รายงาน
เร่อื ง ระบบหายใจ
จดั ท�ำ โดย
นายชยพล ขอสงู เนนิ ม.5/1 เลขที่ 2 (รูปเล่ม)
นายชัยนรินทร์ ซิม้ เจริญ ม.5/1 เลขท่ี 3 (หาขอ้ มูล)
นายวรทิ ธธ์ิ ร ท่าพรกิ ม.5/1 เลขท่ี 12 (หาขอ้ มูล)
นายวรี ภทั ร เทศสิงห์ ม.5/1 เลขที่ 13 (หาขอ้ มลู )
นางสาวชญานศิ เจรญิ สขุ ม.5/1 เลขที่ 16 (งานน�ำ เสนอ)
นางสาวชนมน ทัตภริ มย์ ม.5/1 เลขท่ี 17 (ภาพวาด)
นางสาวนันทน์ ภัส ไกรทองสุข ม.5/1 เลขที่ 19 (งานนำ�เสนอ)
นางสาวศุภนชุ โชคสมุทร์ ม.5/1 เลขท่ี 28 (สรปุ เนอื้ หา)
เสนอ
คุณครูประเทือง เย็นฉ�ำ่
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตราด
คำ�นำ�
รายงานเล่มนี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของวชิ าสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (พ32101) จดั ทำ�ขน้ึ เพือ่ ศกึ ษาระบบ
ร่างกายของมนษุ ยซ์ ี่งในเลม่ น้ีจะอธบิ ายรายละเอยี ดเกยี่ วกบั ระบบหายใจ ซง่ึ มีรายละเอียดดังนี้ บทน�ำ
ส่วนประกอบ หนา้ ที่ การท�ำ งานของอวยั วะที่เก่ยี วขอ้ งและโรคที่มโี อกาสเกิดขึ้นในระบบหายใจ คณะผู้
จัดทำ�หวังวา่ ผอู้ ่านจะได้รับความรูจ้ ากการอ่านรายงานเล่มนที้ เ่ี ก่ยี วกับระบบหายใจไม่มากกน็ ้อยและหวงั
ว่าผอู้ ่านจะมีความเขา้ ใจเก่ยี วกับระบบหายใจมากขึ้น
คณะผ้จู ัดทำ�
สารบัญ
เรอ่ื ง หนา้
ค�ำ น�ำ ก
สารบญั ข
ระบบหายใจ คืออะไร? 3
ส่วนประกอบของระบบหายใจ 5
จมกู 5
คอหอย 7
หลอดลม 9
ปอด 11
การท�ำ งานภายในปอดขณะหายใจ 13
การแลกเปลยี่ นก๊าซขณะหายใจ 13
เมอื่ การหายใจเกดิ ขน้ึ ? 15
โรคทส่ี ง่ ผลต่อระบบทางเดนิ หายใจ 19
โรคถงุ ลมโป่งพอง 19
โรคปอดบวม 20
โรคหลอดลมอกั เสบ 21
โรคหวัด 22
ไขห้ วดั ใหญ่ 23
โรคคออักเสบ 24
โรคปอดอกั เสบจากเชื้อรา 25
โรคปอดติดเชอื้ 26
โรคหอบหดื 27
ภาคผนวก 28
บรรณานกุ รม 30
“ระบบหายใจ” คืออะไร ?.. บท ่ีท 1
การแลกเปล่ียนแกส๊ ในมนุษย์จะมีความซบั ซอ้ นมากกว่าสตั ว์หลายชนดิ โดยมนุษย์จะมกี ารแลก
เปลย่ี นผา่ นระบบหายใจ (respiratory system) ซ่งึ ประกอบขน้ึ จากปอด (lung) และส่วนของท่อต่างๆ
ทน่ี �ำ อากาศจากภายนอกหรอื สง่ิ แวดลอ้ มเขา้ มาสภู่ ายในปอดเพ่ือใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนแกส๊ ตอ่ ไป โดยปอด
ของมนุษย์จะมีพนื้ ท่ีผิวมากมายท่สี ัมผสั อยกู่ บั หลอดเลือดฝอยเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพ
ในการแลกเปล่ียนแก๊ส
อากาศจากภายนอกร่างกายจะเข้าสู่รา่ งกายผ่านทางรจู มกู (nostil)
แลว้ จึงเขา้ มาในโพรงจมูก (nasal cavity) ซ่ึงเซลล์เนอื้ เย่อื บผุ วิ ภายในโพรงจมกู จะมีซิเลยี
และเซลล์สร้างเมือก (goblet cell) ชว่ ยในการดักจับสิง่ แปลกปลอม ก่อนจะส่งไปก�ำ จดั ในระบบยอ่ ย
อาหารต่อไป นอกจากน้ีโพรงจมกู ยงั ท�ำ หน้าท่ีเกยี่ วข้องกบั การท�ำ ใหอ้ ากาศมคี วามช้ืนและอณุ หภูมิสูงขึน้ ใกล้
เคียงกับอุณหภมู ิรา่ งกาย ดงั นนั้ ถ้ามกี ารหายใจทางปากแทนที่จะหายใจผา่ นทางจมกู อากาศทเ่ี ข้าจะไม่ถูก
เพม่ิ ความช้นื ปรับอุณหภมู ิ และดกั จับสงิ่ แปลกปลอมกอ่ นเข้าปอดได้
หลังจากอากาศเขา้ มาในโพรงจมูกก็จะถกู ส่งต่อไปยังคอหอย (pharynx) ซ่ึงอยูท่ างดา้ นหลังและ
ท�ำ หน้าท่ีหลักในการควบคุมใหอ้ ากาศเขา้ ส่ทู ่อลมตอ่ ไปไดเ้ ม่ืออากาศผ่านจากคอหอยจะผ่านโครงสร้างที่มี
ลักษณะคลา้ ยกบั กลอ่ งเรยี กว่า กลอ่ งเสียง (larynx) ซงึ่ มเี สน้ เสียง (vocal cord หรือ vocal fold) เม่อื
อากาศเคลอ่ื นผา่ นแลว้ ทำ�ให้เส้นเสียงเกิดการสน่ั ก็จะเกดิ เปน็ เสยี งได้
กลมุ่ ท่ี 1 ม.5/1 ปกี ารศึกษา 2565 3
ทอ่ ลม (trachea ) ทำ�หน้าที่ในการล�ำ เลียงอากาศต่อจากกลอ่ งเสียง โดยมลี ักษณะเป็นท่อตรง
และมีกระดกู ออ่ นรูปเกอื กมา้ หรือรูปตวั c เรียกว่า C-ring เรียงอยรู่ อบท่อลมซอ้ นตอ่ กนั ไปเพอื่ ปอ้ งกนั ไม่ให้
ทอ่ ลมแฟบเขา้ หากันเมือ่ เกิดการหายใจออก ดา้ นหลังของกระดูกอ่อน C-ring มีกล้ามเน้อื เรยี กวา่
trachealis muscle ยดึ ระหว่างปลายกระดูกอ่อนท้ังสองขา้ งสามารถหดตัวและคลายตวั ได้ เพ่อื ใชใ้ น
การปรบั ขนาดเสันผา่ นศูนยก์ ลางของทอ่ ลม และสง่ ผลตอ่ อตั ราเรว็ ของลมท่ีเข้าออกภายในทอ่ ลม สำ�หรบั
เนอ้ื เยอ่ื บุผิวในท่อลมจะเป็นเนือ้ เย่ือบุผิวชนดิ ท่ีมเี ซลล์สรา้ งเมอื กและซิเลียช่วยในโบกพัดเมือกท่ีมสี ิง่ แปลก
ปลอม ฝุ่นละอองให้ออกจากปอดได้
เม่ืออากาศผ่านออกจากท่อลมแล้วจะเข้าต่อมาทหี่ ลอดลม (bronchus) ซ่ึงมี 2 อนั แยกตามปอด
ซา้ ยและปอดขวา โครงสร้างของขั้วปอดยังคงคล้ายกับทอ่ ลมแต่มีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางเล็กกวา่ และกระดกู ออ่ น
จะไมไ่ ดเ้ ปน็ รูปตวั C
เหมอื นในท่อลม แต่ละหลอดลมจะแยกย่อยเปน็ หลอดลมฝอย (bronchiole) จ�ำ นวนมาก ซงึ่ ปลายสุดของ
หลอดลมฝอยจะโป่งออกเป็นถงุ ปลายตนั ขนาดเล็กมากมาย เรยี กวา่ ถงุ ลม (alveolus) เมอ่ื ถุงลมอยรู่ วมกนั
เป็นกลุ่มถุงขนาดใหญ่จะเรยี กวา่ alveolar sac ซึง่ ถงุ ลมน้ีจัดเป็นบรเิ วณหลักทีเ่ กิดการแลกเปลีย่ นแก๊สข้นึ
ถุงลมมจี ำ�นวนมากกว่า 300 ล้านถุงในปอดมนษุ ย์ ถงุ ลมประกอบดว้ ยเซลล์เนื้อเย่อื บุผวิ ชนดิ ท่มี ีรูปรา่ งแบน
เรยี งตัวช้ันเดยี ว (simple squamous epithelium) เพอ่ื ใหแ้ ก๊สต่าง ๆ สามารถแพรผ่ า่ นเขา้ ออกไดร้ วดเร็ว
เซลลข์ องเนื้อเยอ่ื บผุ วิ น้เี รียกว่าpneumocyte โดยเซลล์ pneumocyte บางชนิดจะท�ำ หน้าที่ในการสรา้ ง
สารลดแรงตึงผิว (surfactant) ออกมาเพือ่ ปอ้ งกันไมใ่ หค้ วามชื้น (โมเลกลุ ของน�ำ้ เขา้ มายดึ รวมกนั ตามแรง
ตึงผวิ จนอาจทำ�ใหถ้ งุ ลมยุบเข้าหากนั ได้ นอกจากน้ีภายในปอดจะมเี ซลล์เมด็ เลอื ดขาวชนดิ พิเศษ เรียกวา่
dust cell หรือ alveolar macrophage ทำ�หนา้ ท่ใี นการก�ำ จดั ส่งิ แปลกปลอมที่หลดุ เขา้ มาภายในปอดได้
4 กลุ่มท่ี 1 ม.5/1 ปกี ารศึกษา 2565
ส่วนประกอบ บท ่ีท 12
1.จมกู - จมกู ท�ำ หน้าท่เี ป็นทางผา่ นหลกั ของอากาศท่หี ายใจเขา้ ไปสปู่ อด ในเด็กเลก็ ๆนนั้ ใช้จมกู
หายใจเพียงอยา่ งเดียว จนกระทัง่ อายุ 5-6 เดอื น ในผใู้ หญ่ประมาณรอ้ ยละ 85 ก็หายใจผ่านทางจมกู เปน็
หลกั โดยจะเปลยี่ นจากการหายใจทางจมกู เปน็ หายใจทางปาก เม่อื เวลาต้องการอากาศมากขึน้ เชน่ ขณะ
ออกกำ�ลงั กาย, ขณะใช้เสยี ง หรอื ในกรณที มี่ ีการอดุ กน้ั ของจมกู ในจมกู มีอยู่ 2 แห่ง
ท่ีจะมผี ลตอ่ ความต้านทานของอากาศทผี่ ่านจมกู คือบรเิ วณของวาลว์ ของจมกู
และบรเิ วณทม่ี ีเยอื่ บจุ มูกที่บวมได้ (erectile tissue) จากการควบคมุ ของเสน้ เลอื ด
ทอ่ี ยูข่ ้างใต้ การเปลย่ี นแปลงของปริมาณเลอื ดท่อี ยภู่ ายใตเ้ ยอื่ บจุ มูกนัน้
จะอยภู่ ายใต้การควบคมุ ของเสน้ ประสาททเี่ ลย้ี ง เส้นเลอื ด โดยมศี นู ย์ควบคุมอยูใ่ นก้านสมอง ซึ่งจะทำ�งาน
สลับกันทีละข้าง โดยจมูกข้างหนึ่งจะโลง่ ขณะทีอ่ กี ขา้ งจะคัด การทีห่ ลอดเลือดใตเ้ ย่ือบุจมกู มกี ารทำ�งาน
สลบั ข้างกนั เช่นนเ้ี รยี กว่า “รอบการทำ�งานของจมกู ” (nasal or turbinate cycle) โดยในแตล่ ะรอบ
มีช่วงเวลาประมาณ 1-4 ช่ัวโมง ท�ำ ใหค้ ่าเฉลยี่ ของความต้านทานรวมในจมกู ท้ัง 2 ข้างมคี า่ คงทตี่ ลอดเวลา
ทำ�ให้เราไมร่ สู้ กึ ถงึ การทำ�งานท่ีสลับขา้ งกันนี้ เม่ือใดกต็ ามที่มีการเปลย่ี นแปลงความต้านทานของอากาศด้วย
สาเหตุใดกต็ าม เช่น เป็นหวัด, การออกก�ำ ลังกาย หรอื การสมั ผสั สารกอ่ ภูมแิ พ้ ในผปู้ ่วยทีเ่ ปน็ โรคจมกู อกั เสบ
ภมู แิ พ้ อาจทำ�ให้รบั ร้ถู งึ การท�ำ งานทส่ี ลับกนั นไี้ ด้
ขณะท่คี นเราหายใจเอาอากาศเขา้ ไป อากาศจะผา่ นไปตามช่องจมูกส่วนหนา้ ในแนวตัง้ ด้วย
ความเร็ว 2-3 เมตร ตอ่ วินาที หลังจากนั้นอากาศท่ีหายใจเขา้ ไปจะสอบเขา้ หากันและเปลยี่ นทศิ ทางเปน็ แนว
นอนก่อนถึงวาล์วของจมูก และผ่านวาลว์ ของจมูก ดว้ ยความเร็ว 12-18 เมตร ตอ่ วนิ าที ซงึ่ เปน็ ความเรว็ ท่ี
สงู สุดของอากาศทผี่ า่ นจมูก เนื่องจากผา่ นบรเิ วณทแี่ คบท่ีสุดของทางเดนิ หายใจ หลังจากผา่ นวาลว์ ของจมกู
ความเรว็ ของอากาศจะลดลงเหลอื ประมาณ 2-3 เมตร ต่อวนิ าที จนเม่อื ถงึ บริเวณโพรงหลังจมกู ความเร็ว
จะเร่มิ เพ่มิ เป็น 3-4 เมตร ต่อวนิ าที ทศิ ทางของอากาศจะเปลยี่ นแปลงอกี คร้ัง จากแนวนอนเปน็ แนวตั้ง ลง
ไปยังคอหอย, กล่องเสียง และ หลอดลม ลักษณะของลมทผี่ ่านเขา้ ไปในจมูกนัน้ จะเปล่ยี นแปลงโดยเร่ิมจาก
การเคลือ่ นตวั ของอากาศแบบธรรมดา (laminar flow) กอ่ นถึงวาล์วของจมูก ชว่ งที่ผ่านวาล์วของจมูก จะ
กลายเปน็ ลักษณะของการเคลือ่ นตัวของอากาศแบบหมุนวน (turbulent flow) มากขน้ึ ปจั จยั ทีม่ ีส่วนใน
การท�ำ ใหเ้ กิดการเคลื่อนตวั ของอากาศแบบหมุนวน คอื การเปล่ยี นแปลงทศิ ทางของลมหายใจ และลักษณะ
ของผนังด้านข้างของโพรงจมูกทีไ่ มเ่ รียบ โดยเฉพาะหลงั จากทีอ่ ากาศผา่ นวาล์วของจมูก แลว้ บรเิ วณที่อากาศ
สมั ผัสกบั เทอรบ์ เิ นทกจ็ ะเปน็ การเคลือ่ นตวั ของอากาศแบบหมนุ วนดว้ ย ซ่ึงการเคล่อื นตวั ของอากาศแบบ
น้ี มปี ระโยชนใ์ นการทำ�ให้ลมหายใจสมั ผสั กบั เย่อื บุจมกู มากขนึ้ ทำ�ใหเ้ ย่ือบุจมูกทำ�หนา้ ที่ใหค้ วามอบอุ่นและ
ความชมุ่ ชนื้ ไดด้ ีขนึ้ และชว่ ยท�ำ ความสะอาด อากาศท่ีหายใจเข้าไปได้มากข้นึ
กกลลมุุ่่มทท่ี่ี 11 มม..55//11 ปปีกกี าารรศศกกึึ ษษาา 22556655 5
1.จมูก
6 กลกุ่มลทุ่มี่ ท1 ี่ ม1.ม5./51/ป1ีกปาีกราศรึกศษกึ าษ2า5265565
2. คอหอย - คอหอยเปน็ สว่ นหน่ึงของระบบทางเดนิ อาหารและระบบทางเดินหายใจของสง่ิ มีชวี ิต
หลายชนดิ เนือ่ งจากทัง้ อาหารและอากาศต่างผ่านเข้าสคู่ อหอย รา่ งกายมนษุ ยจ์ ึงมีแผน่ เน้ือเย่ือเก่ยี วพัน
เรยี กว่า ฝาปิดกลอ่ งเสยี ง (epiglottis) ปดิ ชอ่ งท่อลมเมอื่ มีการกลนื อาหาร เพอื่ ป้องกนั การส�ำ ลกั ในมนษุ ย์
คอหอยยงั มคี วามส�ำ คัญในการออกเสียง
2.1) คอหอยสว่ นปาก หรือคอหอยหลงั ชอ่ งปาก (oropharynx)
เป็นส่วนทีอ่ ยู่หลงั ชอ่ งปาก ผนังดา้ นหนา้ ประกอบด้วยฐานของล้นิ และ บท ่ีท 12
วัลเลคิวลา (vallecula ชอ่ งระหว่างลน้ิ กบั ฝาปิดกลอ่ งเสยี ง) ผนังด้านข้าง
เกดิ จากต่อมทอนซิล, แอ่งทอนซลิ (tonsillar fossa) , และผนงั ชอ่ งปาก (faucial pillars)
ผนังดา้ นบนประกอบดว้ ยพ้นื ผวิ ด้านล่างของเพดานอ่อนและลิ้นไก่
คอหอยส่วนจมกู
2.2) คอหอยส่วนจมกู หรือคอหอยหลังโพรงจมกู (nasopharynx) ตง้ั อยดู่ า้ นหลงั โพรงจมูก ดา้ นหลงั
เย้ืองดา้ นบนของสว่ นน้ี มาจากระดบั รอยต่อของเพดานอ่อนและเพดานแข็ง ถึงฐานของกะโหลกศรี ษะ ด้าน
ข้างเปน็ แอง่ โรเซนมลุ เลอร์ (fossa of Rosenmuller) ผนังด้านล่างประกอบด้วยพื้นผวิ ดา้ นบนของเพดาน
อ่อน
คอหอยสว่ นกล่องเสียง
2.คอหอย
2.3) คอหอยส่วนกล่องเสยี ง หรือคอหอยหลงั กลอ่ งเสียง (laryngopharynx หรอื hypopharynx)
บริเวณน้ีมีจุดเช่อื มกลอ่ งเสยี งและหลอดอาหาร (บริเวณหลงั กระดกู อ่อนไครคอยด์ (postcricoid area)) ,
แอ่งพิรฟิ อร์ม (piriform sinus) , และผนงั คอหอยดา้ นหลัง (posterior pharyngeal wall) เชน่ เดยี ว
กบั คอหอยส่วนปากทีอ่ ยู่ด้านบน คอหอยสว่ นกลอ่ งเสียงเปน็ ทางผา่ นของทั้งอาหารและอากาศ และดาด
ด้วยเนื้อเยอ่ื บุผวิ ชนิดสแตรทฟิ ายด์ สความัส (stratified squamous epithelium) สว่ นนจ้ี ะวางตัวอยู่
ด้านหน้าฝาปิดกลอ่ งเสียง และยื่นลงมาจดกลอ่ งเสียงซงึ่ เป็นบรเิ วณที่แยกออกเป็นทางเดนิ หายใจและทาง
เดนิ อาหาร หลอดอาหารจะนำ�อาหารลงไปยังกระเพาะอาหาร สว่ นอากาศจะผ่านกล่องเสยี งซึง่ อยดู่ ้านหนา้
ระหวา่ งการกลืนการหายใจจะหยุดชัว่ ครู่เพ่อื ให้อากาศผา่ นลงไปยังหลอดอาหาร
2.คอหอย
กกลล่่มุุมทท่่ีี 11 มม..55//11 ปปีกีกาารรศศึึกกษษาา 22556655 7
8 กลกุ่มลทมุ่ ี่ ท1 ี่ ม1.ม5./51/ป1กี ปาีกราศรึกศษกึ าษ2า5265565
3.) หลอดลม (trachea) - เป็นสว่ นหน่งึ ของระบบหายใจ มีหน้าท่หี ลกั คือ การนำ�ส่งอากาศ บท ่ีท 12
จากภายนอกร่างกายเข้าสู่ปอดเพอื่ ท�ำ หน้าท่ใี นการแลกเปลีย่ นกา๊ ซออกซเิ จนเขา้ ส่เู ลือด และนำ�ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากรา่ งกาย หลอดลมของมนษุ ยเ์ ริ่มตัง้ แต่ส่วนท่ีตอ่ จากกลอ่ งเสยี ง (Larynx) ลงไป
สน้ิ สุดทถี่ งุ ลม
หลอดลม มีชือ่ เรยี กแตกตา่ งกนั ตามขนาดและตำ�แหน่ง ไดแ้ ก่
3.1) หลอดลมใหญ่ (Trachea) เปน็ ส่วนที่อยู่ต่อจากกลอ่ งเสียงยาวลงไปจนถึง
จุดทแ่ี ยกเขา้ สปู่ อดดา้ นซา้ ยและด้านขวา
3.2) หลอดลมของปอด (Main bronchus) เป็นแขนงของหลอดลมใหญ่
ซ่ึงอยูใ่ นแตล่ ะขา้ งของปอด เริ่มตน้ ตอ่ จากหลอดลมใหญ่ลกึ เข้าไปในเนอ้ื ปอด
หลอดลมเหลา่ น้ีเมื่ออยลู่ กึ เขา้ ไป ก็จะมกี ารแตกแขนงแยกย่อยลงไปอกี ตามตำ�แหน่งของเนือ้ ปอด เช่น
หลอดลมของปอดกลีบบน (upper lobe bronchus),หลอดลมของปอดกลบี ลา่ ง (lower lobe bron-
chus), หลอดลมแขนง (segmental bronchus) เป็นตน้
3.3) หลอดลมฝอย (Bronchiole3).หเลปอดน็ ลแมขนงย่อยของหลอดลมของปอด หลอดลมฝอยเหล่าน้ีบางส่วน
นอกจากจะสามารถน�ำ ก๊าซเข้าสปู่ อดไดแ้ ลว้ ยังสามารถท�ำ หน้าท่ใี นการแลกเปลี่ยนก๊าซไดด้ ้วย แต่ไม่เปน็
หนา้ ที่หลกั เหมือนถุงลม
กกลลุ่่มมุ ทท่่ีี 11 มม..55//11 ปปีกกี าารรศศกึกึ ษษาา 22556655 9
10 กลกุ่มลทมุ่ ี่ ท1 ่ี ม1.ม5./51/ป1กี ปาีกราศรึกศษึกาษ2า5265565
4.) ปอด (Lung) - ปอดเปน็ อวัยวะในช่องอก อยู่ทางด้านซ้ายและดา้ นขวาของหัวใจ มีรปู ร่างคอ่ น บท ่ีท 12
ขา้ งเปน็ ทรงกรวยโดยมดี า้ นแคบอยทู่ างด้านบน ดา้ นลา่ งเป็นด้านกวา้ งมสี ว่ นเวา้ ทสี่ บเข้าพอดกี ับส่วนนูนของ
กะบังลมบางส่วนของสว่ นยอด (apex) ของปอดยน่ื เข้าไปในฐานของคอ อยู่เหนือกระดูกซี่โครงอันทห่ี น่งึ
ด้านกระดูกสันอกอยเู่ ล็กน้อย ด้านหลังของปอดอยู่ใกล้กับกระดูกสนั หลงั และด้านหนา้ กินพืน้ ท่ีตง้ั แตอ่ กลง
มาจนถงึ กะบงั ลม
การแลกเปล่ยี นก๊าซและการใชอ้ อกซเิ จน เมื่อเราหายใจเขา้ อากาศภายนอก
เข้าสอู่ วัยวะของระบบหายใจไปยังถงุ ลมในปอดที่ผนงั ของถุงลมมีหลอดเลอื ดฝอยตดิ อยู่
ดงั นน้ั เมือ่ อากาศผา่ นเข้ามาถึงถุงลมจงึ มีโอกาสใกลช้ ดิ กบั เม็ดเลือดแดงซ่ึงไหลมา
พรอ้ มกับเลอื ดภายในหลอดเลอื ดฝอยมากข้นึ จากน้ันออกชิเจนในอากาศซง่ึ
มปี ระมาณมากกวา่ ประมาณออกซิเจนในเลือด ก็จะซมึ ผ่านผนังถงุ ลมและผนังหลอดเลอื ดฝอยน้เี ข้าส่เู มด็
เลอื ดแดง และพร้อมกนั น้นั คาร์บอนไดออกไชด์ท่ีเหลอื จากกระบวนการเมทาบอลซิ ึมของเซลล์ต่าง ๆ ใน
รา่ งกาย และส่งมากบั เม็ดเลือดแดงก็จะออกจากเมด็ เลือดผ่านผนังออกมาสู่ถงุ ลม ปกติในอากาศมีออกชเิ จน
รอ้ ยละ 20 แตอ่ ากาศท่ีเราหายใจมอี อกซเิ จนร้อยละ 13
กกลลุ่มุ่มททีี่่ 11 มม..55//11 ปปกกีี าารรศศกึึกษษาา 22556655 11
4.ปอด
12 กลกุ่มลทมุ่ ่ี ท1 ่ี ม1.ม5./51/ป1ีกปากีราศรกึ ศษกึ าษ2า5265565
การทำ�งานภายในปอดขณะหายใจ บท ่ีท 123
1.การแลกเปล่ยี นก๊าซขณะหายใจ
การแลกเปลีย่ นแก๊สที่บรเิ วณถุงลมและบรเิ วณเนอื้ เยอ่ื จะเกิดข้ึนโดยอาศยั ความแตกต่างของความดนั ยอ่ ย
ในเลือดและบรเิ วณต่างๆในรา่ งกาย ความดนั ยอ่ ยของแกส๊ (partial pressure) เปน็ ค่าความดนั ของแกส๊
หนึ่งๆ เทยี บกบั คา่ ความดนั ทงั้ หมด ตวั อย่างเช่น ท่คี วามดันบรรยากาศ (760 mmHg) ในอากาศปกติจะมี
แกส๊ ออกซิเจนเปน็ องค์ประกอบอยูป่ ระมาณ 21% แสดงวา่ คา่ ความดันย่อยของ
แกส๊ ออกซเิ จน (Po2) จะมคี ่าเท่ากับ 21% x 760 = 160 mmHg เปน็ ตน้
ขณะท่ใี นความดนั บรรยากาศ อากาศจะมแี กส๊ CO2 เปน็ องค์ประกอบอยู่
ประมาณ 0.04% ดังนั้นคา่ ความดันย่อยของแกส๊ CO2 (Pco2) ในอากาศจะมคี ่า
เท่ากับ 0.04% x 760 = 0.3 mmHg การแพร่ของแกส๊ จะเกิดจากบริเวณที่มีความดันย่อยของแก๊สชนดิ นั้น
สูงไปยังบริเวณท่มี ีความดนั ย่อยของแก๊สชนดิ นน้ั ต�ำ่ กว่าเสมอ
ทบี่ ริเวณถงุ ลมปอดจะมกี ารแลกเปลี่ยนแก๊สเกดิ ข้ึนระหวา่ งผนงั ของถุงลมกับเลอื ดภายในหลอด
เลอื ดฝอยที่มาหลอ่ เลยี้ งบรเิ วณถงุ ลม ซ่ึงโดยท่ัวไปในถุงลมจะมีคา่ ความดันยอ่ ยของแกส๊ ออกซิเจนสูงกว่าใน
เซลล์เมด็ เลอื ดแดง ดังนน้ั แก๊สออกซิเจนจึงสามารถแพรจ่ ากถุงลมเขา้ ส่เู ซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงได้ ขณะทค่ี วาม
ดนั แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลอื ดจะสงู กว่าในถุงลมเนอื่ งจากเลือดน�ำ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์มาจาก
เซลลต์ า่ งๆ ภายในร่างกาย ดงั น้ันแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จงึ แพร่ออกจากเลือดเข้าส่ภู ายในถงุ ลมได้ นกั
วทิ ยาศาสตร์พบว่าในลมหายใจเขา้ ของมนุษยจ์ ะมีปรมิ าณแก๊สออกซิเจนอยปู่ ระมาณ 21% แต่เหลอื กลับ
ออกไปในลมหายใจออกเพียง 14% ขณะทแ่ี ก๊สคารบ์ อนไดออกดใ์ นลมหายใจเขา้ มีประมาณ 0.3% แตเ่ มอื่
อยใู่ นลมหายใจออกจะเพิ่มขนึ้ เกือบร้อยเท่าอย่ทู ่ี 5.6%
ในทางตรงกันข้ามกันในถุงลมปอด ท่ีบรเิ วณเน้ือเยอ่ื ต่างๆ ซ่ึงมกี ิจกรรมและการหายใจในระดับเซลล์
โดยใช้แกส๊ ออกซเิ จนและมีการผลิตแก๊สคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมามาก จึงทำ�ใหใ้ นเน้ือเยอ่ื มคี า่ ความดันย่อย
ของแก๊สออกซิเจนตำ่�กวา่ ความดันย่อยของแกส๊ ออกซิเจนในเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง ดังนั้นแก๊สออกซิเจนจงึ แพร่
ออกจากเซลล์เมด็ เลอื ดแดงเข้าสู่เนอ้ื เยอื่ ได้ ขณะทคี่ ่าความดันยอ่ ยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเนือ้ เยื่อจะสูง
กวา่ เนอ่ื งจากเนื้อเยื่อมกี จิ กรรมต่างๆ และผลติ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ออกมามาก ซงึ่ สามารถแพรอ่ อกจาก
เน้อื เยอื่ เข้าไปในหลอดเลือดใหม่อีกครัง้ เลือดก็จะเปลี่ยนไปฟอกแก๊สใหม่ท่ปี อดไดเ้ ป็นวฐั จกั รตอ่ ไป
กกลลุ่มมุ่ ทท่่ีี 11 มม..55//11 ปปีกีกาารรศศึึกกษษาา 22556655 13
14 กลกมุ่ ลทมุ่ ่ี ท1 ่ี ม1.ม5./51/ป1ีกปากีราศรกึ ศษึกาษ2า5265565
2.เมื่อการหายใจเกดิ ขึ้น? บท ่ีท 123
การหายใจเปน็ กระบวนการในการน�ำ อากาศจากภายนอกเขา้ สู่ร่างกายและออกจากรา่ งกายของมนษุ ย์ โดย
การหายใจประกอบดว้ ยสองขน้ั ตอนหลกั คอื การหายใจเขา้ (inhalation) และการหายใจออก (exhala-
tion)
กลไกการหายใจของมนษุ ย์จัดเปน็ แบบ negative breathing ซง่ึ การน�ำ อากาศเขา้ สู่ร่างกายของ
มนุษยน์ นั้ จะอาศัยความแตกต่างของความดนั สองบริเวณ โดยแก๊สจะแพร่จากบรเิ วณ
ท่ีมีความดนั อากาศสงู ไปยงั บริเวณทีม่ ีความดนั อากาศต�่ำ เสมอ และถ้ามีปรมิ าณ
เพม่ิ ข้นึ ในระบบปดิ (ปอดอยภู่ ายในช่องอก (thoratic cavity) ซ่ึงเปน็ ระบบปดิ
ไม่มีอากาศผ่านเขา้ ออกได)้ ความดันของระบบจะลดลง เมื่อปริมาตรลดลง ความดนั
จะเพิม่ ข้นึ จากหลักการทงั้ สองขอ้ น้ี มนุษยจ์ งึ ใชก้ ารเปลี่ยนแปลงปริมาตรของปอดเพอ่ื ใหเ้ กดิ การหายใจเขา้
ออกได้
การหายใจเข้าของมนษุ ย์จะต้องทำ�ใหป้ อดมีปรมิ าตรเพม่ิ ขึน้ เพอื่ ให้ความดันภายในปอดลดลง
ความดันภายนอกทส่ี ูงกว่าก็จะดันใหอ้ ากาศไหลเข้ามาภายในปอดได้ โดยเม่อื เกดิ การหายใจเขา้ กลา้ มเนื้อ
กะบังลม (diaphragm) จะหดตัวเป็นราบลง รวมถึงการหดตัวของกล้ามเนือ้ ยึดซโ่ี ครงแถบนอก (external
intercostal muscle) ท�ำ ใหก้ ระดกู ซ่โี ครงยกสูงมาทางด้านหนา้ มากขึน้ (front-to-back dimension)
ส่งผลใหป้ อดสามาารถขยายขนาดได้ ความดันในปอดจงึ ลดลง แต่ในการหายใจเข้าแบบ forced inhalation
ซึ่งเปน็ การหายใจท่นี ำ�อากาศเขา้ มาในร่างกายมากกว่าปกตจิ ะอาศยั การทำ�งานของกล้ามเนอื้ กะบงั ลมและ
ซี่โครงทีท่ ำ�งานแรงข้ึน รวมถงึ อาศยั กลา้ มเน้ือสว่ นอน่ื ๆ เชน่ การหดตวั ของกลา้ มเนื้อ sternocleidomas-
toid ทีย่ ดึ ระหว่างคอกับกระดูกซ่โี ครงทำ�ใหป้ ริมาตรปอดเพิม่ มากขึ้นกว่าปกติ อากาศจากภายนอกจงึ ไหล
เข้ามาภายในไดม้ ากข้ึน
กกลลม่มุุ่ ทที่ี่ 11 มม..55//11 ปปีกีกาารรศศกกึึ ษษาา 22556655 15
16 กลกมุ่ ลทมุ่ ่ี ท1 ่ี ม1.ม5./51/ป1ีกปากีราศรกึ ศษึกาษ2า5265565
การหายใจออกของมนุษย์จะเกิดขน้ึ ใน ทางตรงกนั ขา้ มกบั การหายใจเขา้ โดยกล้ามเนอื้ กระบงั ลม บท ่ีท 123
จะคลายตวั ทำ�ใหม้ รี ปู รา่ งโค้ง(dome-shaped) มากขน้ึ รวมถึงกลา้ มเน้ือยดึ ซโี่ ครงแถบนอกเกดิ จากการ
คลายตวั สง่ ผลให้ปรมิ าณปอดลดลง ความดันปอดจงึ สูงกว่าภายนอก ดังนน้ั อากาศจากภายในปอดจงึ ไหล
ออกสู่ภายนอกร่างกายได้ สำ�หรบั การหายใจแบบ forced exhalation จะอาศยั การหดตัวของกล้ามเนือ้ ยึด
ซี่โครงแถบใน (internal intercostal muscle) ท�ำ ใหซ้ ่ีโครงเรื่อยลงมามากกว่าปกติ ปริมาณในชอ่ งอก
ลดลง ปริมาตรของปอดจงึ ลดลงดว้ ยท�ำ ให้ความดนั ในปอดสูงกว่าปกตมิ ากขึ้น
นอกจากนี้การหายใจออกแบบ forced expiration อาจอาศยั
การหดตวั ของกล้ามเน้อื หนา้ ทอ้ ง (rectus abdominis) สง่ ผลให้ความดนั ในช่องทอ้ ง
เพ่มิ ขน้ึ ชว่ ยใหอ้ ากาศออกจากปอดได้มากขน้ึ การหายใจเขา้ และการหายใจออกในการหายใจ
แบบ quiet breathing ท�ำ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่างๆ
จากทก่ี ลา่ วมาจะเห็นได้ว่าในการหายใจเขา้ ออกปกตขิ องมนษุ ยส์ ว่ นของกลา้ มเนื้อกระบังลมจะมี
บทบาทสำ�คัญ โดยกลา้ มเนือ้ กระบงั ลมจะถกู ควบคุมโดยเส้นประสาท phrenic nerve เป็นแขนงมาจากเสน้
ประสาทสมองคู่ท่ี 10 (vagus nerve) ปกติท่สี ่งผลใหก้ ลา้ มเน้ือกระบงั ลมไมส่ ามารถทำ�งานได้จะสง่ ผลให้
เกิดระบบหายใจล้มเหลวไดใ้ นท่สี ดุ ตัวอย่างเชน่ สารพิษซาริน (sarin) ทสี่ ง่ ผลท�ำ ให้การส่งกระแสประสาท
บริเวณไซแนปสเ์ กิดความผดิ ปกติ ท�ำ ใหก้ ล้ามเนอ้ื มีการหดเกรง็ เมื่อรา่ งกายได้รับสารซารินจะทำ�ให้กลา้ ม
เนือ้ กระบังลมหดตวั เองและทำ�งานไม่ไดร้ ะบบหายใจล้มเหลวและเสียชีวติ ในที่สดุ
กกลลมมุุ่่ ทท่ีี่ 11 มม..55//11 ปปีีกกาารรศศึึกกษษาา 22556655 17
นักสรีรวทิ ยาสามารถตรวจสอบการหายใจของมนุษย์ดว้ ยเครอื่ ง spirometer พบวา่ ปรมิ าตร
อากาศของมนุษยป์ กตเิ มอ่ื เกดิ การหายใจเขา้ ออกจะมีค่าประมาณ 500 cm3 เรยี กคา่ ปริมาตรอากาศน้ีวา่
tidal volume แต่ถา้ หายใจเขา้ เต็มท่ปี อดจะสามารถจุอากาศไดม้ ากท่สี ดุ ถึง 6000 cm3 แต่รา่ งกายของ
มนษุ ยไ์ ม่สามารถหายใจออกจนสดุ แล้วเอาอากาศออกจนหมดปอดไดเ้ พราะจะทำ�ให้ปอดแฟบได้ ดงั นัน้ เม่ือ
เราเกดิ การหายใจออกสูงสดุ แล้วปรมิ าตรทคี่ งเหลืออยู่ในปอดจะมคี า่ ประมาณ 1100 cm3 เรียกปริมาตร
อากาศที่คา้ งอย่ใู นปอดน้วี ่า residual volume กล่าวโดยสรุปแล้วปอดจึงสามารถจุ
อากาศได้สงุ สดุ เมอ่ื เกิดการหายใจเขา้ และออกสงู สดุ ประมาณ 4900 cm3 เรียกคา่
ความจุปอดน้ีว่าคา่ vital capacity ส�ำ หรับค่าความจุของปอดทั้งหมดเมื่อ
รวมปรมิ าตรอากาศทีต่ กคา้ งอยใู่ นปอดจะเรยี กวา่ ค่า total lung capacity
18 กลกุ่มลทุ่มี่ ท1 ี่ ม1.ม5./51/ป1ีกปาีกราศรกึ ศษกึ าษ2า5265565
โรคทส่ี ่งผลตอ่ ระบบทางเดินหายใจ บท ี่ท 1234
โรคถงุ ลมโปง่ พอง
คือ ภาวะของถุงลมภายในปอดมกี ารขยายตวั มากข้ึนกว่าปกติ สง่ ผลให้พ้ืนทผี่ วิ ปอดน้อยลง จนเกิดความ
ยากล�ำ บากในการหายใจ และทำ�ให้ส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ไดร้ บั ออกซเิ จนในปรมิ าณทเี่ หมาะสม ปจั จยั
เส่ยี งมี 2 ประการใหญๆ่ คอื การไดร้ บั สารกระตุ้นและการหายใจเอามลพษิ เข้าสู่ร่างกาย
สาเหตุจาก - การสูบบหุ ร่ี การสดู ดมควันบุหรี่ เปน็ ตน้ สว่ นการหายใจเอา
มลพิษเข้าสรู่ า่ งกาย คือการสดู ดมมลพิษจากการเผาไหม้จากทงั้ ในและนอกครวั เรอื น
เชน่ การสูดดมควันรถยนต์ การสูดดมควันท่เี กิดจากการทำ�อาหาร เป็นต้น
แม้ว่าในอดตี จะพบวา่ ผ้ปู ่วยโรคถุงลมโปง่ พองกว่า 80% นัน้ เกิดขึน้ จากการสูบบุหรี่ แตป่ จั จุบนั ตรวจพบวา่
มีผู้ปว่ ยโรคถงุ ลมโป่งพองที่ไม่สูบบหุ รีเ่ พิม่ มากขึน้ อย่างตอ่ เนอื่ ง จงึ ตอ้ งระวังกนั มากขึ้นในเรอื่ งของการสดู ดม
มลพษิ เขา้ ส่รู ่างกาย เพราะเพยี งแคท่ �ำ อาหารภายในครัวเรือนก็กลายเปน็ ปัจจัยเสย่ี งตอ่ การเกิดโรคดังกลา่ วได้
อาการที่พบ - ผปู้ ว่ ยจะมีอาการเหนอ่ื ยหอบ โดยเฉพาะเวลาออกแรง ถกู จำ�กดั การทำ�กิจกรรมตา่ งๆ
ในชีวิตประจำ�วัน อาจมอี าการไอและมีเสมหะเรื้อรังร่วมดว้ ยเน่ืองจากอาการทางปอด ในบางรายอาจเบ่อื
อาหาร ผอมลง และบางรายอาจเกดิ ความวิตกกงั วลเก่ียวกับตัวโรค อาการท่รี นุ แรงของโรคถงุ ลมโปง่ พองคือ
อาการกำ�เรบิ เฉยี บพลนั ท่สี ง่ ผลใหร้ ะบบหายใจล้มเหลว ผปู้ ่วยระยะนต้ี อ้ งนอนพักท่ีโรงพยาบาลและไดร้ บั การ
ใสเ่ ครือ่ งช่วยหายใจ
กกกลลล่มุุ่มุ่มทททีี่่ ่ี111มมม..55.5///111ปปปกีกี กี าาารรรศศศกึึกกึ ษษษาาา222555666555 19
โรคปอดบวม
คอื ภาวะปอดซึ่งเกดิ การอกั เสบ ซ่ึงอาจเป็นเช้ือแบคทเี รยี เชอ้ื ไวรสั ซ่ึงในสภาวะท่ผี ิดปกตอิ าจจะเกดิ จาก
เช้ือรา และ พยาธิ เม่อื เปน็ ปอดบวม จะมีหนอง และสารนำ�้ อย่างอ่นื ในถงุ ลม ท�ำ ใหร้ ่างกายไม่สามารถรับ
oxygen ทำ�ใหร้ า่ งกายขาด oxygen และอาจถึงแกช่ วี ิตได้
สาเหตจุ าก - 1.Bacteria 2.Viruses 3.Mycoplasma 4.เช้ือชนดิ อนื่ เช่น เช้ือรา 5.สารเคมี
อาการที่พบ - ผูป้ ่วยบางรายอาจจะมีอาการน�ำ้ มกู ไหล จาม คดั จมกู นำ�มาก่อน
บางรายอาจจะเร่ิมดว้ ยไขส้ งู หนาวสนั่ หายใจหอบเหน่อื ย อาจจะมีอาการเจบ็ หน้าอก
ตำ�แหนง่ ทเี่ จ็บมกั ตรงกบั บริเวณทอี่ ักเสบ อาการไอ ในระยะแรกมลี ักษณะไอแห้งๆ
แต่ระยะตอ่ มาจะมีจำ�นวนเสมหะเพิม่ มากขึน้ เสมหะเหนยี ว
20 กลกุ่มลท่มุ ี่ ท1ี่ ม1.ม5./51/ป1ีกปากีราศรึกศษึกาษ2า5265565
โรคหลอดลมอักเสบ บท ี่ท 1234
คือ การอกั เสบหรอื บวมของเยือ่ บุผิวภายในหลอดลม ทำ�ใหต้ อ่ มเมือก (mucous gland) โตข้นึ และหลัง่
เมือกออกมามากกว่าปกติ อดุ กั้นให้ชอ่ งทางเดนิ หลอดลมแคบลง ส่งผลใหเ้ กิดอาการไอ มเี สมหะเหนยี วมาก
ข้นึ บางคร้งั อาจมอี าการหอบเหนอ่ื ยร่วมดว้ ย
สาเหตุจาก - จากการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน สว่ นมากเกิดจากเชือ้ ไวรสั กลมุ่ เดยี วกบั ท่กี ่อให้
เกิดไข้หวดั และไข้หวัดใหญ่ อาจมีการตดิ เชอื้ แบคทีเรยี เช่น Bordateria pertussis,
Mycoplasma pneumoniae, Chlamydia pneumoniae,
Streptococcus pneumoniae, Haemophilus influenzae จากการถูก
ส่งิ ระคายเคือง ทพ่ี บบอ่ ยคอื การสบู บุหรี่ ควันไอเสยี รถยนต์ ฝุ่นละออง สารเคมี
การระคายเคืองจากน�ำ้ ย่อยในผทู้ เี่ ปน็ โรคกรดไหลย้อน
อาการท่ีพบ - มไี ข้ หนาวสนั่ หรืออาจมีอ่อนเพลียไอบอ่ ย อาจไม่มหี รอื มเี สมหะเลก็ น้อยในระยะ
แรก ตอ่ มาอาจมเี สมหะมากขน้ึ ในรายทมี่ กี ารติดเชอื้ แบคทเี รยี อาจมีไขส้ งู หรือไอมเี สมหะขน้ สเี ขยี วหรอื
เหลอื ง
กกกลลลุมมุ่่ มุ่ ททที่ี่ ่ี111มมม..55.5///111ปปปีกีกีกาาารรรศศศกึกึ ึกษษษาาา222555666555 21
โรคหวดั (Acute Rhinopharyngitis: Common Cold)
คือ โรคติดเชอ้ื ทพี่ บบอ่ ยมากทส่ี ดุ โรคหน่งึ เกิดจากการติดเชอื้ ไวรัสซง่ึ มีหลายสายพนั ธุ์ พบบ่อยในช่วงฤดู
ฝนและฤดหู นาว หรอื โดยเฉพาะชว่ งท่ีมีอากาศเปล่ียนแปลง สามารถพบผตู้ ิดเช้อื ไดท้ กุ ชว่ งอายุ ในเดก็ เล็ก
สามารถเปน็ ได้หลายคร้ังในแต่ละปี ในผใู้ หญ่จะเป็นนอ้ ยลงตามล�ำ ดบั เน่ืองจากมภี ูมิคุ้มกนั มากขึ้น โดยเฉลยี่
เด็กจะเป็นโรคหวัด 6 – 12 คร้งั ต่อปี ผู้ใหญ่จะเปน็ 2 – 4 ครั้งต่อปี ความรุนแรงของโรคไม่มาก และสามารถ
หายเองได้ภายในไม่กี่วนั เนื่องจากเกดิ จากการตดิ เช้ือไวรสั จงึ เน้นรกั ษาประคบั ประคอง
อาการจนอาการหายดีเอง
การตดิ ต่อ - สว่ นใหญ่เกิดจากเชื้อไวรสั ซงึ่ มอี ยมู่ ากกวา่ 100 ชนดิ โดยส่วนใหญ่
มกั เป็นเชอ้ื ไวรัสประเภทคอรซี า (Coryza Virus) ไดแ้ ก่ ไรโนไวรัส (Rhinovirus) และอื่น ๆ ตดิ ต่อผ่าน
ทางนำ้�มกู น้�ำ ลาย และเสมหะ โดยการหายใจเอาเชือ้ ที่กระจายจากการไอหรอื หายใจรดกนั หรือมอื ที่เป้ือน
เชอ้ื โรคสัมผัสจมูกหรอื ตา ระยะเวลาแพร่เชื้อสามารถแพรไ่ ดก้ อ่ นเกิดอาการและ 1 – 2 วนั หลงั เกิดอาการ
อาการที่พบ - เม่ือเชื้อไวรัสเข้าสเู่ ย่ือบโุ พรงจมกู เชอื้ จะเกาะและเขา้ ส่เู ซลล์เย่ือบุ แบง่ ตัวเพ่ิมจ�ำ นวน
และท�ำ ให้เซลลถ์ ูกท�ำ ลาย เกิดการอกั เสบของเยือ่ บุโพรงจมกู เยอื่ บบุ วม และแดง พบว่ามีการหล่ังของเมอื ก
ออกมา ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 1 – 3 วัน (โดยเฉล่ยี 10 – 12 ช่วั โมง) จงึ จะแสดงอาการ
22 กลก่มุ ลทุ่ม่ี ท1ี่ ม1.ม5./51/ป1กี ปากีราศรึกศษกึ าษ2า5265565
ไขห้ วดั ใหญ่ (Influenza) บท ี่ท 1234
คือ โรคติดตอ่ ทเ่ี กดิ การระบาดใหญ่เป็นคร้งั คราว เกดิ จากการติดเชือ้ ไวรัสอินฟลเู อนซา (Influenza
Virus) หรอื ไวรสั ไขห้ วัดใหญ่ พบบ่อยในชว่ งฤดูฝนและฤดหู นาว เชอ้ื ไวรสั สามารถแพร่ระบาดไดท้ ัว่ โลก โดย
แตล่ ะปีทั่วโลกจะมผี ู้ตดิ เช้ือไขห้ วัดใหญป่ ระมาณร้อยละ 15 ของประชากรท้ังหมด พบได้ในทุกช่วงอายุ ใน
เด็กเลก็ จะติดเช้อื ไดง้ ่าย สว่ นผสู้ ูงอายุเม่อื ติดเชอื้ จะมีอาการรนุ แรงกวา่ ความรุนแรงโรคอาจมีแคอ่ าการไขส้ งู
ไอ ปวดตามร่างกาย หรอื รนุ แรง มอี าการปอดอักเสบ การรกั ษาใชก้ ารรักษา
ประคบั ประคองอาการหรอื ยาตา้ นไวรสั ในรายทีร่ ุนแรง ปัจจุบันมวี คั ซนี ปอ้ งกนั โรค
ไขห้ วดั ใหญซ่ ่ึงได้ผลดีมากในการช่วยลดความรุนแรงของโรค
การตดิ ต่อ - ไวรัสไขห้ วดั ใหญ่มหี ลายสายพันธ์ุ ได้แก่ สายพนั ธุ์เอ (Influenza A Virus)
พบไดป้ ระมาณร้อยละ 80 เปน็ สาเหตขุ องการระบาดใหญ่บอ่ ยครงั้
ส่ ายพนั ธุบ์ ี (Influenza B Virus) พบบอ่ ยรองลงมา สายพันธุ์ซี (Influenza C Virus) มีความรุนแรง
น้อยไมค่ อ่ ยมคี วามส�ำ คัญเชอ้ื ไวรสั ติดต่อผ่านทางน�ำ้ มูก น�ำ้ ลาย และเสมหะ โดยการหายใจเอาเชือ้ ทก่ี ระจาย
จากการไอหรอื หายใจรดกนั หรอื มอื ท่เี ปอ้ื นเชื้อโรคสมั ผัสจมกู ผทู้ ่ีมีเชอื้ ไวรสั ในรา่ งกายสามารถแพรเ่ ชอ้ื ไป
สผู่ ู้อื่นได้ตงั้ แต่ 1 วันกอ่ นท่จี ะมอี าการ และต่อไปได้อกี 3 – 5 วนั หลังจากทม่ี อี าการแล้ว หรือบางรายไมม่ ี
อาการก็สามารถแพรเ่ ชื้อไดเ้ ชน่ กัน
อาการที่พบ - หลังจากเช้อื ไวรสั เข้าสูท่ างเดนิ หายใจ ใชเ้ วลาฟกั ตวั ประมาณ 1 – 7 วนั (โดยเฉลี่ย
2 – 3 วัน) จะเริม่ แสดงอาการ
กกกลลลมุุ่ม่ ่มุ ทททีี่่ ี่111มมม..55.5///111ปปปกีกี ีกาาารรรศศศึึกกกึ ษษษาาา222555666555 23
โรคคออกั เสบ (Acute Pharyngitis)
คือ เกดิ จากเย่ือบุภายในคออกั เสบ เปน็ โรคติดเชื้อทพี่ บบอ่ ยมากสว่ นใหญ่ สามารถพบผ้ตู ิดเชอ้ื ไดท้ กุ ช่วง
อายุ ในเดก็ จะพบได้บอ่ ยกวา่ ความรนุ แรงของโรคไมม่ าก มักมีอาการกลืนเจ็บ แสบคอ และสามารถหายได้
เองภายในไมก่ ่วี ัน แต่การติดเชอื้ แบคทเี รยี อาจทำ�ใหม้ ีอาการนาน การรกั ษาจะเนน้ การรกั ษาประคบั ประคอง
อาการจนหายดี
การติดตอ่ - ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชอ้ื ไวรสั (40 – 80%) รองลงมาเป็น
การติดเช้อื แบคทเี รยี (20%) เช้อื ไวรัสสว่ นใหญ่เป็นกลุ่ม Rhinovirus, Adenovirus
และ Coronavirus อาการสว่ นใหญค่ ลา้ ย ๆ กนั และเป็นไมม่ ากนกั เชือ้ แบคทเี รยี
ที่ก่อโรคท่พี บมากที่สดุ และมคี วามสำ�คญั มากคอื กลุ่มสเตรปโตคอกคัส Streptococcus spp.
(โดยเฉพาะ S. pyogenes) เช้ือติดต่อผา่ นทางน�ำ้ มกู น�ำ้ ลายและเสมหะ โดยการหายใจเอาเช้อื ทก่ี ระจายจาก
การไอหรอื หายใจรดกัน หรือมอื ที่เป้ือนเช้อื โรคสัมผัสจมกู ชอ่ งปาก ระยะเวลาแพรเ่ ช้ือสามารถแพร่ได้ก่อน
เกิดอาการและหลงั เกิดอาการ (ระยะเวลานานข้นึ กับชนิดของเชอ้ื )
อาการท่พี บ - บริเวณท่ีเปน็ คออกั เสบจะอยูพ่ ้ืนท่ีระหวา่ งหลังโพรงจมกู กับกลอ่ งเสียง เมื่อเช้ือเข้ามา
จะแบ่งตวั เพมิ่ จ�ำ นวนและท�ำ ลายเซลล์ เกิดการอกั เสบ เชื้อไวรสั มกั ใชเ้ วลาฟกั ตวั ประมาณ 1 – 3 วนั สว่ นเชอ้ื
แบคทีเรีย (กล่าวถงึ กลมุ่ สเตรปโตคอกคสั ) ใชเ้ วลาฟักตวั ประมาณ 2 – 5 วนั
24 กลกมุ่ ลทุม่ ่ี ท1ี่ ม1.ม5./51/ป1ีกปากีราศรึกศษึกาษ2า5265565
โรคปอดอักเสบจากเชือ้ รา บท ี่ท 1234
เน่ืองจากเชอื้ ราสามารถแพรก่ ระจายไดห้ ลายพนื้ ที่ ดังนน้ั การรับเชอื้ ราเข้าสู่รา่ งกายกเ็ กิดไดจ้ ากหลายวธิ ี
ดังน้ี
- การหายใจเอาเชอ้ื ราในอากาศเขา้ ไป
- การรับละอองเช้อื จากการไอ หรือจาม ของผู้ทมี่ ีเชื้อราในร่างกาย
- การส�ำ ลักน้ำ�ลาย สำ�ลกั อาหาร หรอื สารคดั หล่ังในทางเดนิ อาหาร -
ซ่ึงจะทำ�ใหเ้ ช้ือทสี่ ะสมอยู่บริเวณทางเดินหายใจสว่ นบนลงปอดได้
เมือ่ ปอดติดเช้อื รา จะมอี าการท่เี กี่ยวกบั ระบบทางเดนิ หายใจทคี่ ล้ายไข้หวดั ดังนี้
- มไี ข้
- หอบ เหน่อื ย เพราะปอดทำ�หนา้ ท่ีแลกเปลยี่ นออกซิเจนได้นอ้ ยลง
- ไอมเี สมหะ เนือ่ งจากมกี ารอักเสบในปอดและถุงลม หรือบางรายอาจมอี าการไอแห้ง ๆ ติดต่อ
กันหลายวนั หรือไอเปน็ เลอื ด
- เจ็บหน้าอก โดยเฉพาะเมื่อหายใจเขา้ -ออก ลึก ๆ
- ไซนสั อกั เสบ (บางราย)
กกกลลลุ่่มมุ ่มุ ททท่่ีี ่ี111มมม..55.5///111ปปปกีกี ีกาาารรรศศศึึกกกึ ษษษาาา222555666555 25
โรคปอดติดเชอ้ื
โดยปกติรา่ งกายจะมภี มู ติ ้านทาน และมกี ลไกในการปอ้ งกนั ตัวเองจากเชื้อโรคต่างๆ ปัจจัยใดบ้างที่ทำ�ให้ปอด
ของคนเรามีโอกาสติดเชื้อได้แก่
1.ตดิ เชือ้ โรคที่มีความรนุ แรง - สามารถเกดิ ไดจ้ ากเช้อื โรคหลายประเภท เช่น ไวรัส แบคทเี รีย
วัณโรค เช้ือราและ พยาธิ โดยเชอื้ แบคทเี รียและไวรสั เป็นเชอ้ื ทพ่ี บบอ่ ยท่ีสดุ
2.ภมู ิคุม้ กันบกพรอ่ ง - ภมู ิคมุ้ กนั ร่างกายเราบกพร่องท�ำ ใหเ้ ชื้อผา่ นเขา้
ไปสูป่ อดได้โดยงา่ ย อีกทง้ั กลุ่มผปู้ ว่ ยโรคปอด โรคหอบหดื ถงุ ลมโป่งพอง หรอื คนที่
เคยมี ฝี หรือโพรงในปอดมาก่อนท�ำ ให้สมรรทภาพในปอดเปลย่ี นแปลงไป
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
3.รบั ประทานยาท่มี ีผลต่อภมู ิคุ้มกัน - รับประทานยาท่ีมผี ลต่อภูมิค้มุ กันรา่ งกาย เชน่ กลุ่มคนไขท้ ี่
ทานยากดภูมิ หรือกลมุ่ ผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ ับการทำ�เคมีบ�ำ บดั
4.มีการสมั ผัสเชอ้ื เป็นประจำ� - การไดร้ ับเชอื้ ในปรมิ าณมากเปน็ ประจำ� ถงึ แม้จะไมใ่ ชเ่ ชื้อท่รี นุ แรง
และมคี ้มุ กันรา่ งกายที่ดี แตห่ ากไดร้ ับสัมผัสกบั เชอื้ ปริมาณมาก หรือเปน็ ประจ�ำ หรอื คนท่เี ปน็ พาหะของเชื้อ
อยู่ ก็สามารถท�ำ ให้เกดิ เปน็ ปอดติดเช้อื ได้
อาการ
- ไข้สงู หนาวสัน่
- อาการไอ หายใจเรว็ หอบเหนอื่ ย อกยบุ เวลาหายใจ
- เจบ็ ชายโครง เวลาหายใจเข้า–ออก จะเหน็ วา่ อาการของปอดติดเช้ืออาจจะคลา้ ยกับอาการ
ไข้หวัดธรรมดาหรือไข้หวดั ใหญท่ ั่วไป แตจ่ ดุ สงั เกตอย่างนงึ คอื โรคปอดติดเชื้อ มักจะไอมากเมื่อสงั เกต
หายใจเข้าออกจะพบความผดิ ปกติ อาการเจบ็ เสียดบริเวณหน้าอกหรอื ชายโครง พบไดห้ ากน�้ำ ขังในบริเวณ
เยือ่ ห้มุ ปอดร่วมด้วย
26 กลกมุ่ ลทุ่ม่ี ท1่ี ม1.ม5./51/ป1กี ปาีกราศรกึ ศษึกาษ2า5265565
โรคหอบหืด บท ี่ท 1234
คอื โรคทีเ่ กิดจากการอักเสบเรือ้ รงั ของหลอดลม ท�ำ ให้เย่อื บุและผนงั หลอดลมตอบสนองตอ่ สิง่ กระตุ้นจาก
ภายใน และจากสงิ่ แวดลอ้ มมากกว่าปกติ สง่ ผลให้หายใจไม่สะดวกและมีเสยี งหวีด เหนือ่ ยหอบ ไอเรอ้ื รงั
แน่นหนา้ อก โดยเฉพาะตอนกลางคนื และชว่ งเชา้ มดื โดยหอบหดื สามารถเกดิ ไดก้ ับทกุ เพศทกุ วัย และท�ำ ให้
เสยี ชีวติ ได้หากอาการรุนแรง หอบหดื ไม่ใชโ่ รคตดิ ต่อแต่สามารถถา่ ยทอดผา่ นทางพันธุกรรมได้
อาการ - ไอต่อเน่ืองนาน 2-3 สัปดาห์ หายใจมเี สียงหวดี อาจมีอาการอ่นื
ร่วมดว้ ย เช่น เหนื่อยหอบ แนน่ หนา้ อก หายใจไม่สะดวก หากอาการหนกั
อาจท�ำ ให้หายใจไม่ออก ไมส่ ามารถรับออกซเิ จนเขา้ สู่รา่ งกายได้ และไม่สามารถ
น�ำ คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากรา่ งกายได ้ เกิดระบบหายใจล้มเหลว จนถงึ ขน้ั หมดสตแิ ละเสยี ชวี ิต ในทส่ี ุด
https://
smacrytacmhi.ccs.toytlslepe.recsgsvtl//:ees6/-lv///4aisem2ncla4daan-cgsadlseisncestilt/hcisonm./oirgarg/h/e-/alth/
images/org/
health/articles/
6424-asthma
กกกลลล่มุุ่มมุ่ ททที่ี่ ่ี111มมม..55.5///111ปปปกีีกีกาาารรรศศศกึึกกึ ษษษาาา222555666555 27
ภาคผนวก
ภาคผนวก
บรรณานกุ รม
1. นภัทร ปราบมชี ยั . 2561. Biology Reveiw ชวี ะทบทวน. ครั้งท่ี 1. สำ�นักพมิ พ์ Short note publishing
2. ภัทรมน วงศ์สังขแ์ ละผัลย์ศุภา พรมแสง . 2560. Lecture สรปุ เข้มชีวะ ม.ปลาย. ครั้งท9่ี . บริษทั คาร์เป
เดียมเมอร์ จ�ำ กดั
3. จิรสั ย์ เจนพาณิชย.์ 2559. Biology for high school students. คร้ังที่ 20. หจล. สามลดา
4. ดร.ศกุ ณัฐ ไพโรหกลุ . 2562. Biology ชีววิทยา. คร้งั ท่ี14. บรษิ ทั แอคทฟี พร้นิ ท์ จ�ำ กดั
5.รูปภาพ https://www.deshbandhucollege.ac.in/pdf/resources/1587723883_BC(H)-IV-Hu-
man_Physiology,_Respiratory_System-1_&_2.pdf (วนั ที่สืบคน้ ข้อมลู 2 มถิ ุนายน 2565)
6.รูปภาพ https://www.istockphoto.com/th/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8
%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2/nasal-cavity (วันท่สี ืบคน้ ขอ้ มลู 2 มิถุนายน 2565)
7.รูปภาพ https://www.google.co.th/search?q=laryngopharynx&client=safari&hl=en-th&prmd
(วันท่สี บื ค้นขอ้ มลู 2 มิถุนายน 2565)
8.รปู ภาพ https://www.cancer.net/es/navigating-cancer-care/cancer-basics/medical-illustra-
tions-gallery?mitid=248
(วนั ทส่ี ืบค้นขอ้ มลู 2 มิถนุ ายน 2565)
9.รูปภาพ https://www.google.co.th/search?q=organize+of+oral+cavity&client=safa-
ri&hl=en-th&prmd=ivn&sxsrf=ALiCzsYpCH2k0O5FNlwTjtCnlVtcWYgVwQ:1653917849572&-
source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=2ahUKEwj49qSPrIf4AhVBSGwGHdsfATkQ_AUoAXoECAI-
QAQ&biw=375&bih=635&dpr=3#imgrc=G2yrLoveeIlCFM (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมูล 2 มถิ ุนายน 2565)
10.รูปภาพ https://www.google.co.th/search?q=bronchiole+pdf+anatomy&cli-
ent=safari&hl=en-th&prmd=inv&sxsrf=ALiCzsZVW_ZD7ahZqZNdgmAS1R2E6S8N-
wQ:1653901880410&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=2ahUKEwiAwczQ8Ib4AhUzldgF-
HTeNCO4Q_AUoAXoECAIQAQ&biw=375&bih=575&dpr=3#imgrc=1EZfdYovDxMPDM (วันท่ี
สืบค้นขอ้ มลู 2 มิถุนายน 2565)
11.รปู ภาพ https://www.google.co.th/search?q=trachea%20pdf%20anatomy (วันทส่ี บื ค้นข้อมูล
2 มถิ นุ ายน 2565)
12. https://www.google.co.th/search?q=lung+anatomy+novar-
tis&ie=UTF-8&oe=UTF-8&hl=th-th&client=safari (วนั ทส่ี ืบคน้ ขอ้ มลู 2 มิถนุ ายน 2565)
เอก็ พอร์ต 2 ไบรท์ 3 แตม 12 ม่อน 13
อุ๋ม 16 ปณั ณ์ปณั ณ์ 17 ไตเติล้ 19 จีน 28