The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-04 10:53:50

เพลงสอนน้อง

เพลงสอนน้อง

เพลง หลกั การจาตาแหน่งสรปุ ใจความสาคญั

ทานองเพลง นอนไม่หลบั
ศิลปิ น Za Za

ตำแหนง่ ใจความสำคญั น้นั มีสตี่ ำแหน่ง
หนึ่งอยตู่ อนต้นยอ่ หนา้ สองตอนกลางยอ่ หน้า สามตอนทา้ ยยอ่ หนา้
และสี่ อย่ตู อนต้นกับทา้ ยย่อหนา้ ..
แค่น้แี หละตำแหน่งสรปุ ใจความ… ท่ีนอ้ ง ๆ ควรจำ

สาระการเรียนร้ภู าษาไทย : ตำแหน่งสรุปใจความสำคญั
การอ่านจับใจความ
ความหมายของการอ่านจบั ใจความสำคัญ

คอื การอา่ นเพอ่ื จับใจความหรือข้อคิด ความคดิ สำคญั หลักของข้อความ หรอื เรอ่ื งท่ีอา่ น เปน็ ข้อความ
ทค่ี ลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหน่งึ ๆ ไวท้ ัง้ หมด

ใจความสำคัญ หมายถึง ใจความทีส่ ำคัญ และเด่นทส่ี ุดในย่อหน้า เปน็ แก่นของย่อหน้าทีส่ ามารถ
ครอบคลุมเน้ือความในประโยคอน่ื ๆ ในย่อหนา้ นัน้ หรอื ประโยคท่ีสามารถเปน็ หัวเรอ่ื งของย่อหน้านนั้ ได้
ใจความสำคญั ของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดงั นี้

๑. ประโยคใจความสำคัญอยูต่ อนตน้ ของย่อหนา้
๒. ประโยคใจความสำคัญอยตู่ อนกลางของย่อหนา้
๓. ประโยคใจความสำคญั อยตู่ อนทา้ ยของยอ่ หน้า
๔. ประโยคใจความสำคัญอยูต่ อนตน้ และตอนท้ายของย่อหน้า

อ้างอิง :

https://sites.google.com/site/technicalreadingyvc2016/home/kar-xan-cabci-
khwam?fbclid=IwAR01MtXvNWScuHTAWa-TQZ6i5ZNFfOyY-6fUddoLqHbgf5m0UwhpVzbFso8

เพลง โวหารภาพพจน์

ทานองเพลง โอ้ละหนอ...My love
ศิลปิ น เบิรด์ ธงไชย

โอ้โอละหนอ นอ้ งฟังดดี ี
โวหารภาพจนน์ ั้นมี ๘ น้า
ทา่ ทางหลอ่ นราวกบั นางพญา

คืออุปมาน้ันไง
โอโ้ อละหนอ จำไวด้ ดี ี
คลา้ ยอุปมานน้ั คอื อุปลักษณ์
ชาวนาเปน็ กระดูกสนั หลงั ของชาติ

คือมคี ำเป็นอยไู่ ง
โอโ้ อละหนอ สามคอื สญั ลักษณ์
กุหลาบแดง ๆ นน้ั แทนความรกั

สี่พระจนั ทร์ทักทายสายลม
คอื บคุ ลาธิษฐาน

โอ้โอละหนอ อธพิ จน์เกนิ จรงิ
เน้นความรู้สกึ แล้วกอ็ ารมณ์
คดิ ถงึ ใจจะขาด คอแห้งเปน็ ผง

กล่าวเกนิ ความจริงนี่นา

โอ้โอละหนอ ลูกมารอ้ งบ๊อก ๆ

เลียนเสียงธรรมชาติเรยี กว่าสัทพจน์

นามนัยน้ันเมอื งโอง จังหวัดราชบุรี

เมืองยา่ โมที่ นครราชสีมา

โอ้โอละหนอ สดุ ท้ายแล้วนา

เลวบริสทุ ธิ์ เธอนะสวยเป็นบ้า

สวรรค์บนดนิ ยิ่งรบี ยง่ิ ช้า

คอื ปฏิพากยน์ ้ันไง

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย : โวหารภาพพจน์

โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลกิ แพลงภาษาทีใ่ ช้พดู หรือเขียนใหแ้ ปลกออกไปจาก
ภาษาตามตวั อักษรทำใหผ้ ู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทบั ใจ เกดิ ความรสู้ กึ สะเทือนใจ เป็นการ
เปรียบเทยี บใหเ้ ห็นภาพอย่างชัดเจน
ประเภทของโวหารภาพพจน์

อปุ มาโวหาร (Simile) อปุ มา คือ การเปรยี บเทยี บว่าส่งิ หนึ่งเหมอื นกบั สง่ิ หนึง่ โดยใชค้ ำเชอ่ื มทมี่ ีความหมาย
เชน่ เดียวกับคำว่า “ เหมอื น ” เชน่ ดุจ ด่ัง ราว ราวกับ เปรียบ ประดจุ ฯลฯ

อุปลักษณ์ ( Metaphor ) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกบั อุปมาโวหารคอื เป็นการเปรยี บเทียบเหมือนกนั แตเ่ ปน็ การ
เปรยี บเทยี บส่ิงหน่ึงเปน็ อกี ส่งิ หนึง่

สญั ลักษณ์ ( symbol ) สัญลักษณ์ เป็นการเรยี กช่ือสิง่ ๆหนง่ึ โดยใชค้ ำอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ สว่ นใหญค่ ำ
ทน่ี ำมาแทนจะเป็นคำท่เี กิดจากการเปรียบเทียบและตคี วาม ซึง่ ใชก้ นั มานานจนเป็นที่เข้าใจและรูจ้ ักกัน
โดยทวั่ ไป

บคุ ลาธิษฐาน ( Personification )บคุ ลาธษิ ฐาน หรอื บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือการกลา่ วถึงสิ่งต่างๆ ทไ่ี ม่มี
ชวี ติ ไม่มคี วามคิด ไม่มวี ญิ ญาณ เชน่ โตะ๊ เก้าอี้ อฐิ ปนู หรอื ส่ิงมชี ีวติ ที่ไม่ใชม่ นุษย์ เชน่ ต้นไม้ สตั ว์ โดยให้สิง่
ตา่ งๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกไดเ้ หมือนมนุษย์ ให้มคี ุณลกั ษณะต่างๆ เหมือนสง่ิ มชี ีวติ

อธิพจน์ ( Hyperbole ) อตพิ จน์ หรอื อธิพจน์ คือโวหารทกี่ ล่าวเกินความจริง เพื่อสร้างและเนน้ ความรู้สกึ
และอารมณ์ ทำใหผ้ ฟู้ งั เกิดความรู้สกึ ทล่ี ึกซ้ึง

สทั พจน์ ( Onematoboeia ) สทั พจน์ หมายถงึ ภาพพจนท์ เี่ ลยี นเสียงธรรมชาติ เช่น เสยี งดนตรี เสยี งสตั ว์
เสยี งคลนื่ เสยี งลม เสียงฝนตก เสียงนำ้ ไหล ฯลฯ การใชภ้ าพพจน์ประเภทนจี้ ะทำใหเ้ หมือนได้ยนิ เสียงนั้นจรงิ

นามนยั ( Metonymy ) นามนัย คือ การใช้คำหรือวลีซงึ่ บง่ ลักษณะหรือคุณสมบัติของส่ิงใดสิ่งหนึ่งแทนอกี
สง่ิ หน่งึ คล้ายๆ สญั ลักษณ์ แต่ต่างกันตรงท่ี นามนัยนั้นจะดึงเอาลกั ษณะบางสว่ นของส่ิงหน่งึ มากล่าวให้
หมายถึงสว่ นทง้ั หมด

ปรพากย์ ( Paradox ) ปฏิพากย์ หรอื ปรพากย์ คอื การใชถ้ ้อยคำทม่ี ีความหมายตรงกันข้ามหรอื ขดั แยง้ กนั
มากล่าว อยา่ งกลมกลืนกนั เพ่ือเพ่ิมความหมายใหม้ ีน้ำหนักมากยิ่งขน้ึ

บรรณานุกรม

ประเภทของโวหารภาพพจน์ ( สมถวลิ วเิ ศษสมบตั .ิ ๒๕๔๔ : ๑๓๑ ; จนั จริ า จติ ตะวิรยิ ะพงษ์. ๒๕๔๙ :
๔๗๔ ; ภญิ โญ ทองเหลา. ๒๕๔๗ : ๑๕ ; รตั นา ศรีมงคล) เข้าถึงได้จาก :
https://www.baanjomyut.com/library_6/the_beauty_of_the_language/01.html

สมาชกิ ภายในกลุ่ม

๑. นางสาวเกาซรั มะ๊ ระ๊ เลขท่ี ๖ หอ้ งทศศ.๖๔๑
๒. นางสาวฟาตนิ ฑ์ ปาโอะมานิ๊ เลขท่ี ๒๑ หอ้ งทศศ.๖๔๑
๓. นางสาวแวอัซมัตร์ ลอนา เลขท่ี ๒๘ หอ้ งทศศ.๖๔๑
๔. นางสาวศศธิ ร สุเหรน็ เลขที่ ๒๙ หอ้ งทศศ.๖๔๑
๕. นางสาวอรณั ญา เยง็ เลขที่ ๓๖ ห้องทศศ.๖๔๑


Click to View FlipBook Version