The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by informatic, 2021-03-28 04:20:17

ระบบการจัดการยืม-คืน อุปกรณ์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

EQUIPMENT BORROWING AND RETURNING MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM OVER INTERNET: A CASE STUDY OF CHONBURI TECHNOLOGICAL COLLEGE
อภิชาติ แซ่จึง

SPU CHONBURI 39
4.แจ้งงาน
ใช้สำหรับบุคลากรแจ้งงานมายังฝ่าย โสตฯ ซ่อมบำรุง และกราฟฟิกส์ และฝ่ายต่าง ๆ
สามารถเขา้ มาดูงานทแ่ี จง้ เขา้ มาได้ผา่ นเมนงู านทตี่ ้องทำ
4.1เขียนใบแจง้ งาน
ใชส้ ำหรับบคุ ลากรแจง้ งานมายังฝ่าย โสตฯ ซอ่ มบำรงุ และกราฟฟิกส์

ภาพที่ 4.18 แสดงหน้าเขยี นใบแจง้ งาน
4.2งานท่ตี ้องทำ
ใช้สำหรับพนักงานฝา่ ยต่าง ๆ เข้ามาดงู านทถ่ี ูกแจ้งเข้ามาว่าฝ่ายของตนมีงานอะไรท่ตี ้องทำ
บา้ ง

ภาพที่ 4.19 แสดงหน้างานที่ต้องทำ

SPU CHONBURI 40
5.ห้องประชุม
ใช้สำหรบั บุคลากรเข้ามาจองหอ้ งประชุมเพื่อใชง้ านหอ้ ง และสามารถเขา้ มาดูประวตั กิ ารใช้
งานไดผ้ ่านเมนูการใชห้ ้องประชมุ
5.1เขยี นใบจองหอ้ งประชุม
ใช้สำหรับเขยี นใบจองห้องประชุมต่าง ๆ เมื่อบุคลากรตอ้ งการใช้งาน

ภาพท่ี 4.20 แสดงหน้าเขียนใบจองหอ้ งประชุม
5.2การใช้หอ้ งประชมุ
แสดงรายละเอียดประวัติการใช้ห้องประชุมตา่ ง ๆ

ภาพท่ี 4.21 แสดงหนา้ การจองห้องประชมุ

41

ผลการวิเคราะห์แบบประเมิน

ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และการแปรผลการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้ ระบบการจัดการ

ยืม-คืนอปุ กรณ์ กรณีศกึ ษาฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ วทิ ยาลัยเทคโนโลยชี ลบรุ ี มี 2 ด้านประกอบดว้ ย

ฟังก์ชันงานของระบบ (Function Test) และความง่ายต่อการใช้งานของระบบ (Usability Test) มี

ดงั น้ี

ตารางที่ 4.1 แสดงตารางสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของ

ระบบ (Function Test)
SPU CHONBURI
รายงาน ระดบั ความพึงพอใจ

̅ S.D. ความหมาย

1. ความถกู ต้องในการจัดเก็บข้อมลู 3.60 0.89 ดี

2. ความถกู ต้องของการยืมคืนอปุ กรณ์ 3.60 0.89 ดี

3. การจดั การข้อมลู พื้นฐาน 3.80 1.10 ดี

4. การวิเคราะห์และออกแบบรายงาน 3.60 0.89 ดี

5. ความพงึ พอใจต่อระบบโดยรวม 3.80 1.10 ดี

คะแนนเฉล่ียรวม 3.68 0.97 ดี

จากตารางที่ 4.1 พบวาความพึงพอใจด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันของระบบ (Function

Test) ในภาพรวมอยูในระดับดี ( ̅ =3.68, =0.97)

สรุปผลการวิเคราะห์และแปรผลการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้ ระบบการจัดการยืม-คืน

อปุ กรณ์ กรณีศึกษาฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลยั เทคโนโลยชี ลบุรี ความงา่ ยต่อการใชง้ านระบบ

(Usability Test) มีดงั นี้

ตารางที่ 4.2 แสดงตารางสรุปผลการประเมินความพึงพอใจด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ

(Usability Test)

รายงาน ระดับความพงึ พอใจ

̅ S.D. ความหมาย

1. ความงา่ ยในการใชร้ ะบบ 3.60 0.89 ดี

2. ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอ 3.60 0.89 ดี

3. ความเรว็ ในการประมวลผลของระบบ 3.60 0.89 ดี

4. ผลลัพธท์ ่ไี ด้จาการประมวลผลระบบมคี วาม 3.80 1.10 ดี

ถกู ต้อง

5. ตำแหนง่ ชอ่ งกรอกขอ้ มูลมีความเหมาะสม 3.60 0.89 ดี

42

6. การเพิ่มหรือลบข้อมลู ของระบบทำได้งา่ ย 3.60 0.89 ดี
7. ความสะดวก และรวดเร็วในการใชเ้ มนูในการ 3.80 1.10 ดี
ทำงาน
3.66 0.95 ดี
คะแนนเฉล่ียรวม

จากตารางที่ 4.2 พบว่าความพึงพอใจงานด้านความง่ายต่อการเข้าใช้งานของระบบ
(Usability Test) ในภาพรวมอยใู นระดบั ดี ( ̅ =3.66, =0.95)
SPU CHONBURI
การนำโครงงานไปประยุกตใ์ ช้
หลังจากทำโครงงานสหกิจศึกษาระบบการจัดการยืม-คืนอุปกรณ์ กรณีศึกษาฝ่ายเทคโนโลยี

สารสนเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี เสร็จส้ิน ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สามารถนำการพัฒนาระบบนี้ไปเป็นแนวเพื่อใช้ในการพัฒนาระบบการจัดการยืม-คืนอุปกรณ์ ใน
หน่วยงานตา่ ง ๆ ภายในองคก์ รได้

SPU CHONBURI บทท่ี 5
สรปุ ผลการศกึ ษา

สรปุ ผลการศกึ ษาโครงงาน
จากการวเิ คราะห์ออกแบบและจัดทำระบบการจดั การยืม-คืน ผ้จู ดั ทำพบว่าระบบสามารถ

อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน และมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น โดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปช่วยในการจัดการข้อมูล ให้สามารถทำการค้นหาและ
จัดการข้อมูลได้อีกทั้งยังสามารถออกรายงานต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการยืม-คนื
อุปกรณ์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ได้พัฒนาโดยใช้ Atom,
PHP, SQL, HTML5, CSS3, JavaScript, Ajax, jQuery, Bootstrap ใน การพัฒนาระบบและใช้
Microsoft SQL Server เป็นระบบจดั การฐานขอ้ มลู

ผลการดำเนนิ งานพบวา่ ข้อดีของการพัฒนาระบบการจัดการยมื -คืน อุปกรณ์ บนเครอื ข่าย
อินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี นี้มีประโยชน์ต่อพนักงานที่ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมลู
ยืม-คืน อุปกรณ์ สามารถใช้จัดเก็บ แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลได้โดยง่าย เข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
และจากการประเมินความพึงพอใจการใช้งานจากผู้ใช้ พบว่าในภาพรวมด้านฟังก์ชันงานของระบบ
(Function Test) อยู่ในระดับดี ( ̅ = 3.68, SD= 0.97) และในภาพรวมด้านความง่ายต่อการใช้งาน
ของระบบ (Usability Test) อยู่ในระดับดี ( ̅ = 3.66, SD= 0.95)

ปัญหาและข้อเสนอแนะ
ปัญหา
1. การรวบรวมข้อมูลอุปกรณ์เป็นไปได้ช้า เนื่องจากข้อมูลแบ่งเป็นหลายประเภท มีความ

ซับซ้อนของขอ้ มลู
2. ในรายการข้อมลู บิลหรือใบเสรจ็ ควรออกแบบให้ดงู ่าย
3. ในรายการเมนบู ิลหรอื ใบเสรจ็ ควรแปลงวนั ท่ีให้เป็น พศ. เพื่อให้พนักงานดงู ่ายยิ่งข้นึ

ขอ้ เสนอแนะ
1. ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับแผนกอื่นขององค์กร ที่ต้องการนำ

ระบบไปใชใ้ นการยืม - คนื อุปกรณ์ หรือระบบยืม - คนื อื่น ๆ

44

2. ระบบที่พัฒนาขึ้นเจ้าหน้าที่ฝ่านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้บันทึกข้อมูลต่าง ๆ เข้า
ระบบ การพัฒนาต่อยอดควรจะเพิม่ ให้ผูใ้ ช้งานแผนกอืน่ สามารถใช้งานได้โดยแจง้ ข้อมูลผานระบบได้
ทนั ที

สรปุ ผลการปฏิบัตงิ าน
จากการท่ีไดป้ ฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา ณ ฝา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยี

ชลบรุ ี ตง้ั แต่4 กุมภาพนั ธ์ 2563 ถงึ 22 พฤษภาคม 2563 โดยหน้าทีท่ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย คอื ตำแหนง่
ผูช้ ่วย Programmer และส่งิ ท่ีไดร้ บั จากการปฏบิ ัตงิ านท้งั หมด มดี งั ต่อไปนี้

1. ไดพ้ ฒั นาระบบการจดั การยมื -คนื อุปกรณ์ บนเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต กรณีศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยชี ลบุรี

2. ได้พัฒนาระบบการจัดการยืม-คืน อุปกรณ์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา
วทิ ยาลัยเทคโนโลยชี ลบุรี ในฟังกช์ ัน จองหอ้ งประชุม และแจ้งงาน

3. ไดเ้ รียนรเู้ กีย่ วการใชง้ าน Atom และ framework CodeIgniter
4. ไดเ้ รียนรกู้ ารทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนในองคก์ ร
5. ไดเ้ รยี นรู้การทำงานอยา่ งเป็นระบบและการวางแผนในการทำงาน
6. ได้เรยี นรกู้ ารแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
7. ได้เรียนรกู้ ารประสานงานกบั แผนกอืน่ ๆ
SPU CHONBURI

บรรณานกุ รมSPU CHONBURI

SPU CHONBURI 46

บรรณานุกรม

กติ ติ ภกั ดวี ัฒนะกลุ . (2552). PHP. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพแ์ อนด์ คอนซลั ห์.
จีราวธุ วารินทร.์ (2560). พืน้ ฐานการใชง้ าน Bootstrap (พมิ พ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: ซิมพลิฟาย.
ตำราวิชาการคอมพวิ เตอร์. (2552). ความรู้เบ้ืองตน้ เกยี่ วกับการใชง้ านคอมพิวเตอร์. กรงุ เทพฯ: ซี

เอ็ดยูเคชนั .
ธรี วัฒน์ ฉันทโสภณ และพงษ์บดนิ ทร์ ศริ ิโวหาร. (2558). ระบบสารสนเทศการแจ้งซ่อมและเบกิ

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์ เนต็ กรณีศึกษางานสารสนเทศ คณะ
รัฐศาสตร์ และนติ ิศาสตร์มหาวทิ ยาลัยบรู พา. โครงงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี.
พนั จนั ทร์ ธนวัฒนเสถยี ร. (2556). JavaScript. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มเี ดยี .
มหาวิทยาลยั มหดิ ล. (ม.ป.ป.). Use case Diagram (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงได้จาก:
http://med.mahidol.ac.th/ramapharmacy/sites/default/files/public/pdf/Use-
Case-Diagram.pdf [2563, 15 กมุ ภาพันธ์].
ฤาชา ชูบรรจง. (2556). ระบบแจ้งซอ่ มบำรุง กรณีศกึ ษา บริษทั พี เค จี เจอรเ์ นียร์ ไลน์ จำกดั .
โครงงานบริหารธุรกจิ บณั ฑิต คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบรุ ี.
ราชบณั ฑติ ยสภา. (2554). คอมพิวเตอร์ (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
www.royin.go.th/dictionary/index.php [2563, 15 มีนาคม].
ละอองดาว เหลอื งช่างทอง. (2558). ระบบสารสนเทศการแจ้งซอ่ มคอมพิวเตอร์และอุปกรณไ์ อที
บรษิ ทั โฮเซอิ เบรค (ไทยแลนด)์ จำกดั . โครงงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ วิทยาเขตชลบรุ .ี
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี. (ม.ป.ป.). วิทยาลยั เทคโนโลยี ชลบรุ ี (ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก:
https://www.facebook.com/chonburitechnologicalcollege1985
[2563, 7 มิถนุ ายน].
สิทธิชยั ประสานวงศ์. (2557). CSS3. กรุงเทพฯ: ซอฟท์เพรส. (2557ก). HTML5. กรงุ เทพฯ: ซอฟท์
เพรส.
สุจิตรา อดลุ ย์เกษม. (2553). ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพ: Top Publishing.

47

บรรณานุกรม (ต่อ)

สถติ ย์ เรียนพศิ . (2560). พนื้ ฐาน + ประยุกต์ใช้ CodeIgniter + MySQL + Dreamweaver.
กรงุ เทพฯ:วิตต้ีกร๊ปุ .

สุพงศ์ ชนิ วงศว์ ิโรจน์,รตั นา พุธพา (2559). ระบบการจดั การเบกิ จ่ายอปุ กรณ์ส้นิ เปลืองและแจง้ ซ่อม
อปุ กรณ์คอมพิวเตอรบ์ นเครอื ขา่ ยอินทราเน็ต. โครงงานเทคโนโลยสารสนเทศ คณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบุรี.

อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์. (ม.ป.ป.). อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://computer.kapook.com/equpiment.php [2563, 30 มกราคม]

EdrawSoft. (2560). Entity Relationship Diagram (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.edrawsoft.com/entity-relationship-diagrams.php
[2563, 30 พฤษภาคม].
SPU CHONBURI

ภาคผนวกSPU CHONBURI

ภาคผนวก กSPU CHONBURI
หนงั สือยนิ ยอมเผยแพร่ผลงานตอ่ สาธารณะ

50

หนังสอื ยิมยอมให้เพยแพร่ผลงานตอ่ สาธารณะ

ข้าพเจ้านายอภชิ าติ แซ่จงึ นักศึกษามหาวทิ ยาลัยศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบรุ ี คณะเทคโนโลยี
สารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เปน็ ผูจ้ ดั ทำรายงานสหกิจศึกษา

ชอื่ เรื่อง (ภาษาไทย) การออกแบบและพฒั นาระบบยืมคนื อปุ กรณ์
ชื่อเรือ่ ง (ภาษาองั กฤษ) A DESIGN AND DEVELOPMENT OF EQUIPMENT
BORROWING AND RETURNING SYSTEMS
SPU CHONBURI
ยินยอมให้มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี เผยแพร่ผลงานดังกล่าวต่อสาธารณะใน
ทกุ รูปแบบหรอื ทุกช่องทางทมี่ หาวิทยาลยั ศรีปทุม วิทยาเขตชลบรุ ี หรอื หอ้ งสมุดมหาวิทยาลัยศรีปทุม
วทิ ยาเขตชลบุรี กำหนด เพ่ือประโยชน์ทางการศกึ ษา

ลงชอื่ ..............................................
(นายอภิชาติ แซจ่ งึ )
22 พฤษภาคม 2563

ภาคผนวก ขSPU CHONBURI
ผังงานกระบวนการ (Flowchart)

52

ผังงานกระบวนการ (Flowchart)
ผังงานกระบวนการ (Flowchart) เป็นผังงานแสดงลำดับขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม

และการไหลของข้อมูลในแต่ละส่วนของระบบยืมคืนอุปกรณ์ สามารถแบ่งเป็นกระบวนการทำงาน
ตามข้นั ตอน ดงั นี้

1.แผนผังกระบวนการทำงานการเข้าสู่ระบบ
2.แผนผงั กระบวนการทำงานการจัดการข้อมลู พ้นื ฐาน
3.แผนผังกระบวนการทำงานการยมื -คืน อปุ กรณ์
4.แผนผังกระบวนการทำงานการแจง้ งาน
5.แผนผงั กระบวนการทำงานการจองหอ้ งประชุม
6.แผนผังกระบวนการทำงานการออกรายงาน
SPU CHONBURI

53

1.แผนผังกระบวนการทำงานการเขา้ สรู่ ะบบ

เริ่มต้น

SPU CHONBURIเขา้ สู่ระบบ
ชอื่ ผ้ใู ช้

ตรวจสอบ ใช่ เข้าสรู่ ะบบ
ช่ือผ้ใู ช้

เทจ็
ไม่

ไม่ ออกจาก
ระบบ

ใช่
จบการทางาน

ภาพที่ ข-1 แผนผังกระบวนการทำงานการเข้าสรู่ ะบบ

54

2.แผนผงั กระบวนการทำงานการจัดการขอ้ มลู พืน้ ฐาน

เริม่ ตน้

เลือกการ
ทางาน
SPU CHONBURI
เพิ่ม ใช่ เพมิ่ อปุ กรณ์

อปุ กร

ไม่ ใช่ แก้ไขอปุ กรณ์

แก้ไข
อปุ กร

ไม่

ลบ ใช่ ลบอปุ กรณ์

อปุ กร

ไม่

ไม่

ออกจาก
ระบบ

ใช่

จบการทำงาน

ภาพท่ี ข-2 แผนผังกระบวนการทำงานการเข้าสู่ระบบ

55

3.แผนผังกระบวนการทำงานการยมื -คืน อุปกรณ์

เรม่ิ ตน้

เลอื กรายการ
SPU CHONBURI
ยืม ยืมอปุ กรณ์
อปุ กรณ์
ใช่
ไม่

รายการบิล ใช่ คนื อปุ กรณ์
(คนื อปุ กรณ์) อปุ กรณ์

ไม่

ไม่

ออกจาก
ระบบ

ใช่

จบการทำงาน

ภาพที่ ข-3 แผนผังกระบวนการทำงานการยืม-คนื อปุ กรณ์

56

4.แผนผงั กระบวนการทำงานการแจง้ งาน

เริ่มต้น

SPU CHONBURI เขยี นใบแจง้ งาน

เขยี นใบแจง้
งาน

บนั ทกึ ใช่

ไม่
ไม่ ออกจาก

ระบบ

ใช่
จบการทางาน

ภาพท่ี ข-3 แผนผงั กระบวนการทำงานการแจง้ งาน

57

5.แผนผังกระบวนการทำงานการจองหอ้ งประชุม

เริ่มต้น

SPU CHONBURI เขยี นใบจองห้องประชมุ

เขยี นใบจอง
หอ้ งประชุม

บนั ทึก ใช่

ไม่
ไม่ ออกจาก

ระบบ

ใช่
จบการทางาน

ภาพที่ ข-3 แผนผังกระบวนการทำงานจองห้องประชมุ

58

6.แผนผงั กระบวนการทำงานการออกรายงาน

เริ่มตน้

เลือกการ
ทางาน
SPU CHONBURI
บิล ใช่ บลิ ยืม-คนื
อปุ กรณ์

ไม่ ใช่ งานท่ีถกู
แจ้งเข้ามา
งานท่ีต้อง
ทา

ไม่

การจองห้อง ใช่ ประวตั กิ าร
ประชมุ จองห้อง
ประชมุ
ไม่

ไม่
ออก
จาก
ระบบ

ใช่

จบการทางาน

ภาพที่ ข-3 แผนผังกระบวนการทำงานการออกรายงาน

ภาคผนวก คSPU CHONBURI
ภาพการปฏิบัติตงิ าน

SPU CHONBURI 60

ภาพที่ ค-1 เรียนรใู้ นเร่ืองการใชง้ าน framework CodeIgniter
ภาพท่ี ค-2 เรยี นรูใ้ นเรื่องการใช้งาน Microsoft SQL server
ภาพที่ ค-3 เรียนรใู้ นเร่ืองการใช้งาน framework CodeIgniter

ภาคผนวก งSPU CHONBURI
แบบประเมินความพงึ พอใจ

62

แบบประเมินความพึงพอใจ

เรอื่ ง ระบบการจัดการยืม-คืน อุปกรณ์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา
ผ้จู ดั ทำ วทิ ยาลยั เทคโนโลยชี ลบุรี

Equipment Borrowing and Returning Management Information
System over Internet: A Case Study of Chonburi Technological
College

นายอภชิ าติ แซจ่ งึ รหสั นักศึกษา 59711415

หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร

คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ

มหาวิทยาลัยศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี
SPU CHONBURI
คำชแี้ จง 1. แบบประเมินโครงการนเ้ี ปน็ แบบสอบถามเกยี่ วกับการทดสอบการใช้งานระบบการจัดการ
ยืม-คืน อุปกรณ์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ที่พัฒนาขึ้นเพ่ือ
อำนวยความสะดวกให้ให้แก่ผู้ใช้งาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการพัฒนา
ระบบการยืม-คนื อปุ กรณ์ ที่ใชใ้ นเชงิ ปฏิบัติจริง

2. แบบประเมินโครงการน้ี มจี ำนวน 3 หน้า แบง่ การทดสอบออกเปน็ 2 ดา้ น คือ

1. การทดสอบระบบดา้ นการทดสอบระบบ (Functional Test)

2. การทดสอบระบบดา้ นความงา่ ยตอ่ การใชง้ านของระบบ (Usability Test)

3. เกณฑก์ ารให้คะแนนของแบบประเมินโครงการ

ระดับคะแนน

ดีมาก = 5 ดี = 4 ปานกลาง = 3 พอใช้ = 2 น้อย = 1

4. โปรดเขียนเครื่องหมาย √ ในการให้ระดับคะแนนที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน
ในชอ่ งระดับคะแนน

63

1.การทดสอบระบบด้านการทดสอบระบบ (Functional Test) ระดบั ความคดิ เหน็
54321
รายการประเมินผล
1.ความถูกต้องในการจดั เกบ็ ข้อมูล
2.ความถกู ต้องของการยมื -คืนอุปกรณ์
3.การจดั การข้อมูลพนื้ ฐาน
4. การวิเคราะหแ์ ละออกแบบรายงาน
5.ความพงึ พอใจตอ่ ระบบโดยรวม
SPU CHONBURI
2. การทดสอบระบบดา้ นความง่ายต่อการใชง้ านของระบบ (Usability Test)

รายการประเมนิ ผล ระดบั ความคิดเหน็
54321
1.ความง่ายในการใช้ระบบ
2.ความชดั เจนของข้อความท่ีแสดงบนจอ
3. ความเร็วในการประมวลผลของระบบ
4. ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ าการประมวลผลระบบมคี วามถกู ต้อง
5.ตำแหน่งชอ่ งกรอกข้อมูลมีความเหมาะสม
6.การเพ่มิ หรือลบข้อมลู ของระบบทำไดง้ ่าย
7.ความสะดวก และรวดเร็วในการใช้เมนใู นการทำงาน

ขอ้ แนะนำอ่นื ๆ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณท่านที่กรุณาสละเวลาในการทดสอบและประเมินโครงการนี้
คณะผจู้ ัดทำ นักศึกษาหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี

64

ประวัติจัดทำโครงงาน

นายอภิชาติ แซ่จึง เกิดที่จังหวัดขอนแก่น สำเร็จการศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ท่ีวิทยาลัย
อาชีวศึกษาเทคนิคบรหิ ารธรุ กิจกรุงเทพ ชลบรุ ี ปกี ารศึกษา 2555 ต่อมาเข้า
ศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หลักสูตร 4 ปี ภาคปกติ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
วิทยาเขตชลบุรี เมือ่ พ.ศ. 2559

E-mail: [email protected]
SPU CHONBURI


Click to View FlipBook Version