The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการบริหารงานคุณภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การบริหารงานคุณภาพ

วิชาการบริหารงานคุณภาพ

แผนการจัดการเรยี นรูม้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ

ชื่อวชิ าการบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร
รหัสวชิ า 3001-1001 ทฤษฎี 3 ปฏิบตั ิ 0 หนว่ ยกติ 3
 หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ  หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู
ประเภทวชิ า...........อตุ สาหกรรม.............สาขาวิชา..............เทคนิคการผลติ ...............

สาขางาน.............เคร่อื งมอื กล..............

จัดทำโดย
นายคุมดวง พรมอนิ ทร์

ตำแหน่ง ครู คศ.2

แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน วทิ ยาลยั การอาชพี สวา่ งแดนดนิ
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบคำขออนุมตั ิใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้

แผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ
รหัสวิชา 3001-1001 ชอ่ื วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ

จัดทำโดย

.................................
( นายคมุ ดวง พรมอนิ ทร์ )

ตำแหนง่ ครู คศ.2
ผ้ตู รวจสอบแผนการจัดการเรยี นรู้

หวั หน้าแผนกวิชาช่างกลโรงงาน หัวหน้างานพฒั นาหลักสูตรฯ
ลงชือ่ ............................................... ลงช่อื ...............................................

(นายสรุ ัตน์ โคตรปัญญา) (นายคมุ ดวง พรมอินทร์)
หวั หน้าแผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน หัวหนา้ งานพัฒนาหลกั สูตรฯ

ความเหน็ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
...............................................

ลงชื่อ……………………………………...
(นายทินกร พรหมอินทร์)
รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ

ความเหน็ ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดนิ
……………………………………………..
อนมุ ตั ิ ไม่อนมุ ตั ิ เพราะ..................................
ลงชือ่ ............................................
(นางวรรณภา พ่วงกุล)

ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ

หลักสูตรรายวชิ า

รหสั วิชา 3001-1001 ชือ่ วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ

(Quality Administration in Organization)

ทฤษฎี 3 ปฏิบัติ 0 หนว่ ยกิต 3
 หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ  หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสงู

ประเภทวชิ า...........อุตสาหกรรม.............สาขาวิชา..............เทคนิคการผลติ ...............
สาขางาน.............เครอ่ื งมือกล..............

จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้
1. เพ่ือใหเ้ ข้าใจความสำคญั หลกั การและกระบวนการบรหิ ารงานคณุ ภาพภายในองคก์ ร
2. เพ่ือใหส้ ามารถวางแผนและพฒั นางานตามหลักการบริหารงานคุณภาพภายในองคก์ ร
3. เพอ่ื ใหเ้ จตคติและกิจนิสัยทดี่ ี ในการพฒั นาตน และมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพภายในองคก์ ร

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการจดั การองค์การ การบรหิ ารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลติ การจัดการ ความ

เสียง การจัดการความขัดแย้ง การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทาํ งาน
2. วางแผนการจดั การองค์การ และเพ่ิมประสิทธิภาพขององคก์ ารตามหลกั การ
3. กาํ หนดแนวทางจัดการความเสียง และความขัดแยง้ ในงานอาชีพตามสถานการณ์
4. เลอื กกลยุทธ์เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพการทาํ งานตามหลักการบรหิ ารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
5. ประยุกตใ์ ช้กจิ กรรมระบบคุณภาพและเพ่ิมผลผลิตในการจดั การงานอาชีพ

คำอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเกี่ยวกบั การจัดองค์การ การเพ่ิมประสิทธภิ าพขององคก์ าร การบรหิ ารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิต

การจัดการความเสียงการจดั การความขัดแย้งในองค์การกลยุทธ์การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทํางาน การนํากจิ กรรม
ระบบคณุ ภาพและเพิ่มผลผลติ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั การงานอาชพี

แผนการสอน หนว่ ยที่ 1

ชื่อวชิ า สอนครัง้ ท่ี 1

ช่ือหน่วย แนวคดิ เกี่ยวกับการ ชั่วโมงรวม 3
จดั การคุณภาพ

ชอื่ เรื่องหรอื ชื่องาน แนวคิดเกย่ี วกับการจัดการคุณภาพ จำนวนช่วั โมง 3

หวั ขอ้ เร่ืองและงาน

1) แนวคดิ เกย่ี วกบั การจัดการคุณภาพ

2) แนวคดิ ในการจดั การคุณภาพ

3) ลำดบั ขั้นของการจัดการคณุ ภาพ

4) แนวทางการจัดการคณุ ภาพ

5) ชอ่ื ทน่ี ยิ มเรียกกันในการจดั การคุณภาพ

6) ความหมายของการจัดการคุณภาพทั้งองค์การ

7) ส่วนประกอบทีส่ ำคญั ของการจดั การคณุ ภาพท้งั องคก์ าร

8) กรอบความคิดของการจดั การคุณภาพทงั้ องค์การ

9) ปรัชญาของการจดั การคุณภาพทัง้ องค์การ

10) ความสำคญั ของการจดั การคุณภาพ

11) แรงผลักดนั ในการปรับปรุงคณุ ภาพ

12) ประโยชน์ของการจดั การคณุ ภาพ

สาระสำคัญ

ประมาณปี ค.ศ. 1980 เป็นตน้ มา ธรุ กจิ การค้าและอุตสาหกรรมมไิ ดข้ ยายตัวทว่ั โลก แต่ละ

ประเภทพยายามปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมโดยการผลิตสินคา้ ออกมาขายให้ประเทศต่างๆ เพอ่ื การไดเ้ ปรียบ

ดุลการค้า ดงั นั้นแต่ละประเทศพยายามทจี่ ะหาแนวคดิ เกยี่ วกบั การจดั การคุณภาพเพอ่ื ทำใหส้ ินคา้ ผลติ

ออกมามคี ุณภาพสงู สามารถแข่งขันกบั ต่างประเทศได้

สมรรถนะท่พี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี )

1) อธิบายแนวคดิ ในการจดั การคุณภาพ ได้

2) อธบิ ายความหมายและความสำคัญของการจัดการคณุ ภาพได้

3) อธิบายลำดับข้ันของการจัดการคุณภาพได้

4) เข้าใจความหมายส่วนประกอบและแนวทางการจดั การคุณภาพท่ัวท้งั องคก์ าร

5) สามารถนำประโยชนจ์ ากการศกึ ษาการจัดการคุณภาพไปประยกุ ต์ใชใ้ นสงั คม

เน้อื หาสาระ

1. แนวคดิ ในการจัดการคุณภาพ
2. ความหมายของการจัดการคุณภาพท้ังองคก์ าร
3. องคป์ ระกอบทส่ี ำคญั ของการจัดการคุณภาพทง้ั องค์การ

3.1) การวางแผนและการจดั การองค์การ
3.2) ความผกู พนั และความเปน็ ผูน้ ำของผู้บริหารระดบั สงู
3.3) การใชเ้ ทคนคิ ต่างๆ
3.4) การฝึกอบรมและการให้การศึกษา
3.5) ทีมงาน
3.6) ความสัมพันธ์
3.7) การสะทอ้ นกลับและการวัดผล
3.8) การเปล่ยี นแปลงวฒั นธรรม
4. ปรชั ญาของการจัดการคุณภาพทั่วท้ังองค์การ ประกอบด้วย
4.1)ปรัชญาการให้ความสำคญั กับลกู คา้
4.2)ปรชั ญาการใหค้ วามสำคัญกบั พนักงาน
4.3)ปรชั ญาไคเซน็
5. ประโยชน์ของการจัดการคุณภาพ มีดงั ต่อไปนี้
5.1)ทำให้องค์การมีภาพลกั ษณด์ ี
5.2)ประหยัดค่าใช้จา่ ยและเพ่มิ สว่ นแบ่งการตลาด
5.3)ลดภาวะค่าใช้จ่ายจากการผลติ สินค้าท่ีผิดพลาด

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขนั้ ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน

1. ปฏิสันถารกบั นกั เรียนเพอ่ื สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทึกข้อความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายช่อื นกั เรยี นทเี่ ข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นักเรยี นศึกษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ งั จากผสู้ อน

6. อาจารย์ผู้สอนอธิบายเนื้อหาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เขา้ ใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรียนซักถามกบั บทเรียนท่ีได้อธิบายใน - ให้แตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานวา่ มขี ้อสงสัยอะไรบา้ ง

ขน้ั สรุป - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธิบายเนอ้ื หาจากใบงานเพม่ิ เตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ กั เรยี นไปค้นคว้าความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ ร่ืองท่ีจะเรยี นใน

เพ่ิมเตมิ เกี่ยวกับหัวขอ้ ทก่ี ำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทีม่ อบหมายหรือกิจกรรม
กอ่ นเรียน

1.) มีปฏสิ ันถารระหวา่ งผู้สอนกบั ผู้เรยี น
2.) ถามนกั เรยี นเกย่ี วกับเรื่องทจี่ ะเรียนว่ามคี วามเข้าใจในเนือ้ หาท่ีจะเรยี นมากนอ้ ยเพยี งใด
3.) ใหน้ กั เรียนศกึ ษาความรจู้ ากใบงานท่ีแจกให้
4.) ให้ทำแบบทอสอบก่อนเรยี น

ขณะเรียน
1.) ให้นักเรยี นไปศกึ ษาค้นคว้าการทำรายงานที่ห้องสมุด
2.) ให้นกั ศกึ ษาออกมารายงานหน้าชัน้ เรียนทีละคน
3.) เปิดโอกาสให้ผ้ฟู งั ซกั ถามหัวขอ้ การทำรายงาน
4.) ผู้ออกรายงานถามผฟู้ ังคืนว่าผฟู้ งั มคี วามเขา้ ใจในหัวขอ้ รายงานเพียงใด
5.) ครูสรปุ เนอ้ื หาในหวั ข้อการทำรายงาน

หลังเรยี น
1.) ทำแบบฝกึ หัดท้ายบท
2.) ใหน้ ักเรยี นไปศกึ ษาเนื้อหาท่จี ะเรยี นมากอ่ นในคาบหนา้

สอ่ื การเรยี นการสอน
สื่อสง่ิ พมิ พ์

1.) แบบทดสอบก่อนเรยี น
2.) แบบทดสอบหลงั เรียน
3.) ใบงาน
4.) แบบเรียน

สอ่ื โสตทศั น์ (ถ้าม)ี
1.) เคร่ืองฉายสไลด์
2.) เครอ่ื งฉายภาพขา้ มศรี ษะ

หุน่ จำลองหรือของจรงิ (ถ้าม)ี

การประเมนิ ผล
ก่อนเรยี น
นักเรียนสามารถอธิบายแนวคิดเกย่ี วกับการจัดการคณุ ภาพได้อย่างคร่าวๆ

ขณะเรยี น
ให้นกั เรยี น ตั้งคำถามจากการหวั ขอ้ ท่ีไดรบั มอบหมายและตอบเป็นปัญหาในหัวขอ้ ราวเหลา่ นั้นได้

หลงั เรียน
ครูใหน้ กั เรยี นไปศกึ ษาเนือ้ หาทจ่ี ะเรยี นในคาบถดั ไป

แผนการสอน หน่วยที่ 2

ชื่อวิชา สอนครัง้ ท่ี 2

ช่อื หนว่ ย นกั คดิ ในการจดั การ ชวั่ โมงรวม 3
คณุ ภาพ

ช่อื เรื่องหรือชือ่ งาน นักคิดในการจดั การคณุ ภาพ จำนวนชั่วโมง 3

หัวขอ้ เรือ่ งและงาน

1) นกั คิดในการจดั การคุณภาพ

2) เดมมงิ่

3) จรู าน

4) อิชิกาวา

5) ครอสบี

6) เฟเกนบาม

สาระสำคญั

การพัฒนาคุณภาพของสินคา้ และการปรับปรงุ เพ่อื ให้เกิดการพัฒนาและก้าวเขา้ ส่ตู ลาดโลก

ตอ้ งยกระดับแนวคดิ เรื่องการจดั การคณุ ภาพ ดังนนั้ นกั คึกษาตอ้ งศกึ ษาความเป็นมาของแนวคิดและ

ประวตั ิของนกั คิดตา่ งๆ เพอื่ ประโยชน์ในการจัดการคณุ ภาพ

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )

1) เข้าใจหลักการของนกั คิดในการจัดการคุณภาพ

2) เข้าใจและสามารถอธบิ ายหลักการของเดมม่ิงได้

3) เขา้ ใจและสามารถอธบิ ายหลักการของจูรานได้

4) เขา้ ใจและสามารถอธิบายหลกั การของอชิ ิกาวาได้

5) เข้าใจและสามารถอธบิ ายหลกั การของครอสบีได้

6) เข้าใจและสามารถอธบิ ายหลักการของเฟเกนบาม ได้

7) สามารถนำหลักการทศี่ กึ ษาไปประยุกตใ์ ชใ้ นสังคมหนว่ ยงานได้

เนือ้ หาสาระ

การจดั กรคุณภาพจาก TQC ถงึ TQM : ISO 9000 เปน็ แนวคดิ ท่เี รม่ิ เกิดขึน้ ในทวปี อเมริกาเหนือ
และยโุ รป โดยนักคดิ ท่มี ีบทบาทสำคัญในยคุ 1980 มีอยู่ 5 คน ดังนี้

1) เดมม่ิง แนวคดิ ของเดมมงิ่ คือกำหนดเป้าหมายทช่ี ดั เจนขึน้ ในองคก์ ารรวมถงึ การพัฒนา
คุณภาพและเทคนคิ ในการควบคมุ สถติ ิ การทผี่ ู้บรหิ ารระดับสงู เป็นเกนหลกั และจดั กระบวนการ
ศกึ ษาการฝึกอบรมด้านค่านิยมอยา่ งถูกตอ้ ง จะทำใหก้ ารพัฒนาในองคก์ ารเติบโตชา้

2) จรู าน แนวคดิ ของจรู านเนน้ ไปทป่ี ฏบิ ตั โิ ครงการพัฒนาคุณภาพ โดยตรงวิเคราะห์หาสาเหตุ
ของปญั หา และหาทางแก้ไขตามข้ันตอนก่อนหลัง เทคนคิ การวเิ คราะหข์ องพาเรโต ซ่งึ หลักๆปัญหา
ส่วนใหญม่ าจากสาเหตไุ มก่ ่ปี ระเภท

3) อิชิกาวา เครื่องมือพ้นื ฐานในการควบคมุ คุณภาพ ของอชิ ิกาวา มี 7 ประการ
3.1) การวิเคราะห์ของพนกั งาน
3.2) แผนผงั กา้ งปลา
3.3) แผนคมุ แจงนบั
3.4) ฮสิ โตแกรม
3.5) แผนภาพกระจาย
3.6) การจดั ขนั ตยิ ภมู ิ
3.7) แผนภูมิการควบคุม

4) ครอสบี แนวคิดของครอสบที ่ีสำคญั มอี ยู่ 4 ประการ
4.1) คุณภาพ
4.2) คุณภาพจากการปอ้ งกนั ของเสยี
4.3) คุณภาพทีไ่ ด้รับมาตรฐานการดำเนินงานตอ้ งไม่มขี องเสีย
4.4) คุณภาพประหยัดเงนิ

ครอสบี ไมไ่ ด้กำหนดคณุ ภาพไว้ตายตวั เพราะเขาเชื่อวา่ คุณภาพท่ีสงู ขึ้นจะชว่ ยประหยัดทนุ และ
เพิ่มกำไรเสมอ เครื่องมอื ทจี่ ะทำให้องคก์ ารบรรลเุ ปา้ หมายคือ ใช้ตน้ ทุนใหม้ คี ุณภาพและเกิด
ประโยชน์ตอ่ องคก์ ารมารท่สี ุด

5) เฟเกนบาม ไดอ้ ธบิ ายส่ิงทส่ี ำคัญในการจดั การคณุ ภาพไว้ 2 ประการ คอื ประการแรกทุกคน
ในองค์การต้องรับผดิ ชอบการจดั การคุณภาพ เร่มิ ตั้งแตผ่ ูบ้ ริหารลงไปถงึ พนกั งาน ประการท่สี อง
เฟเกนบามเปน็ นักคิดคณุ ภาพคนแรกทใี่ ห้ความสำคัญของตน้ ทุนการไม่มีคุณภาพ จึงตอ้ งจัดตาราง
พฒั นาคณุ ภาพข้นึ เพอ่ื ประหยดั ตน้ ทนุ การควบคุมและตน้ ทนุ การสญู เสียให้น้อยท่ีสดุ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ปฏิสันถารกบั นักเรยี นเพอ่ื สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทึกข้อความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนทเ่ี ข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรียนศกึ ษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ ังจากผสู้ อน

6. อาจารยผ์ ู้สอนอธิบายเนอื้ หาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เข้าใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรยี นซักถามกบั บทเรยี นท่ีได้อธิบายใน - ให้แตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานว่ามีขอ้ สงสัยอะไรบา้ ง

ข้ันสรุป - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธบิ ายเน้ือหาจากใบงานเพ่ิมเตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ ักเรียนไปคน้ คว้าความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ ร่ืองท่ีจะเรยี นใน

เพิ่มเติมเก่ียวกับหัวข้อที่กำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทีม่ อบหมายหรอื กิจกรรม
กอ่ นเรยี น
1) มีการสนทนาระหว่างผู้เรียนกับผ้สู อน
2) ใหน้ กั เรยี นศึกษาความร้จู ากใบงานหรอื แบบเรยี น
3) ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ขณะเรยี น
1) ใหน้ กั เรียนทำงานกันเป็นกล่มุ กลมุ่ ละ 5-6 คน
2) ครูผ้สู อนมอบหมายงานให้นกั เรียนไปทำรายงานที่ผู้สอนกำหนดให้
3) ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการรายงานหน้าช้ันเรียน
4) ผู้ฟังซักถามกลุ่มผอู้ อกรายงานในบางหวั ขอ้ ที่ยงั ไมเ่ ขา้ ใจ
5) กลุม่ ผู้ออกรายงานถามผฟู้ งั วา่ ผู้ฟังเขา้ ใจในหัวข้อการรายงานมากเพยี งใด
6) ครูผูส้ อนสรุปเนื้อหาการรายงานของแต่ละกลมุ่

หลังเรียน
1) ทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบท
2) ให้นกั เรยี นไปศกึ ษาเนือ้ หาทีจ่ ะเรียนมากอ่ นในคาบหนา้

สอื่ การเรยี นการสอน
สือ่ สิง่ พมิ พ์

1) แบบทดสอบก่อนเรียน
2) แบบทดสอบหลงั เรยี น
3) ใบงาน
4) แบบเรียน

ส่ือโสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1) เคร่อื งฉายสไลด์
2) เคร่ืองฉายภาพขา้ มศีรษะ

หุ่นจำลองหรือของจรงิ (ถา้ ม)ี

การประเมินผล
ก่อนเรยี น

นกั เรียนสามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกบั การจัดการคุณภาพอยา่ งคร่าวๆ ได้

ขณะเรยี น
1.) ครูใหน้ ักเรยี นตง้ั คำถามจากหัวข้อทีไ่ ด้รบั มอบหมายและตอบปญั หา
2.) ครูให้นกั เรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบท

หลังเรยี น
ครูใหน้ ักเรียนไปศกึ ษาเนอ้ื หาที่จะเรยี นในคาบถดั ไป

แผนการสอน หน่วยท่ี 3

ช่ือวชิ า สอนครั้งท่ี 3

ช่ือหนว่ ย ประวัติและพัฒนาการ ช่ัวโมงรวม 3
ของการจัดการคุณภาพ

ชอ่ื เร่ืองหรอื ช่อื งาน ประวัตแิ ละพัฒนาการของการจดั การคุณภาพ จำนวนชว่ั โมง 3

หวั ขอ้ เร่อื งและงาน

1. ประวัติและพฒั นาการของการจัดการคณุ ภาพ

2. ประวตั ความเป็นมา

3. จุดเด่นของการจัดการคุณภาพของญปี่ ุน่

4. การจดั การคณุ ภาพของตะวันตก

5. การถ่ายทอดความรกู้ นั ระหวา่ งญ่ีปนุ่ กบั สหรฐั อเมรกิ า

6. ความแตกต่างของการจดั การคณุ ภาพของญ่ีปุน่ กบั สหรัฐอเมรกิ าและยโุ รปตะวันตก

สาระสำคัญ

คู่แข่งในการพัฒนาการจัดการคณุ ภาพของโลก มสี ามกลมุ่ สหรฐั อเมรกิ า, ยโุ รปตะวนั ตก ญ่ปี ุ่น

และญ่ีปนุ่ แตก่ ารพัฒนาคุณภาพท่ีเปน็ ทยี่ อมรับ คือ การพัฒนาการของการจดั การคณุ ภาพของญป่ี นุ่

สมรรถนะทพี่ ึงประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี )

1. เข้าใจและสามารถอธบิ ายประวัติและความเป็นมาและพฒั นาการของการจัดการคุณภาพได้

2. เขา้ ใจและสามารถอธิบายการจัดการคณุ ภาพของญ่ปี นุ่ ได้

3. เขา้ ใจและสามารถอธบิ ายการจัดการคณุ ภาพของตะวันตกได้

4. อธิบายความแตกต่างของการจัดการคุณภาพญี่ปุ่นกับสหรฐั อเมริกาและยุโรปตะวนั ตกได้

5. สามารถนำหลกั การจัดการคุณภาพของญ่ีปนุ่ และยโุ รปมาประยกุ ต์ใช้ในสงั คมและหนว่ ยงานได้

เน้ือหาสาระ

ความสำเร็จในการจดั การคุณภาพ ต้องยกใหญ้ ปี่ ่นุ ซ่งึ ทำให้ญีป่ นุ่ สง่ ออกสนิ คา้ อุตสาหกรรม
ทีม่ ีคุณภาพหลงั สงครามโลกครั้งท่ี 2 จนสามารถแขง่ ขันกับตะวนั ตกได้

1. กลุม่ คุณภาพหรือกลมุ่ ควบคมุ คุณภาพ
2. ทมี โครงการ เปน็ การวเิ คราะห์แกป้ ญั หาเร้ือรังและเป็นปญั หาใหญ่ ทมี โครงการหน่ึง ๆ
จะประกอบไปด้วยกลมุ่ ผูน้ ำ คุณภาพรวมท้ังหวั หน้าคนงานและวศิ วกร
3. การตดั สินใจที่เหน็ พ้องกนั โดยการริเริ่มจากระดบั ล่าง นำเสนอด้านบนเพือ่ ขอความ
เห็นพอ้ ง ขอ้ ดี
4. ควบคุมตนเอง แบง่ เปน็ 2 ความหมายคือ การให้คนผลติ สนิ ค้าและบริการเปน็ คน
ตรวจคุณภาพเอง และ การใหพ้ นักงานมีสว่ นร่วมในการวางแผน คือ พนกั งานมสี ่วนรว่ มออกแบบ
กระบวนการในการทำงานดว้ ย
5. การควบคมุ ทางสังคมและวัฒนธรรม การจดั การคณุ ภาพของญป่ี ุ่นคำนึงถึงปัจจยั ทาง
สงั คมวัฒนธรรม โดยคนญ่ีปนุ่ มองวา่ ความสมั พันธ์กันควรเป็นสมานฉนั ท์
6. การควบคุมทางเศรษฐกิจ เนื่องจากนายจา้ งของญ่ปี ุ่นประมาณรอ้ ยละ 40 เป็นการจ้าง
งานตลอดชีพ (Lifetime emolument ) ดงั นั้นพนักงานที่อยู่ตอ้ งเป็นผู้มผี ลงานถ้าผลงานไม่ดตี ้อง
ออกจากงาน
7. การสรรหา การคัดเลือก ซงึ่ บรษิ ัทญีป่ นุ่ รบั คนโดยการสัมภาษณ์และสอบ ซึง่ เป็นการ
ปฏบิ ตั ิท่ีกระทำสม่ำเสมอ และองคก์ ารจะได้คนดเี ขา้ ไปทำงาน องค์การของญ่ปี ุ่นนยิ มให้มกี าร
หมนุ เวยี นงาน (Job relational assignments) เพือ่ ทักษะรอบด้านและสอนให้พนกั งานเข้าใจ
ปรัชญา

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ปฏิสันถารกบั นักเรยี นเพอ่ื สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทึกขอ้ ความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่เข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรียนศกึ ษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ ังจากผสู้ อน

6. อาจารยผ์ ู้สอนอธิบายเนอื้ หาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เข้าใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรยี นซักถามกบั บทเรียนท่ีได้อธิบายใน - ให้แตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานว่ามีขอ้ สงสัยอะไรบา้ ง

ข้ันสรปุ - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธบิ ายเน้ือหาจากใบงานเพ่ิมเตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ ักเรียนไปคน้ คว้าความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ รอื่ งท่ีจะเรยี นใน

เพิ่มเติมเก่ียวกับหัวข้อที่กำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทมี่ อบหมายหรอื กิจกรรม
ก่อนเรยี น

1.) มกี ารสนทนาพดู คยุ ระหว่างผ้สู อนกับผเู้ รยี น
2.) ให้นักเรียนศึกษาความรู้จากใบงานหรือแบบเรยี นทใ่ี ห้
3.) ใหท้ ำแบบทอสอบกอ่ นเรียน

ขณะเรียน
1.) ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุม่ กนั กล่มุ ละ 5-6 คน
2.) ครผู ้สู อนมอบหมายงานใหน้ ักเรยี นไปทำรายงานหรอื คน้ คว้าเรอ่ื งท่กี ำหนดให้
3.) ให้แต่ละกลมุ่ ออกมารายงานหน้าชั้นเรียน
4.) ใหผ้ ู้ซักถามกับข้อสงสยั ในหัวข้อท่กี ำหนดขน้ึ
5.) กล่มุ ผู้ออกรายงานถามกลับ ว่าผ้ฟู ังเข้าใจในเนือ้ หาการทำรายงานมากเพียงใด
6.) ผูส้ อนสรุปในเนือ้ หาของแต่ละกล่มุ ท่ีออกรายงาน

หลงั เรียน
3.) ทำแบบฝึกหัดทา้ ยบท
4.) ให้นกั เรียนไปศกึ ษาเนอ้ื หาทีจ่ ะเรยี นมาก่อนในคาบหน้า

สอื่ การเรยี นการสอน
ส่ือสิง่ พมิ พ์

1.) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2.) แบบทดสอบหลงั เรยี น
3.) ใบงาน
4.) แบบเรียน

สือ่ โสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1.) เคร่ืองฉายสไลด์
2.) เครอ่ื งฉายภาพข้ามศีรษะ

หุ่นจำลองหรอื ของจริง (ถา้ ม)ี

การประเมินผล
กอ่ นเรยี น
นกั เรียนสามารถอธบิ ายประวัติและพฒั นาการของการจดั การได้โดย สังเขป

ขณะเรยี น
1.) ครใู หน้ กั เรยี น ต้งั คำถามจากการหวั ข้อทกี่ ำหนดให้ และตอบปัญหากนั เองภายในกลมุ่
2.) ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบท

หลงั เรียน
ครใู ห้นกั เรียนไปศึกษาเนือ้ หาที่จะเรยี นในคาบถัดไป

แผนการสอน หน่วยที่ 4

ช่ือวชิ า สอนคร้ังที่ 4

ช่ือหนว่ ย กลุ่มคุณภาพและการ ช่วั โมงรวม 3
ควบคมุ คุณภาพท่ัวทงั้ องคก์ ารของญ่ปี นุ่

ชือ่ เร่อื งหรอื ซ่ืองาน กลมุ่ คุณภาพและการควบคุมคุณภาพทว่ั ทง้ั องค์การ จำนวนช่วั โมง 3

ของญปี่ นุ่

หัวข้อเร่อื งและงาน

1. ความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่าง QTC หรอื TQM

2. แนวคิดเร่ือการควบคมุ ภาพท้งั องคก์ รของญี่ปุน่

3. ความหมายและลกั ษณะสำคัญของการควบคมุ คุณภาพทง้ั องค์การ

4. หลกั การของการของการควบคุมคุณภาพทง้ั องค์การ

5. แนวคิดกับกลุม่ คุณภาพ

6. ลักษณะสำคัญของกลุ่มคณุ ภาพ

7. วัตถุประสงค์ของกลุม่ คุณภาพ

8. หนา้ ท่ีของกลมุ่ คุณภาพ

9. ประโยชน์ที่ได้รบั จากเครือข่ายคณุ ภาพ

10. ปัญหากล่มุ คณุ ภาพสนใจ

11. แนวทางพัฒนากลมุ่ คุณภาพ

12. ความสำเรจ็ และความลม้ เหลวของกลุม่ คุณภาพ

สาระสำคญั

ญปี่ ุ่นไดน้ ำแนวการจดั การคุณภาพทง่ั ทั้งองค์การ TQC มาใช้ทำใหโ้ ดดเดน่ ไปทว่ั ท้งั โลกชึ่งกลุม่ คณุ ภาพและ

การควบคุณภาพทวั่ ท้ังองคก์ ารญีเ่ ปน็ ทีย่ อมรับกันท้ังโลกและเปน็ ต้นแบบในการพฒั นาการด้าน

อุสาหกรรม การค้า และการจัดการทางด้านตา่ งๆ ต่อมาจนถงึ ปัจจุบนั น้ี

สมรรถนะทพี่ ึงประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ)

1. สามารถอธบิ ายความแตกต่างระหว่าง TQC กบั TQM

2. สามารถอธบิ ายความหมายแนวคิดและหลกั สำคัญของการควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองค์การ

3. สามารถอธิบายแนวคิดลกั ษณะสำคัญ วัตถุประสงคแ์ ละหนา้ ท่ขี องกลมุ่ คุณภาพได้

4. สามารถอธิบายปัญหา แนวทางพฒั นา ความสำเรจ็ และความลม้ เหลวของกลุ่มของคุณภาพได้

5. สามารถนำหลกั การกลมุ่ คุณภาพไปประยกุ ตใ์ ช้ในสังคมและหน่วยงานได้

เนอ้ื หาสาระ
1. ความสมั พันธแ์ ละความแตกตา่ งระหวา่ ง TQC กบั TQM

เป็นความแตกต่างกนั ทางด้านวัฒนธรรม การเมือง และปัญญา TQM จะถกู นำไปใช้ในองค์การ
และองค์การและวิชาการมากกว่า แฮกแมน (Hackman) และเนลแมน (Nageman) ระบุวา่ เดมมิง
อซิ ิกาวาและจูราน เปน็ ก่อต้ังปัญญา TQM

2. หลกั การสำคญั ของการควบคณุ ภาพท่ัวทง้ั องคก์ าร
- คุณภาพมากอ่ น (quality first) ถ้าบรษิ ัทยดึ หลกั การคณุ ภาพมากอ่ นแลว้ กำไรจะได้
มากขึ้น
- มุง่ ไปทล่ี กู ค้าไมใ่ ช่ผูผ้ ลิต (Connive and nol produeev Orientation)
- กระบวนการต่อไป คอื ลกู ค้าของคุณ (the neyt process I your customs)
ถา้ ทกุ คนคดิ ว่าต่างกเ็ ปน็ ลูกค้าซง่ึ กันแลกัน และคิดเสมอต้องทำให้ลกู ค้าในข้นั นกั คดิ

ไป
พอใจกจ็ ะเกิดการปรปั รงุ คณุ ภาพการควบคุมคุณภาพทัง้ องคก์ ารจะเกิดขนึ้ ได้

- นำเสนอข้อเท็จจริงและข้อมลู ด้วยการใช้วิธีการทางสถติ ิ (Pksentation with ducts
Data : Use of StavisticaI method)

- ยดึ ปัญญาในการท่เี คารพตอ่ ความเป็นมนุษย์ (repent for hematite a management
philosophy) หลักสำคัญของความสำเรจ็ อยทู่ ่กี ารมอบอำนาจให้พนกั งานเพอ่ื ให้เขา้

ได้มี
โอกาสใช้ความสามารถอย่างเตมิ ท่ี

- การจัดการต่างหน้าที่ และคณะกรรมการตา่ งหนา้ ที่ (Cross-phonation managemu
Doss-phonation Committees)

3. ปัจจัยท่ีมีผลอย่างมากตอ่ ความสำเรจ็ ของกลุ่มคุณภาพ
- ความผูกพนั และความสนบั สนนุ ของผู้บริหาร
- การมีสว่ นรวมและสนับสนนุ จากพนกั งานและสภาพแรงงาน
- การฝึกอบรมสมาชิกและผนู้ ำ
- ความมง่ั คงขององคก์ ารและการเงนิ
- ลักษณะสว่ นตวั ของผอู้ ำนวยความสะดวก
- สภาพแวดลอ้ มภายนอกและภายในขององคก์ าร
- ความพร้องขององคก์ ารและการนำนโยบายไปปฏบิ ตั ิ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น

1. ปฏิสันถารกบั นักเรยี นเพอ่ื สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทึกข้อความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนทเ่ี ข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ ังจากผสู้ อน

6. อาจารยผ์ ู้สอนอธิบายเนอื้ หาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เข้าใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรยี นซักถามกบั บทเรยี นท่ีได้อธิบายใน - ให้แตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานว่ามีขอ้ สงสัยอะไรบา้ ง

ข้ันสรปุ - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธบิ ายเน้ือหาจากใบงานเพ่ิมเตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ ักเรียนไปคน้ คว้าความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ ร่ืองท่ีจะเรยี นใน

เพิ่มเติมเก่ียวกับหัวข้อที่กำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทีม่ อบหมายหรือกจิ กรรม
กอ่ นเรยี น

1) มีการสนทนาพูนคุยระหว่างผู้เรยี นกับผสู้ อน
2) ใหน้ กั เรียนทบทวนเนอื้ หาความรู้จากใบงาน
3) ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ขณะเรยี น
1) ใหน้ ักเรียนแบ่งกล่มุ ออก กล่มุ ละ 5-6 คน
2) ใหน้ ักศกึ ษาไปทำรายงานเร่ืองท่กี ำหนดให้โดยแต่ละกล่มุ ส่งตวั แทนออกมาจบั ฉลากเพือ่ เล่อื ก

หัวขอ้
3) ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมาหน้าชัน้ เรียน
4) ให้ผอู้ อกรายงานต้ังปญั หาคนละข้อทีไ่ มเ่ ข้าใจ
5) ให้ผู้อกรายงานตง้ั ปัญหาคนละขอ้ แลว้ ถามผู้ฟงั โดยเลือกเอา
6) ผู้สอนสรปุ เนอื้ หาของแต่ละกลมุ่ เพิ่มเตมิ

หลักเรียน
1) ใหท้ ำแบบฝกึ หัดทา้ ยบท
2) ใหน้ กั เรยี นไปศึกษาเนอ้ื หาท่จี ะเรียนในคาบถัดไป

ส่ือการเรยี นการสอน 2) แบบทดสอบหลกั เรยี น
สือ่ สิง่ พมิ พ์ 3) แบบเรยี น
1) แบบทดสอนกอ่ นเรียน
3) ใบงาน 2) เครอ่ื งฉายขา้ มศรี ษะ

สือ่ โสตทศั น์ (ถ้าม)ี
1) เคร่อื งฉายสไลด์

หุ่นจำลองหรอื ของจริง (ถ้าม)ี

การประเมินผล
กอ่ นเรียน

ใหน้ ักเรียนสามารถอธิบายกลุม่ คุณภาพและการควบคณุ ภาพทว่ั ทงั องคก์ ารของญีป่ นุ่ ได้
โดยสังเขป

ขณะเรียน
1.) ครูให้นักเรียนตงั้ คำภามจากหวั ข้อทไี่ ด้รับมอบหมายและตอบปัญหากันเองภายในกล่มุ
2.) ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ท้ายบท

หลกั เรยี น
ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นไปศึกษาความรู้เร่อื งทจี่ ะเรยี นในคาบถัดไป

แผนการสอน หน่วยท่ี 5

ชื่อวิชา สอนคร้ังท่ี 5

ชื่อหน่วย การควบคุมคุณภาพและ

การประกันคณุ ภาพตามแนวทาง ช่ัวโมงรวม 3

ของญปี่ นุ่

ชือ่ เรื่องหรอื ชอื่ งาน การควบคุมคณุ ภาพและการประกนั คณุ ภาพ จำนวนชว่ั โมง 3
ตามแนวทางของญี่ปนุ่

หวั ขอ้ เร่อื งและงาน

1.) แนวคดิ เกย่ี วกบั การควบคมุ คณุ ภาพของญี่ปุ่น 2.) หลักการควบคุมคุณภาพของญ่ปี นุ่

3.) การแสดงออกของคณุ ภาพที่แท้จริง 4.) ขอ้ ควรระวงั ในการควบคุมตามมาตรฐาน

คุณภาพ

5.) แนวทางควบคุมคุณภาพของญ่ปี ่นุ 6.) อุปสรรคข์ องการควบคุมคุณภาพ

7.) ความหมายของการควบคุมคุณภาพของญ่ีปุ่น 8.) แนวทางประกนั คณุ ภาพของญี่ปนุ่

9.) ปัญหาของการตรวจคุณภาพ 10.) การแก้ไขปญั หา เมือ่ ไดส้ ง่ สินค้าไม่มีคุณภาพ

ไปยังลูกค้าได้

สาระสำคัญ

ในบรษิ ัทโรงงานอตุ สาหกรรมหรือองคก์ รต่างๆ จะมเี ครอื ข่ายการบริหารทีซ่ ับซอ้ น มสี มาชกิ ภายในองค์การ

เป็นจำนวนมาก บริษทั ใหญ่ๆอาจมพี นักงานเปน็ พนั คนหรือมากกวา่ นน้ั การผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร จะประสบ

ความสำเร็จไดด้ นี นั้ การควบคมุ คุณภาพและการประกนั คุณภาพนบั วา่ มีความสำคัญเพราะการประกันคุณภาพ

เป็นสว่ นหนึ่งของการควบคุมคุณภาพท่ัวทั่งองค์การ โดยมกี ลมุ่ คุณภาพเชือ่ มโยงไปถงึ การปฏิบตั งิ านในระดับ

ล่าง ฉะนน้ั ผู้บริหาร หัวหนา้ ฝา่ ย และพนักงานทกุ คนตอ้ งตระหนกั ในเรื่องน้ี

สมรรถนะท่พี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ)

1.) สามารถอธิบายแนวคิด หลกั การและแนวทางการควบคุมคุณภาพของญ่ีปนุ่ ได้

2.) สามารถอธิบายขอ้ ควรระวงั และอุปสรรคของการควบคุมคุณภาพได้

3.) สามารถเขา้ ใจความหมาย และแนวทางการประกันคณุ ภาพของญ่ีป่นุ ได้

4.) สามารถเขา้ ใจปัญหาตรวจสอบและแก้ไขคณุ ภาพได้

5.) สามารถนำหลกั ทศ่ี ึกษาไปประยกุ ตใ์ ช้ในสงั คมได้

เนอ้ื หาสาระ
1. เทคนิคการควบคุณภาพของญ่ีปุ่น
2. มาตรฐานการควบคุมคณุ ภาพของญ่ีปุน่
3. สง่ิ ทตี่ อ้ งคำนึงถงึ การควบคุมคณุ ภาพตามมาตรฐาน
4. ปญั หาของการควบคมุ คุณภาพ มใี จความสำคัญดงั น้ี

4.1) ไมเ่ อาใจใสแ่ ละขาดความรบั ผิดชอบของผบู้ ริหารงาน
4.2) การยึดเอามาตรฐานเดมิ เปน็ ทีต่ ง้ั
4.3) การหลงตวั เองว่าการดำเนนิ การของตนดีท่สี ุดแลว้
4.4) หลงคิดว่าแนวทางปฏบิ ตั ิทต่ี นสามารถทำได้ และมีความเช่อื มั่นในประสบการณ์

ของตวั เองมาก
4.5) คนท่ียดึ ตวั เองเป็นหลกั
4.6) คนท่ยี ึดตวั เอาความคิดเห็นของตวั เองเปน็ ท่ีต้ังเกนิ ไป
5. ดำเนินการแกไ้ ขปัญหาเมอ่ื ได้สง่ สินคา้ ทไ่ี มม่ ีคุณภาพ สามารถทำไดด้ งั นี้
5.1) รบั เปล่ียนสนิ คา้ ใหล้ ูกคา้ ใหม่ เพือ่ รักษาชอ่ื เสียงไว้
5.2) รวมระยะรบั ประกนั และกำหนดการบรกิ ารซอ่ มฟรใี หช้ ัดเจน
5.3) การจา่ ยเงินชดเชยตามสญั ญา ควรระบุเงื่อนไขใหช้ ัดเจน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความแน่ใจ ระหว่าง

ลกู คา้ กับผู้ผลติ
5.4) จดั ตง้ั สถานท่ีบริการ สินค้าท่ีมีสรรถนะ 5-10 ปี ผู้ผลิตควรรับผิดชอบในการซ่อม

บำรงุ รักษาให้คงสภาพเดมิ
5.5) การจดั ค่มู อื และวิธกี ารใชก้ ารตรวจสอบต่างๆ แกล่ ูกค้า
5.6) การสนับสนนุ ชน้ิ สว่ นตลอดการใชง้ าน

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ปฏิสันถารกับนักเรยี นเพอ่ื สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทกึ ข้อความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนทเ่ี ข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรียนศกึ ษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ ังจากผสู้ อน

6. อาจารยผ์ ู้สอนอธิบายเนอื้ หาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เข้าใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรยี นซักถามกบั บทเรยี นท่ีได้อธิบายใน - ให้แตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานว่ามีขอ้ สงสัยอะไรบา้ ง

ข้ันสรปุ - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธบิ ายเน้ือหาจากใบงานเพ่ิมเตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ ักเรียนไปคน้ คว้าความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ ร่ืองท่ีจะเรียนใน

เพิ่มเติมเก่ียวกับหัวข้อที่กำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานท่มี อบหมายหรอื กจิ กรรม
ก่อนเรยี น

1) มกี ารสนทนาพดู คุยระหวา่ งผสู้ อนกับผเู้ รยี น
2) ให้นกั เรียนศึกษาความร้จู ากใบงานหรือแบบเรียน
3) ใหท้ ำแบบทอสอบก่อนเรยี น

ขณะเรียน
1. ใหน้ ักเรยี นทำงานกนั เป็นกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่ม มี 5-6 คน
2. ผสู้ อนมอบหมายให้นกั เรยี นไปทำการคน้ ควา้ เรื่องท่กี ำหนดให้
3. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมารายงานหนา้ ชัน้ เรียน
4. เปิดโอกาสให้ผู้ฟงั ซกั ถามในบางหวั ขอ้ ไม่เข้าใจ
5. กลุ่มผ้อู อกรายงานถามผู้ฟงั คนื โดยแต่ละคนในกลุ่มต้ังปญั หาคนละ 1 ขอ้
6. ผู้สอนสรุปเนือ้ หาและอธิบายเพิ่มเตมิ ในแตล่ ะกลุม่

หลงั เรยี น
1) ทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
2) ให้นกั เรยี นไปศึกษาเนอ้ื หาทจ่ี ะเรยี นมากอ่ นในคาบหน้า

สอื่ การเรยี นการสอน
สื่อสิ่งพิมพ์

1) แบบทดสอบก่อนเรยี น
2) แบบทดสอบหลังเรียน
3) ใบงาน
4) แบบเรียน

สอ่ื โสตทศั น์ (ถ้าม)ี
1) เครื่องฉายสไลด์
2) เคร่ืองฉายภาพขา้ มศีรษะ

ห่นุ จำลองหรือของจรงิ (ถา้ ม)ี

การประเมนิ ผล
ก่อนเรียน

นักเรียนสามารถอธิบายรายละเอยี ดเรื่องการควบคณุ ภาพ และการประกนั คุณภาพตามแนวทางของญี่ป่นุ ได้

ขณะเรียน
ให้นกั เรียน ต้ังคำถามจากหัวขอ้ ท่ีไดม้ อบหมาย และสามารถตอบปัญหาดว้ ยกันเองภายใน
กล่มุ ได้

หลังเรียน
ให้นักเรยี นไปศึกษาเนอื้ หาที่จะเรยี นในคาบถัดไป

แผนการสอน หนว่ ยท่ี 6
ชือ่ วิชา สอนคร้ังท่ี 6
ชอ่ื หน่วย ISO 9000:2000 ชัว่ โมงรวม 3

ช่อื เรื่องหรือช่ืองาน ISO 9000:2000 จำนวนชงั่ โมง 3

หัวขอ้ เรื่องและงาน

1. ISO 9000:2000 2. ความรู้ท่วั ไปเก่ยี วกับ ISO 9000 3. หลักการของ ISO 9000

4) การจดั ทำเนยี บ ISO 9000 5. ประโยชน์ของ ISO 9000 6. โครงสร้างของ ISO 9000

7. แนวทางการพัฒนาและการจดั การระบบคณุ ภาพ ISO 9000 8. ระบบคณุ ภาพ 9. การตรวจสอบคุณภาพ

สาระสำคญั

เป็นที่ทราบโดยท่วั กนั แลว้ วา่ ISO 9000 เป็นมาตรฐานระบบคณุ ภาพทร่ี จู้ ักรกนั ดีและเปน็ ที่ยอมรับกัน

โดยท่วั โลก ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ให้เกดิ เปน็ มาตรฐานต่างๆตามมา คือ ISO 14000 ISO 18000 และ

ISO 9000:2000 คนส่วนมากมีความสำนกึ และเข้าใจวา่ ISO 9000 มคี วามซบั ซ้อน แต่สงั คมโลกมกี าร

เปลย่ี นแปลง ฉะน้ันมาตรฐานต่างๆจะตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงกันบา้ ง ISO 9000 เปน็ มาตรฐานระบบคณุ ภาพท่ี

คลอบคุมไปถึงการผลิต การบริการ การกำหนดแนวทางคณุ ภาพ ได้รบั บริการเขา้ กับการปฏิบัตแิ ละปรับตวั อยู่

ตลอดเวลา

สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณนักวชิ าชีพ)

1. อธบิ ายความร้ทู ่วั ไปและนำหลักการของ ISO 9000 ได้

2. สามารถอธบิ ายแนวทางการพฒั นาและการจัดการระบบคณุ ภาพของ ISO 9000 ได้

3. สามารถทราบวิธกี ารตรวจสอบคณุ ภาพภายในได้

4. สามารถนำหลักการของ ISO 9000 ไปประยกุ ต์ใช้ในหน่วยงานได้

เนอ้ื หาสาระ
1. ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกับ ISO 9000

1.1 ลกั ษณะทว่ั ไปของ ISO 9000
1.2 ความเปน็ มาของ ISO 9000
2. การจัดทำทะเบียน ISO 9000
3. ประโยชน์ของ ISO 9000
4. โครงสร้างของ ISO 9000
5. แนวทางการพัฒนาและการจัดการระบบคณุ ภาพ ISO 9000 มอี งคป์ ระกอบพื้นฐานอยู่ 5 ประการคอื
5.1 ความรบั ผิดชอบของผบู้ ริหาร
5.2 ระบบคณุ ภาพ
5.3 ต้นทนุ คุณภาพ
5.4 การตรวจสอบคุณภาพภายใน
5.5 การบริหารงานบุคคลและการฝึกอบรม
6. การตรวจสอบคุณภาพภายใน

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรียนหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน

1. ปฏิสนั ถารกับนักเรียนเพือ่ สำรวจความพร้อม - ให้นกั เรียนทบทวนความรู้จากใบงาน

ของนกั เรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นกั ศึกษาพยายามจดบนั ทกึ ขอ้ ความท่ไี ด้ฟังจาก

3. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ผูส้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนกั เรียนท่เี ข้าเรยี นขนั้ สอน - ศึกษาส่ือและเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรยี นศึกษาข้อมูลจากใบงาน - จดบนั ทกึ ขอ้ ความทไี่ ด้ฟังจากผ้สู อน

6. อาจารย์ผู้สอนอธบิ ายเนอ้ื หาความร้จู ากใบงาน - ซักถามเมอื่ มปี ญั หาไม่เข้าใจในบทเรียน

7. ใหน้ กั เรยี นซกั ถามกับบทเรียนท่ไี ด้อธิบายในใบงาน - ตอบปญั หา

ว่ามขี ้อสงสยั อะไรบ้าง - ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลมุ่ กล่มุ ละ 5 คน

ข้นั สรุป

8. อธิบายเนอื้ หาจากใบงานเพ่มิ เตมิ - ให้นกั ศกึ ษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานทใ่ี ห้

9. มอบใบงานใหน้ กั เรียนไปค้นควา้ ความร้เู พมิ่ เติม - ให้นักศึกษาไปศกึ ษาความรเู้ รื่องที่จะเรียนใน

เกี่ยวกบั หวั ข้อท่กี ำหนดให้ สปั ดาห์หน้า

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรม
ก่อนเรยี น

1. มกี ารสนทนาระหว่างผู้เรยี นกบั ผู้สอน
2. ให้นกั เรยี นศกึ ษาความรู้จากใบงานท่ีให้
3. ให้ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
ขณะเรยี น
1. ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็นกลุ่ม กลุม่ ละ 5-6 คน
2. ใหน้ ักเรยี นไปศกึ ษาคน้ ควา้ เรอ่ื ง ISO 9000
3. ให้นักเรียนทไี่ ปค้นคว้าเรอ่ื งท่กี ำหนดใหอ้ อกมารายงานทล่ี ะกลุม่
4. ให้ผ้ฟู งั ถามกลุ่มผู้ออกรายงานในบางหัวขอ้ ทย่ี ังไมเ่ ขา้ ใจ
5. ให้กล่มุ ผอู้ อกรายงานถามผู้ฟังคอื ว่าผ้ฟู งั เขา้ ใจในหัวขอ้ มากน้อยเพยี งใด
6. ครสู อนสรุปและอธบิ ายเพิ่มเตมิ
หลังเรยี น
1. ทำแบบฝกึ หัดท้ายบท
2. ให้นักเรียนไปศกึ ษาความรู้จากเนื้อหาเรือ่ งทจ่ี ะเรียนในคาบถัดไป

สอ่ื การเรียนการสอน
ส่ิงพิมพ์
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2. แบบทดสอบหลงั เรียน
3. ใบงาน
4. แบบเรยี น

ส่อื โสตทศั น์ (ถา้ ม)ี
1. เครอ่ื งฉายสไลด์
2. เครื่องฉายข้ามศรษี ะ

หุน่ จำลองหรอื ของจริง (ถา้ มี)

การประเมินผล
กอ่ นเรียน
นักเรยี นสามารถอธบิ ายเนอ้ื หาเกยี่ วกับ ISO 9000:2000 ได้อย่างคร่าวๆ

ขณะเรยี น
1. ให้นกั เรียนต้ังคำถามขึ้นเองภายในกลุ่ม และตอบปญั หาดว้ ยกันเอง
2. ใหท้ ำแบบฝกึ หัดท้ายบท

หลังเรียน
ให้นักเรยี นไปศึกษาเนือ้ หาที่จะเรียนในสปั ดาห์หนา้

แผนการสอน หน่วยท่ี 7

ชือ่ วชิ า สอนครงั้ ที่ 7

ชื่อหนว่ ย ความสำคญั ของการเพ่มิ ช่วั โมงรวม 3
ผลผลติ

ชื่อเรอ่ื งหรือช่อื งาน ความสำคญั ของการเพิ่มผลผลติ จำนวนชว่ั โมง 3

หวั ข้อเรือ่ งและงาน

1) ความเปน็ มาของการเพ่ิมผลผลิต

2) วตั ถุประสงค์ของการเพ่ิมผลผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม

3) ปจั จยั ทม่ี ีอิทธิพลของการเพ่ิมผลผลิตทง้ั ระดับชาติและระดับบรษิ ัท

4) แนวทางการปรับปรุงการเพม่ิ ผลผลิตในบริษทั

5) การปรับปรุงการเพิม่ ผลผลิต

6) ผลของการเพม่ิ ผลผลติ

7) กระบวนการเพิ่มผลผลิต

สาระสำคญั

การดำเนินธรุ กจิ อุตสาหกรรมนั้นเป็นสง่ิ สำคญั ในการประกอบธุรกจิ คือ การลงทนุ น้อยไดร้ บั

ผลตอบแทนหรอื กำไรมากกว่าทนุ ท่ีลงไป ทนุ ท่ลี งทนุ ไปบางสว่ นจะต้องทำการซื้อเครอ่ื งจกั รกลและ

เคร่ืองทีม่ รี ะบบการผลผลิตแบบอัตโนมตั ฉิ น้นั ผูป้ ระกอบการหรือผลู้ งทนุ ต้องพยายามคิดหาวิธีการในการ

ในการเพ่ิมผลผลิตให้กบั บริษทั โดยวธิ กี ารตา่ งๆ

สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ)

1) สามารถทราบความเปน็ มาและวัตถุประสงคข์ องการเพ่มิ ผลผลิตได้

2) สามารถอธิบายแนวทางและปัจจัยทมี่ อี ทิ ธพิ ลของการเพ่มิ ผลผลติ ระดับชาตแิ ละระดบั บริษทั ได้

3) สามารถทราบแนวทางการปรับปรุงการเพม่ิ ผลผลิตในบรษิ ทั ได้

4) สามารถทราบผลของการเพ่มิ ผลผลิตได้

5) สามารถทราบถึงกระบวนการเพม่ิ ผลผลติ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชุมชนและหน่วยงานได้

เนือ้ หาสาระ

1) ความเปน็ มาของการเพ่ิมผลผลิต
2) วัตถปุ ระสงค์ของการเพ่มิ ผลผลติ ในโรงงานอุตสาหกรรม

2.1) การสร้างความพอใจให้กับลกู ค้า
2.2)การมกี ำไรเพยี งพอและเหมาะสม
2.3)การใชเ้ งนิ ทุนในการผลติ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
2.4)การปฏบิ ตั ิต่อผู้สง่ มอบและลูกค้าอย่างยตุ ธิ รรม
2.5)การสรา้ งความพอใจแก่ผู้ถือหนุ้
2.6)การใหร้ างวลั ตอบแทนแก่ผู้มีสว่ นรว่ มอยา่ งเหมาะสมและเสมอภาค
2.7)การเป็นผู้มีความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม
3) ปจั จัยที่มีอิทธพิ ลของการเพ่มิ ผลผลิตทั้งระดบั ชาติและระดบั บรษิ ทั
3.1)นโยบายของรัฐบาล
3.2)ทรัพยากรทใ่ี ชป้ ระโยชน์ทางเศรษฐกจิ
3.3)คา่ นยิ มทางสงั คมและวฒั นธรรม
4) แนวทางการปรบั ปรุงการเพมิ่ ผลผลิตในบรษิ ัท
5) การปรับปรงุ การเพ่มิ ผลผลิต
6) ผลของการเพมิ่ ผลผลิต
7) กระบวนการของการเพิ่มผลผลิต

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ปฏิสันถารกบั นักเรยี นเพอ่ื สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทึกข้อความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนทเ่ี ข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ ังจากผสู้ อน

6. อาจารยผ์ ู้สอนอธิบายเนอื้ หาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เข้าใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรียนซักถามกบั บทเรยี นท่ีได้อธิบายใน - ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานวา่ มีขอ้ สงสัยอะไรบา้ ง

ข้ันสรปุ - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธบิ ายเน้ือหาจากใบงานเพ่ิมเตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ ักเรียนไปคน้ คว้าความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ ร่ืองท่ีจะเรยี นใน

เพิ่มเตมิ เก่ียวกับหัวข้อที่กำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทีม่ อบหมายหรอื กจิ กรรม
กอ่ นเรยี น

1) มีการสนทนาระหว่างผูเ้ รียนกบั ผู้สอน
2) ใหน้ กั เรียนศึกษาความรจู้ ากใบงาน
3) เชค็ ซ่อื นักเรยี น
4) ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
ขณะเรยี น
1) ใหน้ ักเรยี นทำงานกันเป็นกล่มุ กลุ่มละ 5-6 คน
2) ครผู ู้สอนมอบหมายงานใหไ้ ปทำรายงาน โดยแต่ละกลมุ่ มีการต้ัง ประธาน รองประธาน

เลขานกุ าร ฯลฯ
3) ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการรายงานหนา้ ชัน้ เรยี น
4) ผู้ฟงั ซักถามในบางเน้ือหาท่ียงั ไม่เข้าใจ
5) กล่มุ ผู้ออกรายงานแตล่ ะคนตงั้ คำถามขึ้นมาเพื่อถามกลบั คืนยงั ผฟู้ งั ว่าผู้ฟงั เขา้ ใจในเนอ้ื หามาเพียงใด
6) ครผู สู้ อนสรุปเนอ้ื หาการรายงานของแตล่ ะกล่มุ

หลังเรยี น
1) ทำแบบฝึกหัดทา้ ยบท
2) ให้นักเรียนไปศึกษาเนอ้ื หาที่จะเรียนมากอ่ นในคาบหนา้

สอ่ื การเรียนการสอน
สอ่ื สง่ิ พิมพ์

1) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2) แบบทดสอบหลงั เรยี น
3) ใบงาน
4) แบบเรยี น

ส่ือโสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1) เครอื่ งฉายสไลด์
2) เครือ่ งฉายภาพข้ามศรี ษะ

หุ่นจำลองหรอื ของจริง (ถา้ ม)ี

การประเมินผล
กอ่ นเรยี น

นกั เรียนสามารถอธิบายแนวคิดเก่ียวกับการจัดการคณุ ภาพได้อยา่ งครา่ วๆ

ขณะเรยี น
1.) นกั เรียนสามารถต้ังคำถามข้ึนในเนือ้ หาทเ่ี รียนได้และตอบปัญหาขึ้นกนั เองภายในกลุ่ม
2.) ให้ทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบท

หลังเรยี น
ครูใหน้ กั เรียนไปศึกษาเน้ือหาที่จะเรียนในคาบถดั ไป

แผนการสอน หนว่ ยท่ี 8
ช่ือวิชา ครง้ั ท่ี 8
ชอ่ื หนว่ ย องค์ประกอบของการเพมิ่ ผลผลิต ชว่ั โมงรวม 3

ช่อื เรื่องหรอื ช่ืองาน องคป์ ระอบของการเพิม่ ผลผลติ จำนวนช่วั โมง 3

หวั ข้อเรอื่ งและงาน

1. องคป์ ระกอบของการเพม่ิ ผลผลิต 5. ความปลอดภยั

2. คุณภาพ 6. ขวัญและกำลังใจในการทำงาน

3. ตน้ ทนุ 7. สง่ิ แวดล้อม

4. การสง่ มอบสินคา้ 8. จรรยาบรรณ

สาระสำคัญ
ในการดำเนินธุรกิจอตุ สาหกรรมหรือกิจกรรมต่างๆ องคป์ ระกอบในการเพิ่มผลผลิต

นับวา่ มีความสำคัญเพราะ เป็นประโยชน์แก่พนกั งาน ประธาน ผลู้ งทนุ และประเทศชาติ
สมรรณนะท่ีพึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )
1. ได้ทราบถงึ องคป์ ระกอบของการเพ่มิ ผลผลิตได้
2. สามารถเขา้ ใจความหมายของคุณภาพได้
3. สามารถเข้าใจความของต้นทนุ ได้
4. สามารถเขา้ ใจความของการสง่ มอบสนิ ค้าได้
5. สามารถเขา้ ใจความหมายของความปลอดภัยได้
6. สามารถเข้าใจของขวัญและกำลังใจในการดำเนินงานได้
7. สามารถเขา้ ใจความหมายของส่งิ แวดลอ้ มได้
8. สามารถเขา้ ใจความหมายของจรรยาบรรณได้
9. สามารถนำหลกั การขององค์ประกอบของสิ่งแวดลอ้ มไปประยุกต์ใชใ้ นนว่ ยงานได้

เน้ือหาสาระ
การผลติ จะต้องผลติ ้วยต้นทุนทตี่ แ่ ละสง่ มอบใหล้ กู คา้ ได้ทันเวลาพนกั งานต้องมคี วาม

ปลอดภยั และมขี วัญกำลังใจท่ีดีในการทำงาน นอกจากน้ัน ในการผลติ จะต้องไม่ทำลายส่งิ แวดล้อม
รวมกบั ผปู้ ระการต้องมจี รรยาบรรณในการดำเนนิ ธุรกจิ การเพิม่ ผลผลติ ท่ดี ีน้นั มอี งค์ประกอบท่สี ำคัญ
7 ประการคอื QEDSMEE

Q = คุณภาพ Quality สิ่งที่ลูกคา้ ตอ้ งการหรือพึงพอใจ(Satisfaction)
C = ต้นทนุ Cost ค่าจา่ ยตา่ งๆ ทจี่ ่ายในเพอ่ื ดำเนนิ การผลติ สินค้าหรือบรกิ ารบริษัท หรือ
โรงงานอุตสาหกรรม เชน่ การออกแบบผลติ ภัณฑ์ การทดสอบการผลิตการจัดเก็บ การบรรจุภัณฑ์
และส่งให้ลกู ค้าทนั เวลา เป็นต้น
D. การสง่ มอบ delivery โรงงานอุสาหกรรมจะตอ้ งสง่ สินคา้ ท่ีผลิตออกมาหรอื บริการตา่ งๆ ถึง

มือลูกค้าตรงตามเวลาท่ีกำหนด โดยวธิ ีการทีท่ ำให้หน่ายงานผลติ และสง่ ชัน้ งานไปยัง
หนว่ ยงานตอ่ ไปได้โดย ไมล่ า่ ช้า เพ่ือท่ีจะส่งมอบสนิ ค้าได้ตามกำหนดเวลาท่ีลูกคา้ ต้องการ
S. ความปลอดภัย Safety สถานะการณ์ปราศจากอบุ ัติเหตุ หรือสถานที่ปราศจากภยั ซ่ึงก่อ
ให้ เกิดการบาดเจบ็ หรอื สูญเสยี และความปลอดภยั จากแสงเสยี ง กลน่ิ และระบบประ
สาดต่างๆ
M. ขวัญและกำลงั ใจในการทำงาน Morale สภาพทางจติ ใจของพนกั งานความรู้สึกนักคิดทไ่ี ด้ รับ
อทิ ธิพลจากแรงกดดนั หรือสิง่ เราปัจจยั หรือสภาพแวดลอ้ มในโรงงานอสุ าหกรรมและ
ปฏกิ ริ ิยาโต้กลับ
E. ส่งิ แวดล้อม Environment แรงผลติ ดนิ ต่างๆ ท่ีผลกระทบต่อกระบวนการผลิตสินคา้ ของ
บรษิ ทั การผลิตท่ีดีบริษัทจะต้องรับผดิ ชอบ ไม่สร้างมลพิษและทำลายสง่ิ แวดลอ้ ม
E. จรรยาบรรณในการดำเนินธรุ กจิ Ethics มาตรฐานการปฏิบัติ หรอื การวินิจฉยั ตัดสินใจ ของ
ผ้บู รหิ ารท่ไี ม่เบียดเบยี น หรือเอาเปรียบลกู ค้า พนักงาน มาตรฐานการปฏบิ ตั หิ รอื การวนิ จิ ฉัย
ตดั สินใจของผูบ้ รหิ ารที่ไม่เบียดเบยี นหรอื เอาเปรยี บลูกค้า พนกั งานค่แู ข่ง และผูข้ าย เปน็ ต้น

องคป์ ระกอบการเพือ่ ผลผลติ สามารถแยกออกได้ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี
1. QCD. เปน็ การเพื่อผลผลติ เพ่ือลูกคา้ คอื ผลิตสินคา้ ที่มีคณุ ภาพตามท่ีลูกค้ากำหนดโดยมกี าร

ควบคุมคุณภาพการผลติ การจัดส่งท่ตี รงเวลา เพอื่ สร้างความมันใจให้กบั ลกู ค้า
2. SM. เป็นการเพ่ิมผลผลิตเพ่ือประโยชน์ของพนกั งาน คือ จดั มาตรการทำงาน อย่างปลอดภยั

และเกิดขวัญและกำลังใจในการผลติ สนิ คา้
3. EE. เป็นการเพ่ิมผลผลิตเพอ่ื สังคม คอื ทำให้พนักงานมคี วามสขุ ในการทำงานจาก

ส่ิงแวดล้อมภายในและภายนอกโรงงาน แก้ปัญหาอุปสรรคที่เคยมีให้หมดไป และผูผ้ ลติ จะต้อง
มจี รรยาบรรณในการดำเนินธรุ กจิ ดว้ ย

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั เรียน

ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน

1. ปฏิสนั ถารกับนักเรียนเพือ่ สำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรจู้ ากใบงาน

ของนกั เรียน - นักเรยี นฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบันทึกข้อความท่ไี ด้ฟังจาก

3. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ผ้สู อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนท่เี ข้าเรยี นขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นกั เรยี นศึกษาข้อมูลจากใบงาน - จดบนั ทึกข้อความท่ไี ดฟ้ ังจากผ้สู อน

6. อาจารย์ผู้สอนอธบิ ายเนอ้ื หาความร้จู ากใบงาน - ซกั ถามเม่ือมปี ญั หาไม่เขา้ ใจในบทเรียน

7. ใหน้ กั เรยี นซกั ถามกับบทเรียนท่ไี ด้อธิบายในใบงาน - ตอบปญั หา

ว่ามขี ้อสงสยั อะไรบ้าง - ให้แต่ละกลมุ่ ทำงานเป็นกลมุ่ กล่มุ ละ 5 คน

ข้นั สรุป

8. อธิบายเนอื้ หาจากใบงานเพ่มิ เตมิ - ใหน้ กั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานทใ่ี ห้

9. มอบใบงานใหน้ กั เรยี นไปค้นควา้ ความร้เู พิ่มเติม - ใหน้ ักศึกษาไปศึกษาความรู้เรื่องที่จะเรียนใน

เกี่ยวกบั หวั ข้อท่กี ำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทม่ี อบหมายหรอื กจิ กรรม
ก่อนเรียน

1) มีการสนทนาพูดคุยระหว่างผู้เรยี นกบั ผู้สอน
2) ให้นกั เรยี นศกึ ษาความรู้จากใบงาน
3) ใหท้ ำแบบทดสอบทา้ ยบท

ขณะเรียน
1) อาจารยผ์ ู้สอนอธบิ ายเน้อื หาความรู้เก่ยี วกบั องคป์ ระกอบการเพม่ิ ผลผลิต
2) นกั เรียนจดบนั ทกึ คำบรรยายลงในสมุด
3) นักเรยี นถามครผู สู้ อบเม่ือไม่เข้าใจในเนอ้ื หาอธบิ าย
4) ครสู รุปเนื้อหาเพ่ิมเติม

หลักเรยี น
1) ให้ทำแบบฝกึ หัดท้ายบท
2) ครูให้นักเรียนไปดเู นอ้ื หาท่ีจะเรียนในคาบถดั ไป

สือ่ การเรยี นการสอน 2) แบบทดสอบหลักเรยี น
สื่อส่งิ พิมพ์ 4) แบบเรียน
1) แบบทดสอบก่อนเรยี น
3) ใบงาน

สือ่ โสตทศั น์ (ถ้าม)ี 2) เครือ่ งฉายขา้ มศีรษะ
1) เคร่อื งฉายสไลด์

หุ่นจำลองหรือของจริง (ถ้ามี)

การประเมินผล
ก่อนเรยี น

นักเรยี นสามารถอธิบายความหมายองค์ประกอบของการเพิม่ ผลผลติ ไดโ้ ดยคราวๆได้

ขณะเรยี น
1) ครใู หน้ ักเรยี นต้งั โจรยจ์ ากหัวข้อท่ไี ด้และตอบปัญหากันเองภายในกลุ่มได้
2) ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัดท้ายบท

หลักเรียน
ครใู ห้นกั เรยี นไปศกึ ษาความรู้เรอ่ื งที่จะเรียนในคาบถดั ไป

แผนการสอน หน่วยท่ี 9
ชือ่ วชิ า สอนคร้ังท่ี 9
ชื่อหนว่ ย การเพิม่ ผลผลติ ช่วั โมงรวม 3

ชื่อเรอื่ งหรอื ชือ่ งาน การเพ่ิมผลผลติ จำนวนช่วั โมง 3

หวั ขอ้ เร่อื งและงาน

2.) การเพ่ิมผลผลติ ทนุ 2.) การลดต้นทุนการผลิต

3.) การลดต้นทนุ การทำงานของเครือ่ งจกั ร 4.) การลดตน้ ค่าจ้างแรงงานของพนกั งาน

5.) การประหยดั พลงั งาน 6.) การเพม่ิ ผลผลิตที่ดนิ และสง่ิ ก่อสรา้ ง

7.) การเพ่มิ ผลผลติ ดา้ นการเงิน 8.) การเพ่ิมผลผลติ กำลังคนหรือแรงงาน

9.) ความสำคญั ของกำลงั คนหรอื แรงงาน 10.) องค์ประกอบท่สี ำคญั ในการวางแผนกำลงั คน

11.) ประโยชน์ของการวางแผนกำลังคน

สาระสำคญั

ตามที่ทราบกนั แลว้ วา่ การเพม่ิ ผลผลิตสนิ คา้ ของบรษิ ัทหรอื โรงงานอตุ สาหกรรมนน้ั มปี จั จยั มา

เกย่ี วข้องกับการเพม่ิ ผลผลิต เช่น นโยบาย ทรัพยากรและคา่ นิยมทางสงั คมและวัฒนธรรม ดงั นัน้

ผู้บริหาร หรือผู้จัดการจำเป็นอยา่ งยิง่ ที่จะต้องหาแนวทางในการปรับปรุง และการเพ่มิ ผลผลิต ในบรษิ ทั

หรอื โรงงานอุตสาหกรรม

สมรรถนะท่พี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ)

1.) เข้าใจความหมายของการเพม่ิ ผลผลิตทุนได้

3.) เข้าใจความหมายของการลดต้นทุน โดยลดวัตถุดิบ ลดต้นทุนการทำงานของเครือ่ งจักรและลดตน้

คา่ จา้ งแรงงานของพนักงาน

4.) สามารถเขา้ ใจการเพิ่มผลผลิตทีด่ ินและสิง่ ก่อสรา้ ง การเพ่มิ ผลผลิตดา้ นการเงนิ และการเพ่ิม

ผลผลติ กำลงั คนหรอื แรงงานได้

5.) สามารถอธิบายความสำคญั ของกำลงั คนหรอื แรงงานได้

6.) สามารถอธบิ ายองคป์ ระกอบและประโยชนข์ องการวางแผนกำลงั คนได้

7.) สามารถนำหลกั การทศ่ี กึ ษา ไปประยุกต์ใช้ในการเพมิ่ ผลผลติ ได้

เนื้อหาสาระ

1.) การเพ่มิ ผลผลิตการลงทนุ

2.) การลดตน้ ทุนในการผลิต สามารถทำได้ดังต่อไปน้ี

2.1) การวิเคราะห์คุณค่าหรือวศิ วกรรมคุณค่า 2.2) ขจัดการสญู เสียของ

วตั ถุดิบ

2.3) การปรบั ปรุงระบบการขนยา้ ย 2.4) การนำวัตถดุ ิบผ่านการใช้งาน

แลว้ กลบั มาใหม่

3.) การลดต้นทนุ ค่าจ้างแรงงานของพนกั งาน

3.1) การพัฒนาพนักงาน

3.2)ใชห้ ลกั การบรหิ ารจดั การดำเนินการให้พนักงานปฏิบตั งิ านได้งา่ ยและมีประสทิ ธิภา 3.3)

พฒั นาและฝกึ ฝนใหม้ ที ักษะการทำงานหลายๆ ดา้ นหาการประหยดั พลังงาน

4.) การประหยัดพลังงาน

5.) ความสำคญั ของกำลังคนหรอื แรงงาน

6.) ปจั จยั ท่มี ีผลกระทบต่อการเพ่มิ ผลผลิตกำลังคนหรือแรงงาน ประกอบด้วย

6.1) ทศั นคติ ในการทำงาน (Work attitude)

6.2) ระดบั ทกั ษะของกำลังคนหรอื แรงงาน (Level of Skill)

6.3) สมั พนั ธภาพของพนักงานกบั ฝา่ ยบรหิ ารขององค์การ (Labour management)

6.4) การบริหารการเพมิ่ ผลผลิต (Productivity management)

6.5) การวางแผนกำลังคน (Manpower planning)

6.6) ความเปน็ ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur)

7. ) ประโยชน์ของการวางแผนกำลงั

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรยี น

ข้ันนำเข้าสูบ่ ทเรยี น

1. ปฏิสันถารกบั นักเรยี นเพ่ือสำรวจความพร้อม - ให้นักเรียนทบทวนความรูจ้ ากใบงาน

ของนักเรียน - นกั เรียนฟงั คำบรรยายจากผู้สอน

2. แจกใบงาน - นักศึกษาพยายามจดบนั ทึกข้อความทีไ่ ด้ฟงั

3. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จากผสู้ อน

4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนทเ่ี ข้าเรียนขนั้ สอน - ศกึ ษาสอ่ื และเอกสารจากใบงานที่แจกให้

5. ให้นักเรยี นศกึ ษาขอ้ มลู จากใบงาน - จดบันทกึ ขอ้ ความท่ีไดฟ้ ังจากผสู้ อน

6. อาจารยผ์ ู้สอนอธิบายเนอื้ หาความรจู้ าก - ซกั ถามเม่ือมีปัญหาไม่เข้าใจในบทเรยี น

ใบงาน - ตอบปัญหา

7. ให้นักเรยี นซักถามกบั บทเรยี นท่ีได้อธิบายใน - ให้แตล่ ะกลุ่มทำงานเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ใบงานวา่ มีขอ้ สงสัยอะไรบา้ ง

ข้ันสรปุ - ให้นกั ศึกษาไปทำแบบทดสอบจากใบงานท่ี

8. อธิบายเน้ือหาจากใบงานเพ่ิมเตมิ ให้

9. มอบใบงานใหน้ ักเรียนไปคน้ ควา้ ความรู้ - ให้นักศึกษาไปศึกษาความรเู้ ร่ืองท่ีจะเรยี นใน

เพิ่มเติมเก่ียวกับหัวข้อที่กำหนดให้ สปั ดาห์หนา้

งานทมี่ อบหมายหรอื กจิ กรรม
กอ่ นเรียน

1) มีการสนทนาพดู คุยระหวา่ งผสู้ อนกับผู้เรียน
2) ให้นกั เรยี นศึกษาความร้จู ากใบงาน
3) ตรวจเชค็ ช่อื นักเรียนท่เี ข้าเรียน
4) ทำแบบทอสอบกอ่ นเรียน

ขณะเรียน
1) ใหน้ กั เรียนทำงานกนั เปน็ กลุ่ม โดยแตล่ ะกลุ่ม มี 5-6 คน
2) ผู้สอนมอบหมายใหแ้ ต่ละกลมุ่ ไปทำการค้นควา้ เรื่องการเพ่มิ ผลผลิต
3) ให้แตล่ ะกลมุ่ ออกมารายงานหน้าชั้นเรียน
4) ให้ผู้ฟังซกั ถามเมื่อไมเ่ ขา้ ใจในจดุ ไหน
5) ใหก้ ลุ่มผอู้ อกรายงานตงั้ คำถามมากข้ึนเพอื่ ถามผฟู้ ังวา่ มคี วามเขา้ ใจในการรายงานมากเพียงใด
6) ครูสรปุ และอธบิ ายเพิ่มเติม

หลังเรียน
1) ทำแบบฝกึ หัดท้ายบท
2) ให้นกั เรียนไปศึกษาเน้อื หาที่จะเรยี นมาก่อนในสัปดาหห์ น้า

ส่ือการเรยี นการสอน
ส่ือสิง่ พิมพ์

1.) แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2.) แบบทดสอบหลงั เรยี น
3.) ใบงาน
4.) แบบเรียน

สอ่ื โสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1.) เครอื่ งฉายสไลด์
2.) เคร่ืองฉายภาพขา้ มศรี ษะ

หุน่ จำลองหรอื ของจริง (ถา้ ม)ี

การประเมินผล
กอ่ นเรียน

นักเรียนสามารถอธิบายรายละเอียดเร่อื งการเพม่ิ ผลผลติ โดยสังเขปได้

ขณะเรียน
1) ให้นกั เรยี น ตัง้ คำถามจากการได้ศกึ ษาเนอื้ เร่อื งทไี่ ด้ศกึ ษาเนือ้ เรื่องทีศ่ ึกษามาและตอบเป็นปญั หาดว้ ยกันเอง

ภายในกลุ่ม

หลงั เรยี น
ให้นกั เรียนไปศกึ ษาเนอื้ หาท่จี ะเรยี นในคาบถัดไป

แผนการสอน หน่วยที่ 10
ชอื่ วชิ า สอนครัง้ ที่ 10
ช่อื หนว่ ย วชิ าการปรบั ปรุงการเพิม่ ผลผลิต ชั่วโมงรวม 3

ชอ่ื เร่อื งหรือช่อื งาน วิชาการปรบั ปรงุ การเพ่มิ ผลผลิต จำนานชั่วโมง 3

หวั ขอ้ เรอื่ งและงาน

1. ความหมายและความสำคญั ในการจูงใจ 6. การเพม่ิ ผลผลติ ดว้ ยเทคโนโลยี

2. วธิ ปี รับปรุงการเพม่ิ ผลผลติ ดว้ ยการจูงใจ 7. การนำคอมพวิ เตอร์เข้ามาชว่ ยในการำงาน

3. การลงโทษพนกั งานในโรงงานอุตสาหกรรม 8. การใช้หนุ่ ยนตใ์ นการทำงาน

4. จุดม่งุ หมายในการลงโทษ 9. เทคโนโลยใี นด้วยพลงั งาน

5. ปัจจัยทมี่ ีผลตอ่ มาตรการลงโทษพนกั งานในโรง 10. การใชแ้ สงเลเซอร์

สาระสำคญั

การเพ่มิ ผลผลิตในบริษัทหรือโรงงานอสุ าหกรรมนั้นมอี ยู่หลายวธิ ี เช่น การเพ่ิมผลผลิตทุนการ

เพ่ิมผล ผลิตดว้ ยเทคโนโลยี และวธิ ีการปรับปรุงการเพม่ิ ผลผลติ ด้วยพนกั งาน ล้วนแลว้ แตเ่ ปน็ การ

ตอบสนอง ความตอ้ งการในการปับปรุงผลผลิต ใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับและเป็นที่ตอ้ งการของตลอดโดยตรง

สมรรถณนะพึงประสงค์(ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )

1) สามารถอธิบายความหมายและความสำคัญ และเกดิ การปรับปรุงการเพิ่มผลผลติ ดว้ ยการจูงใจ

ได้

2) สามารถทารบถงึ หลักการลงโทษพนกั งาน จุดม่งุ หมายในการลงโทษและปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การ

ลงโทษพนักงาน

3) ได้ทราบถึงหลักการในการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการเพิ่มผลผลติ

4) สามารถนำหลกั การทีค่ ิดมาประยุกตใ์ ช้ในหนว่ ยงานได้

เนอื้ หาสาระ
การจงู ใจ คือ การควบคุมพฤตกิ รรมของพนักงานใหเ้ ปน็ ไปตามจุดมุ่งหมายทกี่ ำหนดวธิ ีปรบั ปรุงการเพิม่

ผลผลิตด้วยการจงู ใจพนงานตามแนงทฤษฎีมาสโลว์ มดี งั น้ีคอื
1. การใชง้ านเปน็ แรงจูงใจพนักงานเพ่ือการเพ่ือผลผลิต เชน่ การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานการ

ทำงานเปน็ รายชนั้ โดยมลี กั การ คอื เงนิ ค่าตอบแทนจะเป็นชนั้ สว่ นโดยตรง คอื จำนานชนั้ ของงานที่พนกั งานผลติ
ไดก้ ารจ่ายค่าตอบแทนตามมาตรฐานช่งั โมงการทำงาน คอื หากพนักงานคนใดสามารถทำงานได้ผลผลิตต่ำกวา่
เกณฑม์ าตรฐานที่กำหนด ไวจ้ ะได้คา่ ตอบแทนอตั ราที่ตำ่ กวา่

2. การใหร้ างวลั ตอบแทนที่ตเี ปน็ เงนิ ให้แก่พนกั งาน เชน่ การใหห้ ัวหนา้ งานไดห้ ยุดพกั งานเป็นระยะใน
แต่ละวนั หลักจากที่ตอ้ งทำงานต่อเนอื่ งกันมาเป็นเวลานาน

3. การใหร้ างวลั ตอบแทนทีไ่ มใ่ ช่เงนิ แก่พนกั งาน โดยการให้โอกาสพัฒนาความร้คู วามสามารถการให้รางวัล
ตอบแทนทเี่ ปน็ สัญลกั ษณ์

4. การใชง้ านเป็นแรงจูงใจในการเพ่มิ ผลผลิตของพนกั งาน เชน่ การหมนุ เวยี นงาน
(job votation)
การทำให้งานเป็นกลุ่ม (Team work) การออกแบบงาน(job gesign)

- การเพ่ิมผลผลติ ด้วยเทคโนโลยี หมายถงึ การบรู ณาการโดยการนำเอาความรคู้ วามเข้าใจ
ประสมการณแ์ ละความชำนาญ ต่างๆ มารว่ มกัน และสร้างอปุ กรณห์ รือใชว้ ธิ กี ารต่างๆ เพอื่ ใหก้ ารดำเนินการใน
การผลิตสนิ ค้าหรอื บรกิ ารเปน็ ไปดว้ ยความมีประสิมธิภาพและประสทิ ธผิ ล

- การคอมพวิ เตอร์เขา้ มาช่วยในการทำงาน ปจั จุบันคอมพวิ เตอร์มีสว่ นสำคญั ในการบริหารงานใน
บรษิ ทั หรือโรงงานอุตสาหกรรม ท้งั ในดา้ นออกแบบการผลิต การควบคมุ การผลติ และระบบ บรรจุกณั ฑ์เปน็ ตนั
ประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรอ์ าจแบง่ ได้เปน็

1. การใชค้ อมพวิ เตอร์จ่ายในการออกแบบ 2. การใช้คอมพวิ เตอรม์ าชว่ ยในการผลติ
- การใช้หุน่ ยนต์ในการทำงาน ระบบการผลติ ในโรงงานอตุ สาหกรรมบางชนดิ จะให้หุน่ ยนต์ช่วย

ดำเนนิ การในการผลิตสินค้า เพราะใช้คนผลิตอาจาดหลักประกนั ในเร่อื งของคณุ ภาพของผลผลิตเพราะว่าขาความ
สมำ่ เสมอและความไมแ่ นน่ อนในการผลิต

- เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน มนุษยแ์ สวงหาเทคโนโลยดี ้านพลังงานเพอ่ื มาใชใ้ นการผลิตสินคา้ ซ่งึ
พลังงานทก่ี ล่าวนีไ้ ดแ้ ก่ พลังงานเคมี พลังงานแสงอาทติ ย์ และพลังงานอ้ืนๆไดแ้ ก่ พลงั งานนิวเคลยี ร์ แต่การ
ใชพ้ ลงั งานก่อให้เกดิ อนั ตรายตอ่ มวลมนษุ ย์ และสิ่งแวดล้อม ฉะนั้น
การใช้ เทคโนโลยีด้านพลงั งานตอ้ งมีการควบคมุ ดแู ลเป็นกรณีพิเศษ

การใชแ้ สงเลเซอร์
ปจั จบุ นั กระบวนการผลติ สนิ ค้า และบริการหลายประเภท ได้ใช้แสงเลเซอรม์ าใชช้ ว่ ยในการผลติ สนิ ค้าอนั
ไดแ้ ก่ การปรบั ความแขง็ ของผวิ โลหะ การเชือ่ มโลหะ การเจาะและงานตา่ งๆ
การใช้แสงเลเซอรเ์ ป็นเคร่ืองมอื ชว่ ยในการผ่าตัดของแพทย์


Click to View FlipBook Version