The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by harefyuerae, 2021-06-22 23:26:53

วิจัย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

วิจัยทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมบูรณ์

51

cm. มีจานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 23.7 และสว่ นสูงระหว่าง 170-179 cm. มีจานวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
4.5

ค่าดชั นีมวลกายของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวดั ยะลา ค่าดัชนี
มวลกายน้อยกว่า 18.5 มีจานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 37.8 ค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 18.5-22.9 มีจานวน
80 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 45.2 คา่ ดชั นมี วลกายระหว่าง 23.0-24.9 มีจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6 ค่า
ดัชนีมวลกายระหว่าง 25.0-29.9 มีจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.7 และค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30.0 มี
จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.7

1. ดัชนีมวลกายของนักเรยี นชายและนกั เรยี นหญิงช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒
จังหวัดยะลา พบว่า ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของน้าหนัก ส่วนสูง และดัชนีมวลกายของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวัดยะลา จาแนกตามเพศ พบว่า นักเรียนชายท่ีมาทดสอบ
สมรรถภาพทางกายทั้งหมด 80 คน มีน้าหนักเฉล่ีย 50.9 กิโลกรัม ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 13.66
ส่วนสูงเฉล่ีย 156.84 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.54 และดัชนีมวลกาย (BMI) มีค่าเฉล่ีย
20.51 Kg/m2 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 4.41 เมอ่ื เทียบกบั เกณฑ์มาตรฐานดชั นีมวลกายสาหรบั เด็กไทย
อายุ 12 ปี แลว้ พบวา่ นักเรยี นชาย มดี ชั นมี วลกายอยใู่ นเกณฑ์ ปกติ

ส่วนนักเรียนหญิงท่ีมาทดสอบสมรรถภาพทางกายทั้งหมด 97 คน มีน้าหนักเฉลี่ย 46.12 กิโลกรัม
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.36 ส่วนสูงเฉลี่ย 151.77 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 15.17
และดัชนีมวลกาย (BMI) มีค่าเฉลี่ย 19.49 Kg/m2 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.49 เมื่อเทียบกับเกณฑ์
มาตรฐานดัชนมี วลกายสาหรบั เด็กไทยอายุ 12 ปี แล้ว พบว่า นักเรยี นหญิง มดี ชั นมี วลกายอยู่ในเกณฑ์ ปกติ

2. ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายท้ัง 5 รายการ ของ
นักเรียนชายและนกั เรียนหญงิ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จงั หวดั ยะลา
รำยกำรว่งิ เร็ว 50 เมตร

นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 8.66 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.27 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐานอยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

นักเรียนหญิงมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 9.81 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.94 เมื่อเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐานอยูใ่ นเกณฑ์ ปานกลาง

รำยกำรยนื กระโดดไกล
นักเรียนชายมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 1.74 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.21 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 1.50 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.15 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

รำยกำรลกุ -น่ัง 30 วนิ ำที

52

นักเรียนชายมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 22.34 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.87 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

นักเรียนหญิงมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 16.23 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.39 เมื่อเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

รำยกำรว่ิงเกบ็ ของ
นักเรียนชายมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 12.2 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.01 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อย่ใู นเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 13.21 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82 เม่ือเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

รำยกำรงอตัวไปขำ้ งหน้ำ
นกั เรียนชายมีระยะเฉลี่ยเท่ากบั 5.15 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.25 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีระยะเฉลี่ยเท่ากับ 5.53 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.92 เมื่อเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

3. ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายท้ัง 5 รายการ ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีรายละเอียดตามลาดบั ตอ่ ไปนี้

รำยกำรวง่ิ เร็ว 50 เมตร
นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดมี าก คือ
ทาเวลาต่ากว่า 7.51 วินาที มีจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 11.25 ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 7.52-8.14
มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ระดับปานกลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 8.15-9.43 วินาที มีจานวน 37
คน คิดเป็นร้อยละ 46.25 ระดับค่อนข้างต่า คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 9.44-10.06 มีจานวน 3 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 3.75 และระดบั ต่า คือ ทาเวลาสงู กว่า 10.07 มจี านวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 13.37
นักเรยี นหญิงช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มดี งั นี้ ระดบั ดีมาก คือ
ทาเวลาต่ากว่า 8.20 วินาที มีจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.15 ระดับดี คือ ทาเวลาไดร้ ะหว่าง 8.21-9.00 มี
จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 16.49 ระดับปานกลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 9.01-10.63 วินาที มีจานวน
60 คน คิดเป็นร้อยละ 61.86 ระดับค่อนข้างต่า คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 10.64-11.43 มีจานวน 12 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 12.38 และระดับตา่ คอื ทาเวลาสูงกวา่ 11.44 มีจานวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.12

รำยกำรยืนกระโดดไกล
นักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ
กระโดดไกลระยะสูงกว่า 1.98 มีจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ระดับดี คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง
1.81-1.97 มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ระดับปานกลาง คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.47-1.80

53

มีจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 51.25 และระดับค่อนข้างต่า คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.30-1.46 มี
จานวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.25

นกั เรยี นหญิงช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวดั ยะลา มดี ังน้ี ระดบั ดีมาก คือ
กระโดดไกลระยะสูงกว่า 1.78 มีจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.06 ระดับดี คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง
1.62-1.77 มีจานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 22.68 ระดับปานกลาง คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.28-
1.61 มีจานวน 63 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 64.95 และระดบั ค่อนข้างตา่ คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.11-1.27
มีจานวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.31

รำยกำรลุก-นงั่ 30 วนิ ำที
นักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ
สามารถลุก-นั่งได้สูงกว่า 27 คร้ัง มีจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 8.75 ระดับดี คือ สามารถลุก-น่ังได้ระหว่าง
24-26 ครั้ง มีจานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 ระดับปานกลาง คือ สามารถลุก-น่ังได้ระหว่าง 17-23
คร้ัง มีจานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 52.5 ระดับค่อนข้างต่า คือ สามารถลุก-น่ังได้ระหว่าง 14-16 คร้ัง มี
จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 และระดับต่า คือ สามารถลุก-น่ังได้ต่ากว่า 13 คร้ัง มีจานวน 3 คน คิดเป็น
ร้อยละ 3.75
นักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก
คือ สามารถลุก-นั่งได้สูงกว่า 21 ครั้ง มีจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.28 ระดับดี คือ สามารถลุก-นั่งได้
ระหว่าง 18-20 ครั้ง มีจานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 24.74 ระดับปานกลาง คือ สามารถลุก-นั่งได้ระหว่าง
12-17 คร้ัง มีจานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 57.73 ระดับค่อนข้างต่า คือ สามารถลุก-น่ังได้ระหว่าง 10-
11 คร้ัง มีจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.19 และระดับต่า คือ สามารถลุก-นั่งได้ต่ากว่า 9 คร้ัง มีจานวน 2
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.06

รำยกำรวิง่ เกบ็ ของ
นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ
ทาเวลาต่ากว่า 10.64 วินาที มีจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 10.65-
11.30 มีจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 13.75 ระดับปานกลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 11.31-12.63 วินาที มี
จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 51.25 ระดับค่อนข้างตา่ คอื ทาเวลาได้ระหว่าง 12.64-13.29 มจี านวน
15 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 และระดับต่า คือ ทาเวลาสูงกว่า 13.30 มีจานวน 8 คน คิดเป็น
ร้อยละ 10
นักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลามีดังนี้ ระดับดีมาก คือ
ทาเวลาต่ากว่า 11.77 วินาที มีจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.19 ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 11.78-
12.41 มีจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.28 ระดับปานกลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 12.42-13.70 วินาที มี
จานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 60.82 ระดับค่อนข้างต่า คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 13.71-14.34 มีจานวน 19
คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.59 และระดบั ต่า คือ ทาเวลาสูงกว่า 14.35 มีจานวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.12

54

รำยกำรงอตวั ไปข้ำงหน้ำ
นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวดั ยะลา มีดังนี้ ระดับดมี าก คือ
วัดได้ระยะ สูงกว่า 11.5 มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 15.0 ระดับดี คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 8.5-11.0 มี
จานวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.5 ระดับปานกลาง คอื วดั ได้ระยะระหว่าง 2.0-8.0 มีจานวน 38 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 47.5 ระดับค่อนข้างต่า คอื วัดได้ระยะ ระหว่าง (-1.0)-1.5 มีจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 และ
ระดบั ตา่ คอื วดั ได้ระยะต่ากวา่ (-1.5) ลงมา มจี านวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.5
นักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ
วัดได้ระยะสูงกว่า 11.5 มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12.37 ระดับดี คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 9.5-11.0 มี
จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.28 ระดับปานกลาง คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 3.0-9.0 มีจานวน 51 คน คิด
เป็นร้อยละ 52.51 ระดับค่อนข้างต่า คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 1.0-2.5 มจี านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12.38
และระดับตา่ คือ วดั ได้ระยะตา่ กว่า 0.5 ลงมา มจี านวน 13 คน คิดเปน็ ร้อยละ 13.40

อภปิ รำยผล
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2

ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีข้อควรพิจารณาและอภิปราย คือ ผลการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของ
สมรรถภาพทางกายของเดก็ ไทย อายุ 12-13 ปี มีดงั นี้

ด้านดัชนีมวลกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง พบว่า นักเรียนชายและนักเรียนหญิง
มีดัชนีมวลกาย (BMI) มีค่าเฉล่ียเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานดัชนีมวลกายสาหรับเด็กไทย แล้วอยู่ในเกณฑ์
ปกติ ท้ังน้ีเพราะทางโรงเรียนได้ให้การดูแลนักเรียนด้านสุขภาพเป็นอย่างดี โดยในคาบ 8-9 ของทุกวัน
โรงเรียนได้จัดให้มีกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนใน 4 ด้าน คือ ด้านสมอง (Head) ด้าน
คุณลักษณะและค่านิยม (Heart) ด้านทักษะการปฏิบัติ (Hand) และด้านสุขภาพ (Health) ซ่ึงกิจกกรมลด
เวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ดังกล่าว เป็นกิจกรรมการออกกาลังกาย เล่นกีฬา และกิจกรรมการเคล่ือนท่ีเคล่ือนไหว
ร่างกายและนักเรียนเองให้ความสนใจในกีฬาเป็นอย่างมาก กิจกรรมกีฬาสีภายในโรงเรียน กีฬานักเรียน
ประกอบด้วย ฟุตบอล บาสเก็ตบอล และวอลเลย์บอล และประกอบด้วยการจัดการเรียนการสอนในสาระสุข
ศึกษาและพลศึกษานั้น จัดให้นักเรียนได้ออกกาลังกายและกิจกรรมการเคลื่อนไหวต่างๆภายในโรงเรียน จึง
ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดี มีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ปกติเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
เด็กไทย

ด้านการพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒
จงั หวัดยะลา พบวา่ สมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย ในทุกรายการที่ทาการทดสอบ ไดแ้ ก่ รายการวิ่ง 50
เมตร รายการยนื กระโดดไกล รายการลุก-นั่ง 30 วินาที รายการวิง่ เกบ็ ของ รายการนั่งงอตัว พบวา่ รายการวิ่ง
เร็ว 50 เมตร นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 8.66 วินาที อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง นักเรียนหญิงมีเวลาเฉลี่ย
เท่ากับ 9.81 วินาที อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง รายการยืนกระโดดไกล นักเรียนชายมีระยะเฉลี่ยเท่ากับ 1.74

55

เซนติเมตร อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง นักเรียนหญิงมีระยะเฉลี่ยเท่ากับ 1.50 เซนติเมตร อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
รายการลุก-น่งั 30 วินาที นกั เรยี นชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 22.34 วนิ าที อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง นักเรียนหญิงมี
เวลาเฉล่ียเท่ากับ 16.23 วินาที อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง รายการว่ิงเก็บของ นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ
12.2 วินาที อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง นักเรียนหญิงมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 13.21 วินาที อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
รายการงอตวั ไปขา้ งหน้า นักเรียนชายมีระยะเฉลี่ยเท่ากับ 5.15 เซนติเมตร อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง นักเรียน
หญิงมีระยะเฉลี่ยเท่ากับ 5.53 เซนติเมตร อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง จากการทดสอบสมรรถภาพทางกายของ
นักเรียนโรงเรียนเทพา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พบว่า สมรรถภาพของนักเรียนส่วนมากอยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
เนื่องจากนักเรียนโรงเรียนเทพาได้ออกกาลังกาย เล่นกีฬา และกิจกรรมต่างๆ ในคาบ 8-9 ของทุกวัน และ
กิจกรรมกีฬาสีภายใน กีฬานักเรียนรงเรียนเทพา ซ่ึงประกอบด้วย ฟุตบอล บาสเก็ตบอล วอลเลย์บอล
กิจกรรมต่างๆเหล่าน้ีทาให้นักเรยี นรกั การออกกาลังกาย และหันมาเล่นกีฬา เพื่อความสนุกสนานและยังสง่ ผล
ให้มีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรงห่างไกลจากยาเสพตดิ และห่างไกลจากโรคอีกด้วย

จากงานวิจัยดังกล่าวมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของวรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้ และคณะ(2544:
บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรับนักเรียนไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัด
กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 ปีการศึกษา 2543 จานวนทั้งส้ิน 1,200 คน ประกอบดว้ ยนักเรยี นชาย 600
คน และนักเรียนหญิง 600 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย Kasetsart
Youth Fitness Test จากการศึกษาพบว่า สมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1, 2 และ 3 มีเกณฑม์ าตรฐานแตล่ ะรายการดังน้ี

นักเรียนชายมธั ยมศึกษาปที ่ี 1, 2 และ 3
ดันพ้ืน 30 วินาที 27, 28 และ 28 ครั้งขึ้นไป ระดับดีมาก, 21-26,24-27 และ 24-27 คร้ัง ระดับดี,
17-20, 20-23 และ 21-23 ครัง้ ระดับปานกลาง, 11-16, 17-19 และ 17-20 คร้ัง ระดับค่อนข้างต่า และ 10,
16 และ 16 คร้งั ลงมา ระดับตา่
น่ังงอตัวไปข้างหน้า 15, 16 และ16 เซนติเมตรขึ้นไป ระดับดีมาก, 9-14, 9-15 และ10-15
เซนติเมตร ระดับดี, 3-8, 2-8 และ4-9 เซนติเมตร ระดับปานกลาง, -3) -2),-5)-1, และ -2)-3 เซนติเมตร
ระดับค่อนขา้ งต่า และ -4, -6 และ -3 เซนตเิ มตรลงมา ระดับตา่
วง่ิ เดนิ 1,000 เมตร 4.50, 4.45 และ4.10 นาทีลงมา ระดับดีมาก, 4.51-5.40, 4.46-5.35 และ 4.11-
4.59 นาที ระดับดี, 5.41-6.50, 5.36-6.45 และ 5.00-5.59 นาที ระดับปานกลาง, 6.51-7.50, 6.46-7.45
และ 6.00-6.59 นาที ระดับค่อนข้างต่า และ 7.51, 7.46 และ 7.00 นาทีข้ึนไป ระดับต่านักเรียนหญิง
มัธยมศึกษาปที ี่ 1, 2 และ 3
ดันพื้น 30 วินาที 24, 26 และ 24 ครั้งขึ้นไป ระดับดีมาก, 19-23,21-25 และ 20-23 คร้ัง ระดับดี,
15-18, 15-20 และ 15-19 คร้ัง ระดับปานกลาง, 10-14, 10-14 และ 11-14 ครั้ง ระดับคอ่ นขา้ งตา่ และ 9, 9
และ 10 ครง้ั ลงมา ระดับตา่

56

น่ังงอตัวไปข้างหน้า 17, 17 และ16 เซนติเมตรข้ึนไป ระดับดีมาก, 11-16, 11-16 และ10-15
เซนติเมตร ระดับดี, 5-10, 6-10 และ5-9 เซนติเมตร ระดับปานกลาง, -1) -4),-1)-5, และ -1)-4 เซนติเมตร
ระดับค่อนข้างตา่ และ -2, 0 และ -2 เซนติเมตรลงมา ระดับต่า

วิง่ เดิน 1,000 เมตร 5.59, 5.50 และ5.50 นาทลี งมา ระดับดีมาก, 6.00-6.59, 5.51-6.60 และ 5.51-
6.59 นาที ระดับดี, 7.00-7.59, 7.00-7.50 และ 7.00-8.00 นาที ระดับปานกลาง, 8.00-8.50, 7.51-8.40
และ 8.01-9.00 นาที ระดับค่อนข้างตา่ และ 8.51, 8.41 และ 9.01 นาทีขึ้นไป ระดบั ตา่

จากงานวิจัยดังกล่าวมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของประไพรศรี ฮวดชัย (2550: บทคัดย่อ) ได้
ศึกษาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสร้างเกณฑ์สมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ ของนักเรยี นช่วงชั้นที่ 2
โรงเรียนในสังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษาอุดรธานี ปีการศึกษา 2549 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชาย จานวน 240
คน นักเรียนหญิง จานวน 240 คน รวมทั้งส้ิน 480 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายเพื่อสุขภาพ (Physical Best) ประกอบด้วยรายการทดสอบ 5 รายการ คอื ดัชนีมวลกาย น่ังงอตวั ไป
ข้างหนา้ ลุก-น่งั ดึงขอ้ และเดนิ /วิ่ง 1 ไมล์ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้วยคา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

ผลการวจิ ัยพบว่า

1. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขสุขภาพค่าเฉล่ีย

และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพของนักเรียนชาย ชั้นประถมศกึ ษา
ปีที่ 4, 5 และ 6 ปรากฏผลดังน้ี ดัชนีมวลกาย มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 17.11, 17.58 และ 17.33 ตามลาดับ และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.32, 2.62 และ 2.25 ตามลาดับ นั่งงอตัวไป ข้างหน้า มีคา่ เฉล่ยี เท่ากับ 7.22,
8.23 และ 8.37 เซนติเมตร ตามลาดับ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.37 ,3.10 และ 5.05 ตามลาดับ
ลุก – น่ัง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.96, 32.13 และ 36.32 ครั้ง ตามลาดับ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ
8.19, 6.31 และ 8.03 ตามลาดับ ดึงข้อ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.56, 1.85 และ 2.23 ครั้ง ตามลาดับ และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 1.53, 1.72 และ 2.03 ตามลาดับ เดนิ /วิง่ 1 ไมล์ มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 9.30, 9,15 และ
8.39 นาที ตามลาดับ และส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.33, 1.32 และ 1.00 ตามลาดบั

ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพของ นักเรียน
หญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3, 5 และ 6 ปรากฏผลดังนี้ ดัชนีมวลกาย มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.77, 17.69 และ
18.16 ตามลาดับ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 2.35, 3.09 และ 3.08 ตามลาดบั น่ังงอตวั ไปขา้ งหน้า มี
คา่ เฉลี่ยเท่ากับ 8.30, 7.16 และ10,27 เซนติเมตร ตามลาดับ และส่วน เบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.77 ,3.67
และ 3.36 ตามลาดับ ลุก - นง่ั มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 23.79, 27.13 และ 28.33 ครั้ง ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 7.17, 5.95 และ 9.36 ตามลาดับ ดึง ข้อ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.36, 0.37 และ 0.30 คร้ัง
ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ . 73, .83 และ .63 ตามลาดับ เดิน/ว่งิ 1 ไมล์ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ
11.23, 11.17 และ 11.02 นาที ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.33, 1.32 และ 1.00
ตามลาดบั

57

2. เกณฑส์ มรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพรวมทุกรายการ ของนักเรยี นชาย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ถงึ
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าดังนี้

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ระดับระดับสงู มากเทา่ กบั คะแนนที 61 ขึ้นไป ระดบั สูงเท่ากับคะแนน ที 53 -
60 ระดับปานกลางเทา่ กับคะแนนที 37 - 53 ระดับตา่ เทา่ กับคะแนนที 30 - 36 และระดับต่า มากคะแนนที
39 ลงมา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 ระดบั ระดับสูงมากเท่ากบั คะแนนที 60 ข้นึ ไป ระดับสงู เทา่ กับคะแนน ที 53 -
59 ระดับปานกลางเทา่ กับคะแนนที 37 - 53 ระดับตา่ เทา่ กบั คะแนนที 31 - 36 และระดับตา่ มากคะแนนที
30 ลงมา

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับระดับสูงมากเท่ากบั คะแนนที 58 ขนึ้ ไป ระดับสูงเทา่ กับคะแนน ที 53 -
57 ระดับปานกลางเท่ากับคะแนนที 38 - 52 ระดับต่า เทา่ กบั คะแนนที 33 - 37 และระดบั ตา่ มากคะแนนที
32 ลงมา

เกณฑส์ มรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ รวมทุกรายการของนกั เรยี นหญงิ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ถงึ ชัน้
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มีค่าดงั น้ี

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ระดับระดบั สูงมากเท่ากบั คะแนนที 65 ข้นึ ไป ระดบั สูงเท่ากับคะแนน ที 55 -
63 ระดบั ปานกลางเทา่ กบั คะแนนที 36 - 53 ระดบั ตา่ เทา่ กบั คะแนนที 37 - 35 และระดับตา่ มากคะแนนที
36 ลงมา

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 ระดับระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที 61 ขน้ึ ไป ระดับสูงเท่ากับคะแนน ที 53 -
60 ระดบั ปานกลางเท่ากบั คะแนนที 37 - 53 ระดบั ต่าเทา่ กบั คะแนนที 30 - 36 และระดบั ตา่ มากคะแนนที
39 ลงมา

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ระดบั ระดับสูงมากเท่ากบั คะแนนที 58 ขน้ึ ไป ระดับสูงเทา่ กบั คะแนน ที 53 -
57 ระดบั ปานกลางเทา่ กับคะแนนที 38 - 52 ระดับต่าเทา่ กับคะแนนที 33 - 37 และระดบั ตา่ มากคะแนนที
32 ลงมา

ข้อเสนอแนะ
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2

ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา สามารถจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทาง
กาย และการเรียนการสอนในระดบั มธั ยมศึกษา ซึ่งผวู้ ิจยั ใครข่ อเสนอแนะดังน้ี

1. จากการสารวจผลสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการสังเกตข้อมูลจาก
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย พบว่า ในเรื่องการใช้แขน เช่น การเหว่ียง การขว้างปา การดึง การลาก การ
ฝึกหดั ยืดหยนุ่ การวงิ่ หลบหลกี สิ่งกดี ขว้าง ซ่งึ กิจกรรมเหล่าน้ีลว้ นเสริมสร้างสมรรถภาพในการใช้แขน

2. ในการวัดผลและประเมินผลกิจกรรมทางพลศึกษาผู้สอนควรพิจารณาถึงพัฒนาการทางด้าน
สมรรถภาพทางกายของนักเรียนด้วย ทั้งน้ีเพื่อให้นักเรียนได้เห็นความสาคัญต่อการทดสอบสมรรถภาพทาง

58

กาย ดังนั้นผู้สอนหรอื ผ้รู ับผดิ ชอบควรมีการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนดว้ ย โดยการใชเ้ กณฑป์ กติ
ทีผ่ ู้วิจยั ได้สรา้ งข้ึน

3. โรงเรียนควรจัดใหม้ ีการทดสอบสมรรถภาพทางกายปีละ 2 ครง้ั โดยจัดใหม้ ีการทดสอบทุกต้นภาค
เรียน และปลายภาคเรยี น เพอื่ ทราบผลการพัฒนา

4. โรงเรียนควรรายงานผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายให้ผู้ปกครองได้ทราบ และใหผ้ ปู้ กครองได้มี
โอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางพลศึกษาของโรงเรียน เพ่ือช่วยให้เกิดความเข้าใจและเห็นคุณค่าของสมรรถภาพ
ทางกาย อันจะเปน็ การสง่ เสริมและสนับสนุนใหน้ ักเรยี นไดพ้ ัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเอง

ในกำรปฏบิ ัติตอ้ งระวังในเรื่องต่อไปน้ี
1. ในการเก็บข้อมูลของการทาวิจัยจะต้องทาให้ผู้เข้ารับการทดสอบมีความเข้าใจในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลท่ีตรงกนั และสามารถสื่อความหมายในการเกบ็ ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ
2. คาอธิบายท่ใี ช้กบั นักเรียนแตล่ ะระดับตอ้ งมคี วามง่ายในการสื่อสารและการทาความเข้าใจ

บรรณำนกุ รม

กรมพลศกึ ษา. 2538. กำรศึกษำสมรรถภำพทำงกำยของนกั เรียนมัธยมศึกษำ ระดบั อำยุ 10 – 12 ปี.
สว่ นสง่ เสรมิ พลศกึ ษา สุขศกึ ษาและนนั ทนาการ, สานกั พัฒนาการพลศึกษาสุขศึกษาและ
นันทนาการ. กรุงเทพฯ.

________. 2539. กำรศกึ ษำสมรรถภำพทำงกำยของนักเรยี นมัธยมศึกษำ ระดับอำยุ 13 -15 ป.ี
ส่วนสง่ เสริมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการ, สานกั พัฒนาการพลศึกษาสุขภาพและ
นันทนาการ. กรุงเทพฯ.

________. 2545. กำรศึกษำสมรรถภำพทำงกำยของนกั เรียนมัธยมศึกษำ ระดบั อำยุ 13 -15 ปี.
สว่ นส่งเสริมพลศึกษา สุขศึกษาและนนั ทนาการ, สานักพฒั นาการพลศึกษาสุขภาพและ
นันทนาการ. กรุงเทพฯ.

เจริญทัศน์ จินตนเสร.ี 2538. วิทยำศำสตร์กำรกีฬำสำหรบั ผู้ฝึกสอนกฬี ำและนักกีฬำ.
ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย.

บญุ เรยี ง ขจรศลิ ป์. 2545. สถติ ิวจิ ยั 1. พิมพค์ รั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: หจก.พ.ี เอ็น.การพมิ พ์

บนั เทงิ เกดิ ปรางค์. 2540. กจิ กรรมเสรมิ สรำ้ งสมรรถภำพทำงกำย. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู .

59

ประไพศรี ฮวดชยั . 2550. สมรรถภำพทำงกำยเพื่อสขุ ภำพของนักเรียน ระดับชัน้ ที่ 2 โรงเรียนใน สงั กดั
เขตพื้นที่กำรศึกษำอุดรธำนี ปีกำรศึกษำ 2549. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (พลศึกษา).
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.

ภทั รพล พงึ่ อาศยั . 2557. กำรศกึ ษำสมรรถภำพทำงกำยของนกั เรยี นระดบั ชนั้ ปวช. 1 สำขำธรุ กิจค้ำ
ปลกี . วทิ ยาลยั เทคโนโลยีปัญญาภวิ ฒั น์

วรวฒุ ิ สวสั ดชิ ยั . 2551. สมรรถภำพทำงกำยของนักศกึ ษำมหำวทิ ยำลัยธุรกิจบณั ฑติ ยช์ น้ั ปีที่ 1
ปีกำรศึกษำ 2550. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (พลศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยา ลัย
มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

ศุภวรรณ วงศ์สร้างทรพั ย์. 2555. เกณฑส์ มรรถภำพทำงกำยท่ีเกยี่ วข้องกับสุขภำพของนักเรยี นโรงเรยี น

สำธติ แหง่ มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน. ศนู ย์วจิ ยั และ
พฒั นาการศกึ ษา.

สพุ ิตร สมาหโิ ต. 2548. แบบบทดสอบสมรรถภำพทำงกำยท่ีสมั พันธก์ ับสุขภำพสำหรับเดก็ ไทย
อำยุ 7 – 8 ป.ี พี.เอส.ปร้ิน: นนทบุร.ี

อนนั ต์ จติ ต์อารียเ์ ทพ. 2553. กำรพฒั นำสมรรถภำพทำงกำยดำ้ นนำ้ หนักเกนิ เกณฑ์มำตรฐำน
ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1/3. โรงเรยี นเซนต์หลุยส์ ฉะเชงิ เทรา

อรชุลี นิราศรพ. 2550. สมรรถภำพทำงกำยเพ่อื สขุ ภำพของนกั เรียนช่วงช้นั ท่ี 2 ของโรงเรยี น
สำธิต สังกัด ส ำนักงำนคณะกรรมกำรอุดมศึกษำ เขตกรุงเทพมหำนคร ปีกำรศึกษำ
2550. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (พลศึกษา)กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริน
ทรวิโรฒ.

William E. Prentice. 1999. The Effect of changes in the Elementary School Physical
Education Program On Selected Variables of Motor Fitness, Self-
Concept, and Academic Achievement. Dissertation Abstracts Internatiol.

60


Click to View FlipBook Version