริกำร ร้อยละ 11.1
36 และ 53.5 ตำมลำดบั ลกั ษณะเด่น
ของเศรษฐกิจมำเลเซีย คือ เป็น 1 ใน 3
ประเทศท่ีควบคุมช่องแคบมะละกำ ซ่ึง
มีบทบำทสำคญั ในกำรคำ้ ตำ่ งประเทศของมำเลเซีย และมำเลเซียยงั เป็นศนู ยก์ ลำงทำงกำรเงิน
และธนำคำรอิสลำมท่ีใหญท่ ี่สุดในโลก เดิมเศรษฐกิจของมำเลเซียข้ึนอยกู่ บั ดีบุก ยำงพำรำ และ
ปำลม์ น้ำมนั 4 แต่ปัจจุบนั อตุ สำหกรรมกำรผลิตมีบทบำทสำคญั อยำ่ งมำก ทำใหเ้ ศรษฐกิจส่วน
ใหญ่ข้ึนอยกู่ บั ภำคนอกเกษตร (โดยเฉพำะสำขำอตุ สำหกรรมกำรผลิต) โดยสำขำเกษตร (รวม
ป่ ำไมแ้ ละประมง) ในปี พ.ศ. 2551 (2009) มีเท่ำกบั ร้อยละ 8.49 ของ GDP ในขณะที่สำขำ
อตุ สำหกรรมกำรผลิตมีร้อยละ 25.80 ต่อมำในปี ปี พ.ศ. 2556 มลู ค่ำผลผลิตสำขำเกษตรมี
สดั ส่วนลดลงเหลือร้อยละ 7.64 ของ GDP ในขณะที่สำขำอุตสำหกรรมกำรผลิตเพ่ิมข้ึนเป็น
ร้อยละ 26.63 สำหรับผลผลิตหลกั ในภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และ
สินคำ้ เขำ้ หลกั ของมำเลเซียรวมท้งั ประเทศคู่คำ้ สำคญั

ประชำคมอำเซียน 54

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศสิงคโปร์

สิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศท่ีอยใู่ นกลุม่ ที่พฒั นำแลว้ ระดบั สูง (highly developed countries)
และพ่ึงพำกำรคำ้ กำรลงทุนจำกตำ่ งประเทศเป็นอยำ่ งมำก มีกำรเก็บภำษใี นอตั รำต่ำ มีGDP ต่อ
หวั ตอ่ ปี ท่ีคิดบนฐำนของควำมเทำ่
เทียมกนั ของอำนำจซ้ือ
(Purchasing Power Parity : PPP)
สูงเป็นอนั ดบั 3 ของโลก มีคอร์รัป
ชนั นอ้ ยมำก และมีบริษทั ขนำด
ใหญ่ที่เกี่ยวขอ้ งกบั รัฐบำลเขำ้ ไปมี
บทบำทในกำรดำเนินกิจกรรมทำง
เศรษฐกิจของประ เทศเป็นอยำ่ งมำก กำรลงทนุ ตำ่ งประเทศของสิงคโปร์มีท้งั ที่เป็นกำรนำเงิน
ไปลงทนุ ในต่ำงประเทศและเป็นกำรลงทนุ จำกต่ำงประเทศ มีนกั ลงทุนจำกต่ำงประเทศจำนวน
มำกท่ีเขำ้ ไปลงทุนในสิงคโปร์เน่ืองจำกมีแรงจูงใจจำกบรรยำกำศกำรล งทุนท่ีดีและกำรเมืองมี
เสถียรภำพ ในปี พ.ศ. 2554 GDP ของสิงคโปร์มีมลู ค่ำ 318.9 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐฯ
(10,398.053 พนั ลำ้ นบำท) รำยไดต้ ่อหวั ตอ่ ปี เท่ำกบั 52,709 ดอลลำร์สหรัฐฯ (1,718,629.654
ลำ้ นบำท) โดยสัดส่วนมูลคำ่ ผลผลิตของสำขำบริกำร และอุตสำหกรรมกำรผลิต คิดเป็นร้อยละ
73.4 และ 26.6 ตำมลำดบั ซ่ึงจะเห็นไดว้ ำ่ กำรผลิตในภำคเกษตรกรรมอำจมีนอ้ ยมำกหรือแทบ
ไมม่ ีกำรผลิต เพรำะคิดเป็นสดั ส่วนร้อยละ 0 ของ GDP สำหรับผลผลิตหลกั ในภำค
เกษตรกรรม อุตสำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของสิงคโปร์รวมท้งั ประเทศคู่คำ้
สำคญั ในปี 2555 สิงคโปร์มีประชำกรมีจำนวน 5.3 ลำ้ นคน สำหรับกำลงั แรงงำน ในปี 2556 มี
จำนวน 3.444 ลำ้ นคน โดยอยใู่ นสำขำบริกำร อตุ สำหกรรมกำรผลิต และกำรก่อสร้ำง ร้อยละ
70.1 15.5 และ 13.7 ตำมลำดบั ส่วนอตั รำกำรวำ่ งงำน อยทู่ ี่ร้อยละ 1.9 (ในปี พ.ศ. 2554 กำลงั
แรงงำนอยใู่ นภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม และบริกำร คิดเป็นร้อยละ 0.1 19.6 80.3
ตำมลำดบั )

55 ประชำคมอำเซียน

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศฟิลิปปิ นส์

ฟิ ลิปปิ นส์เป็นประเทศท่ีมีขนำดเศรษฐกิจใหญเ่ ป็นอนั ดบั 40 ของโลก เป็นประเทศ
อตุ สำหกรรมใหม่ประเทศหน่ึงที่เปลี่ยนจำกกำรพ่ึงพำภำคเกษตรกรรมเป็นหลกั ไปสู่
กำรพ่งึ พำภำคบริกำรและสำขำอตุ สำหกรรมกำรผลิตมำกข้ึน ในปี พ.ศ. 2555 GDP
ของฟิ ลิปปิ นส์มีมูลค่ำ 257พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐฯ (8,379 พนั ลำ้ นบำท) รำยไดต้ ่อ
หวั ต่อปี เทำ่ กบั 2,614 ดอลลำร์สหรัฐฯ(85,232 ลำ้ นบำท) สดั ส่วนผลผลิตของสำขำ
เกษตรกรรม อตุ สำหกรรม และบริกำร ตอ่ GDP คิดเป็นเท่ำกบั ร้อยละ 12.3 33.3 และ
54.4 ตำมลำดบั สำหรับผลผลิตหลกั ในภำคเกษตรกรรม อตุ สำหกรรม สินคำ้ ออก
หลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของฟิ ลิปปิ นส์รวมท้งั ประเทศคู่คำ้ สำคญั ในปี พ.ศ. 2555
ฟิ ลิปปิ นส์มีประชำกรมจี ำนวน 96.2 ลำ้ นคน กำลงั แรงงำนในปี พ.ศ. 2554 มีจำนวน

59.81 ลำ้ นคน โดยอยใู่ น
ภำคเกษตร อตุ สำหกรรม
และบริกำร ร้อยละ 33 15
และ 52 ตำมลำดบั ในปี
พ.ศ. 2551 ประชำกรอยตู่ ่ำ
กวำ่ เส้นควำมยำกจนร้อยละ 22.9 ค่ำสมั ประสิทธ์ิGini เทำ่ กบั 43.0

ประชำคมอำเซียน 56

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศบรูไน ดำรุสซำลำม

บรูไน ดำรุสซำลำม เป็นประเทศขนำดเลก็ เศรษฐกิจมงั่ คงั่ มีกำรผสมผสำนระหวำ่ งกิจกำรของ
คนในประเทศกบั ของตำ่ งชำติ กฎระเบียบของรัฐบำลและมำตรกำรสวสั ดิกำรและประเพณี
ของชุมชน (village tradition) รำยไดห้ ลกั ของประเทศมำจำกกำรส่งออกน้ำมนั ดิบและก๊ำซ
ธรรมชำติ รำยไดจ้ ำกสำขำปิ โตรเลียมมีมำกกวำ่ คร่ึงของ GDP บรูไนเป็นประเทศท่ีมีรำยไดต้ อ่
หวั สูงมำ รำยไดจ้ ำนวนมำกมำจำก
กำรลงทุนจำกต่ำงประเทศ
(oversea investment) และกำร
ผลิตภำยในประเทศ ในขณะที่
รัฐบำลพยำยำมใหเ้ ศรษฐกิจมี
ควำมหลำกหลำยมำกข้ึนไม่
ข้ึนอยเู่ ฉพำะกบั น้ำมนั และกำ๊ ซ
ธรรมชำติในปี พ.ศ. 2553 (2010)
GDP เท่ำกบั 20.38 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐฯ (664,510 พนั ลำ้ นบำท) รำยไดต้ อ่ หวั ต่อปี เท่ำกบั
51,600 ดอลลำร์สหรัฐ ฯ (1,682,469 ลำ้ นบำท) สดั ส่วนผลผลิตต่อ GDP ของภำคอตุ สำหกรรม
กำรบริกำรและเกษตรกรรม เทำ่ กบั ร้อยละ 73.3 26.0 และ 0.7 ตำมลำดบั สำหรับผลผลิตหลกั
ในภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของบรูไนรวมท้งั ประเทศ
คูค่ ำ้ สำคญั ประชำกรในปี พ.ศ. 2555 มีจำนวน 0.4 ลำ้ นคน และประชำกรอยตู่ ่ำกวำ่ ระดบั เสน้
ยำกจนนอ้ ยมำก (ร้อยละ 0.25) กำลงั แรงงำนในปี พ.ศ. 2551(2008) มีจำนวน 188,800 คน โดย
อยใู่ นภำคอุตสำหกรรม บริกำร และเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 63.1 32.4 และ 4.5 ตำมลำดบั
ดว้ ยเหตุที่เป็นประเทศที่มีรำยไดส้ ูงในขณะที่ประชำกรมีจำนวนนอ้ ย รัฐบำลจึงไดจ้ ดั ใหม้ ี
สวสั ดิกำรบริกำรทำงกำรแพทยแ์ ละสนบั สนุนอำหำรและที่อยอู่ ำศยั ท้งั หมด

57 ประชำคมอำเซียน

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศเวยี ดนำม

เวยี ดนำมเป็นประเทศท่มี ีลกั ษณะทำงเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจกำรตลำดท่ีมีกำร
วำงแผนจำกส่วน กลำง (planned economy) ต้งั แตก่ ลำงทศวรรษ 19802 เวียดนำมได้
เปลี่ยนจำกเศรษฐกิจทีม่ ีกำรวำงแผนจำกส่วนกลำงอยำ่ งมำก ไปสู่เศรษฐกิจกำรตลำด
แบบสังคมนิยม (socialist oriented market economy) ธุรกิจส่วนใหญเ่ ป็นขนำดกลำง
และขนำดยอ่ ม (Small and medium enterprises : SMEs) เศรษฐกิจของเวียดนำมใน
ปัจจุบนั ข้ึนอยกู่ บั กำรลงทนุ จำกตำ่ งประเทศเป็นอยำ่ งมำก โดยกำรพ่งึ พำเงินทนุ จำก
ตำ่ งประเทศในกำรสนบั สนุนกำรดำเนินของเศรษฐกิจอยำ่ งต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2555
เวยี ดนำม มีประชำกร 89.0 ลำ้ นคน กำลงั แรงงำน 49.18 ลำ้ นคน โดยอยใู่ นภำค
เกษตรกรรม อตุ สำหกรรม และบริกำร ร้อยละ 48 21 และ 31 ตำมลำดบั สำหรับอตั รำ
กำรวำ่ งงำนในปี พ.ศ. 2556 เท่ำกบั ร้อยละ 2.22 ในปี พ.ศ. 2555 GDP ของเวียดนำม มี
มูลคำ่ 257 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐฯ (8,379.742พนั ลำ้ นบำท) รำยไดต้ อ่ หวั ต่อปี เทำ่ กบั
2,614 ดอลลำร์สหรัฐฯ (85,232 ลำ้ นบำท) เศรษฐกิจของเวยี ดนำมมีกำรเปลี่ยนแปลง
ไปสู่กำรพ่ึงพำภำคอตุ สำหกรรมมำกข้ึน โดย ในปี พ.ศ. 2551 ผลผลิตสำขำกำร
เกษตรกรรมคิดเป็นสัดส่วนตอ่ GDP สูงสุด คอื ร้อยละ 24.52 ของ GDP ในขณะที่
สำขำอุตสำหกรรมกำรผลิตคิดเป็นร้อยละ 22.02 ตำมดว้ ย สำขำกำรคำ้ ส่ง คำ้ ปลีก
และกำรซ่อมแซมรถยนตแ์ ละจกั รยำน คิดเป็นร้อยละ 15.43 ตอ่ มำในปี พ.ศ. 2555
สัดส่วนผลผลิตของสำขำเกษตรกรรม อตุ สำหกรรม และบริกำร ตอ่ GDP เทำ่ กบั ร้อย
ละ 21.6 40.8 และ 37.6 ตำมลำดบั สำหรับผลผลิตหลกั ในภำคเกษตรกรรม
อตุ สำหกรรมสินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของเวยี ดนำมรวมท้งั ประเทศคู่คำ้
สำคญั

ประชำคมอำเซียน 58

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศลำว

เศรษฐกิจส่วนใหญ่ของลำวเดิมข้ึนอยกู่ บั สำขำเกษตรกรรมเป็นหลกั ตอ่ มำพ่ึงพำภำคนอก
เกษตร กรรมมำกข้ึน เช่น สำขำอุตสำหกรรมกำรผลิต และสำขำบริกำรโดยเฉพำะอุตสำหกรรม
กำรท่องเที่ยวที่นบั วนั มีควำมสำคญั มำกข้ึน อุตสำหกรรมกำรทอ่ งเท่ียวเติบโตอยำ่ งรวดเร็วและ
มีบทบำทสำคญั อยำ่ งยงิ่ ต่อเศรษฐกิจของลำว หลงั จำกรัฐบำลเปิ ดลำวสู่โลกในทศวรรษ 19903
และกลำยเป็นอุตสำหกรรมกำรท่องเท่ียวสำคญั ของนกั ทอ่ งเท่ียว จนในปี 2013 ลำวไดช้ ่ือวำ่
เป็นประเทศท่ีคนสนใจไปเที่ยวมำกที่สุดในโลก (World’s best tourism destination 2013)
นอกจำกน้ีกำรผลิตในสำขำไฟฟ้ำและประปำมีสดั ส่วนเพม่ิ ข้ึนเกือบ 2 เทำ่ ซ่ึงในปี พ.ศ. 2551
คิดเป็นร้อยละ 2.74 ของGDP เพ่ิมเป็นร้อยละ 4.44 ในปี พ.ศ. 2555 ท้งั น้ีลำวมีบทบำทสำคญั ใน
กำรผลิตกระแสไฟฟ้ำพลงั น้ำส่งขำยใหแ้ ก่จีน เวียดนำม และไทย นอกจำกกำรผลิตในสำขำ
ก่อสร้ำงมีแนวโนม้ เพม่ิ ข้ึนจำกร้อยละ 5.11 เป็นร้อยละ 7.11 3 สำหรับผลผลิตหลกั ในภำค
เกษตรกรรม อุตสำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของลำวรวมท้งั ประเทศคู่คำ้
สำคญั

59 ประชำคมอำเซียน

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศกมั พชู ำ

กมั พชู ำมีระบบเศรษฐกิจคลำ้ ยกบั ลำวและเวียดนำมท่ีเปล่ียนจำกเศรษฐกิจวำงแผนจำกส่วนกลำ
งมำเป็นเศรษฐกิจกำรตลำดแบบสงั คมนิยม ในปี พ.ศ 2555 (ค.ศ. 2012) GDP ของกมั พชู ำมี
มลู ค่ำ 257 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐฯ (8,379.742 พนั ลำ้ นบำท) รำยไดต้ อ่ หวั ต่อปี เทำ่ กบั 2,614
ดอลลำร์สหรัฐฯ (85,232 บำท) สัดส่วนผลผลิตต่อ GDP ของสำขำเกษตรกรรม อุตสำหกรรม
และบริกำรเท่ำกบั ร้อยละ 34.7 24.3 และ 41.0 ตำมลำดบั สำหรับผลผลิตหลกั ในภำค
เกษตรกรรม อุตสำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้ หลกั ของกมั พชู ำ รวมท้งั ประเทศคูค่ ำ้
สำคญั แสดงในตำรำงท่ี 2 ประชำกรมีจำนวน 15.0 ลำ้ นคน และร้อยละ 20 ของประชำกรในปี
พ.ศ. 2553 อยตู่ ่ำกวำ่ เสน้ ควำมยำกจน กำลงั แรงงำนในปี พ.ศ. 2553 มีจำนวน 8.8 ลำ้ นคน โดย
อยใู่ นสำขำเกษตรกรรม อุตสำหกรรม และบริกำรเท่ำกบั ร้อยละ 57.6 15.9 และ 26.5 ตำมลำดบั

ประชำคมอำเซียน 60

ลกั ษณะและโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ของประเทศพมำ่

พม่ำหรือเมียนมำร์(Myanmar) เป็นประเทศทีน่ บั วำ่ เป็นเศรษฐกิจเกิดใหม่ (Emerging
economy) ท่ีเพง่ิ เปิ ดประเทศในระดบั ท่ีมำกข้ึนไม่นำนมำน้ี ภำคเอกชนมีบทบำท
สำคญั ในกิจกรรมกำรเกษตร อตุ สำหกรรมเบำ และกำรขนส่ง ในขณะที่รัฐบำลทหำร
ควบคุมพลงั งำน อุตสำหกรรมหนกั และกำรคำ้ ขำ้ ว กำรผลิตปิ โตรเลียมและกำ๊ ซ
ธรรมชำติในพมำ่ เป็นบริษทั ของรัฐบำล (Myanmar Oil and Gas Enterprises: MOGE)
ซ่ึงเป็นผผู้ ลิตสำรวจดำเนินกำรทอ่ ส่งกำ๊ ซในประเทศ
เพยี งรำยเดียว อุปสรรคสำคญั ของกำรพฒั นำ
เศรษฐกิจของพมำ่ ไดแ้ ก่ กำรขำดแคลนแรงงำนมี
ฝีมือสำหรับเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ขำดแคลน
โครงสร้ำงพ้นื ฐำนที่เพยี งพอ ในปี พ.ศ. 2554 GDP
ของพมำ่ มีมูลค่ำประมำณ 82.72 พนั ลำ้ นดอลลำร์สหรัฐฯ (2,697.168 พนั ลำ้ นบำท)
รำยไดต้ ่อหวั ตอ่ ปี เทำ่ กบั 1,300 ดอลลำร์สหรัฐฯ (42,387บำท) เศรษฐกิจส่วนใหญ่อยู่
ในภำคเกษตร สัดส่วนของผลผลิตในสำขำเกษตรกรรม อตุ สำหกรรม และบริกำร คิด
เป็นร้อยละ 43 20.5 และ 36.66 ตำมลำดบั ในปี พ.ศ. 2555 มีประชำกรท้งั สิ้นจำนวน
54.6ลำ้ นคน ในปี พ.ศ. 2554 มีกำลงั แรงงำน 32.53 ลำ้ นคน และจำกขอ้ มูลเมื่อปี 2544
(ค.ศ.2001)อยใู่ นภำคเกษตร อตุ สำหกรรม และบริกำร ร้อยละ 70 7 และ 23
ตำมลำดบั กำรวำ่ งงำนในปี พ.ศ. 2555 อยทู่ ่ีร้อยละ 37 ของกำลงั แรงงำนท้งั หมด
สำหรับผลผลิตหลกั ในภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม สินคำ้ ออกหลกั และสินคำ้ เขำ้
หลกั ของพมำ่ รวมท้งั ประเทศคู่คำ้ สำคญั

อำ้ งอิง

https://aec.kapook.com/view50363.html
https://sites.google.com/site/btobbow55
https://www.stou.ac.th/Schools/Sec/services/stou/pdf/
เศรษฐกิจเปรียบเทียบ.pdf
http://www.lampangvc.ac.th
https://www.lib.ru.ac.th


Click to View FlipBook Version