The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-1-พื้นฐานของมุษย์กับสังคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PK.JITTICHAI MATWONG, Asst. prof., 2021-05-19 04:20:54

บทที่-1-พื้นฐานของมุษย์กับสังคม

บทที่-1-พื้นฐานของมุษย์กับสังคม

บทท่ี 1
พนื้ ฐานของมนษุ ยก์ ับสังคม

สาระสำคญั
มนุษย์ในแต่ละวัยจะมีการเจริญเติบโตพัฒนาการเปลี่ยนแปลงทั้งโครงสร้างทางร่างกาย จิตใจและ

ความสามารถในทักษะการทำงาน ความสัมพันธ์ท้ังรา่ งกายและจิตใจจะต่อเนื่องตลอด ชวี ติ เป�นระยะๆ มนุษย์
ไมส่ ามารถพง่ึ พาตนเองไดท้ ุกอย่าง จำเปน� ต้องพ่ึงพาเพื่อนมนษุ ยซ์ ง่ึ กันและ กนั ที่อาศัยอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม

สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของมนษุ ย์
2. ลกั ษณะสำคญั ของมนุษย์
3. พฤตกิ รรมของมนุษย์
4. ประเภทของมนุษย์
5. ความหมายและความเป�นมาของสงั คม
6. สาเหตุทำใหเ้ กิดสังคมมนษุ ย์
7. องคป์ ระกอบของสงั คม
8. ประเภทของสังคม
9. หนา้ ท่ีสำคญั ของสังคมมนุษย์

1. ความหมายของมนษุ ย์
พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ใหค้ วามหมายของคำว่า “มนุษย์” ไว้ดงั น้ี

มนุษย์ หมายถงึ สัตวท์ ่ีรจู้ กั ใชเ้ หตผุ ล สตั วท์ ี่มจี ติ ใจสงู
จารุณี วงศ์ละคร (2545, หน้า 2) ได้กลา่ วว่า มนษุ ย์ เป�นทัง้ “ชวี ติ ” และ “บคุ คล” มนุษย์

จึงเป�นผลผลิตของทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรม มนุษย์ทุกรูปทุกนามจึงเป�นผลมาจากการสืบทอด สองทาง คือ
ทางธรรมชาติซึ่งเป�นทางในกาย อันหมายเอาการสืบทอดทางชีววิทยาที่อาศัยยีนและ โครโมโซม กับทาง
วัฒนธรรมซ่ึงเป�นทางนอกกาย ที่หมายเอาการสืบทอดทางวิถีชีวิตโดยการ อบรมเลี้ยงดูและ การติดต่อสื่อสาร
กลา่ วคือมนษุ ยม์ ีสองลักษณะ ได้แก่ มนษุ ยใ์ นฐานะสตั ว์โลก และมนษุ ยใ์ นฐานะเป�นผมู้ ีวฒั นธรรม

จำนง อดวิ ัฒนสิทธ์ิ (2548, หนา้ 10) ไดก้ ลา่ วว่า มนุษย์เป�นภาวะอย่างหนงึ่ ทปี่ ระกอบดว้ ย
รูปกับนามโดยเรียกรวมเป�นภาษาทั่วไปว่า “คน” หรือสัตว์โลกที่มีชีวิตชนิดหนึ่งโดยมีความแตกต่างจากสัตว์
โลกชนิดอื่นในเรื่องความคิด ความมีสติป�ญญา รู้จักพิจารณาไตร่ตรอง ด้านหลักแห่งเหตุผล ความมี
สติสัมปชัญญะ มีจิตสำนึกรับผิดชอบชั่วดี ซึ่งกล่าวโดยส่วนรวมก็คือ มีวัฒนธรรมแตกต่าง จากสัตว์โลกชนิด
อ่นื ๆ นัน่ เอง เพราะฉะนน้ั มนษุ ยต์ ามรปู ศพั ท์ จงึ แปลวา่ ผู้มีจิตใจสงู มีคณุ ธรรม

ดงั น้ัน จงึ กลา่ วไดว้ า่ มนษุ ย์เปน� สัตวท์ ี่มีชีวิตเชน่ เดียวกบั สตั ว์โลกทัว่ ไป ได้รับการอบรม เลี้ยงดู
ถ่ายทอดความรูป้ ระสบการณ์ ทำให้มีความคิดสรา้ งสรรคส์ ิ่งตา่ งๆ มเี หตผุ ล มคี วามเมตตา ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและ
กนั จึงทำให้มนุษย์แตกตา่ ง จากสตั ว์โลกชนดิ อนื่ ๆ

2. ลกั ษณะสำคญั ของมนุษย์
สิ่งมีชีวิต ทั้งมนุษย์และสัตว์จะมีลักษณะบางประการที่เหมือนกัน ทั้งนี้เนื่องจากสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย

วิวัฒนาการมาจากจุดเริ่มต้นเดียวกัน แต่ทั้งนี้ก็มีลักษณะที่แตกต่างกัน หรืออาจกล่าวได้ว่า มนุษย์มีลักษณะ
พิเศษหลายประการที่สัตว์ต่างๆ ไม่มีดังที่ ณรงค์ เส็งประชา (2532, หน้า 9-11)ได้กล่าวถึงลักษณะสำคัญของ
มนษุ ยไ์ ว้สรุปได้ ดังน้ี

2.1 ลักษณะของมนุษยแ์ ละสตั ว์มีอยรู่ ว่ มกันและเปน� ที่ยอมรับกนั น้นั มีดงั นี้
2.1.1 ส่งิ มชี ีวิตทุกชนิดตอ้ งการอาหาร นำ้ และอากาศ
2.1.2 สิ่งมีชีวติ ทกุ ชนิดต้องการมคี วามสมั พันธ์ใกล้ชดิ และต้องพึง่ พาอาศยั สง่ิ แวดล้อมทาง

กายภาพและชวี ภาพ
2.1.3 ส่ิงมชี วี ิตทุกชนดิ มคี วามสามารถในการสบื พนั ธ์ุ
2.1.4 ถ้าสิ่งมชี วี ิตขยายแพรพ่ ันธ์ไุ ปเร่ือยๆ โดยไม่มอี ะไรยับยง้ั ถงึ จุดหน่งึ อาหารทีใ่ ชเ้ ล้ียงชวี ติ จะ

ขาดแคลนลง
2.1.5 เม่ืออาหารขาดแคลน สิง่ มชี ีวติ ทงั้ หลายยอ่ มมกี ารต่อส้แู ข่งขันเพื่อแยง่ อาหาร
2.1.6 สิง่ มชี ีวติ แตล่ ะชนิดเมื่อสบื พนั ธม์ุ ีลูกหลานจะมีลักษณะเหมอื นพอ่ แม่แต่บางครง้ั จะมี

กระบวนการผ่าเหล่า (Mutation) เนื่องจากการผสมพันธุ์ของยีน อาจจะทำให้ลูกหลานมีลักษณะแตกต่างกัน
ออกไปย่งิ มปี ระชากรมากก็ยง่ิ มีโอกาสเกิดความแตกตา่ งกันไดม้ ากขน้ึ

2.1.7 การท่สี งิ่ มีชวี ิตจำเปน� ต้องแขง่ ขันแยง่ อาหารกนั ยอ่ มทำให้เกดิ กระบวนการคัดเลอื กของ
ธรรมชาตสิ ัตวท์ ี่ไดเ้ ปรียบคือสัตว์ที่ขยายพันธุ์ได้สูงมีกำลงั กายแข็งแรงฉลาดและมีความอดทน สามารถปรับตัว
เข้ากบั สงิ่ แวดลอ้ มไดด้ ี

2.1.8 เมอ่ื มกี ารคัดเลือกของธรรมชาติจงึ ทำให้มีการวิวฒั นาการ ของอวัยวะตา่ งๆและววิ ัฒนาการ
ของพฤติกรรมตามมา สัตว์ชนิดใดที่สามารถมีวิวัฒนาการของอวัยวะในทางที่ได้เปรียบจะก่อให้เกิดประโยชน์
มากกวา่ ก็อยรู่ อดได้มากกวา่

2.2 ลกั ษณะของมนษุ ยต์ ่างจากสตั ว์ มดี ังนี้
2.2.1 มีความสารถในการเรียนรู้ได้อย่างมากมายผิดจากสตั วป์ ระเภทอนื่ ๆ ลกั ษณะน้ที ำใหม้ นษุ ย์

สามารถพฒั นาการปรบั ตวั ต่อสง่ิ แวดลอ้ มไดด้ สี ำหรบั การเรียนรขู้ องมนุษยน์ นั้ อาศยั ระบบสัญลกั ษณ์
2.2.2 มสี มองท่ใี หญ่ และ มีคุณภาพทำใหม้ สี ติปญ� ญาในการประดษิ ฐ์คดิ คน้ สง่ิ ตา่ งๆ เพื่อ

ประโยชนใ์ นการดำรงชวี ิต สามารถบันทึกเรื่องราวตา่ งๆไวไ้ ดม้ ากมาย
2.2.3 สามารถเดนิ ได้รวดเรว็ มรี ่างกายต้งั ตรงกบั พืน้ โลกทำใหเ้ คลอ่ื นไหว ร่างกายไดร้ อบตวั และ

รวดเรว็

2.2.4 มีนวิ้ มอื ท่ชี ว่ ยใหท้ ำหรือประดษิ ฐส์ งิ่ ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างละเอียด
2.2.5 มตี าท่สี ามารถมองเห็นสิ่งตา่ งๆ ได้ดี โดยมองเห็นได้ในระยะไกลและมองเหน็ ได้อย่างชดั เจน
นอกจากนนั้ ดวงตาท่ีตั้งอยใู่ นตำแหนง่ ทีเ่ หมาะสม
2.2.6 มอี ายทุ ่ียืนยาวกวา่ สัตวช์ นิดอ่ืน ๆ จงึ ทำให้สามารถเรยี นรู้สะสมประสบการณพ์ ร้อมท่จี ะ
ถา่ ยทอดกนั ไดม้ ากกว่าและมคี วามสัมพันธ์กนั หลายรุ่นหลายวัย
2.2.7 โดยปกตแิ ลว้ มนษุ ยเ์ ป�นสัตว์สังคม การมาอยู่รวมกนั เปน� กลมุ่ ทำให้โอกาสที่จะสะสมความรู้
และประสบการณด์ ีกว่าอยเู่ พยี งคนเดียว
2.2.8 ในวยั เยาว์ มีความจำเปน� จะต้องพึง่ พาอาศัยผอู้ ่ืนในการเลย้ี งดูเพือ่ ตอบสนองความต้องการ
พื้นฐาน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย ความปลอดภัยและการอบรมเลี้ยงดูจะใช้เวลายาวนานกว่าสัตว์ประเภทอื่นๆ
ทำให้เกดิ การเรียนรู้และการเลยี นแบบ
2.2.9 มนุษยม์ กี จิ กรรมทางเพศตั้งแตว่ ัยหนุม่ สาวจนถึงวยั ชราและโดยตลอดไมม่ เี ว้นช่วงเวลา
ทำให้การอย่รู ่วมกันระหว่างชายและหญงิ มเี สถยี รภาพ จึงสามารถทำการวางแผนประชากรไดด้ ี
2.2.10 มนุษยส์ ามารถเรียนรแู้ ละมคี วามเฉลยี วฉลาดโดยรจู้ กั การใช้เหตผุ ลในการแกป้ �ญหาและ
พฒั นาวัฒนธรรม
2.2.11 มนุษย์มเี ครอื่ งมือในการสือ่ ความหมาย จึงทำให้เกดิ ตดิ ต่อสือ่ สารแลกเปลยี่ นเรียนรู้
ถ่ายทอดวฒั นธรรมไดด้ ี
2.2.12 มนุษย์ไดเ้ ปรียบกวา่ สัตว์อน่ื ๆ เพราะกนิ อาหารไดม้ ากชนดิ ทง้ั พืชและสัตว์

3. พฤติกรรมของมนุษย์
พฤตกิ รรมของมนษุ ยน์ ัน้ มีผลสืบเนอื่ งมาจากการอบรมเลี้ยงดูต้ังแต่แรกเกิดในสังคมทม่ี นุษย์

อาศยั อยู่ โดย มนุษยจ์ ะมีพฤตกิ รรมท่ีแตกตา่ งกันไป ซงึ่ มีผู้ให้ความหมายของพฤติกรรรมไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
จุฑารตั น์ เออื้ อำนวย (2551, หนา้ 5) ได้ให้ความหมายของพฤตกิ รรม (Behavior) วา่ การแสดง

หรือการกระทำที่มองเห็น และสังเกตได้ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเรียกว่า “พฤติกรรมภายนอก” (Overt behavior)
เชน่ พดู เดิน กนิ นอน ร้องไห้ เลน่ เรียน ฯลฯ เปน� ตน้ และ ในกรณที ่ีมองไม่เห็น หรือ สงั เกตไม่ได้ เพราะเป�น
กระบวนการทางจิต อาจใช้เครอื่ งมอื ทดสอบ หรือ ทดลองได้ เรยี กวา่ “พฤตกิ รรมภายใน” (Covert behavior)
เชน่ การรับรู้ ความคดิ การจำ และการร้สู ึก เปน� ตน้

ศิรนิ ภา จามรมาน และ ปนัดดา ชำนาญสขุ (2553, หนา้ 23) ไดใ้ ห้ความหมายของพฤตกิ รรม
ว่าพฤติกรรมของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน
พฤตกิ รรมของมนุษย์เกี่ยวข้องกบั การกระตุ้นเร้าจากส่ิงแวดล้อมท่ีมชี วี ิตและส่ิงแวดล้อมท่ีไม่มีชวี ิต สิ่งแวดล้อม
ทีเ่ ป�นรูปธรรมและสงิ่ แวดล้อมท่เี ปน� นามธรรม

อำไพ หมื่นสิทธิ์ (2553, หน้า 62) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรม ว่า การกระทำทุกอย่างที่
ผู้กระทำแสดงออกมา ทั้งที่โดยรู้สึกตวั และ ไม่รู้สึกตัว ซึ่งผู้อื่นอาจสามารถสังเกตได้ และไม่อาจสังเกตได้ ทั้งนี้
เพ่อื ตอบสนองตอ่ สง่ิ ใดสิง่ หนึ่ง

ดงั นนั้ สรปุ ไดว้ า่ พฤตกิ รรม หมายถึง การกระทำที่แสดงออกของมนุษย์จากตอบสนองต่อ
สิ่งแวดล้อมอาจจะรู้สึกตัวหรือไม่รู้สึกตัว การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์นั้น ขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและสภาพ
สงั คมทมี่ นุษย์อาศยั อยู่

4. ประเภทของมนษุ ย์
มนุษย์มีความเป�นอยู่ที่แตกต่างกันตามการกระทำของตนทั้งในอดีตและป�จจุบัน ซึ่งโดยลักษณะการ

กระทำของมนุษย์ นั้น ทำให้สามารถแยกมนุษย์ออกเป�น 4 ประเภท ดังที่ คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลัย (2559, หนา้ 4) สรปุ ไดด้ ังนี้

4.1 มนุษย์นรก หมายถึง มนุษย์มีนิสัย ชั่วช้า บาปหนาโหดร้ายชอบสร้างความโหดร้ายให้กับคนอ่ืน
เป�นอย่างมาก ฆ่าสัตว์ ฆ่าคน ลักขโมย มนุษย์พวกนี้ไม่ชอบอยู่บ้านเหมือนบุคคลทั่วไปกลับชอบอยู่ในคุกใน
ตะราง หมดอิสรภาพ ทนทุกขท์ รมานแสนสาหสั

4.2 มนุษย์เปรต หมายถึง มนุษย์ท่ีมีชีวิตความเป�นอยู่อย่างยากลำบาก แสวงหาอาหาร ผ้านุ่งผ้าห่ม
เทา่ นน้ั กว่าจะได้ก็ยากลำบาก แม้จะมีความเพียรขยันหาทรัพย์อย่างไร ก็ไม่พอใชแ้ ละไม่พอกิน มีแต่ความ อด
อยาก ทไ่ี หนดีหากินสะดวก ก็ไปทนี่ น้ั พอไปถงึ ตรงน้ันกลับไม่เจริญ คนมกั เรียกคนประเภทนว้ี า่ “คนกาลกณิ ี”

4.3 มนุษย์เดียรัจฉาน หมายถึง มนุษย์บางจำพวกที่มักอาศัยอยู่กับผู้อื่น เหมือน แมว ม้า หมู เป�ด ไก่
สุดแล้วแตน่ ายจะใช้ให้ทำอะไร หลังจากทำงานเสรจ็ แลว้ เจ้านายจะใหอ้ ะไรที่ถกู ใจหรือไม่ถูกใจ กต็ อ้ งรับเอาใจ
ถึงคราวเจ้านายดุด่าว่า ก็เกิดความสะดุ้งหวาดกลัว หาความสะดวกสบายไม่ได้ เพราะเป�นคนมีกรรม ไม่มี
ความคดิ ทีจ่ ะเลยี้ งชพี ของตนโดยความอิสระ ต้องทนทุกข์ต่อความเปน� ทาสอยา่ งแสนสาหสั

4.4 มนุษย์เทวดา หมายถึง มนุษย์ที่รู้จักสิ่งใดเป�นประโยชน์สิ่งใดเป�นโทษ รู้จักบาปบุญคุณโทษ ตั้งใจ
ประพฤติตนอยใู่ นความดี มีศลี 5 มีความละอาย และเกรงกลัวต่อบาป เปน� มนษุ ยผ์ ้ใู จสูงบำเพญ็ บุญกุศลอยู่เป�น
ประจำท้ังทำกบั ตนเองและชกั ชวนคนอื่น มนุษยป์ ระเภทนเ้ี ป�นประดจุ เทพบตุ ร เทพธิดาทีจ่ ุตลิ งมายงั โลกมนษุ ย์

ดังนั้น สัตว์โลกแต่ละชนิดได้เกดิ ขึน้ เป�นสัตวน์ รก เป�นเปรต และเป�นสัตว์เดียรัจฉาน ล้วนเป�นผล จาก
การกระทำของมนุษย์คร้งั ยังมชี วี ิตอยภู่ ูมิหลังของมนุษย์มคี วามสำคัญอย่างย่งิ ต่อการดำรงชวี ติ ซ่ึงสอดคล้องกับ
พุทธภาษิตวา่ “กัมมนุ า วัตตะตี โลโก” แปลวา่ “สตั วโ์ ลก ย่อมเป�นไปตามกรรม” ใครทำกรรมดยี ่อมได้รับผลดี
ใครทำกรรมชวั่ ยอ่ มได้รับผลชว่ั อปุ สรรคของการเปน� มนุษย์ทส่ี มบรู ณ์

พระมหาสนอง ป�จโจปการี(2553, หน้า 36-38) ได้กลา่ วไว้ดงั นี้
1) โลภะ ไดแ้ ก่ ความอยากได้อยากมหี มายถงึ การอยากได้ไม่รู้จักพอจนนำไปสกู่ ารกระทำผิดกฎหมาย
และศลี ธรรมอนั ดีงามของสงั คม
2) โทสะ ไดแ้ ก่ ความคดิ ประทษุ ร้าย หรอื ความอาฆาตพยาบาท
3) โมหะ ไดแ้ ก่ ความหลง หมายถึง ความไมร่ ู้ในสิ่งทเี่ ป�นคณุ และโทษ เช่น เห็นกงจักรเป�นดอกบัว
4) มานะ ได้แก่ ความถือตัว หรือทะนงตวั ชอบจนิ ตนาการ และเพ้อฝน� ในเรอ่ื งที่ไรส้ าระ
5) ทฏิ ฐิ ได้แก่ ความเหน็ ผดิ หมายถงึ ความเขา้ ใจทีค่ ลาดเคลื่อนจากข้อเทจ็ จริง ประมาทรวมถึงความ
มักง่ายเห็นแกต่ ัว

6) วิจิกิจฉา ได้แก่ ความลังเลสงสัย ในหลักการและอุดมการณ์ของชีวิต ทำให้เสียเวลาและโอกาสใน
การสรา้ งสิง่ ทเี่ ป�นประโยชน์และคณุ งามความดสี ำหรบั ตนเองและสังคม

7) ถีนะ ได้แก่ ความท้อแท้ หมายถึง ความถดถอยในภารกิจที่จำเป�นต้องกระทำเพื่อการอยู่รอดของ
ชวี ติ

8) อุทธัจจะ ได้แก่ ความฟุ้งซ่านจนเกินเหตุหมายถึงอาการหงุดหงิดและกระวนกระวายใจ ซึ่งเรียกวา่
“ใจร้อน” ขาดความอดทนและหนกั แน่น ซึง่ เรยี กว่า “โรคจติ ”

9) อหิริกะ ได้แก่ ภาวะแหง่ การไมล่ ะอายต่อความช่ัว หมายถงึ ความเป�นคนหนา้ ดา้ นใจหยาบ
10) อโนตตัปปะ ได้แก่ ความไม่เกรงกลัวต่อความชั่ว หมายถึง ความไม่สะดุ้งกลัวต่อผลกรรมที่เป�น
อกุศล เรียกว่า “ติดคุกเป�นว่าเล่น”กิเลสท้ังสิบประการ ถือว่าเป�นอุปสรรคสำหรับหนทางนำไปสู่ความเป�น
มนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์
ฉะน้ัน มนุษยจ์ ะต้องกำจดั กิเลสเหลา่ น้ีเสยี กอ่ น เพือ่ ที่จะเข้าสู่ความเป�นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ชีวิตมนุษย์กับ
แนวพระพุทธศาสนาความหมายของชีวิต “ชีวิต คือความเป�นอยู่” ตรงข้ามกับความตาย ผู้ที่มีชีวิต คือผู้ที่ยัง
เปน� อยู่ ถา้ หากว่า ไมเ่ ปน� อยู่ คือ ตาย กไ็ มเ่ รียกวา่ “ชีวติ ”
หลวงวิจิตรวาทการ ได้กล่าวไว้ว่า “ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากำลัง อุปสรรคคือทางแห่ง
ความสำเร็จ” ความหมาย คือ ทุกชีวิตต้องดิ้นรนต้องตอ่ สู้ ต้องทำการงาน ดังคำว่า “ชีวิตไม่สิน้ ก็ต้องดิ้นตอ่ ไป
ชีวิตไม่ดิ้น มนั กส็ ิน้ ใจ” ก็ต้องต่อสตู้ ลอดเวลานับต้ังแตว่ นั ทเี่ กิดมาเปน� ทารกจนถงึ วาระสดุ ท้ายแหง่ ชีวติ ”
วิลเลี่ยม เชกสเป�ยร์ กวีเอกชาวอังกฤษได้กล่าวไว้ว่า “ชีวิตเป�นเพียงเงาที่เดินได้เท่านั้น”แสดงให้เหน็
วา่ เขา ได้มองชวี ิตวา่ เปน� ส่งิ ทไ่ี ม่จรี ังยง่ั ยนื ไม่เปน� ของจริง ไมเ่ ป�นแก่นสารเหมือนเงาทไี่ ม่ใช่ของจรงิ

5. ความหมายและความเปน� มาของสงั คมมนษุ ย์
คำว่า “สังคม” นั้น มีผู้ให้ความหมายไว้เปน� จำนวนมากซึ่งอาจแตกต่างกันออกไปตามพื้นฐานแนวคดิ

ของแต่ละคน ดังตวั อย่างต่อไปน้ี
ทัศนีย์ ทองสว่าง (2549, หน้า 2) ได้ให้ความหมายของสังคมว่า สังคมหมายถึง กลุ่มคนมากกวา่ สอง

คนขึ้นไปได้มาอยู่ร่วมกันเป�นระยะเวลายาวนานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง หรือขอบเขตที่กำหนด ประกอบด้วย
สมาชิกทุกเพศทุกวัยที่มีการติดต่อสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยมีระเบียบแบบแผนหรือวัฒนธรรมในการดำเนิน
ชีวิต โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การซื้อขาย หรือการแลกเปลี่ยนกับสังคมอื่นๆ นอกจากนี้สังคมยังต้องหาวิธีการ
ต่าง ๆ ทำให้สมาชิกอยู่รว่ มกันไดด้ ้วยความสงบสุขเชน่ มีระเบียบกฎเกณฑใ์ นการอยูร่ ว่ มกัน มีการควบคุมทาง
สังคม มกี ารแบง่ งานกนั ทำและมีสมาชิกใหมส่ บื แทนสมาชกิ เก่า

สุดา ภิรมยแ์ ก้ว (2553, หนา้ 67) ไดใ้ ห้ความหมายของสังคมว่า สังคม หมายถงึ กลุ่มคนมากกว่าสอง
คนขึ้นไป ได้มาอยู่รวมกันเป�นระยะเวลายาวนาน ในขอบเขต หรือ พื้นที่ที่กำหนดสมาชิกประกอบด้วยทกุ เพศ
ทุกวัย ซึ่งมีการติดต่อสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยมีวัฒนธรรมหรือระเบียบแบบแผนในการดำเนินชีวิตเป�นของ
ตนเอง และที่สำคัญทีส่ ดุ คอื สามารถเลยี้ งตวั เองได้

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2555, หน้า 62) ได้ให้ความหมายของสังคมว่า สังคม หมายถึง
กลุ่มคนที่มีการจัดระเบียบในการมีชีวิตอยู่ร่วมกัน มีแบบแผนการดำเนินชีวิตในรูปแบบเดียวกัน และทุกคนมี
ความร้สู ึกเปน� สมาชกิ ของสงั คม

สรุปว่า สังคมหมายถึง กลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปได้มาอยู่รวมกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งซึ่งมี
วตั ถุประสงคร์ ่วมกนั มีการพงึ่ พาอาศัยซ่งึ กนั และกันดำเนนิ ชวี ติ ภายใต้กติกา กฎระเบยี บอนั เดยี วกนั ความ
เป�นมาของสังคมมนุษย์นั้น ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าสังคมมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใดแต่ก็มีนักปราชญ์หลายท่านได้ให้
แนวคิดเก่ียวกบั การอยูร่ วมกันของมนษุ ย์จนเกดิ เป�นสงั คมมนุษย์ ดงั ที่

อำไพ หมืน่ สิทธ์ิ (2553, หนา้ 31-33) กล่าวไว้สรปุ ไว้ ดงั นี้
อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรีก (384-322 ก่อน ค.ศ.) กล่าวว่า “มนุษย์เป�นสัตว์สังคม”
(social animal) เขาเชอ่ื ว่า มนษุ ยโ์ ดยสภาพธรรมชาติ จะตอ้ งมชี ีวิตอย่รู วมกบั บุคคลอื่นๆ ตดิ ตอ่ สัมพันธ์ซ่ึงกัน
และกัน ไมส่ ามารถดำรงชวี ติ อยู่อย่างอิสระตามลำพังแต่ผู้เดียวได้ สงั คมจงึ เกดิ ข้ึน จะไม่มีมนุษย์อยู่โดดเด่ียวใน
โลก เพราะคนเดียวไม่อาจสืบเชื้อสายวงศต์ ระกูลได้ ไม่สามารถป้องกันตนเองได้ และไม่สามารถเลี้ยงชพี อยูไ่ ด้
นาน ไม่อาจบำรุงสติป�ญญา ความคิด และมีกำลังเพียงพอ ส่วนนักปราชญ์กลุ่มหนึ่งใหค้ วามเห็นว่าสังคมเปน�
ผลของสัญญาที่มนุษย์ตกลงจัดทำขึ้นด้วยความสมัครใจของมนุษย์เอง วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสังคม เพื่อ
ขจัดความโหดร้ายทารุณและ ความยุ่งยากสับสนต่างๆ ตามสภาพธรรมชาติของมนุษย์แนวความคิดของ
นักปราชญ์กลุ่มน้ี เรียกว่า “ทฤษฎีสัญญาสังคม” (Social Contract Theories of Society) เป�นทฤษฎีที่เช่ือ
ว่ามนุษย์แต่ดั้งเดิมนั้นมิได้รวมกันอยู่เป�นสังคมเช่นป�จจุบันแต่มนุษย์ได้อาศัยอยู่ตามธรรมชาติแต่เนื่องจาก
ความชั่วร้ายความยุ่งยาก การเพิ่มจำนวนของมนุษย์ ตลอดจนอารยธรรม เปน� เหตุใหม้ นุษยจ์ ำต้องละทิ้งสภาพ
ธรรมชาติ และหันมาสัญญาด้วยความสมัครใจท่ีจะอยู่รว่ มกนั ในสังคมทั้งนี้โดยมุ่งหวังที่จะได้รับความคุ้มครอง
และประโยชน์สุขเป�นการตอบแทนบุคคลสำคัญที่เป�นเจ้าของทฤษฎีสัญญาสังคม ได้แก่ Thomas Hobbes,
John Locke และ Jean Jacques Rousseau ซึ่งแนวคิดของนกั ปราชญด์ งั กล่าวมีดังนี้
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) เป�นชาวอังกฤษ เกิดใน ค.ศ. 1588 มีความเชื่อว่าก่อนที่มนุษย์จะ
มาอยู่รวมกันในสงั คมนั้นมนุษย์มชี ีวิตอยู่ตามธรรมชาติซง่ึ เปน� สภาพที่ปราศจากสังคม รูปแบบการปกครองหรือ
รัฐบาล ไม่มีกฎหมายและความยุติธรรม เขามีความเหน็ ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติมีความต้องการ (desire) และ
เหตุผล (reason) แต่มนุษย์มีความต้องการมากกว่าเหตุผล ดังนั้นการใช้พละกำลัง จึงเป�นเครื่องมืออันเดียวท่ี
จะควบคุมสิทธิของมนุษย์ตามธรรมชาติมนุษย์ตามสภาพธรรมชาติจึงมีแต่ความโหดร้ายและเห็นแก่ตัว เขา
อธิบายว่า เพื่อขจัดภาวะอันชั่วรา้ ยดังกลา่ ว มนุษย์จึงสัญญา เพื่อจะเข้ามาอยูร่ ว่ มกันในสังคม โดยละทิ้งสภาพ
ธรรมชาติท่ีเลวร้ายเหลา่ นั้นเสยี ทง้ั นโี้ ดยมเี หตุผลท่จี ะไดร้ ับการพทิ ักษ์รักษาตน
จอห์น ล็อค (John Locke) ชาวองั กฤษ เกิดใน ค.ศ.1632 มคี วามเชื่อว่า “แต่เดิมมนุษย์มีชีวิตอยู่ตาม
สภาพธรรมชาติที่ปราศจากสังคม แต่ในสภาพธรรมชาตินั้น ก็เต็มไปด้วยสันติภาพและเมตตาธรรม การ
อุปการะเอื้ออาทรต่อกันและกันและการอนุรักษ์” “สภาพธรรมชาตินั้นไม่ได้ขาดกฎหมาย เพราะมนุษย์อยู่
ภายใต้กฎธรรมชาติ(law of nature) อยู่แล้ว และย่อมมีสิทธิต่างๆตามธรรมชาติ(natural right) เนื่องจาก
ความยงุ่ ยากสบั สนในการตีความเกีย่ วกบั มนุษยจ์ ึงตกลงสญั ญาท่จี ะอยู่รว่ มกันในสังคมเพ่ือความสงบเรยี บรอ้ ย

ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) เป�นชาวฝรั่งเศส เกิดในป� ค.ศ. 1712 มีความเห็นว่า
สภาพธรรมชาตินั้นเต็มไปด้วยความสุขสูงสุด มนุษย์ตามธรรมชาติมีชีวิตความเปน� อยู่อย่างง่ายๆ และ มีความ
สะดวกสบาย ไม่ต้องดิ้นรนต่อสู้หรอื เกดิ ความย่งุ ยากใดๆ เลย แตม่ ปี จ� จัยสองประการ ทก่ี ระตนุ้ ให้มนษุ ยจ์ ำต้อง
มารวมกันอยู่ในสังคม คือมนุษย์มีจำนวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้นประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งคือ อารยธรรม
หรือความเจริญสมัยใหม่ซึ่งป�จจัยดังกล่าวนี้เป�นเหตุให้เกิดการกดขี่ข่มเหง และการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน
ดังนั้นมนุษย์จึงถูกบังคับให้ละทิ้งสภาพอันสุขสมบูรณ์นั้น แล้วมาร่วมกันสัญญาสังคมขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ความเป�นระเบียบเรียบรอ้ ยและความยุติธรรมจากแนวคิดดังกลา่ ว เป�นการพยายามอธิบายเหตุผลของการมา
อยรู่ ว่ มกนั ของมนุษยจ์ นเกิดเป�นสังคมน้ัน ซึ่งนกั ปราชญแ์ ตล่ ะท่านได้พยายามอธิบายตามแนวคดิ ทฤษฎีของตน
อย่างไรก็ตามอาจสรปุ สาเหตุสำคญั ทท่ี ำใหม้ นุษยจ์ ำเป�นตอ้ งมกี ารรวมกล่มุ เป�นสังคมหลายประการ

6. สาเหตุทำใหเ้ กดิ สงั คมมนษุ ย์
มนุษย์มีความจำเป�นต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน เพราะมนุษย์มีความรู้ความสามารถแตกต่าง จึงต้องมี

ความสัมพันธ์ต่อกัน ต้องเรียนรู้วิถีดำเนินชีวิตเพื่อความอยู่รอดของชีวิตจำเป�นต้องอยู่ร่วมกัน ดังที่
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช (2555,หนา้ 62 -63 ) ไดก้ ลา่ วถงึ สาเหตุทที่ ำให้มนุษยอ์ ยู่รวมกนั ในสังคมด้วย
เหตผุ ลท่ีสำคัญ คอื

6.1 เพื่อสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ความต้องการขั้นพื้นฐาน หรือ ความต้องการอัน
จำเป�นของมนุษย์ คือ สิ่งที่มนุษย์จะต้องแสวงหาเพื่อที่มนุษย์จะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ความต้องการอัน
จำเป�นเหลา่ นบี้ างอย่างกเ็ หมอื นกบั สัตว์อนื่ แตบ่ างอย่างก็เปน� ความต้องการของมนุษยโ์ ดยเฉพาะ ความตอ้ งการ
เหล่าน้ี คอื

6.1.1 ความตอ้ งการของชีวภาพ หมายถึง ความตอ้ งการส่งิ ทจ่ี ำเปน� แกก่ ารมชี วี ิตอยู่ของมนุษย์ เช่น
อาหาร อากาศ ยารักษาโรค เปน� ต้น ความต้องการเหล่านี้ส่วนใหญค่ ลา้ ยคลงึ กบั ของสตั วอ์ นื่

6.1.2 ความต้องการทางกายภาพ คำว่า กายภาพ หมายถึงวัตถุสิ่งต่างๆ เช่น บ้านเรือน เครื่องมือ
เคร่อื งใช้ อุปกรณ์ต่างๆ แสงสวา่ ง ความรอ้ น วตั ถุสง่ิ ของเหลา่ นี้ มคี วามสำคญั ต่อการดำรงอยู่ของมนุษย์

6.1.3 ความต้องการทางด้านจิตวิทยา หมายถึง ความต้องการต่างๆ ที่เกี่ยวกับจิตใจเช่น ต้องการ
ความรกั เหน็ ใจ ปลุกปลอบใจ เม่อื มีทกุ ข์ หรอื ผิดหวงั ตอ้ งการให้ผูอ้ ื่นให้ความสำคัญของตน เม่ือประสบความ
ล้มเหลวหรือท้อแท้ก็ให้กำลังใจ ชมเชยเมื่อทำความดี ซึ่งความต้องการในด้านนี้ส่วนใหญ่เป�นลักษณะเฉพาะ
ของมนษุ ยน์ ่นั เอง

6.1.4 ความต้องการด้านสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ความต้องการด้านนี้
มีความสำคัญต่อมนุษย์ เพราะการได้คบหาสมาคมกับผู้อื่น เป�นการถ่ายทอดวัฒนธรรม หรือให้สัตว์สังคม
กลายเป�นมนษุ ย์นั่นเอง

6.2 เพื่อความเป�นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ สิ่งสำคัญในเรื่องนี้ คือ “วัฒนธรรม” ซึ่งประกอบด้วยภาษา
และแบบแผนในการดำรงชีวิต โดยมนุษย์ได้ใช้ในการขัดเกลาและหล่อหลอมบุคคล เพื่อให้มีความเป�นมนุษย์

โดยผ่านสถาบันพื้นฐาน คือครอบครัว เพื่อสร้างความสำนึกความประทับใจ โดยเห็นคุณคา่ ทางวัฒนธรรมและ
แบบแผนพฤตกิ รรมต่างๆ ที่สงั คมยอมรบั เพ่ือใหอ้ ยู่ร่วมกบั คนอ่ืนได้

6.3 เพื่อทำให้สามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและกลุ่ม เพราะวัฒนธรรมได้รวบรวม
สะสมความรู้ความชำนาญของสังคมไว้ และความรู้ความชำนาญนี้จึงทำให้มนุษย์มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่ง
แปลกๆ ใหม่ๆ อันเป�นประโยชน์แก่ตนเองและสังคมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนั้นการมีภาษายังทำให้มนุษย์
สามารถเผยแพรค่ วามรคู้ วามชำนาญใหก้ วา้ งขวางออกไปอีก

7. องค์ประกอบของสงั คม
จากการท่ีมนุษย์มาอยู่รวมกันก่อให้เกิดเป�นสังคมมนุษย์ เม่อื พจิ ารณาสงั คมทุกสังคมจะมีองค์ประกอบ

ทส่ี ำคัญ ดงั ท่ีพระมหาสนอง ป�จโจปการี (2553, หนา้ 49-50) กลา่ วสรปุ ไว้ ดงั นี้
7.1 การมอี าณาเขตทแ่ี นน่ อน (Territory) หมายถึง เม่อื คนมาอยรู่ ว่ มกนั เปน� กล่มุ จะต้องมีดนิ แดนหรือ

มีอาณาบริเวณที่มีขอบเขตให้รู้กนั ภายในสังคมว่าดินแดนหรือบริเวณของตนมีขอบเขตแคไ่ หน ตรงไหนที่ไม่ใช่
ดินแดนหรือบรเิ วณของตน

7.2 การอยู่ร่วมกันเปน� กลุ่ม (Group Living) หมายถงึ ลกั ษณะการดำรงชีวติ ของมนุษย์ในฐานะที่เป�น
สัตว์สังคม เพื่อประโยชน์แห่งการช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างเป�นป�กแผ่น โดยปกติธรรมชาติของมนุษย์มี
ลักษณะนีอ้ ยูแ่ ล้ว คอื ชอบอยูร่ วมกนั เพราะมนษุ ย์เปน� สัตวส์ งั คม

7.3 การรู้ว่าใครเป�นพวกของตนหรือใครไม่ใช่พวกของตน (Discrimination) หมายถึง สมาชิกของ
สังคมเดียวกนั สามารถทจ่ี ะทราบไดว้ ่าใครเป�นพวกเดยี วกับตน และใครไม่ใช่พวกเดียวกบั ตน เชน่ สังคมชนบทที่
มสี มาชกิ ของสงั คมขนาดเล็ก รู้จักกนั เป�นอยา่ งดี ถ้ามบี ุคคลอ่ืนท่ีไมใ่ ช่สมาชิกของตนหรอื มีคนแปลกหน้าเข้ามา
จะบอกไดท้ นั ทวี ่าบคุ คลนนั้ ไมใ่ ชส่ มาชกิ ของตน ซงึ่ ตรงกันขา้ มกับสังคมเมือง

7.4 การมีความสมั พันธแ์ ละปฏิสัมพันธ์กนั (Relation and Interaction) หมายถึง การที่บุคคลมาอยู่
รวมกันจำเป�นจะต้องมีสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์กัน ถา้ บคุ คลใดก็ตามแมว้ ่าจะมีอาณาบริเวณเป�นกลุ่มแต่ถ้าไม่มี
ความสัมพันธ์หรือปฏสิ ัมพันธ์จะเรียกว่า สงั คมไมไ่ ด้ เช่น บุคคลทม่ี ารอข้ึนรถประจำทาง หากบุคคลเหล่านี้ไม่มี
ความสัมพันธ์หรือปฏิสมั พนั ธ์กนั จะเรียกว่าสังคมไม่ได้

7.5 มีการแบง่ หนา้ ทที่ ำงานอย่างเป�นกิจจะลักษณะ (Divition of Labour) หมายถึง จัดสรรภารกิจให้
สมาชิกทำตามความรู้ความสามารถ และความถนัดอย่างมีระบบ และเปน� ทมี สมาชิกท่อี ยรู่ ่วมกันภายในสังคม
จะต้องมีการร่วมมอื ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กนั และกันของสมาชิก

7.6 มีบรรทัดฐานคล้ายคลึงกัน (Social norms) หมายถึง สมาชิกในสังคมนั้น ต้องมีมาตรฐานในการ
ดำเนินชีวิตที่สอดคล้องกันหรือคล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะในเรื่องกฎเกณฑ์ ค่านิยม ความเชื่อ และวัฒนธรรม
ประเพณี

8. ประเภทของสงั คม

ในการศึกษาสังคมมนุษย์ โดยเฉพาะการแบ่งประเภทของสังคมนั้น มีนักวิชาการได้แบ่งไว้หลาย
ประเภทด้วยกัน โดยจะอาศัยหลักเกณฑ์ลักษณะทางด้านสังคมที่มีความแตกต่างกัน ในการแบ่งประเภทของ
สังคม ดังทีพ่ ระมหาสนอง ปจ� โจปการี (2553, หนา้ 50-54) กล่าวสรปุ ไว้ ดังนี้

8.1 แบง่ ตามลักษณะขนั้ ความเจริญทางเศรษฐกจิ แบ่งเปน� 5 ประเภท คอื
8.1.1 สงั คมที่มีระบบเศรษฐกิจแบบด้ังเดิม (Traditional Society) เปน� สงั คมด้งั เดิมท่ีมนุษย์ผูกพัน

อยกู่ บั จารตี ประเพณีเป�นอยา่ งมาก การขยายตัวทางเศรษฐกจิ มีน้อยเพราะอาชีพหลกั คือ การเกษตรนัน้ ยงั ไม่มี
เทคโนโลยเี กิดข้นึ มากนักผลผลติ จงึ มีนอ้ ย ครอบครัวเปน� หน่วยสังคมทส่ี ำคัญทสี่ ดุ

8.1.2 สังคมเตรียมการพัฒนา (Precondition for Take-off) เป�นระยะที่สังคมได้มีการติดต่อ
ค้าขายกับสังคมภายนอกมากขึ้น สถาบันสังคมเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน อย่างชัดเจน การประกอบ
อาชีพเริ่มพัฒนามากขึ้นทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ มีการขยายตัวเพื่อเพิ่มคุณภาพการผลิต ผลผลิต
กลายเปน� การผลิตเพ่ือการคา้ มากขึ้นมกี ารนำเทคนิควธิ ีการใหม่ๆ มาใช้มากขึน้

8.1.3 สังคมเข้าสู่กระบวนการพัฒนา (Take-Off Stage) เป�นระยะที่สังคมมีการตื่นตัวด้าน
การเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การศึกษา โดยภาคอุตสาหกรรมได้รับความสนใจมากเป�นพเิ ศษ อัตรา
ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจเพิ่มขน้ึ อย่างรวดเร็วมาก

8.1.4 สังคมทะยานเข้าสูภ่ าวะของความอุดมสมบูรณ์ (Drive –to Maturity Stage) เป�นผลมาจาก
สังคมที่ขยายตัวขึ้น ซึ่งทำให้ความเป�นอยู่ของสมาชิกในสังคมมีความสะดวกสบายมากขึ้น มีการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีต่างๆ การจัดสรรทรพั ยากรอย่างมีประสิทธภิ าพ

8.1.5 สังคมอุดมสมบูรณ์ (Stage of High Mass Consumption) เป�นสังคมที่สมาชิกในสังคมมี
มาตรฐานการครองชีพสงู มาก โดยมเี คร่อื งมือท่ีมคี ุณภาพสงู คอยอำนวยความสะดวก วิถีชวี ิตส่วนใหญ่จะมีส่วน
เกยี่ วข้องอยู่กบั เทคโนโลยีสมัยใหม่อยา่ งมาก ประชาชนจะมีความรู้สกึ มั่นคงดำรงอยใู่ นสังคมอย่างมีความสขุ

8.2 แบ่งตามเครื่องมือเครื่องใช้ เป�นการแบ่งสังคมตามประเภทของโบราณวัตถุต่างๆ ที่ค้นพบ
แบง่ เปน� 3 ประเภท คือ

8.2.1 สังคมยุคหิน เป�นสังคมท่เี คร่ืองมือเครือ่ งใช้ของมนุษย์ทาด้วยหิน ชวี ิตความเป�นอยู่แบบง่ายๆ
พึ่งพาอาศัยธรรมชาติเป�นหลัก โครงสร้าง และ ความสัมพันธ์ของคนในสังคมไม่ซับซ้อนเนื่องจากสมาชิกใน
สงั คมมไี มม่ ากนัก

8.2.2 สังคมยุคสำริด เป�นสังคมที่มนุษย์รู้จักใช้เครื่องมือเครื่องใช้ด้วยโลหะพวกสำริดเริ่มปรับตัวท่ี
จะเอาชนะธรรมชาติมากขึ้น กิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเริ่มเป�นระบบและเพิ่มความซับซ้อน
มากขึ้นตามจำนวนของสมาชิกที่เพิ่มข้ึน

8.2.3 สังคมยุคเหล็ก เป�นสังคมที่มนุษย์รู้จักเอาเหล็กมาใช้ประโยชน์ทำให้เครื่องใช้มีคุณภาพมาก
ขึ้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพของการผลิตทางเศรษฐกิจอย่างมากทั้งทางด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
โครงสร้างของสังคมและความสัมพันธ์ของคนในสังคม เปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบที่สลับซับซ้อนจนกระทั่งถึง
ป�จจุบัน

8.3 การแบ่งตามวิวัฒนาการของอาชีพ แบง่ ออกเป�น 5 ประเภท คอื

8.3.1 สังคมล่าสัตว์และเก็บของป่า (Hunting and Gathering Society) เป�นสังคมที่มนุษย์อาศัย
การจับสัตว์ และเก็บพืชผักผลไม้มาเป�นอาหาร ซึ่งเป�นสังคมแรกสุดของมนุษย์เป�นสังคมขนาดเล็ก มี
ความสมั พันธ์กันแบบปฐมภูมิ สมาชกิ สว่ นใหญเ่ ป�นแบบเครือญาติกนั

8.3.2 สังคมเลี้ยงสัตว์เพื่อการยังชีพ (Pastoral Society) โดยเกิดจากมนุษย์ในสังคมล่าสัตว์และ
เกบ็ ของปา่ เริ่มร้จู ักวิธกี ารเลี้ยงสัตว์ ในระยะเปน� การเลยี้ งสัตว์แบบเร่ร่อนเพื่อหาแหลง่ อาหารและนำ้ ให้กับสัตว์
เลี้ยง ขนาดของสังคมใหญ่และซับซ้อนมากกว่าสังคมล่าสัตว์และเก็บของป่า ใช้อำนาจในการปกครองเป�น
บรรทัดฐานเพื่อควบคุมสังคม รู้จักค้าขายแบบแลกเปลี่ยนกัน มีความเชื่อถือในพระเจ้าองค์เดียวกันและพระ
เจ้าหลายองค์

8.3.3 สังคมกสิกรรมพืชสวน (Horticultural Society) เกิดขึ้นพร้อมๆ กับสังคมเลี้ยงสัตว์เพื่อการ
ยังชีพโดยเกิดจากมนุษย์ในสังคมรู้จกั การเพาะปลูกพชื เรม่ิ ร้จู ักต้ังหลักแหล่งเพื่อการทำมาหากิน เป�นสังคมท่ีมี
ประสทิ ธิภาพมากกวา่ สังคมเล้ยี งสตั ว์และเกบ็ ของป่า สถาบันการปกครองเร่มิ เกดิ ขึ้น มกี ารแบง่ งานกันทำอย่าง
ชัดเจน เชน่ พ่อค้า ชา่ งฝม� ือ พอ่ มดหมอผี เป�นตน้

8.3.4 สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) เป�นสังคมที่มนุษย์ รู้จักผลิตไถและนา มาใช้ใน
การเกษตร เรียกกันว่า เป�นการปฏิวัติเกษตรกรรมครั้งแรกของมนุษย์ สังคมเกษตรกรรมจึงมีผลผลิตทาง
การเกษตรเพม่ิ ข้ึน และทำใหเ้ กิดการต้ังถ่ินฐานแบบถาวรขนึ้ ซง่ึ ทำให้มีความเจรญิ งอกงามทางวัฒนธรรมต่างๆ
รจู้ กั นำแรงงานสตั ว์มาใช้ในการเกษตร สถาบันการปกครองมีความสมบูรณ์มากขึ้นระบบการปกครองเป�นแบบ
สมบรู ณาญาสทิ ธิราช

8.3.5 สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) เกิดขึ้นเป�นครั้งแรกในประเทศอังกฤษเป�นสังคมที่
ผลิตสิ่งของทั้งที่เป�นเครื่องบริโภคและอุปโภคด้วยเทคโนโลยีต่างๆ แทนแรงงานคนและสัตว์ทำให้เกิดผลผลิต
เป�นจำนวนมาก สังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความสัมพันธ์ทางสังคมเป�นแบบทุติยภูมิ โดยถือตาม
สถานภาพหรือตำแหนง่ หน้าท่ีการงาน ส่วนความผูกพนั ของสมาชิกในครอบครวั ลดนอ้ ยลงและ เกดิ สถาบนั ทาง
สงั คมขึ้นมากมาย การเมอื งการปกครองมีลักษณะเป�นแบบประชาธิปไตย

8.4 การแบง่ ตามขนาดของสงั คม แบง่ ออกเป�น 3 ประเภท คือ
8.4.1 สังคมระดับต่ำกว่าชาติ เป�นสังคมขนาดเล็ก โดยจะมีอยู่ทั่วไปตามสังคมชนบทสังคมเมือง

สังคมของพวกชนกลมุ่ นอ้ ยท่ีมลี กั ษณะต่างๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรมเปน� ของตนเอง
8.4.2 สังคมชาติ เป�นสังคมที่เกิดจากการรวมตัวกันของสังคมขนาดเล็ก ๆ เข้าด้วยกันโดย

มกี ระบวนการทางการเมืองการปกครอง มีอาณาเขตท่ีแน่นอนมบี รรทัดฐานและมกี ารควบคุมทางสังคม สังคม
ชาตกิ ค็ ือประเทศตา่ งๆ นน่ั เอง

8.4.3 สังคมโลก เป�นสังคมขนาดใหญ่ที่สุดเพราะสังคมโลก หมายถึง สังคมมนุษยชาติทั้งมวล
เนอื่ งจากสงั คมมนุษย์ไมว่ า่ จะอยใู่ นสว่ นใดของโลกต่างก็ลว้ นมีความเก่ยี วข้องสมั พันธ์กันไมท่ างตรงก็ทางอ้อมไม่
ทางใดกท็ างหน่ึง จึงถือว่าโลกเป�นสังคมของมนษุ ยท์ ัง้ มวล

8.5 การแบ่งตามวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม แบ่งออกได้เป�น 3
ประเภท คือ

8.5.1 สังคมดั้งเดิม (Primitive Society) เป�นสังคมระยะแรกสุดของมนุษย์แวดล้อมไปด้วย
ธรรมชาติดิบมีการติดต่อกับสงั คมภายนอกน้อย สมาชิกมีน้อยจึงมีความรู้จักมกั คุน้ กนั ท้ังสงั คม อาชีพหลัก คือ
หาของปา่ เล้ียงสัตว์และการประมงแบบง่ายๆ ขาดความรวู้ ิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เชอื่ ในอำนาจลึกลับท่ี
อยูเ่ หนอื ธรรมชาติ เชน่ พระเจา้ และผบี รรพบรุ ุษ จนกลายเป�นลทั ธวิ ิญญาณ วถิ ีชวี ิตผูกพันกับขนบธรรมเนียม
ประเพณสี ูง

8.5.2 สังคมชาวนา (Peasant Society) เป�นสังคมที่สมาชิกประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งเป�นผล
มาจากการปฏิวัติเกษตรกรรมครง้ั แรกของมนุษย์

8.5.3 สังคมสมัยใหม่ (Modern Society) เป�นสังคมที่สมาชิกประกอบอาชีพอุตสาหกรรมแทน
เกษตรกรรม และมีลกั ษณะเช่นเดยี วกบั สงั คมอตุ สาหกรรม

8.6 การแบ่งตามลักษณะความสัมพันธข์ องสมาชิกในสังคม เป�นการจัดประเภทของสังคมที่นักสังคม
วทิ ยาใชก้ ันมากแบ่งออกเป�น 2 ประเภท คือ

8.6.1 สังคมชนบท (Rural Society) เป�นสังคมที่อยู่ในเขตชนบทมีความหนาแน่นของประชากร
น้อยสมาชิกมีความสัมพันธ์เป�นอันดีต่อกันและมีวิถีชีวิตความเป�นอยู่คล้ายคลึงกันยึดมั่นในขนบธรรมเนียม
ประเพณี มีอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพเกี่ยวข้องกบั เกษตรกรรม ซง่ึ แบง่ ออกเปน� 2 ประเภท คอื สังคมชนบท
ดง้ั เดมิ และสังคมชนบททว่ั ไป

สงั คมชนบทดง้ั เดิม เปน� สังคมชนบทท่ีเกิดขนึ้ ในระยะเริ่มแรก มลี ักษณะสำคัญ คอื มีความเป�นอยู่โดด
เดย่ี ว ติดต่อกับสังคมอ่นื ลำบาก มอี าชีพเกษตรกรรมเปน� อาชพี หลกั และเศรษฐกจิ เปน� แบบพอเลย้ี งตัวเอง

สงั คมชนบททัว่ ไป เปน� สังคมทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงจากสงั คมดั้งเดมิ และมแี นวโนม้ ทีจ่ ะเปลี่ยนแปลงมาก
ย่ิงขนึ้ เน่ืองจากปจ� จัยของการเปลี่ยนแปลงท้ังป�จจยั ภายในสังคมเอง เชน่ ภาวะประชากร คือ การเพิ่มหรือลด
ประชากร การยา้ ยถน่ิ การปรบั ปรงุ ด้านคมนาคม การส่ือสาร เปน� ตน้ และเนอ่ื งจากป�จจัยภายนอกสังคม เช่น
การแพร่กระจายของวฒั นธรรมโดยเฉพาะ วฒั นธรรมของ

สังคมเมืองที่มีความเจริญก้าวหน้า สะดวก รวดเร็ว ง่ายในการปฏิบัติ จำนวนประชากรเพิ่มมากข้ึน
ความโดดเดี่ยวความคล้ายคลึงกันทางสังคมลดน้อยลง มีอาชีพอื่นๆ เช่น การค้าการบริการเพิ่มขึ้นจากอาชีพ
เกษตรที่มีอยู่แต่ดั้งเดิม เศรษฐกิจจึงเป�นทั้งเพื่อเลี้ยงตัวเอง และ เพื่อการค้าขาย บริการความเจริญก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น แต่ยังคงพึ่งพาธรรมชาติเป�นหลักในการดำรงชีวิต สังคมชนบท
มักจะปรากฏอยู่ในรูปของละแวกบ้าน หมู่บ้าน ตำบล เปน� ตน้

8.6.2 สังคมเมือง (Urban Society) เป�นสังคมที่มีความหนาแน่นของประชากรมาก มีความ
เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อมซึ่งเป�นสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นมากกว่า
สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ สมาชิกมีความเป�นอิสระสูง ทำให้ความสัมพันธ์ในสังคมเป�นแบบตัวใครตัวมัน คือ
เป�นทางการมากกว่าส่วนตัวและขาดความเป�นอันหน่ึงอันเดียวกัน แต่อาศัยร่วมกันได้ นักสังคมวิทยาได้ศึกษา
นเิ วศวทิ ยาของสังคมเมืองและพบวา่ สงั คมเมืองเกดิ ขึ้นไดห้ ลายลักษณะและมกี ารเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา
9. หนา้ ทข่ี องสงั คม

เมื่อมนุษย์มาอยู่รวมกันเป�นสังคม สิ่งจำเป�นที่จะทำให้สังคมดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนนั้น จำเป�นต้องจัด
ให้มีบทบาทหน้าที่ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ เกิดความสมดุลโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมกัน ดังที่อำไพ หมื่นสิทธิ์
(2553, หน้า 29-30) กล่าวสรปุ ไว้ ดงั น้ี

9.1 การเพิ่มสมาชิกใหม่ (reproduction) การที่สังคมจะคงความเป�นสังคมได้นั้นจำต้องมีการผลิต
และแสวงหาสมาชกิ ใหม่ ถ้าสังคมละเลยต่อหนา้ ที่ในอีกไม่ช้าสมาชิกของสงั คมก็จะหมดเน่ืองจากสมาชิกเดิมแก่
ตายไป แต่ขณะเดียวกนั การผลิตสมาชกิ ใหม่ก็มิได้มขี ้ึนในอัตราที่น่าพอใจ ถา้ การปฏิบัตหิ นา้ ทไ่ี ม่ดีย่อมหมายถึง
การสลายตัวของสังคมโดยการถกู ดดู กลนื เข้าไปเป�นสว่ นหนึง่ ของสังคมอน่ื ไดเ้ หมือนกัน

9.2 การอบรมสมาชิกใหม่ใหร้ ู้จักกฎเกณฑ์หรือระเบยี บของสังคม (Socialization) เปน� ส่ิงจำเป�นท่ีทุก
สังคมจะต้องจัดให้สมาชิกใหม่ของสังคมได้เรียนรู้กฎเกณฑ์สังคม วิถีการดำเนินชีวิตหรือวัฒนธรรมของสังคม
เป�นสิ่งจำเป�นที่สมาชิกสังคมเดยี วกันจะต้องมคี วามรับรู้รว่ มกัน ถ้าสมาชิกของสังคมไม่รับรู้ร่วมกันย่อมนำไปสู่
การแตกแยกกัน จะติดต่อสื่อสารด้วยความลำบาก และจะเกิดความขัดแย้งรุนแรงและเป�นผลให้สังคมขาด
เอกลักษณข์ องตน จะทำให้สังคมสลายตวั ไปในที่สุด

9.3 การติดต่อสื่อสาร (communication) สังคมจะดำรงอยู่ไม่ได้ถ้าระบบการติดต่อสื่อสารของ
สมาชิกสังคมไม่สามารถเข้าใจ และรับรู้ร่วมกันได้ ด้วยเหตุ นี้ สังคมมนุษย์จะต้องจัดให้มีระบบการ
ติดต่อสื่อสารด้วยสัญลักษณ์ (symbolic communication) ขึ้นเพื่อก่อให้เกิด “ค่านิยมร่วมกัน” (common
value) รวมทั้งต้องมีการสร้างอำนาจบังคับ (sanction) ในกิจกรรมต่างๆ ของสังคมด้วย ถ้าสังคมใดขาดการ
ติดต่อสื่อสารทางสัญลักษณ์ร่วมกันโดยสิ้นเชิงแล้วย่อมนำไปสู่ภาวะแห่งความสับสนยุ่งยาก และอาจเป�น
สญั ญาณแหง่ การสลายตัวของสงั คมน้นั ได้

9.4 ด้านเศรษฐกิจ (economic function) หน้าที่ในการจัดการเกี่ยวกับการผลิต กระจาย และการ
บริโภคเศรษฐทรัพย์ต่างๆ สมาชิกทุกคนของสังคมจึงมีความต้องการป�จจัยสี่ และทรัพย์สินอื่นๆ เพื่อ อำนวย
ความสะดวกในการดำรงชีวิต สังคมใดสามารถจัดการเรื่องเศรษฐกิจได้ดี สมาชิกของสังคมจะมีความแข็งแรง
สมบูรณ์ดี ตรงข้ามกับสังคม ที่จัดการเรื่องเศรษฐกิจบกพร่อง ปล่อยให้สมาชิกยากจน ขาดแคลนทรัพย์สิน
ต่างๆ สมาชิกของสังคมย่อมอ่อนแอขาดความสุข ไม่มีสังคมใดจะดำรงอยู่ได้ โดยปราศจากระบบเศรษฐกิจ
การทรี่ ะบบเศรษฐกิจของแตล่ ะสังคม จะดำเนินไปได้ด้วยดี ต้องขน้ึ อยกู่ บั องค์ประกอบท่สี ำคัญ 2 ประการ คือ
ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ซึ่งเป�นผลมาจากการเลือกทำเลท่ีตั้งทางภูมิศาสตรข์ องสังคม องค์ประกอบที่
สอง ได้แก่ วิธีการจัดการทางเศรษฐกิจ อันนี้รวมถึงเทคนิคในการผลิตกรรม วิธีในการแปรสภาพ และการ
แลกเปล่ียนจากผผู้ ลิตถึงผูบ้ รโิ ภค รวมถงึ การติดตอ่ ค้าขายแลกเปลีย่ นก้ยู มื ระหว่างสังคมดว้ ย

9.5 การจัดระเบียบและการรักษาความสงบเรียบร้อยให้แก่สังคม (maintenance of order) การจัด
ระเบียบด้านการปกครอง การรักษาความยุติธรรมและการระงับข้อพิพาทต่างๆ ของสมาชิกสังคมย่อมเป�น
สงิ่ จำเปน� นอกจาก นน้ั สังคมอาจจะถูกรุกรานจากสงั คมอน่ื ได้เสมอจึงตอ้ งจัดสร้างมาตรการ บางประการเพื่อ
ป้องกันภัยจากสังคมอื่นด้วย เพราะอาจสูญเสียอำนาจการปกครองของตนและตกเป�นอาณาเขตของสังคมอ่ืน
ได้

9.6 การผดุงขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติภารกิจของสมาชิกสังคม (maintenance of meaning
and motivation) การผดุงขวัญ หรือ สร้างขวัญและกำลังใจเป�นสิ่งสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสมาชิกสังคม
เมื่อขาดขวัญและกำลังใจ อาจทำให้เบื่อหน่าย ต่อการปฏิบัติภารกิจ หรือ ไม่มีกำลังใจ ปฏิบัติหน้าที่ตาม
สถานภาพ อย่างเต็มที่ ปกติแล้ว ศาสนาหรือลัทธิความเชื่อของสังคมจะทำหน้าที่กระตุ้น ให้สมาชิกสังคม
ปฏิบัติภาระหน้าที่ต่างๆ ไปด้วยดี ด้วยความกระตือรือร้น ถ้าสังคมใดปล่อยให้สมาชิกมีความเชื่อเรื่องชีวิต
แตกต่างกันมากย่อมเป�นการยากในการติดต่อสื่อสารทางสัญลกั ษณ์ สังคมก็ขาดเอกลักษณ์ (identity) เต็มไป
ดว้ ยความขัดแย้ง ปราศจากจุดมงุ่ หมายรว่ มกัน (common goal) สังคมก็ย่อมอย่ใู นภาวะระสำ่ ระสาย ถ้า
สงั คมใดถูกปลอ่ ยให้สังคมตกอยู่ในภาวะเฉ่ือยชาถงึ ขนาดไม่มีกำลังใจจะทำตามหนา้ ท่ี ไมม่ ีกำลงั ใจจะดำรงชีวิต
อยู่ต่อไป สงั คม นัน้ ยอ่ มสลายตวั ลงอย่างแนน่ อน ดังนั้น การผดงุ ขวัญ และ กำลังใจในการดำรงชพี ของสมาชิก
สังคมจงึ เป�นหน้าท่ที ่จี ำเป�น

จากหน้าที่ดังได้กล่าวมา นั้น เป�นส่วนสำคัญต่อการสร้างความสงบสุขให้กับสังคมอย่างมั่นคง และ
ยั่งยืนได้ จะต้องปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ ของแต่ละคน และมีระบบการสื่อสารที่ดี เพื่อขจัดความขัดแย้งของ
สงั คม พร้อมแก้ปญ� หาต่างๆ ใหส้ มาชกิ ของสงั คม ด้วยความโปรง่ ใส ยุตธิ รรม

สรปุ
มนุษย์ เป�นสัตว์ที่มีชีวิต เช่นเดียวกับสัตว์โลกทั่วๆไป แต่ ได้รับการอบรมเลี้ยงดูถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์ จึงทำให้มีความคิดสร้างสรรค์สิง่ ต่างๆ มีเหตุผล มีความเมตตา ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน จึงทำให้
มนุษย์แตกต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่นๆ ลักษณะสำคัญของมนุษย์น้ันจะมีส่วนที่แตกต่าง หรือมีลักษณะพิเศษ
หลายประการที่บรรดาสัตว์และสิ่งมีชีวิตทั้งหลายไม่มี เช่น กินอาหารได้มากมายหลายประเภทท้ังพืชและสัตว์
มีมันสมองขนาดใหญ่ที่เฉลียวฉลาด สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมสามารถดัดแปลงสิ่งแวดล้อมมาใช้
ประโยชน์ และท่สี ำคัญคือ มวี ัฒนธรรมสามารถสะสม และถา่ ยทอดวฒั นธรรม จากคนรุ่นหนึง่ ไปยังรุ่นต่อๆ ไป
จึงมีผู้กล่าววา่ “ มนุษย์ ” หมายถงึ สัตวท์ ร่ี ูจ้ ักใช้เหตผุ ล สัตวท์ มี่ ีจติ ใจสงู การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์แต่ละ
คน จะต่างกัน ขึ้นอยู่กับพันธุกรรม และสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่มนุษย์อาศัยอยู่ สามารถแยกมนุษย์
ออกเป�น 4 ประเภท ได้แก่ มนุษย์นรก มนุษย์เปรต มนุษย์เดียรัจฉาน และมนุษย์เทวดา เมื่อมนุษย์มาอยู่
รวมกนั ในพ้ืนทใ่ี ดพนื้ ท่ีหน่ึง โดยมวี ัตถุประสงค์ร่วมกนั พึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกนั ดำเนนิ ชีวติ ภายในกฎระเบียบ
อันเดียวกัน จึงเรียกว่า “สังคม” สาเหตุที่ทำให้มนุษย์ต้องมาอยู่รวมกันในสังคม เพราะ มนุษย์มีความ
จำเป�นต้องพึ่งพา ซึ่งกันและกัน มีความรู้ ความสามารถแตกต่างกัน จึงต้องมีความสัมพันธ์ต่อกันเรียนรู้วิถี
ดำเนินชีวิตร่วมกัน ดังนั้น องค์ประกอบของสังคม จึงประกอบด้วย 1.การมีอาณาเขตที่แน่นอน 2.การอยู่
ร่วมกันเปน� กลมุ่ 3.การรูว้ า่ ใครเป�นพวกของตนหรือใครไม่ใช่พวกของตน 4.การมีความสมั พันธ์และปฏิสัมพนั ธ์
กัน 5.มีการแบ่งหน้าที่การทำงานอย่างเป�นกิจจะลักษณะ 6.มีบรรทัดฐานคล้ายคลึงกัน สำหรับการแบ่ง
ประเภทของสังคม นั้น สามารถแบ่งได้ หลายประเภท โดยอาศัยหลักเกณฑ์ลักษณะทางด้านสังคมท่ีแตกต่าง
กัน ได้แก่ 1.แบ่งตามลักษณะขั้นความเจริญทางเศรษฐกิจ 2.การแบ่งตามเครื่องมือเครื่องใช้ 3.การแบ่งตาม
วิวัฒนาการของอาชีพ 4.การแบ่งตามขนาดของสังคม 5.การแบ่งตามวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงทาง

สังคมและวฒั นธรรม 6.การแบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชกิ ในสังคม สังคมมหี น้าที่ 1.การเพิม่ สมาชิก
ใหม่ 2.การอบรมสมาชิกใหม่ให้รู้จกั กฎเกณฑ์หรือระเบียบของสังคม 3.การติดต่อสื่อสาร 4.ดา้ นการเศรษฐกิจ
5.การจดั ระเบยี บและการรักษาความสงบเรียบร้อยใหแ้ กส่ ังคม 6.การผดงุ ขวญั และกำลงั ใจในการปฏบิ ตั ภิ ารกิจ
ของสมาชิกสังคม จากการสรุปดังกล่าวนี้ จะเห็นได้ว่ามนุษย์กับสังคมนั้นจะมีความสัมพันธ์กันไม่สามารถแยก
จากกันได้

แบบฝ�กหัดทา้ ยบทที่ 1
พืน้ ฐานของมนุษย์กับสังคม

คำสงั่ จงเลือกคำตอบทถ่ี กู ท่สี ุดแล้วกากบาทลงในกระดาษคำตอบ ก ข ค ง จ
1. ผทู้ ี่กลา่ ววา่ “มนษุ ย์เป�นสัตวส์ ังคม”

ก. ชาร์ลส์ ดาร์วนิ
ข. อริสโตเตลิ
ค. วลิ เลยี่ ม เชกสเป�ยร์
ง. โทมัส โฮม
จ. จอห์น ลอ็ ค
2. ข้อใดไมใ่ ชอ่ งค์ประกอบของสังคม
ก. การมีอาณาเขตทแ่ี นน่ อน
ข. การอยูร่ ว่ มกันเป�นกล่มุ
ค. มีบรรทัดฐานคล้ายคลึงกนั
ง. มีวัฒนธรรมเหมือนกนั
จ. ทำงานอย่างเป�นอสิ ระตา่ งคนตา่ งทำ
3. สงั คมอุตสาหกรรม เกิดขึ้นเป�นคร้ังแรกในประเทศใด
ก. อเมรกิ า
ข. องั กฤษ
ค. ญป่ี นุ่
ง. เกาหลี
จ. จนี
4. ขอ้ ใดกลา่ วเกย่ี วกับมนษุ ยไ์ ม่ถูกต้อง
ก. สัตว์ทีร่ ู้จกั ใช้เหตผุ ล สัตวท์ ี่มจี ิตใจสงู
ข. มนษุ ยก์ ับสตั ว์น้นั มลี ักษณะบางประการรว่ มกนั อยู่
ค. มนษุ ย์กับสตั วน์ ัน้ มลี ักษณะบางประการแตกตา่ งกนั
ง. มนษุ ย์เปน� สตั วโ์ ลกท่ไี มส่ ามารถพึ่งตนเองได้
จ. มนุษยเ์ ปน� สตั วโ์ ลกทีส่ ามารถพึ่งตนเองจึงสามารถอยู่ตามลำพังได้
5. ข้อใดเป�นสงั คมยุคแรกของมนษุ ย์
ก. สงั คมล่าสัตว์และเกบ็ ของป่า
ข. สงั คมเลี้ยงสัตวเ์ พือ่ การยงั ชีพ
ค. สังคมกสิกรรมพืชสวน
ง. สังคมเกษตรกรรม

จ. สงั คมกสิกรรมพชื ไร่
6. ข้อใดไม่ใชห่ น้าทีส่ ำคัญของสังคมมนุษย์

ก. เพม่ิ สมาชิกใหม่
ข. จะตอ้ งทำใหส้ มาชิกมคี วามมน่ั คง
ค. จดั การอบรมขดั เกลาและพฒั นาสมาชิก
ง. กระจายรายไดใ้ หแ้ ก่สมาชกิ อย่างทั่วถงึ
จ. สนองความตอ้ งการของสมาชกิ ตลอดเวลาที่เรียกร้อง
7. มนษุ ยน์ ิสัยช่วั ช้า บาปหนา โหดร้าย ชอบสรา้ งความโหดร้ายใหก้ บั คนอนื่ คือ มนษุ ย์ประเภทใด
ก. มนษุ ย์นรก
ข. มนุษย์เปรต
ค. มนุษยเ์ ดียรจั ฉาน
ง. มนุษย์เทวดา
จ. มนุษยซ์ าตาน
8. มีการพัฒนาประสทิ ธิภาพของการผลติ ทางเศรษฐกิจอย่างมากท้ังทางด้านเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม
ก. สังคมยุคหนิ
ข. สงั คมยคุ สำริด
ค. สงั คมยุคเหลก็
ง. สงั คมยคุ ทอง
จ. สงั คมยุคเงนิ
9. ข้อใดบอกความหมายของสงั คมไมถ่ ูกตอ้ ง
ก. กลุ่มคนทอ่ี ยรู่ วมกัน มีการติดตอ่ สื่อสารซึ่งกันและกัน และเพ่ือตอบสนองความต้องการ
และผลประโยชนใ์ นการดำรงชีวิตรว่ มกัน
ข. คนจำนวนหน่งึ ที่มีความสัมพนั ธต์ อ่ เนือ่ งกนั ตามระเบียบกฎเกณฑ์โดยมวี ัตถปุ ระสงค์
รว่ มกนั
ค. การที่มนุษย์ ที่มีอะไรส่วนใหญ่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน มีความสัมพันธ์กันและมาอยู่ใน
เขตเดียวกันอย่างถาวร
ง. กลมุ่ คนตงั้ แตส่ องคนขึน้ ไปได้ตดิ ต่อสัมพนั ธ์กันในพื้นท่ีใดพืน้ ท่หี นึง่ ไม่จำเป�นต้องมี
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละกฎระเบยี บร่วมกนั
จ. กลุ่มคนที่มาอยูร่ ว่ มกนั เพราะหนีความกลัวจากภัยธรรมชาติเหมือนกันและมาอยูร่ วมกนั มี
การตดิ ต่อซ่ึงกันและกันระยะเวลานาน

10. ทฤษฎที ่เี ช่อื ว่า มนษุ ย์แตด่ ้ังเดมิ นน้ั มิได้รวมกันอย่เู ป�นสงั คมเชน่ ปจ� จุบันน้ี หากแตม่ นุษยไ์ ด้
อาศยั อยู่ตามสภาพธรรมชาติ

ก. ทฤษฎสี ัญญามนษุ ย์
ข. ทฤษฎีสญั ญาวัฒนธรรม
ค. ทฤษฎสี ญั ญาสงั คม
ง. ทฤษฎีสญั ญาศาสนา
จ. ทฤษฎสี ัญญาคา่ นยิ ม

เฉลยแบบทดสอบ
1.ข 2.จ 3.ข 4.จ 5.ก 6.จ 7.ก 8.ค 9.ง 10.ค

เอกสารอ้างองิ

คณาจารย์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . (2559). มนษุ ย์กบั สังคม. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั .

จารุณี วงศ์ละคร. (2545). ปรชั ญาวัฒนธรรมและวฒั นธรรมไทย. ภาควิชาปรชั ญาและศาสนา
คณะมนษุ ย์ศาสตรม์ หาวิทยาลัยเชยี งใหม.่

จำนง อดวิ ัฒนสนิ ธ์.ิ (2548). สงั คมวิทยาตามแนวพทุ ธศาสตร.์ กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์

จุฑารตั น์ เอือ้ อำนวย. (2551). จติ รวทิ ยาสังคม. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
ณรงค์ เส็งประชา. (2532). มนษุ ย์กับสงั คม. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์
ทัศนยี ์ ทองสวา่ ง. (2549). สงั คมวทิ ยา. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร.์
พระมหาสนอง ปจ� โจปการ.ี (2553). มนุษยก์ บั สงั คม. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท แอคทีฟ พร้นิ ท์ จำกดั .
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. (2555). มนษุ ยก์ ับสงั คม. กรงุ เทพฯ: หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด

อรณุ การพิมพ.์
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525. กรงุ เทพฯ:

ราชบัณฑิตยสถาน.
ศิรินภา จามรมาน และปนดั ดา ชำนาญสุข. (2553). มนุษยก์ บั สงั คม. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์

มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์
สดุ า ภิรมย์แก้ว (2553). มนุษยก์ บั สังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์
อำไพ หมืน่ สทิ ธ.ิ์ (2553). มนุษย์กบั สงั คม. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท ทริปเพ้ิล เอด็ ดเู คชั่น จำกดั .


Click to View FlipBook Version