The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by harefyuerae, 2021-06-22 23:26:53

วิจัย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

วิจัยทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมบูรณ์

1

2

ชื่อเรือ่ งวิจัย การศกึ ษาสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ ๒ อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา
ผูว้ จิ ัย
ปีทที่ ำกำรวิจัย อาเรฟ ยอื แร
2563

บทคัดย่อ

การวจิ ัยครั้งน้ีมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาข้อมลู ด้านสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาชนั้ ปี
ท่ี 1 เร่ือง การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒
อาเภอเมือง จังหวัดยะลา เพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของเด็กไทย อายุ 12 ปี
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน
คณะราษฎรบารุง ๒ อาเภอเมือง จังหวดั ยะลา จานวน 20 คน ซ่ึงได้มาจากวธิ ีการสุม่ แบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ี
ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ประกอบด้วย อายุ น้าหนัก ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) เกณฑ์มาตรฐานการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายนักเรียน 5 รายการ 1.ยืนกระโดดไกล 2.วิ่งเก็บของระยะ 10 เมตร 3.ลุก-น่ัง 30 วินาที
4.ความออ่ นตัว 5.วง่ิ เร็ว 50 เมตร และใบบันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 ดา้ น
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เป็นการทดสอบท่ีใช้วัดผลจากการทดสอบ
สมรรถภาพทั้ง 5 รายการ 1.ยืนกระโดดไกล 2.ว่ิงเก็บของระยะ 10 เมตร 3.ลุก-นั่ง 30 วินาที 4.ความอ่อนตัว

5.ว่ิงเร็ว 50 เมตร การวิเคราะห์ข้อมูล ทาได้โดยการวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ผลการวจิ ัยสรุปไดด้ ังนี้

1. ดัชนีมวลกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒
อาเภอเมือง จังหวัดยะลา พบว่า ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้าหนัก ส่วนสูง และดัชนีมวลกายของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนเทพา จังหวัดสงขลา จาแนกตามเพศ พบว่า นักเรียนชายท่ีมาทดสอบ
สมรรถภาพทางกายท้ังหมด 20 คน มีน้าหนักเฉลี่ย 50.9 กิโลกรัม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 13.66
ส่วนสูงเฉลี่ย 156.84 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.54 และดัชนีมวลกาย (BMI) มีค่าเฉลี่ย
20.51 Kg/m2 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 4.41 เมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานดชั นีมวลกายสาหรบั เด็กไทย
อายุ 12 ปี แลว้ พบวา่ นักเรยี นชาย มีดัชนีมวลกายอย่ใู นเกณฑ์ ปกติ

ส่วนนักเรียนหญิงท่ีมาทดสอบสมรรถภาพทางกายท้ังหมด 97 คน มีน้าหนักเฉล่ีย 46.12 กิโลกรัม
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.36 ส่วนสูงเฉลี่ย 151.77 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 15.17
และดัชนีมวลกาย (BMI) มีค่าเฉลี่ย 19.49 Kg/m2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.49 เม่ือเทียบกับเกณฑ์
มาตรฐานดชั นีมวลกายสาหรับเด็กไทยอายุ 12 ปี แล้ว พบว่า นกั เรียนหญิง มีดชั นีมวลกายอยใู่ นเกณฑ์ ปกติ

2. ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายทั้ง 5 รายการ ของ
นักเรยี นชายและนกั เรียนหญงิ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ ๒ อาเภอเมือง จังหวัดยะลา

3

รำยกำรว่งิ เร็ว 50 เมตร
นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 8.66 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.27 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐานอย่ใู นเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 9.81 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.94 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐานอยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรยนื กระโดดไกล
นักเรียนชายมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 1.74 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.21 เมื่อเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีระยะเฉลี่ยเท่ากับ 1.50 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.15 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรลกุ -นั่ง 30 วินำที
นักเรียนชายมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 22.34 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.87 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 16.23 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.39 เม่ือเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยูใ่ นเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรวิง่ เกบ็ ของ
นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 12.2 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.01 เม่ือเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อย่ใู นเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 13.21 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

รำยกำรงอตวั ไปข้ำงหนำ้
นกั เรียนชายมีระยะเฉลีย่ เท่ากับ 5.15 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.25 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
นักเรียนหญิงมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 5.53 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.92 เม่ือเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

จดั ทาโดย
………………………………

(นายอาเรฟ ยือแร)

4

สำรบญั หน้ำ

บทคัดย่อ ข
กติ ติกรรมประกาศ ค
สารบญั ง
สารบัญตาราง 1
บทท่ี 1 บทนา 1
2
ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา 2
วตั ถุประสงค์การวจิ ยั 3
ขอบเขตการวจิ ัย 3
เครื่องมอื ที่ใช้ 3
อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการวิจยั
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 5
ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย 5
ความสาคญั ของสมรรถภาพทางกาย 5
ปจั จยั ของสมรรถภาพทางกาย 6
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 8
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย 9
งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง 14
16
บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจัย 17
ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 26
เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 26
อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการวิจยั 26
วิธกี ารทดสอบสมรรถภาพทางกาย 26
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 27
การวเิ คราะห์ข้อมลู 29
29
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 31
ขอ้ มลู ท่วั ไป 32
ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 34
39
บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 39
ผลการวิจยั 42
อภปิ รายผล 45
ขอ้ เสนอแนะ 46
บรรณานกุ รม

6

สำรบญั ตำรำง หน้ำ
32
ตำรำงที่ 33
1. ขอ้ มูลทว่ั ไปของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 33
2. คา่ เฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน น้าหนกั สว่ นสงู และดัชนีมวลกาย 35
3. ค่าเฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สมรรถภาพทางกาย 36
4. สมรรถภาพทางกาย รายการวิ่งเร็ว 50 เมตร 36
5. สมรรถภาพทางกาย รายการยืนกระโดดไกล 37
6. สมรรถภาพทางกาย รายการลกุ -นัง่ 30 วินาที 38
7. สมรรถภาพทางกาย รายการวง่ิ เก็บของ
8. สมรรถภาพทางกาย รายการนั่งงอตวั ไปขา้ งหน้า

7

กติ ติกรรมประกำศ

รายงานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาในการให้คาแนะนาและความอนุเค ราะห์อย่างดีย่ิง
จาก นา อาจารยน์ เิ ทศประจาโรงเรียน ท่ไี ดใ้ หค้ าปรกึ ษา ชแ้ี นะและแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ อย่างดีย่งิ ตลอดมา

ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญ คุณครูไพรัช อุไร ท่ีได้ตรวจสอบและให้คาแนะนาในการสร้างเครื่องมือ
วิจัย ปรับปรุง แก้ไขให้มีความถูกต้องและเหมาะสม

ขอขอบพระคุณผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียนเทพา ท่ีได้ให้ความร่วมมือและอานวยความ
สะดวกแก่ผวู้ จิ ัยเป็นอย่างดียง่ิ ในการเกบ็ ขอ้ มลู เพื่อการวจิ ัยคร้งั น้ี

ขอขอบพระคุณบิดามารดาและบุคคลในครอบครัวของผูว้ จิ ยั ที่ชว่ ยเหลือและเป็นกาลงั ใจใหผ้ วู้ ิจยั เสมอ
มา จนงานวจิ ยั สาเร็จลุล่วง

นายอาเรฟ ยือแร

8

บทที่ 1
บทนำ

ชือ่ เรือ่ ง การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1

ควำมสำคัญของปัญหำ
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย เป็นส่ิงท่ีสาคัญอย่างย่ิงในการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้

สุขศึกษา และพลศึกษา ซึ่งเป็นดัชนีบ่งช้ีให้ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และผู้ท่ี
เก่ียวข้องภายใน สถานศึกษาได้ทราบถึงพัฒนาการทางด้านร่างกายของนักเรียนว่ามีภาวะทางด้านร่างกาย
เปล่ียนแปลงไปในทิศทางใด และสามารถนาข้อมูลของนักเรียนมาปรับปรุงแก้ไขขอบกพร่อง แบบรายกลุ่ม
และแบบรายบุคคลได้ และสามารถพัฒนาส่งเสริมความสามารถทางด้านกีฬาหรือส่งเสริมการออกกาลังกาย
รวมทั้งการพัฒนาทักษะในการดาเนินชวี ิตประจาวันให้มีความสมดลุ ท้ังด้านความรู้ความสามารถ ตลอดจนการ
นา มาแก้ไขและปรับปรุงเทคนคิ วธิ ี ด้านการฝึกซ้อมกีฬา และการเรยี นการสอนของครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุข
ศกึ ษาและพลศึกษา ให้มปี ระสิทธิภาพดี ย่ิงขนึ้

การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนในประเทศไทยได้เริ่มคร้ังแรกเม่ือ พ.ศ.2511 โดยกรมพล
ศึกษาได้ดาเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายเยาวชนชายและหญิง 3 ระดับอายุ คือ 6, 12 และ 18 ปี โดย
ใช้แบบทดสอบมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
(International Committee for the Standardization of Physical Fitness Test: ICSPFT) เพื่อนาผล
การทดสอบไปร่วมพิจารณาเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกในการประชุมคณะกรรมการระหว่างประเทศ ครั้ง
ท่ี 6 ท่ีประเทศอิสราเอล เมอ่ื พ.ศ.2512 (กรมพลศกึ ษา, 2513) และในปี พ.ศ.2539 สานกั พัฒนาการพลศึกษา
สุขภาพและนันทนาการ กรมพลศึกษา ได้ทาการศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนมัธยมศกึ ษา ระดบั อายุ
13-15 ปี และใช้แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศ เพ่ือสร้างเป็นเกณฑ์มาตรฐาน
สมรรถภาพทางกายของนกั เรยี น อายุ 13-15 ปี (กรมพลศึกษา, 2540)

สมรรถภาพทางกาย เป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญอย่างย่ิงสาหรับการดารงชีวิตในปัจจุบัน เมื่อบุคคลมี
ความสมบูรณ์ทางด้านร่างกายและจิตใจแล้ว การดาเนินชีวิตก็จะมีความสุขและมีประสิทธิภาพ น้ันคือการมี
สมรรถภาพที่ดี ซึ่งเป็นผลให้มีสุขภาพดี ร่างกายมีการเจริญเติบโตแข็งแรง ประสิทธิภาพของการทางานของ
ระบบหายใจและระบบไหลเวยี นโลหิตประสานสัมพันธ์กันดี และลดอตั ราการเส่ียงเป็นโรคต่างๆ อีกทง้ั ยังทาให้
มีรูปร่างของร่างกายได้สัดส่วน มีทักษะทางกีฬาท่ีดี ทาให้เกิดความสนุกสนานกับการเข้าร่วมกับกิจกรรมการ
ออกกาลังกายและการเลน่ กีฬา

ในสภาพสังคมปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ได้เข้ามาอย่าง
รวดเร็วและมีบทบาทในการดารงชีวิตของมนุษย์มากขึ้น เช่น การอยู่กับโลกโซเชียลมากกว่าท่ีจะไปเดินเล่น
หรือออกกาลังกาย การใช้ยานพาหนะ การใช้ลิฟท์แทนการเดิน และการใช้เคร่ืองอานวยความสะดวกต่างๆ
เป็นต้น เคร่ืองอานวยความสะดวกเหล่านี้ ทาให้มนุษย์เคล่ือนไหวได้น้อยลงและไม่ค่อยออกกาลงั กาย จึงทาให้

9

มีสมรรถภาพทางกายท่ีต่าลง เพราะการมีสมรรถภาพทางกายที่ดีน้ัน จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างให้เกิดขึ้น
และรักษาไว้โดยการออกกาลังกายหรือฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ หากว่าไม่ออกกาลังกายแล้วสมรรถภาพทางกาย
จะคอ่ ยๆ ลดต่าลง และเกดิ ปัญหาทางสุขภาพตามมา

โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ช่วงชั้นที่ 3-3 สังกัดสานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษายะลา สานักงานคณ ะกรรมการการศึกษาข้ั นพ้ืนฐานกระทรวง
ศึกษาธิการ ตั้งอยเู่ ลขท่ี 129 หม่ทู ี่ 3 ตาบลยุโป อาเภอเมือง จังหวัดยะลา

ได้เปิดการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย มี
จานวนนักเรียนท่ีกาลังศึกษาท้ังหมด 130 คน ชาย 64 คน และหญิง 44 คน จานวนนักเรียนท่ีกาลังศึกษาใน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จานวน 64 คน ชาย 28 คน หญิง 26 คน และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มี
จานวนนักเรียนท่ีกาลังศึกษาทั้งหมด 66 คน ชาย 35 คน และหญิง 31 คน โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒
จัดเป็นโรงเรียนที่มีขนาดเล็กและมีนักเรียนที่เข้ามาเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ซึ่งนักเรียนในช่วงอายุ
13-15 ปี มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านร่างกายอย่างรวดเร็ว ทาให้มีการเปล่ียนแปลงทางด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่สิ่งท่ีเห็นได้ชัดคือ การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย เช่น
น้าหนัก ส่วนสูง และความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ การทดสอบสมรรถภาพทางกายสามารถช้ีให้เห็นความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อท่มี ีผลจากการออกกาลังกาย สาหรับผู้ท่ีออกกาลังกายก็จะมีสมรรถภาพทางกายท่สี ูง แต่
สาหรับคนที่ไม่ออกกาลังกายจะมีสมรรถภาพทางกายที่ต่า และในปัจจุบันนี้ มีเคร่ืองมืออานวยความสะดวก
มากมายทาให้นักเรียนมีการขยับตัวน้อยลง แต่นักเรียนบางคนไม่มีเวลาในการการออกกาลังกาย เมื่อมีเวลา
ว่างจะไปอยู่กับโซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ อิสตราเกรม พฤติกรรมเหล่าน้ีทาให้มีสมรรถภาพทางกายท่ี
ตา่ ลง และจะเกิดปัญหาสขุ ภาพตามมา เช่น น้าหนกั เกนิ กวา่ เกณฑม์ าตรฐาน เปน็ ต้น

ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะทาวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง สมรรถภาพทางกายของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ซ่ึงอยู่ในความดูแลในด้านการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษาเพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์กับหน่วยงานภายใน ภายนอกสถานศึกษา เพ่ือสร้าง
นโยบาย วางแผน หรอื กาหนดแนวทางพฒั นาผูเ้ รยี นต่อไป

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือศึกษาขอ้ มลู ด้านสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาชั้นปีที่ 1 ทีก่ าลงั ศกึ ษาอยู่ในโรงเรียน
คณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวัดยะลา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ขอบเขตของกำรวจิ ยั
ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษาวจิ ัยคร้งั น้ี คอื นักเรยี นชายและนกั เรยี นหญงิ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1

ภาคเรยี นท่ี 2 โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวดั ยะลา ปีการศึกษา 2563 จานวน 20 คน

10

เคร่ืองมือท่ีใช้
ข้อมูลทั่วไป ไดแ้ ก่
1. อายุ น้าหนกั ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย (BMI)
2. เกณฑ์มาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรยี น 5 รายการ
2.1 ยืนกระโดดไกล
2.2 วิง่ เก็บของระยะ 10 เมตร
2.3 ลกุ -นั่ง 30 วินาที
2.4 ความอ่อนตัว
2.5 วง่ิ เร็ว 50 เมตร
3. ผลจากการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 ดา้ น

อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในกำรวิจัย
1. ใบบนั ทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
2. แผ่นยางยืนกระโดดไกล
3. ไม้วง่ิ เก็บของขนาด 5x5x10 เซนติเมตร จานวน 2 ทอ่ น
4. เบาะรองสาหรับทดสอบลุก-นัง่
5. เครือ่ งวัดความอ่อนตวั
6. ลวู่ งิ่ ทางเรยี บระยะทาง 50 เมตร
7. นาฬกิ าจบั เวลา
8. โปรแกรมวเิ คราะหผ์ ลข้อมูลการเจรญิ เติบโตและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 ดา้ น

นิยำมศพั ท์เฉพำะ
สมรรถภำพทำงกำย หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการประกอบกิจกรรมต่างๆ รวมถึงการ

ทางานในชวี ิตประจาวนั การออกกาลงั กาย และการเล่นกีฬาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกำย หมายถึง การทดสอบสมรรถภาพทางกายตามแบบทดสอบ
มาตรฐานระหวา่ งประเทศ (ICSPFT) ประกอบดว้ ยรายการทดสอบดังน้ี

1. กระโดดไกล (Standing Broad Jump) ใช้วัดพลังกล้ามเนื้อขาในการกระโดดไปข้างหน้า หน่วยวัด
เป็นเซนตเิ มตร

2. วง่ิ เก็บของ (Shuttle Run) ใช้วัดความคล่องแคลว่ ว่องไว ความแมน่ ยา และการทรงตัว ในการว่งิ
กลบั ตัวระยะทาง 10 เมตร หนว่ ยวดั เปน็ วินาทีและทศนยิ มสองตาแหนง่

3. ลุก-นั่ง 30 วินาที (30 Seconds Sit-ups) ใช้วัดความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเน้ือท้องในการ
ทาลกุ -น่งั หน่วยวดั เป็นจานวนครง้ั ภายในเวลา 30 วินาที

11

4. ความอ่อนตัว (Trunk Forward Flexibility) ใช้วัดความสามารถในการยืดเหยียดของกล้ามเนื้อ
และข้อต่อ จนสุดช่วงของการเคลื่อนไหวจากท่านง่ั เหยียดเท้าตรงดว้ ยเครื่องวัดความอ่อนตัว (Flexibilimeter)
หนว่ ยวัดเป็นเซนติเมตร

5. วิ่งเร็วระยะ 50 เมตร (50 Meter Sprints) ใช้วัดความอดทนระบบไหวเวียนของโลหิตและการ
หายใจ

นักเรียน หมายถึง นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่กาลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวดั ยะลา จานวน 20 คน

เกณฑ์มำตรฐำนสมรรถภำพทำงกำย หมายถึง การกาหนดระดับสมรรถภาพทางกายของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา ท่ีแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้
ค่อนข้างต่า และต่า ตามแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ สาหรับเด็กไทย อายุ 13-15 ปี
ของสานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.)

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ บั
1. ทราบถึงข้อมูลด้านสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

ภาคเรยี นท่ี 2 ประจาปกี ารศึกษา 2563
2. ทราบถึงแนวทางการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและแผนการเรียนรู้ ในวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ต่อไป
3. สามารถใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์กับหน่วยงานภายใน ภายนอกสถานศึกษา

เพือ่ สรา้ งนโยบาย วางแผน หรือกาหนดแนวทางพัฒนาผเู้ รยี นต่อไป
4. เพ่ือเป็นข้อมูลในการเปรยี บเทยี บกับผลการวจิ ยั ในคร้งั ต่อไป

12

บทที่ 2
เอกสำรและงำนวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง

การศกึ ษาวจิ ยั ครง้ั น้ี ผวู้ จิ ัยได้ศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้องกับการศึกษาสมรรถภาพทาง
กายและการสร้างเกณฑ์มาตรฐาน ดังต่อไปนี้

1. ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
2. องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
3. ความสาคญั ของสมรรถภาพทางกาย
4. ปัจจยั ของสมรรถภาพทางกาย
5. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
6. เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
7. งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง

1. ควำมหมำยของสมรรถภำพทำงกำย
กรมพลศึกษา (2545: 9-10) ประมวลความหมายของสมรรถภาพทางกาย(Physical Fitness) จาก

นักวิชาการ อาทิ แฮริสัน คลาร์ค (Harrison Clarke) โดนัล เค แมทธิวส์(Donald K.Mathew) รอเรนซ์และ
โรแนลด์ นิดสันและเจเวทท์ กล่าวไว้ว่า หมายถึง “ความสามารถของร่างกายท่ีสามารถประกอบกิจกรรมหรือ
ทางานได้เป็นระยะเวลานานๆติดต่อกัน และผลที่ได้รับมีประสิทธิภาพสูง” นอกจากน้ียังกล่าวไว้อีกว่า
ขณะเดียวกันมีกาลังกายท่ีสามารถปฏิบัติกิจวัตรอื่นๆได้อีก และควรพิจารณาด้านจิตใจ อารมณ์ และสังคม
ควบคกู่ นั ไปด้วย

สพุ ิตร สมาหิโต (2548:5) กล่าวว่า “สมรรถภาพทางกาย” หมายถึง สภาวะของรา่ งกายที่อยู่ในสภาพ
ดีเพื่อท่ีจะช่วยให้บุคคลสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลท่ีมีสมรรถภาพทางกายดี จะสามารถ
ปฏิบัติภารกิจต่างๆในชีวิตประจาวัน การออกกาลังกาย การเล่นกีฬา และการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆได้เป็น
อย่างดี

วิลเล่ียม อี เพร็นทิส (William E Prentice: 1999) กล่าวว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึง สภาวะที่
ระบบการทางานต่างๆของร่างกายสามารถทาหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีสุขภาพดี ส่งผลให้ประกอบ
อาชีพ ประกอบกจิ วตั รประจาวันได้อีกทางหน่งึ ดงั นน้ั

1. สมรรถภาพทางกายจงึ เปน็ องคป์ ระกอบหน่งึ ของการมีสุขภาวะทด่ี ี (Wellness)
2. สมรรถภาพทางกายของแตล่ ะบคุ คลแตกต่างกัน ขนึ้ อย่กู บั ลกั ษณะงานหรือกิจกรรมที่ทา และการ

ฝึกเพอ่ื พฒั นาหรือคงสภาพระดับสมรรถภาพทางกายไว้
3. ระดับสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคลข้ึนอยู่กับอายุ เพศ และรูปร่าง (Body

Type) อาชีพ และข้อจากัดทางรา่ งกาย เช่น ข้อจากัดเม่ือเป็นโรคเบาหวาน โรคหอบหดื เป็นตน้

13

4. สมรรถภาพทางกายมผี ลกระทบต่อระดับสตปิ ญั ญา ความม่นั คงทางอารมณ์ สุขภาพร่างกาย และ
ระดับความเครยี ด

5. สมรรถภาพทางกายไม่สามารถสะสมหรือเก็บไว้ได้ ถ้าไมได้ใช้หรือฝึกซ้อมทุกวัน ระดับของ
สมรรถภาพกจ็ ะลดลงจากเดมิ

จากความหมายข้างต้น อาจกล่าวสรุปได้ว่า”สมรรถภาพทางกาย” หมายถึง การมีสมรรถนะทางกาย
ที่ดี และส่งผลให้ปฏิบัติกิจวัตรหรือการทางานท่ีมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีสุขภาวะทางจิตที่ดี และปรับตัว
ทางสังคมไดเ้ ป็นอยา่ งดี

2. องค์ประกอบของสมรรถภำพทำงกำย
สมาคมสุขศึกษา พลศึกษา นันทนาการและเต้นราประเทศสหรัฐอเมริกา (The American Alliance

for Health, Physical Education, Recreation and Dance : AAHPERD) จาแนกสมรรถภาพออกเป็น 2
แบบ (William E Prentice,1999:5) คอื

1. ส่วนที่สัมพันธ์กับสุขภาพ (Health-related Fitness) คือ องค์ประกอบของสมรรถภาพท่ีเก่ียวกับ
การพัฒนาระบบทางานของรา่ งกายให้มีประสทิ ธิภาพและการดารงชวี ิตอย่างมีสุขภาพดี ประกอบดว้ ย

1.1 ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength) เป็นความสามารถของกล้ามเนื้อ ซ่ึงทา
ให้เกิดความตึงตัวเพื่อใช้แรงในการยกหรือดึงส่ิงของต่าง ๆ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือจะช่วยทาให้ร่างกาย
ทรงตัวเป็นรูปร่างข้ึนมาได้ หรือที่เรียกว่าความแข็งแรงเพ่ือรักษา ทรวดทรง ซ่ึงจะเป็นความสามารถของ
กล้ามเนื้อท่ีช่วยใหร้ ่างกายทรงตัวต้านกับแรงศูนย์ถ่วงของโลก อยู่ได้โดยไม่ล้ม เป็นความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อ
ท่ีใช้ในการเคลื่อนไหวขั้นพ้ืนฐาน เช่น การวิ่ง การ กระโดด การเขย่ง การกระโจน การกระโดดขาเดียว การ
กระโดดสลับเท้า เป็นต้น ความแข็งแรงอีกชนิดหนึ่งของกล้ามเน้ือเรียกว่า ความแข็งแรงเพื่อเคลื่อนไหวในมุม
ตา่ ง ๆ ได้แก่ การเคล่ือนไหวแขนและขาในมุมต่าง ๆ เพื่อเล่นเกมกีฬาหรือใช้ในการปา การขว้าง การเตะ การ
ตี เป็นต้น และความแข็งแรงชนิดสุดท้ายเรียกว่า ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในการเกร็ง เป็นความสามารถ
ของร่างกายหรือส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกายในการตา้ นทานแรงท่ีมากระทาจากภายนอกโดยไม่ล้มหรือสญู เสีย
การทรงตวั ไป

1.2 ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเน้ือ
ในการออกแรงทาให้วัตถุเคลื่อนท่ีติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ หรือหลายคร้ังติดต่อกันได้ความอดทนของ
กล้ามเน้ือสามารถเพิ่มได้มากข้ึนโดยการเพิ่มจานวนคร้ังในการปฏิบตั ิกิจกรรมซ่ึงจะขึ้นอยู่กับปัจจยั หลายอย่าง
เช่น อายุ เพศ ระดบั สมรรถภาพทางกายของเดก็ และชนดิ ของการออกกาลังกาย

1.3 ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ (Cardiorespiratory Endurance)
หมายถึง ความสามารถของหัวใจ ปอด และหลอดเลือดในการที่จะลาเลียงออกซิเจนและสารอาหารไปยัง
กล้ามเนื้อท่ีใช้ในการออกแรง และขณะเดียวกันก็นาสารที่ไม่ต้องการซึ่งเกิดข้ึนภายหลังการทางานของ
กล้ามเน้ือออกจากกล้ามเน้ือท่ีใช้ในการออกแรงในการพัฒนาหรือเสริมสร้างน้ันเด็กจะต้องมีการเคล่ือนไหว

14

กล้ามเน้อื มัดใหญ่ ๆ เช่น การวิ่ง การกระโดด โดยใช้ระยะเวลา ติดต่อกัน อย่างน้อยคร้ังละประมาณ 10 – 15
นาที

1.4 ความอ่อนตัว (Flexibility) หมายถึงความสามารถในการเคล่ือนไหวของส่วนแขน ส่วนขา
หรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เต็มขีดจากัดของการเคลื่อนไหวนั้น ๆ การพัฒนาทางด้านความอ่อนตัวทาได้
โดยการยืดเหยียดกลา้ มเนอ้ื และเอน็ หรือการใชแ้ รงต้านทานในกลา้ มเน้ือและเอน็ ทางานมากข้ึน การยดื เหยียด
ของกล้ามเนื้อทาได้ทั้งแบบอยู่กับท่ีหรือมีการเคลื่อน เพ่ือให้ได้ประโยชน์สูงสุดควรใช้การเหยียดของกล้ามเน้ือ
ในลักษณะอยู่กับท่ี นั่นก็คืออวัยวะส่วนแขนและขาหรือลาตัวจะต้องเหยียดจนกว่ากล้ามเน้ือจะรู้สึกตึงและ
จะตอ้ งอยู่ในท่าเหยียดกล้ามเน้ือในลักษณะน้ี ประมาณ 10 – 15 วนิ าที

1.5 องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) จะเป็นดัชนีประมาณค่าท่ีทาให้ทราบถึง
เปอร์เซ็นต์ของน้าหนักท่ีเป็นส่วนของไขมันท่ีมีอยู่ในร่างกาย องค์ประกอบของร่างกาย ประกอบด้วย 2 ส่วน
คือ ไขมันในร่างกายกับน้าหนักของส่วนต่าง ๆ ที่ปราศจากไขมัน ได้แก่ ส่วนของกระดูกและกล้ามเนื้อ การ
รักษาองค์ประกอบในร่างกายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมจะช่วยให้นักเรียนไม่เป็นโรคอ้วน ซ่ึงโรคอ้วนจะเป็น
จุดเริ่มต้นของการเป็นโรคท่ีเส่ียงอันตรายต่อไปอีกมาก เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หัวใจวาย และ
โรคเบาหวาน เป็นต้น สาหรับการหาองค์ประกอบของร่างกายน้ัน จะกระทาได้โดยการวัดความหนาของไขมัน
ใตผ้ วิ หนัง ( skinfold thickness) โดยใชเ้ คร่อื งมอื ท่ี เรียกว่า skinfold caliper

2. ส่วนท่ีสัมพันธ์กับทักษะกลไก (Motor Skill-related Fitness) คือ องค์ประกอบของสมรรถภาพที่
เก่ยี วกบั ทกั ษะกลไก ประกอบดว้ ย

2.1 ความเรว็ (Speed) หมายถงึ ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวไปสู่เป้าหมายที่ ต้องการโดยใช้
ระยะเวลาอนั สัน้ ทีส่ ดุ ซ่ึงกล้ามเน้ือจะต้องออกแรงและหดตัวด้วยความเร็วสูงสุด

2.2 กาลังของกล้ามเนื้อ (Muscle Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเน้ือในการทางาน
โดยการออกแรงสูงสุดในช่วงเวลาที่สั้นท่ีสุด ซึ่งจะต้องมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความเร็วเป็น
องคป์ ระกอบหลกั

2.3 การทรงตัว (Balance) หมายถงึ ความสามารถในการควบคุมรักษาตาแหน่งและท่าทางของ
รา่ งกายใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะตามทีต่ ้องการได้ ทัง้ ขณะท่อี ยู่กบั ที่หรอื ในขณะทมี่ กี ารเคล่อื นท่ี

2.4 ความคล่องแคลว่ ว่องไว (Agility) หมายถงึ ความสามารถในการเปล่ียนทิศทางและตาแหน่ง
ร่างกายในขณะท่ีกา ลังเคล่ือนไหวโดยใช้ความเร็วได้อย่างเต็มที่จัดเป็นสมรรถภาพทางกายที่จา เป็นในการ
นาไปส่กู ารเคลอื่ นไหวขนั้ พน้ื ฐานสาหรบั ทกั ษะในการเล่นกีฬาประเภทตา่ ง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ

15

2.5 เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Time) หมายถึง ระยะเวลาที่เร็วท่ีสุดท่ีร่างกายเร่ิมมี
การตอบสนองหลังจากท่ีได้รับการกระตุ้น ซ่ึงเป็นความสามารถของระบบประสาท เม่ือรบั รู้การถูกกระตุ้นแล้ว
สามารถสงั่ การให้อวยั วะท่ีทาหนา้ ที่เกย่ี วข้องกบั การเคลื่อนไหวใหม้ ีการตอบสนองอย่างรวดเรว็

2.6 การทางานประสานสัมพันธ์กัน (Coordination) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างการ
ทางานของระบบประสาทและระบบกล้ามเน้ือในการท่ีจะปฏิบัติกิจกรรมทางกลไกท่ีสลับซับซ้อนในเวลา
เดยี วกันอย่างราบรนื่ และแม่นยา

องค์ประกอบของสมรรถภาพท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อทักษะกลไกด้วยเช่นกัน การ
ใช้องค์ประกอบส่วนใดมากน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของกิจกรรมท่ที าหรือชนดิ ของกีฬาท่ีเลน่

3. ควำมสำคญั ของสมรรถภำพทำงกำย
กรมพลศึกษา (2539: 9) สมรรถภาพของรา่ งกายจะเกิดขนึ้ ได้น้ัน กต็ ่อเมื่อร่างกายไดม้ กี าร เคล่ือนไหว

หรืออกกาลังกายเท่าน้ัน และสมรรถภาพทางกายนี้จะเป็นสภาพของร่างกายที่จะเกิดขึ้น และหายไปได้การท่ี
จะรักษาให้สมรรถภาพของร่างกายคงสภาพอยู่เสมอนน้ั มีวิธีเดียวเท่าน้ัน คือ จะตอ้ งออกกาลังกายเป็นประจา
อยู่เสมอทุกวัน คุณค่าของสมรรถภาพทางกายจากการออกกาลังกาย เป็นประจาน้ัน พอจะสรุปเป็นข้อ ๆ ที่
สาคัญดงั นี้ คอื

1. การออกกาลังกายเป็นประจานั้น จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายได้มีการเจริญเติบโตได้อย่าง เต็มที่
โดยเฉพาะวัยเด็ก ซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในระหว่างการเจริญเติบโต กล้ามเน้ือส่วนต่างๆ ของร่างกายได้มีการพัฒนา
อย่างเต็มที่ และได้สัดส่วนทาให้สมรรถภาพในการทางานต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพในจานวนงานเท่ากัน
กล้ามเนื้อท่ีมีสมรรถภาพสูงจะทางานสาเร็จไดโ้ ดยใช้แรงงานท่นี ้อยกว่าและเหนื่อยน้อยกวา่ ประหยัดกว่าทาให้
สามารถนากาลังงานท่เี หลอื ไปใช้ในงานอื่นได้อกี ต่อไป

2. ผู้มีสมรรถภาพร่างกายดจี ะช่วยให้มีบุคลิกลักษณะสง่าผ่าเผยสามารถที่จะเคล่ือนไหวหรือ เดินเหิน
ได้ด้วยความสง่าคล่องแคล่วและกระฉับกระเฉงเป็นไปตามจังหวะ หรือลีลาของการเคลื่อนไหวหรือการเดิน
นัน้ ๆ การเคล่ือนไหวของร่างกายในลักษณะดังกล่าวนี้ นอกจากจะเป็นการประหยัดแรงงานได้เปน็ อย่างดแี ล้ว
ยังเปน็ การสง่ เสรมิ ความสงา่ ราศีใหแ้ ก่ตนเองเปน็ อย่างดีอีกดว้ ย

3. ผู้ที่มีสมรรถภาพทางร่างกายดีจะเป็นผู้ท่ีมีสุขภาพดีมีประสิทธิภาพในการประกอบกิ จการ
งานต่างๆ ประจาวันได้ผลผลิตที่สูง ถ้าเป็นผู้ท่ีอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนจะสามารถตรากตราและมีสมาธิใน
การศกึ ษาเลา่ เรียนไดด้ กี วา่ เปน็ ระยะเวลานานกวา่ ทาใหไ้ ดร้ บั ผลการเรยี นดกี วา่ ผูท้ ่ไี ม่มีสมรรถภาพทางกาย

16

4. กล้ามเนื้อหลังตอนล่างมีความสาคัญในการปูองกันโรคปวดหลังเม่ือมีอายุสูงถ้าได้มีการ
ออกกาลังกายเพ่ือให้กล้ามเนื้อส่วนนี้ได้มีการพัฒนาเป็นอย่างดีและถูกต้องตั้งแต่วัยเด็กแล้วจะเป็นการช่วย
ปอ้ งกันโรคปวดหลังไดเ้ ปน็ อย่างดอี กี ทางหนึง่ ดว้ ย

5. สาหรับวัยเด็กนั้นการมีสมรรถภาพทางกายดีจะช่วยให้เป็นเด็กท่ีมีความกระตือรือร้น มีความ
ต้องการท่จี ะเคลอ่ื นไหวและมีความเช่อื ม่ันในตนเองสูง

6. การออกกาลงั กายเพอ่ื ให้รา่ งกายมสี มรรถภาพน้ันเป็นวิธีท่ีดีย่ิงอยา่ งหน่งึ ในการท่ีจะชว่ ย รักษาและ
ควบคุมน้าหนักตัว การควบคุมน้าหนักตัวด้วยวิธีการลดอาหารอย่างเดียวนั้นเป็นวิธีการท่ีไม่ถูกต้องอย่างมาก
โดยเฉพาะในวยั เดก็ ที่อยู่ระหว่างการเจริญเตบิ โตวธิ ีที่ดีท่ีสดุ และถกู ต้องน้นั ควรจะ ป็นการควบคมุ ดว้ ยการออก
กาลังกายและอาหารควบคูก่ นั ไป

7. การออกกาลังกายเพื่อให้ร่างกายมีสมรรถภาพน้ัน เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน
ประสานกันระหว่างระบบไหลเวียนกับระบบหายใจ ซง่ึ เป็นการปูองกันโรคหวั ใจเสื่อมสมรรถภาพได้เปน็ อย่างดี
และในปัจจุบันนี้มีความเชื่อว่าโรคเส่ือมสมรรถภาพนี้เองเป็นต้นเหตุของโรคหัวใจวายที่ กาลังเป็นโรคร้ายที่น่า
กลัวย่ิงอย่างหนึ่งในสังคมสมัยใหม่น้ี วิธีป้องกันที่ดีอย่างหน่ึงก็ด้วยการออกกาลังกายเป็นประจา เพ่ือรักษา
สมรรถภาพทางกายน่ันเอง

8. คากล่าวของกรีกโบราณท่ีว่า “จิตใจที่ผ่องใสอยู่ในร่างกายท่ีสมบูรณ์ ” นั้นเพ่ือให้มี ความหมาย
ชัดเจนย่ิงข้ึนควรจะขยายความต่อไปอีกว่า “เรือนร่างท่ีสมบูรณ์นั้นคือเรือนร่างท่ีมี สมรรถภาพทางกายดี ”
ฉะนน้ั เม่อื รา่ งกายมีสมรรถภาพดี สุขภาพสมบูรณก์ ย็ อ่ มจะเปน็ ผลต่อประสทิ ธภิ าพทางดา้ นจติ ใจด้วย

จากที่ กล่ าว มาแล้ว น้ี จ ะเห็ น ว่าส มรรถภ าพ ท างกาย เป็ น ปั จ จั ย ที่ส าคัญ อย่ างห นึ่ งใน การมีชี วิ ต อยู่
ประจาวันที่เป็นไปได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข ซ่ึงจะได้จากการออกกาลังกายเป็นประจา และสม่าเสมอ
กิจกรรมการออกกาลังกายน้ีอาจจะเปน็ กิจกรรมการออกกาลังกายต่างๆ ที่เป็นไปตามความสนใจเหมาะสมกับ
เพศและวัยสภาพการณ์และเวลาท่ีมีอยู่นั้น เช่น บางคนอาจจะออกาลังกาย ด้วยการวิ่งช้า ๆ วันละประมาณ
15 ถึง 20 นาที หรือบางคนอาจจะเล่นกีฬาอย่างใดอย่างหนึ่งตาม ความถนัด และความสนใจของตนเองก็ได้
ข้อสาคัญก็มีอยู่ว่าการออกกาลังกายน้ันควรจะเป็นกิจกรรมที่ร่างกายได้ออกกาลังกายและทางานมากกว่า
กิจกรรมที่กระทาอยู่ในชีวิตประจาวัน คือ ให้ร่างกายได้มีโอกาสออกแรงและรู้สึกเหนื่อยมากกว่าปกติ และใน
ขณะเดยี วกันควรจะเปน็ กจิ กรรมที่ร่างกายได้มีโอกาสใชส้ ่วนต่างๆ ของรา่ งกายอยา่ งทว่ั ถึงกนั ดว้ ย

ประโยชน์ทัว่ ไป
1. ทาใหท้ รวดทรงดี
2. ร่างกายมีความตา้ นทานโรค
3. ระบบต่าง ๆ ทางานมปี ระสิทธิภาพย่งิ ขึน้
4. การตดั สนิ ใจดขี ึน้
5. มที ักษะดีขึ้น

ประโยชน์ทำงรำ่ งกำย

17

1. กล้ามเนื้อมคี วามแขง็ แรง
2. กลา้ มเน้ือมคี วามทนทาน
3. อตั ราการเต้นของหัวใจมจี านวนครั้งนอ้ ยลง แตก่ ารสบู ฉีดของหวั ใจมีประสทิ ธภิ าพเพิ่มขน้ึ
4. การควบคุมอณุ หภูมขิ องรา่ งกายดีขึน้
5. ความอ่อนตวั ดขี น้ึ
6. กล้ามเน้อื ฉกี ขาดไดย้ าก
7. พลังสงู ขนึ้
8. ความสมั พนั ธ์ในการใช้มือใชเ้ ทา้ ดีข้ึน
9. การประกอบกจิ กรรมในแง่ ทุ่ม พุ่ง ขวา้ ง กระโดด มปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ขน้ึ
10.การทรงตัวดีข้นึ
จากความสาคัญของสมรรถภาพทางกายท่ีอ้างถึงเบื้องต้น สรุปได้ว่าสมรรถภาพทางกายถือเป็น
ปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นที่สาคัญของการดาเนินชีวิตและการใช้ชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพ ซ่ึงสมรรถภาพ
ทางกายนมี้ คี วามสัมพนั ธเ์ กย่ี วกับสขุ ภาพของมนุษยใ์ นปจั จบุ ันเปน็ อยา่ งมาก

4. ปัจจยั ของสมรรถภำพทำงกำย
กรมพลศึกษา (2539: 8) กลา่ วถึงปัจจยั ของสมรรถภาพทางกาย ไดแ้ ก่
1. ควำมอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต และการหายใจเป็นประสิทธิภาพของการทางาน
ประสานกันระหว่างระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ โดยร่างกายสามารถยืนหยัดท่ีจะทางานได้เป็น
ระยะเวลายาวนานได้ เม่ือหยุดงานแล้วร่างกายจะสามารถคืนสู่สภาพปกติได้เร็ว กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้มี
ความทนทานในด้านน้ี ได้แก่ กิจกรรมการออกกาลังกายที่เป็นไปทีละน้อยและช้าๆ เป็นระยะเวลานานๆ เช่น
การว่ิงเหยาะในระยะทางไกล หรือว่ิงอยู่กับที่เป็นระยะเวลานา ๆ นักว่ิงระยะไกล เช่น นักว่ิง 5,000 เมตร
10,000 เมตร หรือนักว่ิงมาราธอนจะเป็นผู้ที่มีระบบไหลเวียนและระบบหายใจทางานประสานกันอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ คือ เปน็ ผทู้ ่ีมีความอดทนของร่างกายโดยรวมอยู่ในระดบั สูงนั้นเอง
2. ควำมอดทนของกล้ำมเน้ือ เป็นความสามารถของกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนท่ีต้องทางานซ้าๆ ได้เป็น
ระยะเวลานานโดยได้งานมากแต่เหนื่อยน้อยกิจกรรรมที่จะช่วยให้เกิดความอดทนของกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนนี้
ได้แก่ กิจกรรมท่ีจะต้องใช้กล้ามเนื้อของร่างกายซ้าๆ เป็นเวลานานๆ เช่น การดึงข้อหลายๆ คร้ัง การดันพื้น
หลายๆ ครั้ง การทาลุกน่ังหลายๆ ครั้ง การงอแขนห้อยตัวเป็นระยะเวลานานๆ และการน่ังเป็นมุมแหลมเป็น
เวลานานๆ เปน็ ต้น
3. ควำมแข็งแรงของกล้ำมเนื้อ คือ ความสามารถของกล้ามเน้ือในการหดตัวเพ่ือทางานอย่างหนึ่ง
อย่างใดได้อย่างเต็มที่ในระยะเวลาใดเวลาหน่ึงโดยกล้ามเน้ือส่วนหนึ่งส่วน ใดหรือกล้ามเน้ือของ ร่ายกาย
หลายๆ ส่วนทางานร่วมกัน เช่น ความสามารถในการบีบมือซ้ายหรือขวา ความสามารถในการยกน้าหนัก
ความสามารถในการดึงไดนาโมมิเตอร์ เป็นต้น กิจกรรมที่จะช่วยให้เกิดพลังของกล้ามเนื้อน้ี ได้แก่ กิจกรรมที่
กล้ามเน้ือต้องมีโอกาสในการหดตัวอย่างเต็มท่ีช่ัวระยะหน่ึงแล้วก็พักสลับกันไป เช่น การยืนอยู่ระหว่างขอบ

18

ประตูแล้วใช้มือท้ังสองดันขอบประตูออกไปข้างๆ อย่างเต็มที่ช่ัวครู่หนึ่งแล้วก็พักสลับกันไปการกระทาเช่นน้ี
จะช่วยให้กล้ามเน้ือแขนและไหล่มีพลังสูงขึ้นเช่นเดียวกัน การบริหารกายด้วยการยกน้าหนักก็เป็นการช่วยให้
กลา้ มเนือ้ ขา ลาตัว ไหล่ และแขนมีพลงั สงู ขน้ึ อีกเชน่ เดยี วกัน

4. พลังหรือกำลังดีดของกล้ำมเน้ือ คือ ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหน่ึงส่วนใดหรือ หลาย ๆ
ส่วนของร่างกายในการหดตัวเพื่อทางานอย่างเร็ว และแรงในจังหวะหนึ่งจังหวะใด พลังหรือ กาลังดีดของ
กล้ามเน้ือน้ีจะแตกต่างจากความแข็งแรงของกล้ามเนื้อท่ีได้กล่าวมาแล้วก็ตรงท่ีว่าพลังนั้นเป็นผลงานของการ
หดตัวของกล้ามเนื้อเพียงคร้ังเดียวจังหวะเดียว ส่วนความแข็งแรงของกล้ามเน้ือเป็นผลงานของการหดตัวของ
กล้ามเนอื้ เช่นเดียวกัน แต่หลังจากการหดตัวแล้วยงั มีโอกาสท่ีจะใช้ความพยายามในการหดตัวอยา่ งเต็มที่ตอ่ ไป
อีกชั่วระยะหนึ่ง ผลงานที่เกิดข้ึนจากความพยายาม ในครั้งหลังน้ีอาจจะมากกว่าหรือเท่ากับการหดตัวไปแล้ว
ในครั้งแรกก็ได้ ตวั อย่างกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับพลังของกล้ามเน้ือ ไดแ้ ก่ การยืนอยกู่ ับที่กระโดดไกล การยืนอยู่กับ
ท่ีกระโดดสูง การพุ่งแหลน การทุ่มน้าหนัก เป็นต้น กิจกรรมที่จะช่วยสง่ เสริมให้กล้ามเนอื้ ได้มพี ลังตัวได้เพ่ิมข้ึน
น้ัน ได้แก่ กจิ กรมประเภททีช่ ่วยเพม่ิ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือดงั ได้กลา่ วมาแลว้

5. ควำมเร็ว คือ ความสามารถในการหดตัวหลาย ๆ ครั้งติดต่อกันของกล้ามเนื้อส่วนหนึ่งส่วนใดหรือ
กล้ามเนื้อหลายๆ ส่วนของร่างกายรวมกันเพื่อทางานให้ได้ผลงานมากในเวลาอันรวดเร็ว เช่น การหดตัวเพ่ือ
ช่วยให้รา่ งกายได้เคล่ือนที่จากท่ีหนึ่งไปยังอีกท่ีหนึ่งได้อย่างรวดเร็วและในเวลาท่ีสั้นที่สุด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดก็
คือ การว่ิง 50 เมตร หรือการว่ิง 100 เมตร กิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดความเร็วขึ้นน้ี ได้แก่ กิจกรรมท่ี
ชว่ ยส่งเสรมิ ใหก้ ล้ามเน้อื มีความแข็งแรงเพิ่มขน้ึ และกจิ กรรมทีต่ ้องใช้ความเร็ว

6. ควำมคล่องตัว คือ ความสามารถในการหดตัวของกล้ามเน้ือส่วนต่างๆ ของร่างกายรวมกันเพื่อให้
ร่างกายสามารถเปลี่ยนตาแหน่งและทิศทางในการเคลื่อนไหวได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น
สามารถน่ังลงและยืนข้ึนสลับกันได้ด้วยความรวดเร็ว มีความสามารถท่ีจะว่ิงกลับตัวไปมาได้ด้วยความรวดเร็ว
มคี วามสามารถท่จี ะว่งิ กลับตัวไปทางซ้ายและขวาได้ด้วยความรวดเร็ว กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ความคล่องตวั น้ี ได้แก่
กิจกรรมท่กี ล้ามเนอ้ื ไดม้ ีโอกาสทางานด้วยการเปลีย่ นตาแหน่งและทิศทางต่างๆ ดังได้กล่ามาแล้ว

7. ควำมอ่อนตัว คือ ความสามารถในการเหยียดตัวของของข้อต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อให้
สามารถเคล่ือนไหวได้ในบริเวณท่ีกว้างท่ีสุด ตัวอย่างเช่น การยืนเข่าตึงก้มตัวแตะพื้น การยืนเข่าตึงแอ่นลาตัว
หงายหลังเอามือแตะพ้ืนไปข้างหลัง กิจกรรมท่ีจะช่วยให้ร่างกายได้มีความอ่อนตัวมากขึ้นนั้น ได้แก่ กิจกรรม
ตา่ งๆ ทีร่ า่ งกายตอ้ งเหยียดตวั มากกวา่ ท่ที างานในเวลาปกติ

8. กำรทรงตัวหรือควำมสมดุล คือ การท่ีประสาทรับความรู้สึกของร่างกายโดยเฉพาะท่ีอยู่ใน
กล้ามเนอื้ ขอ้ ต่อ ส่วนประสาทควบคุมการทรงตัวภายในหูและประสาทตา เพ่ือรักษาดุลของร่างกายให้อยู่ในท่า
ต่างๆ ทั้งในขณะอยู่กับที่และในระหว่างเคล่ือนท่ี เช่น การเดินบนเส้นตรงให้ปลายเท้าต่อกัน การยืนเท้าเดียว
มือท้ังสองกางออกไปทางข้าง การหกกบ การยืนด้วยศีรษะ การยืนด้วยมือ เป็นต้น การทรงตัวด้วยท่าต่างๆ
เหล่านี้ ควรจะได้รบั การฝึกฝนเปน็ ประจาจึงจะสามารถทรงตวั ไดด้ ีข้ึน

19

บันเทิง เกิดปรางค์ (2540: 3) กล่าวว่าการที่ร่างกายมนุษย์เราจะมีสมรรถภาพทางกายได้ดี มากน้อย
เพยี งไรนั้นต้องประกอบด้วยปจั จยั หลัก 2 ประการ คอื

1. ปจั จัยภำยใน
1.1 อายุวัยต่างๆ มีความเหมาะสมกับการออกกาลังกายไม่เหมือนกัน เด็กท่ีกาลังเติบโตร่างกายยังมี
ความอดทนน้อยกว่าผู้ใหญ่ การออกกาลังกายจึงไม่ต้องหักโหม เด็กท่ีอายุต่ากว่า 8 ปี สมรรถภาพในการ
ทางานของกล้ามเน้ือยังต่า การออกกาลังกายต่างๆ จึงต้องเป็นเรื่องท่ีง่ายๆ ฉะน้ันการออกกาลังกายที่ยาก
และต้องการการร่วมทางานของกล้ามเนื้อเป็นอย่างมากจึงควรกระทาภายหลังอายุ 10 ปีข้ึนไปแล้ว ข้อสังเกต
ท่ัวไป คือ ไม่ควรหัดให้เด็กเลน่ กีฬาเพียงอย่างเดียว เพราะจะทาใหร้ ่างกายเจรญิ เฉพาะสว่ นเกิดการผิดรูปหรือ
พิการได้ กฬี าที่ต้องใช้เทคนิคมาก เชน่ กีฬาทต่ี ้องเล่นกับลูกบอลต่างๆ อาจเริ่มฝกึ ไดต้ ้ังแต่อายุยังน้อย แต่ไม่ให้
ฝึกความอดทนอย่างเคร่งเครยี ดจนกว่าร่างกายจะเจริญเติบโตเต็มท่ีโดยเฉพาะในเรื่องของการฝึกความแข็งแรง
ด้วยการยกน้าหนัก ( Weight Training) ผู้ฝึกจะต้องมีอายุไม่น้อยกว่า 12 ปี จึงจะปลอดภัย (เด็กไทย) ในวัย
ผู้ใหญ่ ความสามารถใน การรับการออกกาลังกายขึ้นอยู่กับวัย สมรรถภาพทางกายด้านกล้ามเนื้อ ความเร็ว
และความไว และจะออกกาลังกายได้ดีเม่ืออายุไม่เกิน 25 - 30 ปี ส่วนความอดทนอาจฝึกให้ถึงขีดสูงสุดได้แม้
อายุเลย 30 ปีไปแล้ว อย่างไรก็ตามเมื่ออายุเกนิ 35 - 40 ปีแลว้ ความสามารถในการรับการฝึกสมรรถภาพทาง
กายทุกอย่างจะลดตา่ ลงมาเป็นลาดบั
1.2 เพศ ถา้ เปรียบเทียบกันระหว่างเพศชายกบั เพศหญิง จะพบความแตกต่างของสมรรถภาพทางกาย
ทุกด้าน ท้ังโดยแท้ (สมรรถภาพที่แสดงออกจริง) และโดยเทียบส่วน (เทียบกับน้าหนักตัวต่อกิโลกรัม)
เน่ืองจากรปู ร่างของเพศหญิงดอ้ ยกว่าเพศชาย น้าหนกั เฉลีย่ น้อยกวา่ และนา้ หนักของส่วนที่เปน็ กลา้ มเนอ้ื เมื่อ
เทียบส่วนแล้วก็น้อยกว่า เด็กหญิงจนถึงวัยแตกเน้ือสาว จะมีความอดทนเท่ากับเด็กชาย แต่จะถึงจุดสูงสุดท่ี
อายุต่ากว่าในการออกกาลังกายปานกลางความอดทนของเพศหญิงจะต่ากว่าชายมากซึ่ง Morehouse และ
Miller (1976) ได้ช้ีให้เห็นว่า ความอดทนของ เพศหญิงเป็นครึ่งหนึ่งของชายในการวิ่งและปัจจัยท่ีจากัดความ
อดทนของเพศหญงิ คอื
- อตั ราการเต้นของหวั ใจของหญิงเร็วกว่า ชาย 10 %
- หวั ใจมขี นาดเลก็ กว่า
- ทรวงอกเลก็ ว่าทาใหค้ วามจุปอดนอ้ ยกว่า
- ความสามารถในการขนส่งออกซิเจนมีน้อยกว่า เพราะเม็ดเลือดแดงมีน้อยกว่า แต่ทางด้านความ
ออ่ นตัว ผูห้ ญิงทง้ั ในวยั เดก็ และวัยผ้ใู หญจ่ ะมคี วามออ่ นตัวมากกว่าผูช้ าย
1.3 สภาพร่างกาย จิตใจ และพรสวรรค์ เป็นเรื่องของบุคคล ซ่ึงเป็นผลมาจากทางกรรมพันธุ์และ
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมจริงอยู่การฝึกสามารถทาให้คนเก่งขึ้นได้ทุกคน แต่ลักษณะทางกาย จิตใจ และ
พรสวรรค์ ของผู้รับการฝึกจะเป็นตัวจากัดขีดสูงสุดของสมรรถภาพทางกายสิ่งที่เห็นได้ชัดเจน คือ รูปร่างของ
นักกีฬาหลายประเภท จะมีลักษณะจาเพาะสาหรับนักกีฬานั้นๆ เน่ืองจากรูปร่างที่แตกต่างกันย่อมมีปฏิกิริยา
ตอบสนองต่อการออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬาได้แตกต่างกัน ตลอดจนในเร่ืองของโอกาสที่จะได้รับบาดเจ็บ

20

ขึ้นได้ ดังน้ัน เพ่ือให้มีความสอดคล้องกันระหว่างลักษณะรูปร่างทางกายกับชนิดของกีฬาที่เหมาะสมในแต่ละ
บุคคล William Shaldal ซ่ึงเป็นนักมานุษยวิทยาได้ทาการศึกษาและแบ่งลักษณะรูปร่างทางกายของมนุษย์
ออกเปน็ 3 พวกคือ

รูปร่ำงอ้วนเต้ียหรือสูงใหญ่ (Endomorphy) คือ พวกที่มีน้าหนักตัวมากเหมาะสมกับการเล่นกีฬา
ประเภท ยกน้าหนัก มวยปล้า ทมุ่ นา้ หนกั ขว้างจักร พุ่งแหลน เพราะตอ้ งการความแขง็ แรง และความสามารถ
ในการรับแรงปะทะไดเ้ ปน็ อย่างดี

รูปร่ำงสันทัด (Mesomophy) คือ พวกท่ีมีกล้ามเน้ือมากถ้ารูปร่างไม่สูงนักจะเหมาะกับการเล่นกีฬา
ประเภทมวยสากล ยกน้าหนัก ยิมนาสติก กระโดดน้า ยูโด ถ้ารูปร่างสูงจะเหมาะกับการเล่นกีฬาประเภท
บาสเกตบอล กระโดไกล รักบ้ีฟุตบอล ฟุตบอล วอลเลย์บอล กระดานโต้คล่ืน เทนนิส แบดมินตัน
และเทเบลิ เทนนิส เปน็ ต้น

รูปร่ำงผอมเล็กหรือผอมสูง (Ectomorphy) คือ พวกผอมเล็กจะเหมาะกับการเล่นกีฬา ประเภท
ยิมนาสตกิ กระโดดไกล เขยง่ กา้ วกระโด กระโดดขา้ มร้วั วงิ่ ระยะส้นั และว่ิงระยะกลาง เป็นตน้

2. ปัจจยั ภำยนอก
2.1 อาหาร มีอิทธิพลต่อการฝึกซ้อมและสมรรถภาพทางกายท่ีสาคัญอย่างย่ิงข้อหน่ึงท่ีควรสังเกต คือ
การกินอาหารประเภทโปรตีนมากๆ ไม่ได้ทาให้กาลังและความอดทนดีขึ้น ทางตรงข้ามอาจเป็นผลเสียด้วย
อาหารที่ให้พลังงานโดยตรงคือ พวกคาร์โบไฮเดรต นักกีฬาท่ีต้องใช้ความอดทน จาเป็นต้องได้รับอาหาร
ประเภทน้ี ส่วนในเร่ืองของอาหารก่อนการฝึกซ้อมหรือแข่งขัน นายแพทย์เจริญทัศน์ จินตนเสรี (2536) กล่าว
ว่า ก่อนการฝึกซ้อมหรือแข่งขัน ไม่ควรกินอาหารหนัก อาหารหนักมื้อสุดท้าย ควรเป็นอาหารที่ย่อยง่ายและ
ต้องกินมาอยา่ งน้อย 3 - 4 ชวั่ โมง ก่อนการ ฝึกซ้อมหรือแข่งขัน การกินอาหารหนกั กอ่ นออกกาลังกายจะทาให้
เลือดถูกแบ่งไปใช่ในการทางานของระบบย่อยอาหาร อีกประการหนึ่งมวลของอาหารในกระเพาะอาหารและ
ลาไส้ ยังเป็นตัวขัดขวางการทางานของกล้ามเน้ือกระบังลม ซึ่งต้องทางานหนักเพิ่มขน้ึ (การหายใจเพ่ิมข้ึน) ใน
ระหว่างการฝึกซ้อมหรือแช่งขันท่ีหนักและยืดเย้ือติดต่อกันเป็นเวลาหลายๆ ช่ัวโมงอาจจาเป็นต้องเติมอาหาร
น้า และ เกลือแร่อาหารท่ีเหมาะคือพวกคาร์โบไฮเดรต ในสภาพที่เป็นของเหลวและมีกากน้อย การใช้กลูโคส
ละลายน้า เป็นการให้อาหารระหว่างการออกกาลังที่ดแี ละสะดวก แต่จะมปี ระโยชน์ได้เฉพาะในการออกกาลัง
ท่หี นักและนานเปน็ ช่ัวโมง ๆ เท่านนั้ นา้ ตาลธรรมดา (น้าตาลทราย) อาจได้ผลเหมอื นกัน และราคาถูกกวา่
2.2 สารกระตุ้น หมายถึง ยาหรือสารที่ไม่ใช่อาหารตามปกติ ส่วนใหญ่จะใช้ในหมู่ นักกีฬาเพ่ือทาให้
สมรรถภาพในการฝึกซอ้ ม และแข่งขันเพ่ิมข้ึน หรอื ในหมู่นกั ออกกาลังกายที่มีความเข้าใจวา่ เมื่อนาเอาสิ่งต่าง
ๆ เหล่าน้ีเข้าสู่ร่างกายแล้วจะช่วยให้ร่างกายมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น เช่น อะนาโบลิค ( Anabolic) สเตอ
รอยด์ (Steroids) แอมแฟตามิน (Ampheamin) กาแฟอีน (Cafeine) การให้เลือด (Blood Doping) การใช้
ยาบดบังสารกระตุ้นท่ีใช้ (Buffering Solutions) ซ่ึงทางวงการแพทย์ได้ยืนยันแล้วว่า สารเหล่านี้จะออกฤทธ์ิ
หรือจะแสดงผลให้เหน็ ได้ในระยะเวลาอนั สั้นเท่าน้นั แต่ถา้ ในระยะยาวแล้วกลับเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพได้ อาจ
พิการหรือเสียชีวิต อีกทั้งยังถือว่าเป็นสารต้องห้ามไม่ให้นามาใช้ในการแข่งขันกีฬาทุกประเภทโดยแท้จริงแล้ว

21

นักกีฬาที่ฝึกซ้อมมาจนสมบูรณ์เต็มที่ท้ังทางร่างกายและจิตใจแล้ว สารกระตุ้นจะไม่สามารถทาให้เก่งข้ึนไปได้
อีก ส่วนนักกีฬาที่ไม่สมบูรณ์ ถึงแม้จะใช้สารกระตุ้นท่ีดีเลิศเพียงใดก็ย่อมไม่สามารถเอาชนะนักกีฬาท่ีสมบูรณ์
เตม็ ที่ได้

2.3 สภาพอากาศ มีอิทธพิ ลต่อการออกกาลังกาย อุณหภูมิสูงทาใหค้ วามอดทน ลดลงเพราะทาให้การ
ระบายความรอ้ นท่ีเกิดจากการทางานของกล้ามเนื้อทาได้ยาก สถิตขิ องการว่ิง ระยะไกลในนักกีฬาคนเดยี วกัน
ท่ีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะดีกว่าที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส ไม่ต่ากว่า 5 เปอร์เซ็นต์ แต่ในการ
ออกกาลังกายระยะส้ันอากาศร้อนอาจจะได้ผลดีกว่าเพราะทาให้การอบอุ่นร่างกาย (Warm Up) ดาเนินไปได้
เรว็ ข้ึน อันตรายซึ่งเกิดจากการท่กี ล้ามเนอ้ื อบอุ่นไม่เพียงพอ เชน่ กล้ามเนือ้ ฉีกขาด ข้อเทา้ แพลง จะมีน้อยกว่า
การฝึกความอดทนในท่ีร้อนทาให้ได้ปริมาณการฝึกซ้อมน้อยกว่าในท่ีอากาศเย็น หากฝึกจนเหน่ือยเท่ากัน ซ่ึง
ผลของสมรรถภาพทางกายจะน้อยกว่าด้วย ดังนั้น เวลาเช้าตรู่อากาศเย็นกว่าตอนกลางวัน จึงเหมาะสาหรับ
การฝึกเพื่อความอดทน ส่วนความเร็วและความว่องไวอาจฝึกในเวลาบา่ ยได้ ความชื้นของอากาศเก่ยี วข้องกับ
การระบายความร้อนของร่างกายในระหวา่ งการออกกาลงั กาย ถา้ อากาศช้ืนมากการระเหยของน้าที่ผวิ กายเพื่อ
ระบายความร้อนไปจากตัวจะยาก ทาให้มีการหลั่งเหง่ือออกมามากกว่าปกติเป็นสาเหตุให้ ความอดทนลด
น้อยลง แต่ในการออกกาลังกายในท่ีอากาศแห้ง (ความชื้นน้อย) อาจทาให้ผลเสียเกิดข้ึนได้เหมือนกัน
โดยเฉพาะในนักกีฬาท่ีคุ้นเคยกับอากาศชื้น เพราะอาจทาให้รู้สึกเหน่ือยเร็ว คอแห้ง หายใจไม่ทัน (ปัญหาของ
นักกฬี าไทยมักจะพบบอ่ ย ถา้ ต้องออกไปแข่งขันต่างประเทศ) ความกดอากาศที่ระดับน้าทะเล ความกดอากาศ
แปรเปล่ียนไม่มากนัก แต่ถ้าเป็นการออกกาลังกายในที่สูง (ตั้งแต่ 1,000 เมตร เหนือระดับน้าทะเลข้ึนไป)
สมรรถภาพทางด้านความอดทนจะลดต่าลง เน่ืองจากความหนาแน่นของอากาศมีน้อย ถ้านักกีฬาไปทาการ
ฝึกซ้อมอยู่บนที่สูงระยะเวลาหน่ึง ร่างกายจะทาการปรับตัวได้ โดยเฉพาะระบบหายใจและระบบไหลเวียน
เลือดจะปรับตัวให้สามารถรับออกซิเจนจากอากาศได้มากข้ึน จึงเชื่อว่าจะทาให้ผลเพิ่มของความอดทนมี
มากกว่าการฝึกซ้อมใน ปริมาณเท่ากันที่ระดับน้าทะเล

2.4 เคร่ืองนุ่งห่ม มีผลต่อสมรรถภาพทางกายท้ังในแง่ความคล่องตัวและความอดทน โดยเฉพาะใน
ด้านความอดทน เกี่ยวข้องกับการระบายความร้อนจากในร่างกาย ข้อท่ีต้องคานึงถึง คือ เสื้อแขนยาวผ้าใย
เทียมทาให้การระบายความร้อนยากมากข้ึน เพราะน้าจะระเหยออกได้ยากเป็นเหตุให้มีการหลั่งเหงื่อออกมา
มากขน้ึ ผ้าสที ึมดูดความรอ้ นไดม้ ากกว่าผ้าสีอ่อน จึงไมเ่ หมาะสมกับการออกกาลงั กายกลางแดด

2.5 การออกกาลังกาย คือการใช้กล้ามเน้ืออื่น ๆ ของร่างกายทางานมากกว่าการเคล่ือนไหวหรือ
อิริยาบถต่างๆ ตามปกติในชีวิตประจาวัน การออกกาลังกายท่ีดีและถูกต้องควรปฏิบัติ อย่างสม่าเสมอ ตาม
ความเหมาะสมของอายุ เพศ และสภาวะของร่างกาย โดยมีสัญญาณให้ทราบไดว้ ่าการออกกาลงั กายครัง้ น้ัน ๆ
เหมาะสมหรอื ยงั คอื อตั ราการเต้นของหวั ใจท่ีสงู ข้นึ หายใจถี่แรงขน้ึ มี เหงื่อออกมาก เปน็ ต้น

นอกจากน้ัน การออกกาลังกายยงั มีผลโดยตรงต่อสมรรถภาพทางกายด้านต่างๆ การออกกาลงั ชนิดใช้
แรงงานกล้ามเนื้อ จะทาให้ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเพิ่มมากข้ึนโดยเพ่ิมสมรรถภาพของระบบหายใจและ
ระบบไหลเวียนโลหิตคนทขี่ าดการออกกาลังกายจะมีสมรรถภาพทางกายด้านต่างๆ ต่ากว่าคนที่ออกกาลังกาย
เปน็ ประจายิ่งไปกว่าน้ัน การท่ีมีสมรรถภาพทางกายด้านการประสานงานระหว่างกล้ามเนอื้ และระบบประสาท

22

ต่า จะทาให้ปฏิกิริยาในการหลีกเล่ียงอันตรายต่าด้วย การที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกายจะทาให้กล้ามเนื้อและ
เนื้อเย่ือต่างๆ สูญเสียความสามารถในการยืดตัวไปได้และถ้าไม่มีการเคล่ือนไหวเลย เช่น การถูกเข้าเฝือกไว้
นานๆ เม่ือกระดูกหักจะทาให้สมรรถภาพทางด้านความอ่อนตัวลดลงไปอีก ในทางกลับกันการออกกาลังกาย
อยู่เป็นประจา จะช่วยทาให้ความอ่อนตัวคงอยู่เป็นปกติและมากขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม ผลการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่างกาย จะมากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับระดับของการออกกาลังกายในแต่ละบุคคลอีกด้วยดังที่ได้มีผู้
ศกึ ษาจาก การฝึกหนูให้ออกกาลงั กายแล้วทาให้ได้หลกั ฐานมาสนับสนนุ ว่า ขนาดของหัวใจข้ึนอย่กู ับระดับของ
การออกกาลังกาย

2.6 การพักผ่อน เป็นส่ิงจาเป็นสาหรับมนุษย์ โดยเฉพาะในผู้ท่ีมีการออกกาลังกายหรือเล่นกีฬาเป็น
ประจา เน่ืองจากการพักผ่อนจะช่วยทาให้ร่างกายได้ซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอท่ีเกิดข้ึน ระหว่างการออกกาลัง
และทาการสร้างขึ้นใหม่ในกรณีท่ีมีการออกกาลังเก่ียวกับการสร้างกล้ามเน้ือ นอกจากนั้น การพักผ่อนยังช่วย
ผอ่ นคลายความเครียดทางด้านจิตใจและประสาทอกี ด้วย วิธีการพักผ่อนที่ดีที่สดุ คือ การนอนหลับ ฉะน้ันควร
กาหนดช่วงหรือระยะเวลาของการพักผ่อนให้แน่นอน ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละบุคคล เช่น วัย
เพศ ลักษณะของงานท่ีทาหรือการออกกาลังกาย แต่ตามปกติโดยทั่วไปแล้วทางการแพทย์ได้แนะนาไว้ว่า
มนุษย์ควรมเี วลาพกั ผ่อนด้วยการนอนหลับอย่างน้อยวันละ 8 ช่วั โมงตดิ ต่อกนั

จากปัจจัยของสมรรถภาพทางกายท่ีอ้างถึงเบื้องต้น สรุปได้ว่า ปัจจัยท่ีเกี่ยวกับการเสริมสร้าง
สมรรถภาพแบ่งออกเป็น

1. ปัจจัยภายใน เช่น อายุ เพศ สภาพร่างกาย จิตใจ และพรสวรรค์ เปน็ ต้น
2. ปัจจัยภายนอก เช่น อาหาร สารกระตุ้น สภาพอากาศ เคร่ืองนุ่งห่ม การออกกาลังกาย และการ
พกั ผอ่ น เปน็ ต้น

5. กำรทดสอบสมรรถภำพทำงกำย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วยรายการทดสอบดงั นี้
1. กระโดดไกล (Standing Broad Jump) ใชว้ ัดพลังกล้ามเนื้อขาในการกระโดดไปข้างหน้า หน่วยวัด

เป็นเซนตเิ มตร

รปู ที่ 1 กระโดดไกล

23

2. วิ่งเก็บของ (Shuttle Run) ใช้วัดความคล่องแคล่วว่องไว ความแม่นยา และการทรงตัวในการวิ่ง
กลับตวั ระยะทาง 10 เมตร หน่วยวัดเป็นวนิ าทีและทศนิยมสองตาแหน่ง

รูปที่ 2 วิง่ เก็บของ
3. ลุก-นั่ง 30 วินาที (30 Seconds Sit-ups) ใช้วัดความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเน้ือท้องในการ
ทาลุก-นง่ั หนว่ ยวดั เปน็ จานวนครง้ั ภายในเวลา 30 วินาที

รปู ท่ี 3 ลกุ -น่ัง
4. ความอ่อนตัว (Trunk Forward Flexibility) ใช้วัดความสามารถในการยืดเหยียดของกล้ามเนื้อ
และข้อต่อ จนสุดช่วงของการเคลื่อนไหวจากทา่ นั่งเหยียดเท้าตรงดว้ ยเครื่องวัดความอ่อนตัว (Flexibilimeter)
หนว่ ยวัดเปน็ เซนตเิ มตร

24

รปู ท่ี 4 ความอ่อนตัว

5. ว่งิ เร็วระยะ 50 เมตร (50 Meter Sprints) ใชว้ ัดความอดทนระบบไหวเวียนของโลหิตและกา
หายใจ

รูปที่ 5 ว่งิ เร็วระยะ 50 เมตร

6. กำรสร้ำงเกณฑ์มำตรฐำน

สานักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนันทนาการ กรมพลศึกษา (2540) ได้ทาการศึกษาวิจัย

สมรรถภาพทางกาย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ระดับอายุ 13 – 15 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและสร้าง

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียน โดยผลการวิจยั พบว่า

ตารางท่ี 1 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นชาย อายุ 13 ปี รวมทัว่ ประเทศ

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ตา่ ตา่ มาก

- นัง่ งอตัวไปข้างหนา้ 11.6 ข้นึ ไป 9.1-11.5 3.9-9.0 1.3-3.8 1.2 ลงมา

- ยืนกระโดดไกล 196 ขน้ึ ไป 185-195 163-183 152-162 151 ลงมา

- ลกุ -นั่ง 30 วินาที 28 ขึน้ ไป 26-27 20-25 18-19 17 ลงมา

- วิ่งเกบ็ ของ 10.97 ลงมา 10.98-11.38 11.39- 12.51-13.01 13.02 ข้ึนไป

12.50

- วง่ิ 50 เมตร 7.77 ลงมา 7.78-8.31 8.32-9.38 9.39-9.91 9.92 ขึ้นไป

25

ตารางที่ 2 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนหญิง อายุ 13 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ตา่ ต่ามาก

- นั่งงอตวั ไปข้างหน้า 12.3 ขึ้นไป 9.5-12.2 3.9-9.3 1.2-3.8 1.1 ลงมา

- ยนื กระโดดไกล 166 ข้นึ ไป 157-165 137-156 128-136 127 ลงมา

- ลุก-นั่ง 30 วินาที 22 ขึ้นไป 19-21 14-18 11-13 10 ลงมา

- วง่ิ เกบ็ ของ 12.19 ลงมา 12.20-12.77 12.78- 13.96-13.53 13.53 ขึ้นไป

13.95

- วง่ิ 50 เมตร 8.73 ลงมา 8.75-9.39 9.30-10.69 10.70-11.34 11.35 ขน้ึ ไป

ตารางที่ 3 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นชาย อายุ 13 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง ตา่ ตา่ มาก

- นงั่ งอตัวไปข้างหน้า 13.1 ข้นึ ไป 10.3-13.0 3.6-10.2 1.8-3.5 1.7 ลงมา

- ยนื กระโดดไกล 207 ขน้ึ ไป 195-206 171-193 159-170 158 ลงมา

- ลุก-นั่ง 30 วินาที 28 ขึน้ ไป 26-27 21-25 19-20 18 ลงมา

- วง่ิ เก็บของ 10.85 ลงมา 10.86-11.33 11.35- 12.33-12.82 12.83 ขน้ึ ไป

12.33

- วิ่ง 50 เมตร 7.39 ลงมา 7.30-7.93 7.95-9.05 9.06-9.60 9.61 ขึน้ ไป

ตารางท่ี 4 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นหญงิ อายุ 13 ปี รวมทว่ั ประเทศ

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ตา่ ต่ามาก

- นง่ั งอตัวไปข้างหนา้ 13 ข้นึ ไป 10.3-12.9 3.8-10.2 2.0-3.7 1.9 ลงมา

- ยนื กระโดดไกล 168 ขนึ้ ไป 158-167 139-157 129-138 128 ลงมา

- ลกุ -นง่ั 30 วินาที 21 ข้ึนไป 19-20 14-18 11-13 10 ลงมา

- วิ่งเกบ็ ของ 12.23 ลงมา 12.25-12.79 12.80- 13.91-13.35 13.36 ขึ้นไป

13.90

- วงิ่ 50 เมตร 8.72 ลงมา 8.73-9.33 9.35-10.58 10.59-11.19 11.20 ขน้ึ ไป

ตารางที่ 5 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 15 ปี รวมท่วั ประเทศ

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ตา่ ตา่ มาก

- นั่งงอตวั ไปข้างหนา้ 13.7 ขึ้นไป 11.9-13.6 6.0-11.8 3.1-5.9 3.0 ลงมา

- ยืนกระโดดไกล 221 ขึ้นไป 208-220 183-207 170-182 169 ลงมา

- ลุก-น่งั 30 วนิ าที 29 ขึน้ ไป 27-28 22-26 20-21 19 ลงมา

- วง่ิ เกบ็ ของ 10.55 ลงมา 10.56-11.03 11.03-12.00 12.0-12.38 12.39 ขน้ึ ไป

- วิง่ 50 เมตร 7.10 ลงมา 7.11-7.63 7.65-8.72 8.73-9.25 9.26 ขึน้ ไป

26

ตารางที่ 6 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นหญิง อายุ 15 ปี รวมทว่ั ประเทศ

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ตา่ ต่ามาก

- นงั่ งอตวั ไปข้างหนา้ 13.2 ขึ้นไป 11.2-13.1 5.2-11.1 2.3-5.1 2.2 ลงมา

- ยนื กระโดดไกล 169 ขึน้ ไป 159-168 138-158 128-137 127 ลงมา

- ลกุ -นัง่ 30 วินาที 21 ข้นึ ไป 19-20 14-18 12-13 11 ลงมา

- ว่ิงเกบ็ ของ 12.23 ลงมา 12.23-12.83 12.83- 13.03-13.62 13.63 ขนึ้ ไป

13.03

- ว่งิ 50 เมตร 8.87 ลงมา 8.88-9.52 9.53-10.82 10.83-11.36 11.37 ข้ึนไป

7. งำนวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง
วรยุทธ์ ทิพย์เท่ียงแท้ และคณะ(2544: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย

สาหรับนักเรียนไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 ปีการศึกษา 2543
จานวนทั้งส้ิน 1,200 คน ประกอบด้วยนักเรียนชาย 600 คน และนักเรียนหญิง 600 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย Kasetsart Youth Fitness Test จากการศึกษาพบว่า สมรรถภาพ
ทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1, 2 และ 3 มีเกณฑ์มาตรฐานแต่ละ
รายการดังน้ี

นกั เรยี นชายมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1, 2 และ 3
ดันพ้ืน 30 วินาที 27, 28 และ 28 ครั้งขึ้นไป ระดับดีมาก, 21-26,24-27 และ 24-27 ครั้ง ระดับดี,
17-20, 20-23 และ 21-23 ครัง้ ระดับปานกลาง, 11-16, 17-19 และ 17-20 คร้ัง ระดับค่อนข้างต่า และ 10,
16 และ 16 ครั้งลงมา ระดบั ต่า
นั่งงอตัวไปข้างหน้า 15, 16 และ16 เซนติเมตรขึ้นไป ระดับดีมาก, 9-14, 9-15 และ10-15
เซนติเมตร ระดับดี, 3-8, 2-8 และ4-9 เซนติเมตร ระดับปานกลาง, -3) -2),-5)-1, และ -2)-3 เซนติเมตร
ระดบั คอ่ นข้างต่า และ -4, -6 และ -3 เซนติเมตรลงมา ระดับต่า
วิง่ เดิน 1,000 เมตร 4.50, 4.45 และ4.10 นาทลี งมา ระดับดีมาก, 4.51-5.40, 4.46-5.35 และ 4.11-
4.59 นาที ระดับดี, 5.41-6.50, 5.36-6.45 และ 5.00-5.59 นาที ระดับปานกลาง, 6.51-7.50, 6.46-7.45
และ 6.00-6.59 นาที ระดับค่อนข้างต่า และ 7.51, 7.46 และ 7.00 นาทีข้ึนไป ระดับต่านักเรียนหญิง
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1, 2 และ 3
ดันพ้ืน 30 วินาที 24, 26 และ 24 คร้ังขึ้นไป ระดับดีมาก, 19-23,21-25 และ 20-23 ครั้ง ระดับดี,
15-18, 15-20 และ 15-19 ครั้ง ระดับปานกลาง, 10-14, 10-14 และ 11-14 ครงั้ ระดับค่อนขา้ งตา่ และ 9, 9
และ 10 ครัง้ ลงมา ระดับต่า

27

น่ังงอตัวไปข้างหน้า 17, 17 และ16 เซนติเมตรขึ้นไป ระดับดีมาก, 11-16, 11-16 และ10-15
เซนติเมตร ระดับดี, 5-10, 6-10 และ5-9 เซนติเมตร ระดับปานกลาง, -1) -4),-1)-5, และ -1)-4 เซนติเมตร
ระดบั ค่อนข้างตา่ และ -2, 0 และ -2 เซนติเมตรลงมา ระดบั ตา่

วิ่งเดิน 1,000 เมตร 5.59, 5.50 และ5.50 นาทีลงมา ระดับดีมาก, 6.00-6.59, 5.51-6.60 และ 5.51-
6.59 นาที ระดับดี, 7.00-7.59, 7.00-7.50 และ 7.00-8.00 นาที ระดับปานกลาง, 8.00-8.50, 7.51-8.40
และ 8.01-9.00 นาที ระดบั คอ่ นข้างตา่ และ 8.51, 8.41 และ 9.01 นาทขี ึน้ ไป ระดบั ต่า

ประไพรศรี ฮวดชัย (2550: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพและสร้างเกณฑ์
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ของนักเรียนช่วงช้ันท่ี 2 โรงเรียนในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี ปี
การศึกษา 2549 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชาย จานวน 240 คน นักเรียนหญิง จานวน 240 คน รวมทั้งส้ิน
480 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ (Physical Best)
ประกอบด้วยรายการทดสอบ 5 รายการ คือ ดัชนีมวลกาย น่ังงอตัวไปข้างหน้า ลุก -น่ัง ดึงข้อ
และเดิน/ว่ิง 1 ไมล์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจยั พบวา่

1. ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขสุขภาพค่าเฉล่ีย

และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสขุ ภาพของนักเรียนชาย ชัน้ ประถมศกึ ษา
ปีท่ี 4, 5 และ 6 ปรากฏผลดังน้ี ดัชนีมวลกาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.11, 17.58 และ 17.33 ตามลาดับ และ
ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.32, 2.62 และ 2.25 ตามลาดับ น่ังงอตัวไป ข้างหน้า มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 7.22,
8.23 และ 8.37 เซนติเมตร ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.37 ,3.10 และ 5.05 ตามลาดับ
ลุก – นั่ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.96, 32.13 และ 36.32 ครั้ง ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ
8.19, 6.31 และ 8.03 ตามลาดับ ดึงข้อ มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 1.56, 1.85 และ 2.23 คร้ัง ตามลาดับ และส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.53, 1.72 และ 2.03 ตามลาดับ เดนิ /วิง่ 1 ไมล์ มีค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 9.30, 9,15 และ
8.39 นาที ตามลาดับ และส่วน เบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.33, 1.32 และ 1.00 ตามลาดบั

ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของ นักเรียน
หญิง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3, 5 และ 6 ปรากฏผลดังน้ี ดัชนีมวลกาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.77, 17.69 และ
18.16 ตามลาดับ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.35, 3.09 และ 3.08 ตามลาดบั น่ังงอตัวไปขา้ งหน้า มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.30, 7.16 และ10,27 เซนติเมตร ตามลาดับ และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 3.77 ,3.67
และ 3.36 ตามลาดับ ลุก - นงั่ มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 23.79, 27.13 และ 28.33 คร้ัง ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 7.17, 5.95 และ 9.36 ตามลาดับ ดึง ข้อ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.36, 0.37 และ 0.30 ครั้ง
ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ . 73, .83 และ .63 ตามลาดับ เดิน/วง่ิ 1 ไมล์ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ
11.23, 11.17 และ 11.02 นาที ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.33, 1.32 และ 1.00
ตามลาดบั

28

2. เกณฑส์ มรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพรวมทุกรายการ ของนักเรยี นชาย ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ถึง
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าดังนี้

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ระดับระดบั สูงมากเทา่ กับคะแนนที 61 ข้นึ ไป ระดบั สงู เทา่ กบั คะแนน ที 53 -
60 ระดบั ปานกลางเท่ากบั คะแนนที 37 - 53 ระดบั ต่าเทา่ กบั คะแนนที 30 - 36 และระดับตา่ มากคะแนนที
39 ลงมา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 ระดบั ระดับสูงมากเท่ากบั คะแนนที 60 ข้ึนไป ระดับสงู เทา่ กับคะแนน ที 53 -
59 ระดับปานกลางเท่ากบั คะแนนที 37 - 53 ระดบั ต่าเทา่ กับคะแนนที 31 - 36 และระดบั ต่า มากคะแนนที
30 ลงมา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ระดบั ระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที 58 ขนึ้ ไป ระดับสงู เท่ากับคะแนน ที 53 -
57 ระดบั ปานกลางเทา่ กับคะแนนที 38 - 52 ระดบั ต่า เทา่ กับคะแนนที 33 - 37 และระดับตา่ มากคะแนนที
32 ลงมา

เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ รวมทุกรายการของนักเรียนหญิง ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ถึงชนั้
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 มีคา่ ดงั น้ี

ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ระดบั ระดบั สงู มากเทา่ กบั คะแนนที 65 ขน้ึ ไป ระดบั สูงเทา่ กบั คะแนน ที 55 -
63 ระดับปานกลางเทา่ กบั คะแนนที 36 - 53 ระดบั ตา่ เทา่ กบั คะแนนที 37 - 35 และระดบั ตา่ มากคะแนนที
36 ลงมา

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 ระดบั ระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที 61 ขึ้นไป ระดับสงู เท่ากับคะแนน ที 53 -
60 ระดับปานกลางเท่ากบั คะแนนที 37 - 53 ระดบั ตา่ เทา่ กับคะแนนที 30 - 36 และระดับตา่ มากคะแนนที
39 ลงมา

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับระดับสงู มากเท่ากบั คะแนนที 58 ขึ้นไป ระดับสูงเท่ากับคะแนน ที 53 -
57 ระดับปานกลางเทา่ กับคะแนนที 38 - 52 ระดบั ตา่ เทา่ กับคะแนนที 33 - 37 และระดับตา่ มากคะแนนที
32 ลงมา

วรวุฒิ สวัสดิชัย (2551: บทคัดย่อ) ได้ได้ศึกษาสมรรถภาพทางกายและสร้างระดับ สมรรถภาพทาง
กายของนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิง ช้ันปีท่ี 1 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีการศึกษา 2550
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชาย จานวน 344 คน นักศึกษาหญิง จานวน 360 คนซ่ึง ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่ง

29

ชั้น เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบทดสอบมาตรฐานระหว่าง ประเทศ (International Committee
for Standardization of Physical Fitness Test = ICSPFT) ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉล่ีย ค่าส่วน
เบย่ี งเบนมาตรฐานและคะแนนที

ผลวิจยั พบว่า

1. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาชายในการทดสอบวิ่งเร็ว 50 เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.08 วินาที
มคี ่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.70 วนิ าที , ยืนกระโดดไกล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.98 เซนติเมตร มีค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.20 เซนติเมตร , ลุก - นั่ง 30 วินาที มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 24.63 ครั้ง มีค่าส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.52 คร้ัง , แรงบีบมือท่ีถนัด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 42.80 กิโลกรัม มีค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 6.76 กิโลกรัม , ดึงข้อราวเดี่ยว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 คร้ัง มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 1.85 ครั้ง , วิ่งเกบ็ ของ มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 12.05 วินาที มีค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.54 วนิ าที
, น่ังงอตัวไปข้างหน้า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.63 เซนติเมตร มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.78 เซนติเมตร
และว่ิงทางไกล 1,000 เมตร มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 6.37 นาที มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.69 นาที
ตามลาดบั

2. สมรรถภาพทางกายของนักศกึ ษาหญิงในการทดสอบวิ่งเร็ว 50 เมตร มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 9.06 วินาที
มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.40 วินาที, ยืนกระโดดไกล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.44 เซนติเมตร มีค่าส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.19 เซนติเมตร, ลุก - นั่ง 30 วินาที มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.23 ครั้ง มีค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.39 ครั้ง , แรงบีบมือที่ถนัด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 28.20 กิโลกรัม มีค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 5.07 กิโลกรัม , งอแขนห้อยตัว มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 41.24 วินาที มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 11.53 วินาที, วิ่งเก็บของ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 13.29 วินาที มี ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.69
วินาที, นั่งงอตัวไปข้างหน้ามีค่าเฉล่ียเท่ากับ 7.40 เซนติเมตร มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.87
เซนติเมตร และว่ิงทางไกล 800 เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.07 นาที มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.75
นาที ตามลาดบั

3. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนที 75 ข้ึนไป ระดับสูง ตรงกับ
คะแนนที 63 - 74 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนที 38 - 62 ระดับต่าตรงกับคะแนนที 26 - 37 ระดับต่ามาก
ตรงกับคะแนนที 25 ลงมา

4. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนที 73 ขึ้นไป ระดับสูง ตรงกับ
คะแนนที 62 - 72 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนที 39 - 61 ระดับต่าตรงกับคะแนนที 28 - 38 ระดับต่ามาก
ตรงกับคะแนนที 27 ลงมา

30

ศุภวรรณ วงศ์สร้างทรัพย์ (2555: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเกณฑ์สมรรถภาพทางกายท่ีเก่ียวข้องกับ
สุขภาพของ นักเรียนโรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนา
การศกึ ษา ประชากรทใี่ ช้ในการศกึ ษาวิจัยคือ นักเรียนโรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต
กาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา จานวนท้ังสิ้น 1 ,579 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการ วิจัยนี้คือ
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสมั พันธ์กบั สุขภาพของสานักงานกองทุนสนับสนุนการ สรา้ งเสริมสุขภาพ 5
รายการ คือ วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง นั่งงอตัวไปข้างหน้า ลุก – น่ัง 60 วินาที ดันพ้ืน 30 วินาที และ
วง่ิ ระยะทางไกล วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนแบบทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายทุกรายการของนักเรียนโรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วจิ ัย
และพัฒนาการศึกษา แล้วจึงสร้างเกณฑ์ ปกติของสมรรถภาพทางกายแต่ละรายการ โดยใช้คะแนน “ที” (T-
Score) จากการวิจัยคร้ังนี้ทาให้ได้ เกณฑ์ปกติสมรรถภาพทางกายท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพของนักเรียนโรงเรยี น
สาธติ แห่ง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา

ผลการวจิ ัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ที่เก่ียวข้องกับ
สุขภาพ ของนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการศึกษา มีรายละเอียดดังน้ี

1.1 รายการความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง (มิลลิเมตร) นักเรียนชายระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ย
24.01 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 11.99 นักเรียนหญิงระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ย 20.67 ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 11.37 นักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ค่าเฉล่ีย 37.61 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 11.10
นักเรยี นหญิงระดับมัธยมศึกษา คา่ เฉลี่ย 35.89 คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 8.39

1.2 รายการนั่งงอตัวไปข้างหน้า (เซนติเมตร) นักเรียนชายระดับประถมศึกษา ค่าเฉล่ีย 2.54 ค่า
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 6.14 นักเรียนหญิงระดับประถมศึกษา ค่าเฉล่ีย 4.29 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
5.87 นักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ค่าเฉลี่ย 6.04 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.36 นักเรียนหญิงระดับ
มัธยมศึกษา ค่าเฉล่ีย 8.95 คา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 14.54

1.3 รายการลุก – น่ัง 60 วินาที (ครั้ง) นักเรียนชายระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ย 22.74 ค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.79 นักเรยี นหญงิ ระดบั ประถมศกึ ษา ค่าเฉลย่ี 21.58 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 8.73
นักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ค่าเฉล่ีย 15.30 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 11.10 นักเรียนหญิงระดับ
มัธยมศกึ ษา คา่ เฉล่ีย 35.89 ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 7.98

1.4 รายการดันพื้น 30 วินาที (ครั้ง) นักเรียนชายระดับประถมศึกษา ค่าเฉล่ีย 22.65 ค่าส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน 10.26 นักเรียนหญิงระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ย 23.02 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

31

11.30 นกั เรียนชายระดับมัธยมศึกษา ค่าเฉลี่ย 26.42 ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.15 นกั เรียนหญงิ ระดับ
มธั ยมศึกษา ค่าเฉลีย่ 22.08 คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 7.98

1.5 รายการวิ่งระยะไกล (นาที:วินาที) นักเรียนชายระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ย 11.15 ค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.03 นักเรียนหญิงระดับประถมศึกษา ค่าเฉลี่ย 12.28 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.14
นักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ค่าเฉลี่ย 11.99 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.98 นักเรียนหญิงระดับ
มัธยมศกึ ษา คา่ เฉล่ยี 14.60 ค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 2.44

2. สร้างเกณฑ์ปกติ (norms) สมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ของนักเรียนระดับ
ประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน
ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา โดยการคานวณหาคา่ เฉลย่ี และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานจากคะแนนดิบ

เกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ ในรายการวิ่งระยะไกล (นาที: วินาที)
ของนักเรยี นชายระดับประถมศึกษา มีดังนี้ ระดบั สมรรถภาพดีมาก ใช้คะแนนในการทดสอบ 17.66 ลงมา
ระดับสมรรถภาพดี ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 17.67-20.66 ระดับสมรรถภาพปานกลาง ใช้
คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 20.67-23.66 ระดับสมรรถภาพพอใช้ ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง
23.67-26.66 ระดับสมรรถภาพปรบั ปรงุ ใช้คะแนนในการทดสอบ ตั้งแต่ 26.67 ขึ้นไป

เกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพ ในรายการวิ่งระยะไกล (นาที: วินาที)
ของนกั เรียนหญิงระดับประถมศึกษา มีดังนี้ ระดับสมรรถภาพดมี าก ใช้คะแนนในการทดสอบ 17.41 ลงมา
ระดับสมรรถภาพดี ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 17.42-21.41 ระดับสมรรถภาพปานกลาง ใช้
คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 21.42 -25.41 ระดับสมรรถภาพพอใช้ ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง
25.42-29.41 ระดบั สมรรถภาพปรบั ปรุง ใช้คะแนนในการทดสอบ ตง้ั แต่ 29.42 ขน้ึ ไป

เกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ ในรายการว่ิงระยะไกล (นาที: วินาที)
ของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา มีดังนี้ ระดับสมรรถภาพดีมาก ใช้คะแนนในการทดสอบ 25.71 ลงมา
ระดับสมรรถภาพดี ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 25.72-21.71 ระดับสมรรถภาพปานกลาง ใช้
คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 21.72-25.71 ระดับสมรรถภาพพอใช้ ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง
25.72-29.71 ระดบั สมรรถภาพปรับปรุง ใช้คะแนนในการทดสอบ ตงั้ แต่ 29.72 ข้นึ ไป

และเกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ในรายการว่ิงระยะไกล (นาที:
วนิ าที) ของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษามีดังน้ี ระดับสมรรถภาพดีมาก ใช้คะแนนในการทดสอบ 17.37
ลงมา ระดับสมรรถภาพดี ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 17.38-21.37 ระดับสมรรถภาพปานกลาง
ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง 21.38-25.37 ระดับสมรรถภาพพอใช้ ใช้คะแนนในการทดสอบ ระหว่าง
25.38-29.37 ระดับสมรรถภาพปรบั ปรุง ใชค้ ะแนนในการทดสอบ ตั้งแต่ 29.38 ขน้ึ ไป

32

ภทั รพล พง่ึ อาศยั (2557 : บทคัดยอ่ ) ได้ศึกษาขอ้ มูลด้านสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น เพ่ือเป็น
เอกสารชี้นาในการปรับปรุงพัฒนาแผนการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีความ
เหมาะสมมากขนึ้ กลุ่มตัวอย่างท่ใี ชใ้ นการวิจยั ครงั้ นี้ คือ นักเรยี นวิทยาลยั เทคโนโลยปี ัญญาภิวฒั น์ ในระดับชั้น
ปวช .1/12 สาขาวิชาค้าปลีก จานวน 34 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการสมุ่ อย่างง่ายในการคัดเลือกกลุ่มตัวอยา่ งของ
งานวิจัยในคร้ังน้ี เคร่อื งมือ/วิธีการทใ่ี ช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ในการ ทดสอบสมรรถภาพ ใบบันทกึ ผลการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ หาค่าเฉล่ีย และเปรียบเทียบ
Pre-Test และ Post-Test เพ่ือเปรยี บเทยี บกอ่ น สมรรถภาพทางกายและหลังเรยี นวิชาพลศึกษา

ผลการวจิ ยั พบวา่
จากการทดสอบครั้งท่ี 1 พบว่านักเรียนชายมีเกณฑ์อยู่ท่ีวิ่ง 50 เมตร อยู่ในระดับต่า ลุกนั่งอยู่ใน
ระดับปานกลาง วิ่งเก็บของอยู่ในระดับต่า งอตัวอยู่ในระดับต่า กระโดด ไกลอยู่ในระดับปานกลาง และ
นักเรียนหญิงเกณฑ์อยู่ที่ว่ิง 50 เมตร อยู่ในระดับปานกลาง ลุกน่ัง อยู่ในระดับปานกลาง วิ่งเก็บของอยู่ใน
ระดับต่า งอตัวอยู่ในระดับปานกลาง กระโดดไกลอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับการทดสอบครั้งท่ี
2 พบว่านักเรียนชายมีเกณฑ์อยู่ท่ีว่ิง 50 เมตร อยู่ในระดับต่า ลุกนั่งอยู่ในระดับปานกลาง ว่ิงเก็บของอยู่ใน
ระดับต่า งอตัวอยู่ในระดับต่า กระโดดไกลอยู่ในระดับปานกลาง และนักเรียนหญิงเกณฑ์อยู่ท่ีว่ิง 50 เมตร
อยู่ในระดับปานกลาง ลุกน่ังอยู่ในระดับปานกลาง ว่ิงเก็บของอยู่ในระดับต่า งอตัวอยู่ในระดับปานกลาง
กระโดดไกลอยู่ในระดับปานกลาง โดยจากการทาวิจัยในครั้งน้ีทราบได้ว่านักเรียนช้ันปวช .1/2 มี
สมรรถภาพในการทดสอบท่เี พิ่มขนึ้ จากการเรยี นพลศึกษา

อนันต์ จิตต์อารีย์เทพ (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านน้าหนักเกินเกณฑ์
มาตรฐาน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1/3 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชงิ เทรา ในการศึกษาวิจัยในครัง้ น้ี
มีวัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านน้าหนักที่เกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยใช้แบบสอบถา ม
สารวจพฤตกิ รรมในการออกกาลงั กายและการบรโิ ภคของนักเรียน แล้วนาข้อมูลท่ีได้มาวเิ คราะห์สาเหตทุ ่ีทาให้
นักเรียนมีน้าหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน แล้วนามาหาวิธีการกิจกรรมท่ีทาให้นักเรียนท่ีมีน้าหนักเกินเกณฑ์
มาตรฐานได้ลดลง ก็จะทาให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทางร่างกายและจิตใจและสังคม โดยนากลุ่มตัวอย่าง
นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/3 ท่มี นี ้าหนักเกนิ เกณฑม์ าตรฐาน เปน็ นกั เรียน จานวน 13 คน

ผลการวจิ ัยพบวา่
นักเรียนส่วนมากจะออกกาลังกายเมือ่ อย่โู รงเรียน เช่น การวิ่งเลน่ กับเพื่อน ๆ เม่ือมเี วลาว่าง การ
เรยี นในช่ัวโมงพลศึกษา รองลงมากม็ ีการออกกาลังกายกับครอบครัวทกุ วันหยุด เสาร์ - อาทิตย์บ้าง ส่วนการ
บริโภคของนักเรียนส่วนมากรับประทานอาหารตามหลักธงโภชนาการทุกวัน เมื่ออยู่ท่ีโรงเรียน แต่ก็ยังมี
นกั เรยี นบางสว่ นทยี่ ังรบั ทานขนมกรอบและน้าอดั ลมเม่ืออยูบ่ ้าน จงึ ทาให้นักเรียนมนี ้าหนกั เกินเกณฑ์

33

อรชุลี นิราศรพ (2550: บทคัดย่อ) ได้ได้ศึกษาสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพและสร้างเกณฑ์
สมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพของนักเรียนช่วงช้ันท่ี 2 ในโรงเรียนสาธิตสังกัด สานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2550 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนชาย 290 คน
และนักเรียนหญงิ 290 คน รวมทั้งส้ิน 580 คน เครื่องมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย เป็นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
เพ่ือสุขภาพ AAHPERD Health-Related physical Fitness Test ประกอบด้วยการทดสอบ 3 รายการ คือ
ดชั นีมวลกาย ( BMI) , นั่งงอตัวไปข้างหนา้ , ลุกน่ังและ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลยี่ และส่วน
เบย่ี งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบวา่
1. ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพของนักเรียนชาย
และนักเรยี นหญิงเปน็ ดังนี้
ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชาย ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 , 5 และ 6 รายการดัชนีมวลกาย มีค่าเฉล่ีย 18.57 , 19.58 และ 19.52 ตามลาดับ และมี
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3.31 , 3.85 และ 3.62 ตามลาดับ รายการน่ังงอตัวไป ข้างหน้ามีค่าเฉลี่ย 3.06
เซนตเิ มตร , 3.57 เซนตเิ มตร และ 3.85 เซนตเิ มตร ตามลาดบั และมสี ่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 5.79, 6.03 และ
6.22 ตามลาดับ รายการลุก - นั่งมีค่าเฉลี่ย 33.35 ครั้ง, 33.50 คร้ังและ 36.91 คร้ัง ตามลาดับ และมีส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน 8.39 , 8.83 และ 8.53 ตามลาดับ รายการเดิน/ว่ิง 1 ไมล์ มีค่าเฉล่ีย 11.25 นาที, 11.28
นาที และ 10.19 นาที ตามลาดับ และมีส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 2.56, 2.27 และ 1.83 ตามลาดบั
ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพของนักเรียนหญิง ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 3 , 5 และ 6 รายการดัชนีมวลกาย มีค่าเฉล่ีย 17.67, 19.73 และ 19.27 ตามลาดับ และมี
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3.12, 3.59 และ 3.33 ตามลาดับ รายการนั่งงอตัวไป ข้างหน้ามีค่าเฉล่ีย 6.32
เซนติเมตร, 5.87 เซนตเิ มตร และ 6.82 เซนติเมตร ตามลาดับ และมีสว่ น เบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.97, 6.51 และ
6.36 ตามลาดับ รายการลุก - นั่งมีค่าเฉลี่ย 29.95 ครั้ง, 32.28 ครั้งและ 36.15 คร้ัง ตามลาดับ และมีส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน 6.93 , 7.85 และ 7.88 ตามลาดับ รายการเดิน/ว่ิง 1 ไมล์ มีค่าเฉลี่ย 11.33 นาที, 12.23
นาที และ 10.39 นาที ตามลาดบั และมสี ว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 2.06, 1.99 และ 1.82 ตามลาดบั
2. เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเพ่อื สุขภาพ รวมทุกรายการของนักเรยี นชาย ชน้ั ประถมศึกษาปี ที่ 3 ถึง
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มีคา่ ดังนี้
นักเรียนชายช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที ต้ังแต่ 61 ข้ึนไประดับสูงมี คะแนน
ทีระหว่าง 55 - 60 ระดับปานกลางมีคะแนนทีระหว่าง 36 - 53 ระดับต่ามีคะแนนทีระหว่าง 30 - 35 และ
ระดบั ตา่ มากมีคะแนนทที ี่ 39 ลงมา
นกั เรียนชายช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที ตั้งแต่ 61 ขึ้นไป ระดับสูงมี คะแนน
ทีระหว่าง 53 - 60 ระดับปานกลางมีคะแนนทีระหว่าง 37 - 53 ระดับต่ามีคะแนนทีระหว่าง 30 - 36 และ
ระดับต่ามากมีคะแนนที่ 39 ลงมา

34

นกั เรียนชายช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ระดับสงู มากเท่ากับคะแนนที ตั้งแต่ 65 ข้ึนไป ระดับสูงมี คะแนน
ทีระหว่าง 57 - 63 ระดับปานกลางมีคะแนนทีระหว่าง 33 - 56 ระดับต่ามีคะแนนทีระหว่าง 36 - 33 และ
ระดบั ตา่ มากมคี ะแนนทีที่ 35 ลงมา

เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพ รวมทุกรายการของนกั เรียนหญิง ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าดังน้ี นักเรียนหญิงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที ตั้งแต่ 60 ข้ึน
ไประดับสูงมี คะแนนทีระหว่าง 53 - 59 ระดับปานกลางมีคะแนนทีระหว่าง 37 - 53 ระดับต่ามีคะแนนที
ระหวา่ ง 31 - 36 และระดบั ตา่ มากมคี ะแนนทที ่ี 30 ลงมา

นกั เรยี นหญิงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ระดับสูงมากเท่ากบั คะแนนที ต้งั แต่ 60 ขน้ึ ไป ระดับสูง มีคะแนน
ทีระหว่าง 53 - 59 ระดับปานกลางมีคะแนนทีระหว่าง 38 - 52 ระดับต่ามีคะแนนทีระหว่าง 31 - 37 และ
ระดบั ต่ามากมีคะแนนทที ี่ 30 ลงมา

นักเรยี นหญงิ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ระดับสูงมากเท่ากับคะแนนที ตงั้ แต่ 61 ขนึ้ ไป ระดับสูง มีคะแนน
ทีระหว่าง 53 - 60 ระดับปานกลางมีคะแนนทีระหว่าง 37 - 53 ระดับต่ามีคะแนนทีระหว่าง 30 - 36 และ
ระดบั ตา่ มากมีคะแนนทีท่ี 39 ลงมา

วรวุฒิ สวัสดิชัย (2551: บทคัดย่อ) ได้ได้ศึกษาสมรรถภาพทางกายและสร้างระดับ สมรรถภาพทาง
กายของนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิง ชั้นปีท่ี 1 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีการศึกษา 2550 กลุ่ม
ตัวอย่างเป็นนักศึกษาชาย จานวน 333 คน นักศึกษาหญิง จานวน 360 คน ซ่ึงได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบทดสอบมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Committee for
Standardization of Physical Fitness Test = ICSPFT) ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานและคะแนนที

ผลวจิ ัยพบว่า
1. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาชายในการทดสอบว่ิงเร็ว 50 เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.08 วินาที
มคี ่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.70 วินาที , ยืนกระโดดไกล มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 1.98 เซนติเมตร มีค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.20 เซนติเมตร , ลุก - นั่ง 30 วินาที มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 23.63 ครั้ง มีค่าส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.52 คร้ัง , แรงบีบมือท่ีถนัด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.80 กิโลกรัม มีค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 6.76 กิโลกรัม , ดึงข้อราวเด่ียว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.32 คร้ัง มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เท่ากบั 1.85 คร้งั , ว่ิงเก็บของ มีค่าเฉล่ียเทา่ กับ 12.05 วินาที มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.53 วินาที
, น่ังงอตัวไปข้างหน้า มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 7.63 เซนติเมตร มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.78 เซนติเมตร
และว่ิงทางไกล 1,000 เมตร มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 6.37 นาที มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.69 นาที
ตามลาดบั
2. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาหญิงในการทดสอบวิง่ เรว็ 50 เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.06 วินาที
มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.30 วินาที, ยืนกระโดดไกล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.33 เซนติเมตร มีค่าส่วน

35

เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.19 เซนติเมตร, ลุก - น่ัง 30 วินาที มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 17.23 คร้ัง มีค่าส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.39 คร้ัง , แรงบีบมือท่ีถนัด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 28.20 กิโลกรัม มีค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 5.07 กิโลกรัม , งอแขนห้อยตัว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 31.23 วินาที มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 11.53 วินาที, วิ่งเก็บของ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.29 วินาที มี ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.69
วินาที, น่ังงอตัวไปข้างหน้ามีค่าเฉล่ียเท่ากับ 7.30 เซนติเมตร มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.87
เซนติเมตร และว่ิงทางไกล 800 เมตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.07 นาที มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.75
นาที ตามลาดบั

3. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนที 75 ข้ึนไป ระดับสูง ตรงกับ
คะแนนที 63 - 73 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนที 38 - 62 ระดับต่าตรงกับคะแนนที 26 - 37 ระดับต่ามาก
ตรงกบั คะแนนที 25 ลงมา

3. สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนที 73 ขึ้นไป ระดับสูง ตรงกับ
คะแนนที 62 - 72 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนที 39 - 61 ระดับต่าตรงกับคะแนนที 28 - 38 ระดับต่ามาก
ตรงกบั คะแนนที 27 ลงมา

36

บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวจิ ัย
การวิจัยครง้ั นี้ มีจดุ ม่งุ หมายเพ่ือศกึ ษาข้อมูลดา้ นสมรรถภาพทางกายทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั สุขภาพของ
นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาช้นั ปที ี่ 1 ท่กี าลังศึกษาอยใู่ น โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา ภาคเรียนที่ 2
ปกี ารศกึ ษา 2563 มีรายละเอียดดงั นี้
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวิจัย
3. อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการวจิ ัย
4. วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
6. การวเิ คราะห์ข้อมูล

1. ประชำกรและกลุม่ ตัวอยำ่ ง
ประชำกร
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัด

ยะลา จานวน 20 คน ท่กี าลงั ศกึ ษาในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

กลมุ่ ตวั อย่ำง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒

จังหวดั ยะลา นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 จานวน 20 คน

2. เคร่อื งมือท่ีใช้ในกำรวิจยั
ขอ้ มลู ท่ัวไป ได้แก่
1. อายุ น้าหนกั ส่วนสูง คา่ ดัชนีมวลกาย (BMI)
2. เกณฑ์มาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรยี น 5 รายการ
2.1 กระโดดไกล
2.2 วงิ่ เกบ็ ของระยะ 10 เมตร
2.3 ลกุ -นั่ง 30 วินาที
2.4 น่ังงอตัวไปขา้ งหน้า
2.5 ว่งิ เรว็ 50 เมตร
3. ผลจากการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 ดา้ น

3. อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในกำรวจิ ยั
1. ใบบันทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

37

2. แผ่นยางยืนกระโดดไกล
3. ไมว้ ิง่ เก็บของขนาด 5x5x10 เซนติเมตร จานวน 2 ท่อน
4. เบาะรองสาหรับทดสอบลุก-น่งั
5. เครอื่ งวดั ความอ่อนตวั
6. ลู่ว่ิงทางเรยี บระยะทาง 50 เมตร
7. นาฬกิ าจบั เวลา
8. ใบบันทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 ดา้ น
4. วิธกี ำรทดสอบสมรรถภำพทำงกำย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือประเมินความสามารถและประสิทธิภาพในการทางานของอวยั วะ
สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย เฉพาะเจาะจงที่เกี่ยวกับส่วนประกอบของร่างกาย ความอ่อนตัว ความแข็งแรง ความ
อดทนของกลา้ มเนื้อ และความอดทนของระบบไหลเวียนและระบบหายใจ จานวน 5 รายการ ดงั ต่อไปน้ี
1. กระโดดไกล (Standing Broad Jump) ใชว้ ัดพลังกล้ามเนื้อขาในการกระโดดไปข้างหน้า หน่วยวัด
เปน็ เซนติเมตร

รปู ท่ี 1 กระโดดไกล
2. วิ่งเก็บของ (Shuttle Run) ใช้วัดความคล่องแคล่วว่องไว ความแม่นยา และการทรงตัวในการวิ่ง
กลับตวั ระยะทาง 10 เมตร หน่วยวัดเปน็ วนิ าทแี ละทศนยิ มสองตาแหน่ง

รปู ที่ 2 ว่งิ เกบ็ ของ

38

3. ลุก-น่ัง 30 วินาที (30 Seconds Sit-ups) ใช้วัดความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเน้ือท้องในการ
ทาลุก-นง่ั หนว่ ยวดั เปน็ จานวนครั้ง ภายในเวลา 30 วนิ าที

รปู ท่ี 3 ลกุ -น่ัง
4. ความอ่อนตัว (Trunk Forward Flexibility) ใช้วัดความสามารถในการยืดเหยียดของกล้ามเนื้อ
และข้อต่อ จนสุดช่วงของการเคลื่อนไหวจากท่านงั่ เหยียดเท้าตรงดว้ ยเครื่องวัดความอ่อนตวั (Flexibilimeter)
หนว่ ยวัดเป็นเซนติเมตร

รปู ที่ 4 ความอ่อนตวั
5. ว่ิงเรว็ ระยะ 50 เมตร (50 Meter Sprints) ใชว้ ัดความอดทนระบบไหวเวยี นของโลหิตและกา
หายใจ

รูปที่ 5 ว่ิงเร็วระยะ 50 เมตร

39

5. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. ศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารตาราและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง พรอ้ มกาหนดกรอบการศึกษาวิจัย
2. ศึกษารายละเอียดแบบทดสอบแต่ละรายการเกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิบัติ และรายละเอียด ต่าง ๆ

ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3. นัดหมายโรงเรียน กาหนดวนั เวลา เพอ่ื เก็บรวบรวมขอ้ มูล และนัดหมายการแต่งกาย ของนกั เรียน

ใหแ้ ตง่ กายด้วยชุดพลศึกษา
3. จัดเตรยี มสถานที่ และอปุ กรณใ์ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทกุ รายการ
5. อธิบาย สาธิตข้ันตอนการปฏิบัติงาน รายละเอียดต่าง ๆ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ช่วยในการ

เกบ็ รวบรวมข้อมลู เพือ่ ความเขา้ ใจใหถ้ กู ตอ้ งตรงกัน
6. ก่อนทาการทดสอบผู้วิจัยและผู้ช่วย อธิบายและสาธิตวิธีทาการทดสอบแต่ละรายการ ให้นักเรียน

ฟงั และดู เพอ่ื ความเข้าใจและสามารถปฏบิ ัติการทดสอบได้
7. กอ่ นดาเนินการทดสอบ ใหน้ กั เรียนอบอนุ่ ร่างกายก่อน 5 - 10 นาที
8. ดาเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนระดับมัธยมศึกษาช้ันปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎร

บารงุ ๒ จงั หวัดยะลา
9. นาผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพมาวิเคราะห์ เพื่อหาค่าสถิติ และแปล

ผลต่อไป
6. กำรวิเครำะหข์ ้อมูล

ผู้วิจยั ได้ใช้สถติ ิในการวิจัยตามขั้นตอนดงั นี้

1. หาด่าเฉลี่ย (μ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) ของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของ
นกั เรยี นชายและหญิงแตล่ ะรายการ

2. ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าเร็จรปู ในการวิเคราะหข์ ้อมูลจากสถิติ
3. นาผลการวเิ คราะหข์ องนักเรยี นชายและหญงิ มาเปรยี บเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน

เกณฑ์มำตรฐำนสมรรถภำพของนกั เรยี นชำย ชัน้ มัธยมศึกษำปที ่ี 1 อำยุ 12 ปี

รำยกำร ดีมำก ดี ระดบั ต่ำ ตำ่ มำก
7.51 ลงมา 7.52 – 8.13 ปำนกลำง 9.33 – 10.06 10.07 ขน้ึ ไป
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาท)ี 8.15 – 9.33
1.98 ข้ึนไป 1.81 – 1.97 1.30 – 1.36 1.29 ลงมา
2. ยนื กระโดดไกล (เมตร) 27 ข้ึนไป 23 – 26 1.37 – 1.80 13 – 16 13 ลงมา
3. ลกุ -นัง่ 30 วินาที (ครัง้ ) 10.63 ลงมา 10.65 – 11.30 17 - 23 12.63 – 13.29 13.30 ขึ้นไป
4. วงิ่ เก็บของ (วินาท)ี 11.5 ขนึ้ ไป 8.5 – 11.0 11.31 – 12.63 (-1.0) – 1.5 (-1.5) ลงมา
5. งอตัวข้างหนา้ 2.0 – 8.0
(เซนติเมตร)

40

เกณฑ์มำตรฐำนสมรรถภำพของนกั เรยี นหญงิ ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 อำยุ 12 ปี

รำยกำร ดมี ำก ดี ระดับ ต่ำ ต่ำมำก
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที) 8.20 ลงมา 8.21– 9.00 ปำนกลำง 10.63 – 11.33 11.33 ขึน้ ไป
2. ยืนกระโดดไกล (เมตร) 1.78 ข้ึนไป 1.62 – 1.77 9.01 – 10.63 1.11– 1.27 1.10 ลงมา
3. ลุก-นัง่ 30 วินาที (คร้ัง) 21 ขน้ึ ไป 18 – 20 1.28 – 1.61 10 – 11 9 ลงมา
4. ว่งิ เกบ็ ของ (วนิ าที) 11.77 ลงมา 11.78 – 12.31 12 - 17 13.71 – 13.33 13.35 ขนึ้ ไป
5. งอตวั ข้างหน้า 11.5 ขนึ้ ไป 9.5 – 11.0 12.32 – 13.70 1.0 – 2.5 0.5 ลงมา
(เซนตเิ มตร) 3.0 – 9.0

กำรประเมินคำ่ ดชั นีมวลกำย

BMI มำตรฐำนอำเซียน (เอเซีย) กำรแปรผล

นอ้ ยกวา่ 18.5 นา้ หนกั นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน
18.5 – 22.9 ปกติ
23.0 – 23.9
25.0 – 29.9 นา้ หนกั เกนิ
มากกวา่ หรือเท่ากับ 30 อ้วน

อ้วนมาก

4. นาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในรูปแบบตารางและความเรยี ง

สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นกำรวิจยั

1. มชั ฌิมเลขคณติ หรือคา่ เฉล่ยี (บุญเรียง ขจรศิลป์,2545:41)

สูตร μ = ∑



2. สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (บุญเรียง ขจรศิลป,์ 2545:41)

สูตร σ = √ ∑ 2 − (∑ )2



41

บทท่ี 4
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู

ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒
จังหวัดยะลา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 20 คน มีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี
1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ นา้ หนัก ส่วนสูง และค่าดัชนมี วลกาย
2. ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ดังน้ี

- วง่ิ เรว็ 50 เมตร
- ยืนกระโดดไกล
- ลุก-นงั่ 30 วินาที
- ว่งิ เกบ็ ของ
- งอตัวข้างหน้า

สญั ลกั ษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู
μ แทน ค่าเฉลย่ี
แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
n แทน จานวนกลุ่มตวั อย่าง

กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู
ในการวิจัยในครัง้ นผี้ ้วู จิ ัยไดเ้ สนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี

1. หาคา่ เฉลี่ย ร้อยละ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย แตล่ ะ
รายการ

2. นาผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 มาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์
มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย แบ่งเป็น 5 ระดบั ดังน้ี ดีมาก ดี ปานกลาง ตา่ ต่ามาก

3. นาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลในรปู ของตารางและความเรียง

42

ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล

1. ข้อมูลทัว่ ไป

ตำรำงท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา ดงั นี้

ข้อมูล จำนวน ร้อยละ

เพศ

- ชาย 9 45.2

- หญิง 11 54.8

อำยุ 7 33.3
- 12 ปี 13 66.7
- 13 ปี
4 24.3
น้ำหนกั 6 35.0
- 30-39 kg. 4 24.8
- 40-49 kg. 3 11.9
- 50-59 kg. 2 2.3
- 60-69 kg. 1 1.7
- 70-79 kg.
- 80-89 kg 0 0
4 20.3
สว่ นสงู 10 50.9
- 130-139 cm. 5 23.7
- 140-149 cm. 1 4.5
- 150-159 cm.
- 160-169 cm.
- 170-179 cm.

คำ่ ดัชนีมวลกำย 7 37.8
- นอ้ ยกว่า 18.5 9 45.2
- 18.5-22.9 2 9.6
- 23.0-24.9 1 5.7
- 25-29.9

- มากกว่าหรือเทา่ กบั 30.0 1 43
รวม 20
1.7
100.0

จากตารางที่ 1 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา
จานวนนักเรียนทมี่ าทดสอบสมรรถภาพทางกายทั้งหมด 20 คน เพศชาย 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 45.2 เพศหญิง
11 คน คิดเป็นร้อยละ 54.8 อายุ 12 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 อายุ 13 ปี จานวน 14 คน
คดิ เป็นร้อยละ 66.7

น้าหนักของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวัดยะลา น้าหนักระหว่าง
30-39 kg. มีจานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 24.3 น้าหนักระหว่าง 40-49 kg. มีจานวน 62 คน คิดเป็นร้อย
ละ 35.0 น้าหนักระหว่าง 50-59 kg. มีจานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 24.8 น้าหนักระหว่าง 60-69 kg. มี
จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 น้าหนักระหว่าง 70-79 kg. มีจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3 และ
น้าหนักระหว่าง 80-89 kg. มจี านวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.7

ส่วนสูงของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา ส่วนสูงระหว่าง
130-139 cm. มีจานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 ส่วนสูงระหว่าง 140-149 cm. มีจานวน 36 คน คิดเป็น
ร้อยละ 20.3 ส่วนสูงระหว่าง 150-159 cm. มีจานวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 ส่วนสูงระหว่าง 160-169
cm. มีจานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 23.7 และส่วนสูงระหว่าง 170-179 cm. มจี านวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
4.5

ค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวดั ยะลา ค่าดัชนี
มวลกายน้อยกว่า 18.5 มีจานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 37.8 ค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 18.5-22.9 มีจานวน
80 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 45.2 ค่าดชั นีมวลกายระหว่าง 23.0-24.9 มีจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6 ค่า
ดัชนีมวลกายระหว่าง 25.0-29.9 มีจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.7 และค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30.0 มี
จานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.7

ตำรำงท่ี 2 คา่ เฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน น้าหนัก สว่ นสูง และดัชนมี วลกายของนักเรียนชายและนกั เรยี น

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวดั ยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

ผลกำรวดั น้ำหนัก (กิโลกรัม) สว่ นสูง (เซนติเมตร) ดชั นีมวลกำย (Kg/m2)

ชำย หญิง ชำย หญงิ ชำย หญิง

จานวน 80 97 80 97 80 97

คา่ เฉลีย่ 50.9 46.37 156.84 153.37 20.51 19.49

. 13.66 7.98 8.54 6.74 4.41 3.49

44

จากตารางท่ี 2 พบว่า ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้าหนัก ส่วนสูง และดัชนีมวลกายของ
นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา จาแนกตามเพศ พบว่า นักเรียนชาย
ที่มาทดสอบสมรรถภาพทางกายทั้งหมด 80 คน มีน้าหนักเฉลี่ย 50.9 กิโลกรัม ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ
13.66 ส่วนสูงเฉล่ีย 156.84 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.54 และดัชนีมวลกาย (BMI) มี
ค่าเฉล่ีย 20.51 Kg/m2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.41 เม่ือเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานดัชนีมวลกาย
สาหรับเดก็ ไทยอายุ 12 ปี แล้ว พบวา่ นกั เรยี นชาย มดี ัชนมี วลกายอยใู่ นเกณฑ์ ปกติ

ส่วนนักเรียนหญิงท่ีมาทดสอบสมรรถภาพทางกายท้ังหมด 97 คน มีน้าหนักเฉล่ีย 46.37 กิโลกรัม
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.98 ส่วนสูงเฉลี่ย 153.37 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6.74
และดัชนีมวลกาย (BMI) มีค่าเฉลี่ย 19.49 Kg/m2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.49 เมื่อเทียบกับเกณฑ์
มาตรฐานดัชนมี วลกายสาหรบั เด็กไทยอายุ 12 ปี แล้ว พบว่า นกั เรยี นหญงิ มีดชั นมี วลกายอยใู่ นเกณฑ์ ปกติ

2. ผลกำรทดสอบสมรรถภำพทำงกำย

ตำรำงท่ี 3 ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน สมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรยี นหญงิ ชั้น

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวัดยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

สมรรถภำพทำงกำย นักเรียนชำย (80) นักเรยี นหญงิ (97)

ค่ำเฉลี่ย . ระดบั คำ่ เฉลี่ย . ระดับ

1. วิง่ 50 เมตร 8.66 1.27 ปานกลาง 9.81 0.94 ปานกลาง

(วินาที)

2. ยืนกระโดดไกล 1.74 0.21 ปานกลาง 1.50 0.15 ปานกลาง

(เมตร)

3. ลุก-นง่ั 30 วินาที 22.34 3.87 ปานกลาง 16.23 3.39 ปานกลาง

(ครงั้ )

4. ว่งิ เก็บของ 12.2 1.01 ปานกลาง 13.21 0.82 ปานกลาง

(วินาที)

5. งอตัวขา้ งหนา้ 5.15 5.25 ปานกลาง 5.53 4.92 ปานกลาง

(เซนติเมตร)

จากตารางท่ี 3 พบว่า สมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1
โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จงั หวดั ยะลา มีดังนี้
รำยกำรวิ่งเรว็ 50 เมตร

นักเรียนชายมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 8.66 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.27 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐานอยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

45

นักเรียนหญิงมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 9.81 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.94 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐานอยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรยืนกระโดดไกล

นักเรียนชายมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 1.74 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.21 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

นักเรียนหญิงมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 1.50 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.15 เมื่อเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อย่ใู นเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรลุก-น่งั 30 วินำที

นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 22.34 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.87 เมื่อเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

นักเรียนหญิงมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 16.23 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.39 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรวง่ิ เกบ็ ของ

นักเรียนชายมีเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 12.2 วินาที ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.01 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

นักเรียนหญิงมีเวลาเฉล่ียเท่ากับ 13.21 วินาที ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82 เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
รำยกำรงอตัวไปข้ำงหน้ำ

นักเรียนชายมีระยะเฉลย่ี เท่ากบั 5.15 เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.25 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

นักเรียนหญิงมีระยะเฉล่ียเท่ากับ 5.53 เซนติเมตร ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.92 เม่ือเทียบกับ
เกณฑม์ าตรฐาน อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง

ตำรำงที่ 4 สมรรถภ าพทางกาย รายการว่ิงเร็ว 50 เมตร ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิ ง

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ ๒ จงั หวัดยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

ระดับ นกั เรียนชำย (80) นกั เรียนหญงิ (97)

สมรรถภำพ เวลำ จำนวน รอ้ ยละ เวลำ จำนวน ร้อยละ

ทำงกำย (วินำที) (ควำมถี่) (วนิ ำที) (ควำมถ่ี)

ดมี าก 7.51 ต่ากวา่ 9 11.25 8.20 ต่ากวา่ 5 5.15

ดี 7.52-8.14 20 25 8.21-9.00 16 16.49

ปานกลาง 8.15-9.43 37 46.25 9.01-10.63 60 61.86

ค่อนข้างต่า 9.44-10.06 3 3.75 10.64-11.43 12 12.38

ตา่ 10.07 ข้ึนไป 11 13.37 11.44 ข้ึนไป 4 4.12

46

รวม 80 100.0 97 100.0

จากตารางท่ี 4 พบว่า สมรรถภาพทางกาย รายการวิ่ง 50 เมตร ของนักเรยี นชายชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1
โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวดั ยะลา มีดงั นี้ ระดับดีมาก คอื ทาเวลาต่ากวา่ 7.51 วินาที มีจานวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 11.25 ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 7.52-8.14 มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ระดับ
ปานกลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 8.15-9.43 วินาที มีจานวน 37 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 46.25 ระดับค่อนข้างต่า
คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 9.44-10.06 มีจานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 3.75 และระดับต่า คือ ทาเวลาสูงกว่า
10.07 มีจานวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.37

สมรรถภาพทางกาย รายการวิ่ง 50 เมตร ของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน
คณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังน้ี ระดับดีมาก คือ ทาเวลาต่ากว่า 8.20 วนิ าที มีจานวน 5 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 5.15 ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 8.21-9.00 มีจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 16.49 ระดับปาน
กลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 9.01-10.63 วินาที มีจานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 61.86 ระดับค่อนข้าง
ตา่ คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 10.64-11.43 มจี านวน 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.38 และระดับต่า คือ ทาเวลาสูง
กว่า 11.44 มีจานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.12

ตำรำงที่ 5 สมรรถภ าพทางกาย รายการยืนกระโดดไกล ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิ ง

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวัดยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

ระดับ นักเรยี นชำย (80) นักเรยี นหญิง (97)

สมรรถภำพ ระยะ จำนวน รอ้ ยละ ระยะ จำนวน ร้อยละ

ทำงกำย (เซนตเิ มตร) (ควำมถี่) (เซนติเมตร) (ควำมถ่ี)

ดีมาก 1.98 ขึน้ ไป 10 12.5 1.78 ข้ึนไป 2 2.06

ดี 1.81-1.97 20 25 1.62-1.77 22 22.68

ปานกลาง 1.47-1.80 41 51.25 1.28-1.61 63 64.95

คอ่ นข้างตา่ 1.30-1.46 9 11.25 1.11-1.27 10 10.31

ตา่ 1.29 ลงมา 0 0.00 1.10 ลงมา 0 0.00

รวม 80 100.0 97 100.0

จากตารางท่ี 5 พบว่า สมรรถภาพทางกายรายการยืนกระโดดไกล ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษา
ปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังน้ี ระดับดีมาก คือ กระโดดไกลระยะสูงกว่า 1.98 มี
จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ระดับดี คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.81-1.97 มีจานวน 20 คน คิด

47

เป็นร้อยละ 25 ระดับปานกลาง คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.47-1.80 มีจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ
51.25 และระดับค่อนข้างต่า คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.30-1.46 มีจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ
11.25

สมรรถภาพทางกาย รายการยืนกระโดดไกล ของนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน
คณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวัดยะลา มีดังน้ี ระดบั ดีมาก คือ กระโดดไกลระยะสูงกว่า 1.78 มจี านวน 2 คน คิด
เป็นร้อยละ 2.06 ระดับดี คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.62-1.77 มีจานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 22.68
ระดบั ปานกลาง คือ กระโดดไกลระยะ ระหว่าง 1.28-1.61 มีจานวน 63 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 64.95 และระดับ
ค่อนขา้ งต่า คือ กระโดดไกลระยะ ระหวา่ ง 1.11-1.27 มจี านวน 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.31

ตำรำงท่ี 6 สมรรถภาพทางกาย รายการลุก-น่ัง 30 วินาที ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิ ง

ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวดั ยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

ระดบั นกั เรียนชำย (80) นกั เรียนหญิง (97)

สมรรถภำพ จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน ร้อยละ

ทำงกำย (คร้ัง) (ควำมถี่) (ครง้ั ) (ควำมถ่ี)

ดีมาก 27 ขน้ึ ไป 7 8.75 21 ขึน้ ไป 9 9.28

ดี 24-26 26 32.5 18-20 24 24.74

ปานกลาง 17-23 42 52.5 12-17 56 57.73

คอ่ นข้างตา่ 14-16 2 2.5 10-11 6 6.19

ตา่ 13 ลงมา 3 3.75 9 ลงมา 2 2.06

รวม 80 100.0 97 100.0

จากตามตารางที่ 6 พบว่า สมรรถภาพทางกาย รายการลุก-น่ัง 30 วินาที ของนักเรียนชาย
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังน้ี ระดับดีมาก คือ สามารถลุก-น่ังได้สูง
กว่า 27 คร้ัง มีจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 8.75 ระดับดี คือ สามารถลุก-นั่งได้ระหว่าง 24-26 คร้ัง มี
จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 ระดับปานกลาง คือ สามารถลุก-นั่งได้ระหว่าง 17-23 ครั้ง มีจานวน
42 คน คิดเป็น ร้อยละ 52.5 ระดับค่อนข้างต่า คือ สามารถลุก-นั่งได้ระหว่าง 14-16 ครั้ง มีจานวน 2 คน
คดิ เป็นร้อยละ 2.5 และระดบั ตา่ คอื สามารถลุก-นั่งได้ต่ากว่า 13 คร้งั มจี านวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.75

สมรรถภาพทางกาย รายการลุก-นั่ง 30 วินาที ของนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน
คณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ สามารถลุก-นั่งได้สูงกว่า 21 คร้ัง มีจานวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 9.28 ระดับดี คือ สามารถลุก-น่ังได้ระหว่าง 18-20 ครั้ง มีจานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ
24.74 ระดับปานกลาง คือ สามารถลุก-นั่งได้ระหว่าง 12-17 คร้ัง มีจานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 57.73
ระดับค่อนข้างต่า คือ สามารถลุก-น่ังได้ระหว่าง 10-11 ครั้ง มีจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.19 และระดับ
ต่า คอื สามารถลุก-น่งั ไดต้ า่ กวา่ 9 ครัง้ มจี านวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.06

48

ตำรำงที่ 7 สมรรถภาพทางกาย รายการว่ิงเก็บของ ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง ๒ จงั หวัดยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

ระดับ นักเรยี นชำย (80) นักเรยี นหญงิ (97)

สมรรถภำพ เวลำ จำนวน รอ้ ยละ เวลำ จำนวน ร้อยละ

ทำงกำย (วินำที) (ควำมถ่ี) (วนิ ำที) (ควำมถ่ี)

ดีมาก 10.64 ต่ากวา่ 5 6.25 11.77 ตา่ กว่า 6 6.19

ดี 10.65-11.30 11 13.75 11.78-12.41 9 9.28

ปานกลาง 11.31-12.63 41 51.25 12.42-13.70 59 60.82

ค่อนข้างต่า 12.64-13.29 15 18.75 13.71-14.34 19 19.59

ตา่ 13.30 ข้ึนไป 8 10 14.35 ขึน้ ไป 4 4.12

รวม 80 100.0 97 100.0

จากตารางที่ 7 พบว่า สมรรถภาพทางกาย รายการวิ่งเก็บของ ของนักเรยี นชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังน้ี ระดับดีมาก คือ ทาเวลาต่ากว่า 10.64 วินาที มีจานวน 5
คน คิดเป็น ร้อยละ 6.25 ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 10.65-11.30 มีจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ
13.75 ระดับปานกลาง คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 11.31-12.63 วินาที มีจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 51.25
ระดับค่อนข้างต่า คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 12.64-13.29 มีจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 และระดับต่า
คอื ทาเวลาสงู กว่า 13.30 มจี านวน 8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10

สมรรถภาพทางกาย รายการว่ิงเก็บของ ของนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนเทพา
จังหวัดสงขลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ ทาเวลาต่ากว่า 11.77 วินาที มีจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.19
ระดับดี คือ ทาเวลาได้ระหว่าง 11.78-12.41 มีจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.28 ระดับปานกลาง คือ
ทาเวลาได้ระหว่าง 12.42-13.70 วินาที มีจานวน 59 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 60.82 ระดับค่อนข้างต่า คือ ทาเวลา
ได้ระหว่าง 13.71-14.34 มีจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 19.59 และระดับต่า คือ ทาเวลาสูงกว่า 14.35
มจี านวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.12

49

ตำรำงที่ 8 สมรรถภาพทางกาย รายการน่ังงอตัวไปข้างหน้า ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวัดยะลา จาแนกตามเพศ (n=177)

ระดับ นกั เรยี นชำย (80) นักเรยี นหญงิ (97)

สมรรถภำพ ระยะ จำนวน ร้อยละ ระยะ จำนวน ร้อยละ

ทำงกำย (เซนติเมตร) (ควำมถี่) (เซนตเิ มตร) (ควำมถี่)

ดมี าก 11.5 ขึ้นไป 12 15.0 11.5 ขนึ้ ไป 12 12.37

ดี 8.5-11.0 10 12.5 9.5-11.0 9 9.28

ปานกลาง 2.0-8.0 38 47.5 3.0-9.0 51 52.51

ค่อนข้างต่า (-1)-1.5 14 17.5 1.0-2.5 12 12.38

ตา่ (-1.5) ลงมา 6 7.5 0.5 ลงมา 13 13.40

รวม 80 100.0 97 100.0

จากตารางท่ี 8 พบว่า สมรรถภาพทางกาย รายการนั่งงอตัวไปข้างหน้า ของนักเรียนชาย
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังนี้ ระดับดีมาก คือ วัดได้ระยะสูงกว่า
11.5 มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 15.0 ระดับดี คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 8.5-11.0 มีจานวน 10 คน คิด
เป็นร้อยละ 12.5 ระดับปานกลาง คือ วัดได้ระยะระหว่าง 2.0-8.0 มีจานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 47.5
ระดับค่อนข้างต่า คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง (-1.0)-1.5 มีจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 และระดับต่า คือ
วดั ได้ระยะต่ากวา่ (-1.5) ลงมา มจี านวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.5

สมรรถภาพทางกาย รายการน่ังงอตัวไปข้างหน้า ของนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา มีดังน้ี ระดับดีมาก คือ วัดได้ระยะสูงกว่า 11.5 มีจานวน 12 คน
คิดเป็นร้อยละ 12.37 ระดับดี คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 9.5-11.0 มีจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 9.28 ระดับ
ปานกลาง คือ วัดได้ระยะ ระหว่าง 3.0-9.0 มีจานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 52.51 ระดับค่อนข้างต่า คือ วัด
ได้ระยะ ระหว่าง 1.0-2.5 มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12.38 และระดับต่า คือ วัดได้ระยะต่ากว่า 0.5 ลง
มา มจี านวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.40

50

บทที่ 5
สรปุ อภิปรำย และข้อเสนอแนะ

ผลการวิจัยการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2
ปีการศกึ ษา 2559 โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวดั ยะลา ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนท้ังหมด
177 คน นักเรียนชาย จานวน 80 คน และนักเรียนหญิง จานวน 97 คน รวม ใช้เครื่องมือในการทดสอบ 5
รายการ และใชอ้ ุปกรณ์ทดสอบชนิดเดียวกนั ได้ข้อมูลออกมาเป็นผลสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนชายและ
นักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และได้นาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย ของ
นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 อายุ 12 ปี

การวิจัยในครั้งน้ีทาให้ทราบถึงสมรรถภาพทางกายท่ัวๆไป ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา และทาให้ทราบถึงสมรรถภาพทางกายของ
นักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา ว่าอยู่ในระดับ
ใด แต่ละระดับมีความหมายอย่างไร และทาให้ทราบถึงเกณฑ์สมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษา
ปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อแก้ข้อบกพร่อง และ
เสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายใหน้ กั เรียนในลาดับต่อไป

ผลกำรวิจยั
นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวดั ยะลา จานวนนักเรยี นท่ีมาทดสอบ

สมรรถภาพทางกายท้งั หมด 20 คน เพศชาย 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 45.2 เพศหญิง 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 54.8
อายุ 12 ปี จานวน 59 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3 อายุ 13 ปี จานวน 118 คน คดิ เป็นร้อยละ 66.7

น้าหนักของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ ๒ จังหวัดยะลา น้าหนักระหว่าง
30-39 kg. มีจานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 24.3 น้าหนักระหว่าง 40-49 kg. มีจานวน 62 คน คิดเป็นร้อย
ละ 35.0 น้าหนักระหว่าง 50-59 kg. มีจานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 24.8 น้าหนักระหว่าง 60-69 kg. มี
จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 น้าหนักระหว่าง 70-79 kg. มีจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3 และ
น้าหนกั ระหวา่ ง 80-89 kg. มีจานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.7

ส่วนสูงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง ๒ จังหวัดยะลา ส่วนสูงระหว่าง
130-139 cm. มีจานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 ส่วนสูงระหว่าง 140-149 cm. มีจานวน 36 คน คิดเป็น
ร้อยละ 20.3 ส่วนสูงระหว่าง 150-159 cm. มีจานวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 ส่วนสูงระหว่าง 160-169


Click to View FlipBook Version