I
สอื่ การเรียนภาษาองั กฤษเรอ่ื งการฟังและการพูด
LEARNING MEDIA FOR ENGLISH LISTENING AND SPEAKING
SPU CHONBURIธนบตั ร บวั หอม
TANABAT BOURHOM
รายงานฉบับเป็นสวนหน่งึ ของการปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา
สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี
ปีการศึกษา 2561
II
ส่อื การเรียนภาษาอังกฤษเรื่องการฟังและการพูด
LEARNING MEDIA FOR ENGLISH LISTENING AND SPEAKING
SPU CHONBURI
ธนบตั ร บวั หอม
TANABAT BOURHOM
ปฏิบัตงิ าน ณ บริษัท วังอักษร จากดั 69/3 ถนน อรุณอมั รินทร์ ตาบล วดั อรุณ
อาเภอเมอื ง บางกอกใหญ่ จงั หวัด กรงุ เทพมหานคร
รหสั ไปรษณยี ์ 10600
I
ซื่อหวั ขอ้ สอื่ การเรยี นภาษาองั กฤษเรอ่ื งการฟังและการพดู
LEARNING MEDIA FOR ENGLISH LISTENING AND SPEAKING
ซือ่ นกั ศึกษา นาย ธนบัตร บัวหอม รหัสประจาตวั 60703647
สาขาวิชา เทศโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะ เทศโนโลยีสารสนเทศ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี อนุมัติให้รายงาน
การปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศกึ ษานเี้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายงานวิชาสหกจิ ศึกษา
SPU CHONBURI
รองคณบดคี ณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
.......................................................................................
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เศรษฐชยั ชัยสนทิ )
หวั หน้าสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
.......................................................................................
(อาจารยจ์ ริ าภรณ์ ชมยิ้ม)
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาสหกจิ ศึกษา อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกิจศกึ ษา
………...…................................................ ……………................................................
(อาจารย์ปัณฑ์ชณิช เพ่งผล) (อาจารย์อภิชัย ตระหงา่ นศร)ี
เรื่อง ขอส่งรายงานการปฏบิ ัติงานสหกจิ ศึกษา
เรยี น อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจศึกษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
อาจารย์ปณั ฑช์ ณชิ เพ่งผล และ อาจารยอ์ ภิชยั ตระหงา่ นศรี
II
ตามท่ีผปู้ ฎิบัตงิ านสหกจิ ศึกษา นายธนบัตร บัวหอม นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี ได้ปฏิบัติงาน
สหกิจศึกษา ระหว่างวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2562 ถึง 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ในตาแหน่ง
Graphic design ณ บริษทั วังอักษร จากัด และได้มอบหมายให้จดั ทาสื่อการเรียนภาษาอังกฤษเรื่อง
การพูดและการฟัง
บัดน้ี การปฏิบัติงานสหกจิ ศกึ ษาได้สน้ิ สุดลงแล้ว จึงใครข่ องส่งรายงานการปฏิบัตริ ายงาน
สหกิจศึกษาดงั กล่าวจานวน 1 เลม่ เพ่อื ขอรบั คาปรกึ ษาต่อไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
ขอแสดงความนับถอื
………………………….…………
(นายธนบตั ร บวั หอม)
SPU CHONBURI
IV
ซือ่ หัวขอ้ สื่อการเรียนภาษาองั กฤษเรอื่ งการฟงั และการพูด
LEARNING MEDIA FOR ENGLISH LISTENING AND SPEAKING
ซื่อนักศึกษา นาย ธบตั ร บัวหอม รหสั ประจาตวั 60703647
อาจารยท์ ป่ี รึกษา อ.ปณั ฑช์ ณชิ เพง่ ผล
อาจารย์ทปี่ รกึ ษาร่วม อ.อภชิ ัย ตระหงา่ นศรี
หลกั สตู ร วิทยาศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชา เทศโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
พ.ศ. 2562
SPU CHONBURI
บทคดั ยอ่
การจดั ทาโครงงานส่อื การเรียนภาษาองั กฤษเร่ืองการฟังและการพูด มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือพัฒนาสอ่ื
การเรียนการเร่ืองการฟังและการพูดใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้สือ่ การเรียน
ภาษาอังกฤษเร่ืองการฟังและการพูด โดยผู้จัดทาการทาการศึกษาข้ึนตอนการพัฒนาส่ือการเรียนใน
ลกั ษณะมลั ติมเี ดียแบบสองมิติ (2D Animation) โดยมกี ารใช้โปรแกรม Adobe Flash CS6 การพัฒนา
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ English Listening and Speaking จานวน 8 บทเรียน และ 2000-1204
English Listening and Speaking 2 จานวน 7 บทเรียน ซ่ึงสามารถเป็นส่ือการเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ
พรอ้ มท้งั ผูเ้ รยี นสามารถทบทวนเนื้อหาในการเรยี นได้ตามต้องการ
ผลการศึกษาและพัฒนาส่ือการเรียนภาษาองั กฤษเร่ืองการฟังและการพูด พบวา่ การประเมนิ ความ
พงึ พอใจจากผใู้ ชส้ ่อื การเรยี น ด้านประสิทธิภาพและความถกู ตอ้ งของสอ่ื การเรยี นตามเนอ้ื หาแตล่ ะบทเรยี นอยู่
ในระบดับดี( ̅ = 4.70, SD= 0.25).และส่วนของความสวยงามและความยากงา่ ยต่อการใช้งานอยู่ในระดับดี
( ̅ = 4.70, SD= 0.25)
คำสำคัญ : ส่ือการเรียนภาษาองั กฤษ การฟังและการพูด
III
กิจตกิ รรมประกาศ
โครงงานสหกิจษา บรษิ ัท วังอักษร จากัด ซึ่งมีขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติงานหลายข้ันตอนทาให้
คณะผู้จัดทาประสบกบั ปญั หา และอุปสรรคตา่ งๆ ดังน้ันในการจัดทาโครงงานสหกิจศึกษาฉบับน้ีจึง
ตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลือและคาแนะนาจากบุคคลหลายท่านซึง่ ทุกทา่ นก็ให้ความชว่ ยเหลอื เป็นอยา่ งดี
ทางคณะผ้จู ัดทาโครงงานจงึ ขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาส นี้
คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ท่ีคอยใหก้ าลังใจในการทางานเสมอมาและ
เปน็ แรงบนั ดาลใจสาหลับคณะผูจ้ ัดทาเปน็ อยา่ งมาก
ขอขอบพระคณุ อาจารย์ปณั ฑช์ ณิช เพ่งผล และ อาจารยอ์ ภชิ ัย ตระหง่านศรี อาจารย์ท่ี
ปรกึ ษาโครงงานสหกิจศึกษา และบคุ ลากรคะเทคโนโลยีส่ ารสนเทศทกุ ทา่ นที่ไดค้ วามกรณุ าใน การให้
ดาปรกึ ษา คาแนะนาในการออกแบบ และเขยี นโปรแกรม ตลอดจนชว่ ยตรวดทานการจัดทาเอกสาร
จงึ ทาใหโ้ ครงงานสหกจิ ศึกในครงั้ นป่ี ระสบความสาเรจ็ ไปด้วยดี
ขอขอบพระคุณ พนักงานท่ปี รึกษา นาง ลภสั รดา สิทธ์ิประเสรฐิ ตาแหน่งผู้จัดการท่ัวไป
รวมไปถงึ ผใู้ ห้ความร่วมมใื น บรษิ ัท วังอักษร จากัด ทใี่ ห้โอกาสในการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาในครง้ั นี้
และใหคาปรกึ ษาเกียวโครงงานสหจิ ศกึ ษา บริษัท วังอกั ษร จากัด จงึ ทาให้การจัดทาโครงงานสหกิจ
ศึกษาในครั้งนี่สาเร็จลุล่วงไปได้ได้วยดี ขอขอบคุณ บริษัท วังอักษร จากัดจึงให้การจัดทาโครงงาน
สหกิจศึกษาในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคณุ เพื่อนๆ ทุกคนที่ได้ให้ความชาวยเหลอื และ
อยู่เคียงข้างให้กาลังใจเสอนมา สุดท้ายนคึ ณะผู้จัดทาโครงงานสหกจิ ศึกษาขอขอบพระคุณทกุ ท่านได้
ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ที่มีสวนทาให้โครงงานสหกิจศึกษาน้ีประสบความสาเร็จด้วยดีทาง
ผู้จดั ทาขอกราบขอบพระคุณเป็น อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
SPU CHONBURI
ธนบัตร บวั หอม
ผจู้ ดั ทา
IV
คานา
เอกสารประกอบโครงการงานฉบับนีจ่ ัดทาข้นึ เพือ่ ประกอบการจัดทาโครงงานสหกจิ ศกึ ษา
บริษทั วงั อกั ษร จากัด ตามหลกั สูตรวิชาสหกิจศึกษาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือการ(ICT499)ซงึ
ต้องใช้หลกั การออกแบบ และการพฒั นาระบบงานเพ่ือเป็นประโยชน์ตอ่ ผทู้ ี่สนใจจะศึกษา และเป็น
แนวทางในการพฒั นาระบบต่อไป
หนังสือแนะนาเทคนคิ การสอนเล่มนี จัดทาข้ึนเพือใช้เป็น แนวทางการ จัดการเรียนการ
สอนสาหรับครู อาจารย์ และผู้ท่ีอยู่ใน ตลอดจนผู้ทีมี ความสนใจ ไดเ้ ลือกใช้เทคนิคการสอนในการ
ถา่ ยทอดความรู้ไปสู่ผู้เรยี นอย่างมี ประสิทธภิ าพ
ผ้จู ัดหวังเป็นอย่างยงว่าหนังสือเล่มน่ีคงจะเป็นประโยชน์ต่อทา่ นไมม่ ากก็ น้อย อยา่ งไรก็
ตามหากทา่ นมีข้อเสนอแนะประการใด กรณุ าแจ้งใหท้ ราบด้วย จะไดน้ าข้อเสนอแนะกลบั ไปปรบั ปรุง
ในโอกต่อไป
ธนบัตร บัวหอม
ผ้จู ดั ทา
SPU CHONBURI
VI
สารบัญSPU CHONBURI หนา้
I
ใบรบั รองรายงานการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา.................................................................. II
หนงั สอื รบั รองการสง่ รายงานการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา................................................ III
กิตติกรรมประกาศ.......................................................................................................... IV
บทคดั ย่อ......................................................................................................................... V
คานา............................................................................................................................... VI
สารบัญ...........................................................................................................................
สารบัญตาราง................................................................................................................. VIII
สารบัญภาพ.................................................................................................................... IX
บทที่ 1 บทนา............................................................................................................ 1
1
ประวัตแิ ละความเปน็ มาของสถานประกอบการ............................................ 4
ท่ตี ้ังสถานประกอบการ.................................................................................. 4
ตาแหน่งและลักษณะงานทีน่ กั ศกึ ษาได้รบั มอบหมาย.................................... 5
บคุ ลากรผนู้ เิ ทศงาน....................................................................................... 6
บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกยี่ วข้อง............................................................................ 6
งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง........................................................................................ 7
ทฤษฏีท่ีเกย่ี วขอ้ ง.......................................................................................... 9
เครื่องมอื ทีใ่ ช้พฒั นาสอ่ื การสอน.................................................................. 9
โปรแกรมทใ่ี ช้พัฒนาสอ่ื การสอน.................................................................. 10
โปรแกรมทใี่ ชใ้ นการออกแบบและจดั ทาเอกสาร……………………………………. 12
บทท่ี 3 รายละเอียดของโครงงาน.............................................................................. 12
ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา........................................................ 12
วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน............................................................................. 12
ขอบเขตการศกึ ษา......................................................................................... 13
ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับจากการทาโครงงาน........................................................ 14
แผนการดาเนนิ งาน (Gantt Chart)............................................................... 15
ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน................................................................................... 17
แผนภาพสตอร่ีบอรด์ (Storyboard)...............................................................
VII
สารบญั (ตอ่ ) หน้า
19
ขนั้ ตอนการออกแบบตัวการ์ตูน..................................................................... 21
การสรา้ งเครือ่ งมือประเมินความพงึ พอใจสื่อการสอน.................................. 22
สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการทดสอบ.................................................................................. 23
บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน.................................................................................. 23
ผลการดาเนินโครงงาน................................................................................... 31
ผลการวิเคราะหแ์ บบประเมิน....................................................................... 34
บทท่ี 5 สรปุ ผลการศกึ ษา........................................................................................... 34
สรปุ ผลการดาเนินโครงงาน........................................................................... 34
ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ................................................................................. 35
บรรณานกุ รม.................................................................................................................. 37
ภาคผนวก....................................................................................................................... 37
ภาคผนวก ก ภาพการปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา........................................... 39
ภาคผนวก ข ผังงานกระบวนการ (Flowchart) ...................................... 43
ภาคผนวก ค แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ................................................. 45
ภาคผนวก ง รายนามผปู้ ระเมินสอ่ื การเรียน……………………………………… 47
ภาคผนวก จ นาเสนอโครองงาน………………………………………………………. 52
หนังสือยินยอมให้เผยแพรผ่ ลงานต่อสาธารณะ………………………………………………………. 53
ประวัติผจู้ ดั ทาโครงงาน...................................................................................................
SPU CHONBURI
ตารางท่ี สารบญั ตาราง VIII
3.1
3.2 แผนการดาเนินงาน(Gantt Chart)............................................................. หน้า
4.1 การสรา้ งเครื่องมือประเมนิ ความพงึ พอใจ……………………………………….. 14
ผลการทดสอบระบบดา้ นตรงตามความตอ้ งการของผ้ใู ชร้ ะบบ 21
4.2 (Functional Requirement Test)………………………………… 31
แสดงตารางผลวเิ คราะห์แบบประเมนิ ด้านความใชง้ านง่ายของสือ่ การสอน
(Usability Test) 32
SPU CHONBURI
สารบัญภาพSPU CHONBURI IX
ภาพท่ี
1.1 แสดงภาพสญั ลกั ษณข์ อง................................................................................ หน้า
1.2 แสดงภาพแผนทต่ี งั้ ……………………………………………………………………………… 1
1.3 แสดงภาพบุคลากรผู้นเิ ทศ 4
5
งาน……………………………………………………………….
3.1 แสดงหนา้ จอแรกของเนื้อหาบทเรียน……………………………………………………. 17
3.2 แสดงหน้าจอชือ่ บทเรยี น……………………………………………………………………… 17
3.3 แสดงหน้าจอนาเสนอบทเรยี น……………………………………………………………… 18
3.4 แสดงหน้าจอการเปล่ียนกิรยิ าท่าทางของตวั ละครตามเนื้อหาบทเรียน………. 18
3.5 แสดงหนา้ จอตวั ละครท่ีมกี ารแสดงสีหนา้ และท่าทางตามเนอ้ื หาบทเรยี น.. 18
3.6 ขนั้ ตอนการออกแบบตวั 19
การต์ ูน……………………………………………………………… 20
3.7 แสดงการออกแบบขนาดของตวั ละคร……………………………………………………. 24
4.1 แสดงการออกแบบตวั การ์ตนู 25
4.2. แสดงหน้าเขา้ สเู่ นื้อบทเรียนการเคลอื่ นไหวของตวั การ์ตูนและการโต้ตอบ
25
กลับ 26
4.3 แสดงหน้าเขา้ สเู่ น้อื หาบทเรียนแรกของการขึ้นบทเรียน 27
4.4 แสดงหนา้ เขา้ สเู่ นือ้ หาบทเรียนแรกของการอา่ นออกเสยี งท่ีถกู ต้อง 26
4.5 แสดงหน้าเขา้ ไปสเู่ น้ือหาของขอ้ ถดั ไปในการสอนออกเสยี ง 28
4.6 แสดงหนา้ เขา้ สเู่ นื้อหาบทเรียนแรกของการอา่ นออกเสยี งทถี่ กู ตอ้ ง 28
4.7 แสดงหน้าเข้าไปสเู่ นอื้ หาของขอ้ ถดั ไปในการสอนออกเสียง 29
4.8 แสดงหน้าแรกของการขนึ้ บทเรยี น 29
4.9 แสดงหนา้ เนอ้ื ของภาพมีเสยี งอา่ นประกอบบทเรียน 30
4.10 แสดงหน้าเนือ้ การโตต้ อบของการ์ตูนเครอื นไหว 2 ตวั มีเสยี งอ่านประกอบ 30
4.11 แสดงหน้าของทา่ น้งั พูดคยุ การสอนการออกเสียง 31
4.12 แสดงหน้าของการพูดแบบบรรยายมกี ารออกเสยี ง 40
4.13 แสดงหนา้ ของการสทนาแบบมขี ้อความกากับและการอ่านออกเสียง 40
ก-1 ภาพตอนประตบิ ัตงิ าน 41
ก-2 ตอนจดั ห้องประชมุ
ข-1 จดั ทาสตอรบี อรด์
ข-2 ออกแบบตวั ละคร X
ข-3 ออกแบบท้าทางของตวั ละคร
ข-4 จดั ทาภาพเครอ่ื นไหว 40
ข-5 ตรวจสอบในการขยับการเครอื นไหว 40
ข-6 เอาออกมาเตรยี มเพื่อใชง้ านในการตดั ต่อและใสเ่ สยี ง 40
ข-7 ขัน้ ตอนการตัดตอ่ และการใสเ่ สยี ง 41
ข-8 เอ็กพลอดวีดีโอแลว้ เสร็จการทางาน 41
42
42
SPU CHONBURI
1
บทที่ 1
บทนำ
ประวัติควำมเป็นมำของสถำนประกอบกำร
กอ่ ต้ัง: 23 มนี าคม 2540
คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ: ประกอบด้วย คณาจารย์จาก
SPU CHONBURI
สถาบนั การศึกษาอาชีวศกึ ษา ราชมงคล มหาวิทยาลยั ต่าง ๆ และผู้เชย่ี วชาญในงานสาขาวิชาชีพเฉพาะ
สาขาจานวนกว่า 100 คน
จานวนเจ้าหนา้ ท:ี่ 50 คน (รวมพนักงานพาร์ทไทม์)
บริษทั วงั เอน็ ยูเคช่ัน แอนค์ ทวั ร์ จากัด เป็นผเู้ ชีย่ วชานด้านประสบการณ์มากกว่า 20 ปที ่ที ุก
ท่านสามารถสัมผัสได้จรงิ ด้วยตวั ของท่านเอง จากการบริการทเ่ี ต็มไปด้วยทีมงานคุณภาพและมาตรฐาน
ไม่วา่ จะเป็นการท่องเทยี วต่างในประเทศหรือการทอ่ งเทียวต่างประเทศ,แพ็คเกจทัวร์,จัดอบรมคนเดียว
มาเป็นศึกษาดูงาน Team Building, Walk Rally กรปุ๊ เหมา ไม่ว่าคุณจะมาคนเดยี วมาเปน็ คู่ หรอื มาเป็น
หมู่คณะกสามารถเดินทางกับเราได้กับการบริหารครบวงจรจากทีมงาน เดินทางด้วยรอยยิ้มและความ
ประทับใจทกุ เส้นทาง พาเทยี วทั่วโลกเพอื่ ความมัน่ ใจในบริการของเรา บรกิ ารดว้ ยใจ วางแผนใหค้ ุณเทย่ี ว
อย่างมีคุณเทียวอย่างมคี ุณภาพ ตามเป้าหมายและงบประมาณ ก่อต้ังเมื่อวันท่ี 8 กนั ยายน 2542 ได้จด
ทะเบียนกบั สานกั งานพัฒนาการท่องเทยี วใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนาเทียวเลขที่ 11/05931
ช่ือ ภาษาไทย บรษิ ทั วังอกั ษร จากดั
ช่ือ ภาษาองั กฤษ Wangaksorn Publishing
ภาพที่ 1.1 แสดงภาพตราสญั ลักษณส์ ถาน
ประกอบการ
ท่ีมา: บริษทั วงั อกั ษร จากดั
2
ลักษณะทำธรุ กจิ
ทาธุรกิจด้านส่ือสิ่งพิมพด์ ้าน การศึกษา โดยมีหนังสือกว่า400ปก ขายให้กับสถานศึกษาทั่ว
ประเทศมานาน20ปีบริษัท สานักพิมพว์ ังอักษร จากดั เป็นสานักพิมพ์ ท่ีให้บริการจัดพิมพ์หนังสือตารา
สื่อการสอน และฝึกอบรมทางวิชาการ
กำรจัดกำรองคก์ ร
แผนผงั องค์กร บริษัท วงั อักษร จากัด
กรมการ ผจก.
SPU CHONBURI
ผจก.บริษัท วงั อักษร ผจก. บริษทั Expert ผจก. บรษิ ท วังเอน็ ยเู ค
Technology ชน้ั แอนค์ ทวั ร์ จากดั
ฝา่ ย บัญชี Development
ฝา่ ย บรรณาริกชและIT
ฝา่ ย counter service
ฝา่ ยขายและการตลาด
ฝ่ายคลังสนิ ค้า
ผลติ ภัณฑ์และบริการ
1. หนังสือเรียน แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.1 หนังสือเรยี นระดับ ปวช. ปวส. ตามหลักสูตรสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
แบง่ ออกเปน็ หนังสือระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) 178 รายการ และหนังสือระดบั ประกาศนยี บัตร
SPU CHONBURI 3
วิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) 240 รายการ ประกอบดว้ ยหนงั สอื หมวดวิชาสามัญ วชิ าชีพพ้ืนฐาน วิชาปรบั พน้ื ฐาน
สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการขาย การตลาด สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเทยี่ ว สาขาวิชาไฟฟ้ากาลัง
สาขาวิชาอีเลก็ ทรอนิกส์ สาขาวิชาเคร่ืองกล สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสาขาวชิ าเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.2 หนังสอื เรียนระดับมัธยมศึกษา ตามหลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงช้ันที่ 3-4 จานวน 48วิชา ประกอบด้วย
หนังสือโครงงานสิ่งประดิษฐค์ ิดค้น งานธุรกจิ งานช่าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ ซง่ึ เปน็ ท้ังหนงั สือสาระการ
เรยี นรูพ้ นื้ ฐาน และหนังสือเรยี นสาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม
1.3 คมู่ ือประกอบการเรยี นระดับปรญิ ญาตรี ประกอบด้วย หนงั สอื ประเภทวชิ า
บรหิ ารธุรกิจ ประเภทวชิ าการตลาด การบัญชี และประเภทวชิ าคอมพิวเตอร์ กวา่ 100 วชิ า
2. คู่มอื ครูและส่อื การสอน ประกอบดว้ ย แผนการจดั การเรียนรู้ทีเ่ นน้ ฐานสมรรถนะ
(Competency Based) และการบูรณาการ (Integrated) ในรปู แบบทเี่ ปน็ เอกสารสง่ิ พมิ พ์ และเปน็ แผน่
ซดี ี พรอ้ มสอ่ื การสอนสรปุ บทเรียนแบบ PowerPoint และสือ่ แผน่ ใส ซึ่งจดั ทาสาหรบั หนังสอื เรียนเกอื บ
ทกุ เลม่ ของสานกั พมิ พ์ จานวนกว่า 400 วิชา
3. บรกิ ารฝกึ อบรมครู เร่อื ง การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ฐานสมรรถนะ
(Competency Based) และการบรู ณาการ (Integrated) แนวทางการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์
4. เกมการศึกษา: เกมต่อคาศัพท์ภาษาองั กฤษ อักษรสนุก เกมการศกึ ษาทไี่ ดร้ บั รางวลั
ระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาติ 3 รางวลั จาก สภาวจิ ยั แหง่ ชาตปิ ี 2545 รางวลั เหรยี ญเงินยอดเยีย่ มพรอ้ ม
เกยี รตบิ ัตรจาก งานประกวดสงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละงานวิจัยนานาชาติ Brussel Euraka 2001 กรุงบรสั เซล
ราชอาณาจักรเบลเยียม และประกาศนียบัตรจากหอการค้าและอุตสาหกรรมบลั แกเรยี -อเมริกัน 2001
เกมการศกึ ษา: เกมแผนที่ เกมภูมศิ าสตร์ท่ชี ว่ ยฝึกความจาขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ ดว้ ยการใช้
เกมฝกึ ทายปญั หา เป็นเกมท่ไี ดร้ บั รางวลั จาก สภาวจิ ยั แหง่ ชาติปี 2547
ทตี่ ้งั สถำนประกอบกำร
ท่ีต้ัง 69/3 ถนน อรุณอมั รินทร์ วัดอรุณ บางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600
โทรศพั ท์ 02-4723293-5, 088-5851521
โทรสาร 02-8910742
อเี มล์ [email protected]
4
เวบ็ ไซต์ www.wangaksorn.com
SPU CHONBURI
ภาพท่ี 1.2 แสดงภาพแผนท่ีต้งั บริษัท วังอักษร จากดั
ท่ีมา http://www.wangaksorn.com
ตำแหนง่ งำนและลกั ษณะงำนทไ่ี ดร้ บั มอบหมำย
ตำแหนง่ งำนท่ไี ด้รับมอบหมำย
การฝกึ สหกจิ ศึกษา ณ บริษทั วังอกั ษร จากัด กราฟกิ ดีไซน์ Graphic design
งำนทไ่ี ด้รบั มอบหมำย
1. เพือ่ พฒั นาสือ่ การเรยี นภาษาองั กฤษเร่อื งการฟังและการพูด
2. จัดทาอนิ โพการฟฟิค(Infographic) และออกแบบส่ือโฆษณา
5
บุคลำกรผู้นิเทศงำน
นางสาว ลภสั รดา สิทธิ์ประเสรฐิ
ตาแหน่ง ผูจ้ ดั การทั่วไป
SPU CHONBURI
ภาพท่ี 1.3 แสดงภาพบุคลากรผ้นู เิ ทศงาน
SPU CHONBURI 5
บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎที ่ีเกีย่ วข้อง
การออกแบบการเรยี นการสอนเป็นหวั ใจหลักของการพฒั นาส่ือการเรียนการสอนทกุ ประเภท
บทเรยี นมัลติมเี ดียท่ีมปี ระสิทธิภาพตอ้ งมีผู้ออกแบบการเรียนการสอนเข้ามาทาหนา้ ที่ในการนาเนอ้ื หาทไี่ ด้
เตรยี มไว้แล้วอย่างดี
งานวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ ง
ปริวรรต สมนึก. (2558) งานวิจัยเรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดที ัศน์
เพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง“ผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียว” มีวัตถุประสงค์เพ่ือ (1) วิเคราะห์
รายละเอียดของวธิ ีการสอนเร่อื ง “ผลติ ภัณฑก์ ารทอ่ งเท่ียว” ด้วยวธิ ีการสอนแบบปกติกับวิธกี ารสอนโดย
ใช้ส่ือวีดีทัศน์เป็นหลัก (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่ม
ควบคมุ โดยวิธกี ารสอนแบบปกตกิ ับวธิ กี ารสอนโดยใช้ส่ือวีดีทัศนเ์ ป็นหลกั
วรทิ ธิ์พล บณุ ยเดชาวรรธน์. (2557) เนื่องจากการเรียนการสอนในรายวชิ าการระบบมลั ติมีเดีย
บนเว็บ เป็นการสรา้ งช้ินด้วยโปรแกรมกราฟิกซ่ึงนักศึกษามาจากต่างสถาบันและยังไม่มีพ้ืนฐานในการใช้
งานโปรแกรม และบ้างคนก็ยังไม่เคยไดเ้ รียนมาทาให้นกั ศึกษาอาจจะไม่เข้าใจกระบวนการ และการท า
งานของโปรแกรมเพือ่ ท่ีจะทาช้นิ ทสี่ ัง่ ได้ และอาจจะทางานช้าและทาให้ไมส่ ามารถปฏิบัติช้นิ งานได้
ยุทธณา อาจหาญ. (2551). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นน่ิง(e-Learning) วิชาฟิสิกส์เรืองแสง
และการมองเหน็ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร
วินติ ย์ พชิ พันธ.์ (2551). ผลการใชช้ ดุ การเรียนรทู้ างอิเล็กทรอนิกสเ์ รอ่ื งเศษส่วนสาหรบั นกั เรยี น
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏขอนแกน่
ขวัญชัย ดวงทนัน. (2557) ใชช้ ดุ สอื่ การสอนการจัดทาสื่อวีดโี อช่วยสอนเรอื่ ง การควบคมุ
คณุ ภาพสาหรบั เป็นสือ่ ช่วยสอน ในกระบวนวชิ า การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพมผิ่ ลผลติ ตาม
หลกสั ตู รประกาศนียบตั รวชิาชพี วทิ ยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนคิ ลานนา เชียงใหม.่ เชียงใหม
สุรัชดา สาจกั ร. (2537) การใช้ชุดสือ่ การสอนเพอ่ืพฒันาความพร้อมดา้ นคณติศาสตรส์ าหรับ
เดก็ดาวนซ์ นิ โดรมระดบั ปฐมวัย กรงุ เทพฯ
SPU CHONBURI 6
พรรณพิมล ชัญญานุวัตร (2556) ดังนั้นการให้ความรู้ในเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพและลด
ต้นทุนการผลิตข้าว จึงมีความสาคัญอย่างย่ิงในการส่งเสริมให้เกษตรกรเรียนรู้วิธีการผลิตถูกต้องมี
ประสทิ ธิภาพซงึ่ จะนาไปสู่การลดต้นทนุ การผลิต และสง่ ผลใหม้ ีรายได้จากการประกอบอาชพี
ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง
ณฐั กร สงคราม (2553) ได้กล่าวถงึ องคป์ ระกอบของมัลติมีเดียไวว้ ่า จะต้องประกอบดว้ ยส่ือ
การรบั รใู้ นรูปแบบต่าง ๆ
Infographic คอื อะไร อินโฟกราฟฟกิ มาจากคาว่า Information (ขอ้ มูล) + Graphic (รูป)
คือ “การนาขอ้ มูลตา่ ง ๆ มาทาเป็นรูป” สาเหตทุ ไ่ี ม่เอาขอ้ มูลตัวหนังสือใสไ่ ปยาว ๆ แตท่ าเปน็ รูปสวยงาม
แทน กเ็ พราะวา่ สมองคนเราประมวลผลภาพได้เร็วกว่าตัวหนังสอื ถึง 60,000 เท่า เพราะฉะนนั้ บางเรื่องที่
ดซู ับซ้อนตอ้ งอธิบายเป็นชั่วโมง เราอาจจะยอ่ ยเป็น Infographic ท่ีอา่ น 5 นาทีเขา้ ใจไดน้ อกจากนนั้ การ
ทา Infographic ยงั ทาให้ข้อมลู ท่ดี ูน่าเบอ่ื กลายเปน็ ส่งิ น่าสนใจขน้ึ มาได้
ทาใหน้ ยิ มนามาใน Social Network เช่น Facebook หรอื Twitter
ทฤษฎีสี (COLOUR) หมายถึง ลักษณะกระทบต่อสายตาให้เห็นเป็นสีมีผลถึงจิตวทิ ยา คือมี
อานาจใหเ้ กดิ ความเขม้ ของแสงทีอ่ ารมณ์และความรสู้ กึ ได้ การท่ไี ดเ้ ห็นสีจากสายตาสายตาจะส่งความรสู้ กึ
ไปยงั สมองทาใหเ้ กิดความรูส้ กึ ตา่ งๆตามอิทธพิ ลของสี เชน่ สดชื่น รอ้ น ตื่นเตน้ เศรา้ สีมคี วามหมายอยา่ ง
มากเพราะศลิ ปนิ ตอ้ งการใชส้ เี ปน็ ส่อื สร้างความประทบั ใจในผลงานของศิลปะและสะทอ้ นความประทับใจ
นั้นให้บังเกิดแก่ผู้ดูมนุษย์เก่ียวข้องกับสีต่างๆ อยู่ตลอดเวลาเพราะทุกส่ิงท่ีอยู่รอบตัวน้ันล้วนแต่มีสีสัน
แตกต่างกันมากมาย สีเป็นส่ิงท่ีควรศึกษาเพ่ือประโยชน์กับตนเองและ ผู้สร้างงานจิตรกรรมเพราะ
เรอ่ื งราวองสนี นั้ มหี ลักวิชาเปน็ วิทยาศาสตร์จงึ ควรทาความเข้าใจวิทยาศาสตร์ ของสีจะบรรลุผลสาเร็จใน
งานมากข้นึ ถา้ ไม่เขา้ ใจเรือ่ งสีดีพอสมควร ถ้าไดศ้ กึ ษาเร่ืองสีดพี อแล้ว งาน
ศิลปะกจ็ ะประสบความสมบรู ณเ์ ป็นอย่างยงิ่
คาจากัดความของสีแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้
1. แสงทมี่ คี วามถี่ของคลื่นในขนาดท่ีตามนษุ ย์สามารถรบั สมั ผัสได้
2. แมส่ ที เี่ ปน็ วัตถุ (PIGMENTARY PRIMARY) ประกอบด้วย แดง เหลือง นา้ เงนิ
3. สีทเ่ี กิดจากการผสมของแมส่ ี
คณุ ลกั ษณะของสี
สีแท้ (HUE) คือ สีท่ยี ังไม่ถกู สอี ื่นเข้าผสม เปน็ ลักษณะของสแี ทท้ ี่มคี วามสะอาดสดใส เช่น
SPU CHONBURI 7
แดง เหลอื ง นา้ เงินสีอ่อนหรือสจี าง (TINT) ใช้เรียกสีแทท้ ีถ่ กู ผสมดว้ ยสีขาว เช่น สีเทา สีชมพู สีแก่
(SHADE) ใช้เรียกสแี ทท้ ถ่ี ูกผสมดว้ ยสดี า เชน่ สีน้าตาล
เสียง (Sound) เสียงในมัลตมิ ีเดียจะจัดเก็บอยู่ในรูปของข้อมูลดิจิตอล และสามารถเล่นซ้า
(Replay) ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี การใช้เสียงในมัลติมีเดียก็เพ่ือนาเสนอข้อมูลหรือสร้าง
สภาพแวดลอ้ มให้น่าสนใจย่ิงข้ึน เชน่ เสียงน้าไหล เสยี งหวั ใจเต้น เป็นต้น เสียงสามารถใช้เสริมตัวอักษร
หรือนาเสนอวัสดุที่ปรากฏบนจอภาพได้เปน็ อย่างดี เสียงท่ีใช้ร่วมกับโปรแกรมประยุกต์สามารถบันทึก
เปน็ ข้อมลู แบบดจิ ิตอลจากไมโครโฟน แผ่นสยี ง (CD-ROM Audio Disc) เทป เสียงและวทิ ยุ เป็นต้น
ภาพเคล่ือนไหว (Animation) หมายถงึ การเคล่ือนไหวของภาพกราฟิกภาพเคลือ่ นไหว จงึ มี
ขอบข่ายตั้งแต่การสร้างภาพด้วยกราฟิกอย่างง่าย พร้อมทั้งการเคล่ือนไหวกราฟิกนั้น จนถึงกราฟิกมี
รายละเอียดแสดงการเคล่ือนไหวโปรแกรมท่ีใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวในวงการธรุ กิจก็มี Autodesk
Animator ซึ่งมีคณุ สมบตั ิดีท้ังในดา้ นของการออกแบบกราฟิกละเอียดสาหรับใช้ในมัลตมิ ีเดียตามต้องการ
วีดิทศั น์ (Video) การใช้มัลติมเี ดยี ในอนาคตจะเก่ียวขอ้ งกับการนาเอาภาพยนตรว์ ีดทิ ัศน์ซงึ่ อยู่
ในรูปของดิจิตอลรวมเข้าไปกับโปรแกรมประยกุ ต์ท่ีเขียนขึน้ โดยทั่วไปของวีดิทัศน์จะนาเสนอด้วยเวลา
จรงิ ท่จี านวน 30 ภาพตอ่ วนิ าที ในลักษณะน้ีจะเรียกว่า วดี ิทศั นด์ ิจติ อล (Digital Video) คุณภาพของวีดิ
ทศั น์ดิจิตอลจะทดั เทยี มกับคณุ ภาพท่เี ห็นจากจอโทรทัศน์ ดังนัน้ ท้งั วดี ิทัศน์ดจิ ติ อลและเสียงจึงเป็นสว่ นท่ี
ผนวกเขา้ ไปสู่การนาเสนอไดท้ นั ทดี ว้ ยจอคอมพิวเตอร์ในขณะท่เี สียงสามารถเลน่ ออกไปยังลาโพงภายนอก
ได้โดยผา่ นการ์ดเสยี ง (Sound Card)
การเรยี นการสอน ความหมายของการเรียนการสอน จึงหมายถึง การไดร้ บั ความรู้ พฤติกรรม
ทักษะ คุณค่าหรือความพึงพอใจท่ีเป็นส่ิงแปลกใหม่ด้วยวิธีการถ่ายทอดหรือวิธีการสอนที่หลากหลาย
รูปแบบให้เหมาะสมตามศกั ยภาพของผู้เรยี น
ส่ือมัลติมีเดีย ระบบส่ือสารข้อมูลข่าวสารหลายชนิด โดยผ่านส่ือทางคอมพิวเตอร์ซ่ึง
ประกอบด้วย ข้อความ ฐานข้อมูล ตัวเลข กราฟิก ภาพเสียง และวีดิทัศน์ (Jeffcoate. 1995) การใช้
คอมพวิ เตอรส์ ือ่ ความหมายโดยการผสมผสานสอื่ หลายชนดิ เชน่ ขอ้ ความ กราฟ ภาพศิลป์ (Graphic Art)
เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) และวีดทิ ัศน์ เป็นต้น ถา้ ผใู้ ช้สามารถควบคมุ ส่ือเหล่าน้ีใหแ้ สดงออกมา
ตามตอ้ งการได้ ระบบนจ้ี ะเรยี กว่า มัลติมีเดยี ปฏสิ ัมพันธ์ (Interactive Multimedia) (Vaughan. 1993)
ส่ือมัลติมีเดีย คือ โปรแกรมซอฟต์แวร์ท่ีอาศัยคอมพิวเตอร์เป็นสือ่ ในการนาเสนอโปรแกรมประยุกต์ซ่ึง
รวมถึงการนาเสนอข้อความสีสัน ภาพกราฟิก (Graphic images) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง
(Sound) และภาพยนตร์วีดิทัศน์ (Full motion Video) ส่วนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive
SPU CHONBURI 8
Multimedia) จะเป็นโปรแกรมประยุกต์ท่ีรับการตอบสนองจากผู้ใช้คีย์บอร์ด (Key board) เมาส์
(Mouse) หรอื ตวั ชี้ (Pointer) (Hall. 1996)
เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการพฒั นาส่อื การสอน
เครอื่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(Personal Computer)โดยมรี ายละเอียดดังนี้
acer
CPU: Intel Core i5 -6600 3.30GHz
Memory: 8 GB DDR4
HDD: 1TB 5400RPM
โปรแกรมทใี่ ช้ในการจดั ทาพัฒนาส่ือการสอน
1. โปรแกรม adobe flash cs6 เป็นซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย ,
ภาพเคลื่อนไหว (Animation), ภาพกราฟิกท่ีมคี วามคมชดั เนอื่ งจากเป็นกราฟกิ แบบเว็บเตอร์(Vector),
สามารถเล่นเสียงและวีดิโอ แบบสเตริโอได้, สามารถสร้างงานให้โต้ตอบกับผู้ใช้(Interactive
Multimedia) มีฟังก์ช่ันสาหรับการเขียนโปรแกรม (Action Script) และยังทางานในลักษณะ CGI โดย
เชื่อมต่อกบั การเขยี นโปรแกรมภาษาอ่ืน ๆ ได้มากมาย เช่น ภาษา PHP, JSP, ASP, ASP.NET, C/C++,
C#, C#.NET, VB, VB.NET, JAVAและอื่น ๆ โดยเฉพาะข้อดีของโปรแกรม Flash คือ ความสามารถใน
การบบี อัดไฟลใ์ หม้ ีขนาดเลก็ มีผลทาให้แสดงผลไดอ้ ย่างรวดเรว็ นอกจากนัน้ ยัง
แปลงไฟล์ไปอยูใ่ นฟอรแ์ มตอ่ืน ไดห้ ลากหลาย เชน่ avi,mov,gif,wav,emf,eps,ai,dxf,bmp,jpg,gif,png
โปรแกรม Flash เร่ิมมีชอื่ เสียงประมาณปี พ.ศ. 2539 จนถึง ปัจจุบนั ได้ถูกนามาใช้งานอยา่ งแพร่หลาย
โดยเฉพาะเทคโนโลยีเวบ็ ทาให้การนาเสนอทาได้อยา่ งนา่ สนใจ นอกจากนั้น โปรแกรม Flash ยังสามารถ
สรา้ งแอพพลิเคช่นั (Application) เพ่ือใชท้ างานต่าง ๆ รองรบั การใช้งานกบั อปุ กรณ์ที่ เช่ือมตอ่ กบั ระบบ
เครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ และทางานไดก้ ับหลาย ๆ แฟลตฟอรม์ (Platform)
2. โปรแกรม Adobe Premiere Pro cs6 เป็นซอฟแวร์โปรแกรมท่ีใช้ในงานตัดต่อวิดีโอ
และบันทึกตัดต่อเสียงท่ีแพร่หลายที่สุด สามารถผลิตผลงานได้ในระดับมืออาชีพ จนถึงการนาไป
ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ (Broadcasting System ) มีการทางานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
สามารถจับภาพและเสียงมาวาง (Drag & Drop) ลงบนไทม์ไลน์ (Time line) เคล่ือนย้ายไดอ้ ิสระโดยไม่
จากัดจานวนครัง้ และไม่มีการสูญเสียของสญั ญาณภาพและเสียง เพียงผูผ้ ลิตรายการ ต้องมีทกั ษะท่ีดใี น
SPU CHONBURI 9
การใช้โปรแกรมกบั ความคิดสร้างสรรคเ์ ท่าน้นั ทใี่ ช้ตดั ต่อภาพ ทง้ั ภาพนงิ่ และภาพเคลือ่ นไหว ซงึ่ เปน็ รวม
ไปถึงวิดีโอ แม้กระทั่งการทางาน เกยี่ วกบั เสียง ขอ้ ความ หรือหากมขี ้อมูลรูปภาพจากกล้อง ดิจิตอลอยู่
แลว้ ก็สามารถนาภาพที่ไดถ้ ่ายไวม้ าตัดตอ่ เพ่อื สร้างเป็นภาพยนตร์สาหรบั ส่วนตัวได้ความสามารถในการ
ปรับและตรวจสอบค่าสี โทนสี ความสว่างและแสงเงา ของไฟล์วีดิโอได้มากข้ึน โดยสามารถแทนที่ค่าสี
แล้วเปรียบเทียบกับไฟล์เดิมได้ในหน้าต่างเดียวกัน และยังสามารถตัดต่อเกี่ยวกับระบบเสียงได้มากขึ้น
Adobe Premiere Pro เพ่ิมขีดความสามารถในการสร้างเอฟ็ เฟ็ครูปแบบต่าง ๆ ใหก้ ับเสยี ง อกี ทัง้ ยงั เพิ่ม
การปรับแต่งเสียง ในระบบ 5.1 Channel นอกจากนั้นยังสามารถสร้างเสียงคุณภาพสูงได้ด้วย Audio
Mixer สนับสนุนการทางานบนมาตรฐานอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ Adobe Premiere Pro สามารถผลิตงาน
คุณภาพสูงไดด้ ี ไม่ว่าจะเป็นการสร้างไฟล์คุณภาพ เช่น MPEG 2 หรือแปลงไฟล์ใหไ้ ด้รูปแบบสื่อวีดิโอที่
หลากหลาย
3. โปรแกรม adobe photoshop cs6 เป็นโปรแกรมในตระกูล Adobe ท่ใี ช้สาหรบั ตกแตง่
ภาพถ่ายและภาพกราฟฟิก ได้อยา่ งมีประสทิ ธ์ิภาพ ไมว่ ่าจะเป็นงานด้านส่ิงพิมพ์ นิตยสาร และงานด้าน
มัลติมเี ดีย อีกท้ังยังสามารถ retouching ตกแต่งภาพและสรา้ งภาพ ซ่ึงกาลงั เป็นท่ีนยิ มสูงมากในขณะน้ี
เราสามารถนาโปรแกรมPhotoshop ในการแต่งภาพ การใส่ Effect ต่าง ๆ ให้กับภาพและตัวหนังสือ
การทาภาพขาวดาและการทาภาพถา่ ยเป็นภาพเขียน การนาภาพตา่ ง ๆ มารวมกัน การ Retouch ตกแต่ง
ภาพ เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว โปรแกรม Photoshop ยังเป็นโปรแกรมสร้างและแก้ไขรูปภาพอย่างมือ
อาชพี โดยเฉพาะนักออกแบบในทุกวงการยอ่ มรู้จักโปรแกรมตัวน้ีดี โปรแกรม Photoshop เปน็ โปรแกรม
ทมี่ ีเครือ่ งมอื มากมายเพอื่ สนบั สนุนการสร้างงานประเภทส่ิงพมิ พ์ งานวดิ ีทศั น์ งานนาเสนอ งานมัลตมิ เี ดีย
ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ในชุดโปรแกรม Adobe Photoshop จะประกอบด้วย
โปรแกรมสองตวั ไดแ้ ก่ Photoshop และ ImageReady การที่จะใช้งานโปรแกรม Photoshopคุณต้องมี
เคร่ืองทม่ี ีความสามารถสูงพอควร มคี วามเรว็ ในการประมวลผล และมีหน่วยความจาท่เี พยี งพอ ไมเ่ ชน่ น้นั
การสร้างงานของคุณคงไมส่ นกุ แน่
โปรแกรมทใี่ ชใ้ นจัดทาเองการ
ในการเตรยี มจัดทาเอกสารระบบบรหิ ารจดั การอุปกรณค์ อมพิวเตอร์บรษิ ัท วงั อักษร จากัด
ประกอบดว้ นโปรแกรมที่ใชใ้ นการออกแบบทาเอกสาร
1. Microsoft Word 2013 ท่ีใช้เหมาะสาหรับการพิมพ์รายงาน พิมพ์จดหมาย หรือจะใช้
สาหรับแตง่ นิยายก็ยังได้ เปน็ หน่ึงในโปรแกรม ไมโครซอฟท์ออฟฟิศ ซึ่งมพี ัฒนาการอย่างต่อเน่ือง หลาก
หลายเวอร์ชั้น แต่อยา่ งไรกต็ าม โดยหลักการ ถา้ เราศึกษาไมโครซอฟทเ์ วิร์ดเวอร์ชน้ั ใดเวอร์ชน้ั หน่งึ เราก็
10
จะสามารถเรยี นรเู้ วอร์ชน้ั อื่น ๆ ได้ค่อนข้างง่าย เพราะส่วนใหญ่เวอร์ช้ันใหม่ ๆ ก็จะการเปลี่ยนแปลงใน
ลักษณะเพม่ิ เตมิ เสียมากกวา่ การลบออกไป
2. Microsoft PowerPoint 2013 เป็นโปรแกรมหนึ่งในตระกูล Microsoft Office เหมาะ
สาหรับการจัดสร้างงานนาเสนอขอ้ มูล (Presentation) สาหรับนาไปประยกุ ต์ใช้ในงานได้หลายประเภท
เชน่ การนาเสนอขอ้ มลู สนิ คา้ และบริการ การจดั ทา Slide Show การออกแบบแผ่นพับ
3. Microsoft Project Professional คือโปรเเกรมนาเสนอวธิ ีใหม่ ๆ อันทรงพลังสาหรบั การ
จัดการโครงการทส่ี าคญั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ใช้ประโยชน์จากความสามารถในการทางานร่วมกนั ที่ใช้งาน
งา่ ยเพ่ือเร่ิมและปิดโครงการท่ีประสบความสาเร็จอย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันก็สามารถใช้จดุ เดน่ ของ
SharePoint ในการทางานได้จากทุกที่ ส่ือสารแบบเรียลไทม์ผ่านการผนวกรวมที่ไร้รอยต่อของ Lync
2013 เพือ่ โทรหรือส่งข้อความโต้ตอบแบบทนั ทไี ปหาสมาชกิ ในทมี จาก Project Professional อีกทั้งยัง
สามารถขยายฟงั กช์ นั การทางานของ Project ดว้ ยแอพสาหรบั Office เพ่ือตอบสนองความต้องการทาง
ธุรกจิ ของคุณท่ไี ม่เหมอื นใครได้ดว้ ย
SPU CHONBURI
SPU CHONBURI 12
บทที่ 3
รายละเอยี ดโครงงาน
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
การเรียนการสอนโดยปกติ จะมีผเู้ รียนและผูส้ อน มาทาการเรียนการสอนในห้องเรียน ซ่ึง
ผู้สอนก็จะทาการเตรยี มเนอ้ื บทเรียนและขอ้ มูลที่เก่ียวข้องมาทาการสอนให้กบั ผู้เรยี นในห้องเรียนท่ีอยู่ท่ี
เดยี วกัน และถ้าผู้เรยี นเกดิ ข้อสงสัยในเน้อื หาการเรยี นก็จะตอ้ งทาการสอบถามผ้สู อนในขณะทก่ี าลงั สอน
อยู่ เพ่ือความเข้าใจในการเรียนการสอน ถ้ากรณีที่ผู้เรียนไม่เข้าใจและไม่ได้สอบถามก็อาจจะทาให้เกิด
ความไม่กระจ่างในเนื้อหาบทเรียนดังกล่าวได้ หรือในบางครั้งผู้เรียนก็อาจจะไม่กล้าที่จะสอบถามจาก
ผูส้ อนดว้ ยเหตผุ ลหลายประการ หรอื ในบางครง้ั ผู้เรียนอาจจะอยู่ภาวะทีไ่ ม่พรอ้ มที่จะเรยี นรใู้ นชว่ งเวลานนั้
อยู่กไ็ ด้ ทาใหข้ าดโอกาสที่จะไดเ้ รยี นรูใ้ นเรอ่ื งนนั้ ได้
ปัจจบุ นั เทคโนโลยีสารสนเทศมีการเจรญิ กา้ วหนา้ และทนั สมยั มากยิ่งขน้ึ โดยเฉพาะเทคโนโลยี
สารสนเทศดา้ นการเรียนรู้และสื่อการเรียนการสอนที่สามารถที่จะทาให้มสี ่ือการสอนท่ีทันสมัยที่ผู้เรียน
สามารถทีจ่ ะกลับมาทบทวนหลังจากทีไ่ ดเ้ รียนไปแล้ว ไดอ้ กี หลายคร้ังตามความตอ้ งการ และตามวนั เวลา
ท่ผี ู้เรียนต้องการเรียนรู้ได้ ดังน่นั ผูจ้ ัดทาโครงงานจึงได้พัฒนาส่ือการเรียนภาษาอังกฤษเรื่องการฟังและ
การพูด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถกลับมาทบทวนเน้ือหาท่ีต้องการได้ด้วยตนเอง ตลอดเวลา อีกท้ังสื่อการ
เรยี นดงั กล่าวก็มีภาพ เสยี ง ตัวอกั ษรท่สี ามารถดึงดดู ใจให้ผเู้ รยี นเกิดความสนใจมากย่ิงขน้ึ สง่ ผลใหผ้ ู้เรียน
มาสามารถเรยี นไดอ้ ย่างมสี ทิ ธิภาพมากย่งิ ข้ึน
วตั ถุประสงค์ของโครงงาน
การจัดทาโครงการสอื่ การเรียนภาษาอังกฤษเร่อื งการฟงั และการพูด มวี ัตถุประสงค์ดงั น้ี
1. เพ่ือสรา้ งพฒั นาสือ่ การเรียนภาษาองั ฤษเรือ่ งการฟังและการพูด
2. เพ่อื ประเมนิ ความพงึ พอใจสอื่ การเรยี นภาษาอังกฤษเรอ่ื งการฟงั และการพดู ของผ้ใู ช้
ขอบเขตการศึกษา
การพัฒนาสื่อการเรียนภาษาอังกฤษเรื่องการฟังและการพูด ทางผู้จัดทาได้มีการพฒั นาด้วย
โปรแกรม Adobe Flash CS6 โดยมีการทาเป็นภาพมัลติมิเดียลักษณะการทางานแบบสองมิติ(2D
Animation) สรา้ งเป็นภาพการต์ นู ลักษณะเป็นการโต้ตอบ หรือการสนทนาระหว่าง 2 ฝ่าย มีการแสดง
ทา่ ทาง มีเสียงและตัวอักษรประกอบการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นได้เป็นอย่างดี โดยท่ผี ู้เรยี นสามารถทจ่ี ะทาการ
SPU CHONBURI 13
เรยี นและกลับมาทบทวนเน้ือหาในการเรยี นได้ตามทีต่ ้องการ ซงึ่ การพัฒนาส่ือการเรียนภาษาองั กฤษเรอื่ ง
การฟงั และการพดู น้ี ประกอบดว้ ย 2 ส่วน ดงั ต่อไปนี่
ส่วนท่ี 1 English Listening and Speaking
ประกอบดว้ ยเนื้อหาทงั้ หมด 8 บท ดงั น้ี
บทที่ 1 My name is Mike!
บทท่ี 2 May I introduce myself?
บทท่ี 3 What time is it?
บทที่ 4 How do you spend your free time?
บทท่ี 5 Let’s go to see a movie.
บทที่ 6 All about food.
บทที่ 7 How much is it?
บทท่ี 8 Let’s have some fun!
ส่วนที่ 2 2000-1204 English Listening and Speaking 2
ประกอบด้วยเน้ือหาทงั้ หมด 7 บท ดังนี้
บทท่ี 1 Describing people
บทท่ี 2 I have a fever
บทที่ 3 When I was young
บทที่ 4 Cooking is easy!
บทที่ 5 Could you please respect your neighbour?
บทท่ี 6 How can I get there ?
บทที่ 7 Do you agree or disagree?
ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั จากการทาโครงงาน
เป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ
เน้ือหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายข้ึนในระยะเวลาส้นั และสามารถช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดใน
เร่อื งนน้ั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและรวดเร็ว
แผนการดาเนนิ งาน(Gantt Chart)
14
การสื่อการสอนมลั ตมิ ีเดยี บริษัท วังอังษร จากัดเรม่ิ ดาเนนิ งานต้งั แต่ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ.
2561 โดยมีขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังภาพท่ี 3.1
SPU CHONBURI
SPU CHONBURI 15
SPU CHONBURI 16
ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน
ขั้นตอนการพัฒนาส่ือการเรียนภาษาอังกฤษเร่ืองการฟังและการพูด บริษทั วังอังษร จากัด
ผู้จดั ทาโครงงาน ซึ่งการสร้างส่ือการสอนทก่ี ลา่ วมาน้ี จะเห็นได้วา่ การจัดทาสื่อมลั ติมีเดีย น้เี ป็นเร่ืองที่
ง่ายมาก ๆ ซงึ่ หมายความวา่ ใคร ๆ ที่มคี วามร้ทู างคอมพวิ เตอรก์ ส็ ามารถจะสร้างสื่อมัลตมิ เี ดยี ได้ ในทน่ี ้ีจะ
กาหนดขน้ั ตอนการสร้างสื่อการสอน โดยละเอยี ด ทง้ั หมด 7 ข้นั ตอน ดังน่ี
1. ข้ันการเตรียม (Preparation) กาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ (Determine Goals
and Objectives) ต้องทราบวา่ ศกึ ษาในเรือ่ งใดและลักษณะใด เราจะต้องทราบพ้ืนฐานของผูเ้ รยี นทเี่ ป็น
กลมุ่ เป้าหมายเสียก่อน เพราะความร้พู ้ืนฐานของผ้เู รยี นมีอทิ ธิพลตอ่ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของการ
เรียน
รวบรวมข้อมลู (Collect Resources) หมายถึง การเตรียมพร้อมทางดา้ นของเอกสารสนเทศ
(Information) ทง้ั หมดที่เกย่ี วข้อง
เน้อื หา (Meterials) ไดแ้ ก่ ตารา หนังสอื เอกสารทางวชิ าการ หนังสอื อ้างอิง สไลด์ภาพต่าง ๆ
แบบสรา้ งสถานการณจ์ าลองการพัฒนาและออกแบบบทเรียน (Instructional Development) คอื หนังสือ
การออกแบบบทเรียน กระดาษวาดสตอร่บี อรด์ สอื่ สาหรบั การทากราฟกิ โปรแกรมประมวลผลคา เป็นต้น
สื่อในการนาเสนอบทเรียน (Instructional Development System) ไดแ้ ก่ การนาเอาคอมพวิ เตอรแ์ ละ
สอื่ ต่าง ๆ มาใชง้ านเรยี นรูเ้ นอ้ื หา (Learn Content) เช่น การสมั ภาษณ์ผู้เช่ยี วชาญ การอา่ นหนงั สือหรือ
เอกสารอ่นื ๆ ที่เกย่ี วกบั เนอ้ื หาบทเรียน ถ้าไมม่ ีการเรยี นรูเ้ นือ้ หาเสยี กอ่ นกไ็ ม่สามารถออกแบบบทเรียนที่
มีประสทิ ธิภาพได้สรา้ งความคดิ (Generate Ideas) คือ การระดมสมองน่ันเอง การระดมสมองหมายถงึ
การกระตนุ้ ให้เกดิ การใชค้ วามคดิ สร้างสรรคเ์ พ่ือให้ได้ข้อคิดเหน็ ตา่ งๆ เป็นจานวนมาก
2. ขัน้ ตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนเป็น
ขั้นตอนท่สี าคัญทส่ี ุดข้นั หน่ึงในการกาหนดวา่ บทเรียนวา่ จะออกมามีลกั ษณะใด ซึ่งมี 4 ข้ันตอน ดงั นี้
1. ทอนความคดิ (Elimination of Ideas)
2. วิเคราะห์งาน และแนวความคิด (Task and Concept Analysis)
3. ออกแบบบทเรียนขนั้ แรก (Preliminary Lesson Description)
4. ประเมินและแกไ้ ขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the Design)
5. ข้ันตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) เป็นการนาเสนอลาดับข้ันโครงสร้างของ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผังงานทาหน้าท่ีเสนอข้อมูลเก่ียวกับโปรแกรมเช่นอะไรจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนตอบ
คาถามผดิ หรอื เม่อื ไหรจ่ ะมกี ารจบบทเรยี น และการเขยี นผงั งานขน้ึ อย่กู ับประเภทของบทเรียนด้วย
17
4. ข้นั ตอนการสรา้ งสตอรี่บอร์ด (Create Storyboard) เป็นข้ันตอนการเตรยี มการนาเสนอ
ข้อความ ภาพ รวมท้ังส่ือในรูปแบบมัลติมีเดียต่าง ๆ ลงบนกระดาษเพ่ือให้การนาเสนอข้อความ และ
รูปแบบตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีเป็นไปอย่างเหมาะสมบนหนา้ จอคอมพิวเตอร์ตอ่ ไป
5. ขั้นตอนการสร้างและการเขียนโปรแกรม (Program Lesson) เป็นกระบวนการ
เปล่ยี นแปลงสตอรี่บอรด์ ให้กลายเปน็ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน สว่ นน้จี ะตอ้ งคานึงถึงฮาร์ดแวร์ ลักษณะและ
ประเภทของบทเรียนท่ีต้องการสร้าง โปรแกรมเมอร์และงบประมาณ
6. ขั้นตอนการประกอบเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials)
เอกสารประกอบบทเรียนอาจแบง่ ออกได้เป็น 4 ประเภท คือ คู่มือการใชข้ องผเู้ รียน ค่มู อื การใช้ของผู้สอน
คมู่ อื สาหรบั แก้ปัญหาเทคนคิ ตา่ ง ๆ และเอกสารประกอบเพิม่ เติมทว่ั ๆ ไป ผูเ้ รยี น และผูส้ อนย่อมมคี วาม
ตอ้ งการแตกต่างกัน คู่มือจึงไมเ่ หมือนกัน คู่มือการแก้ปัญหาก็จาเป็นหากการติดต้งั มีความสลับซบั ซ้อน
มาก
7. ขนั้ ตอนการประเมนิ ผลและแก้ไขบทเรยี น (Evaluate and Revise) บทเรยี น และเอกสาร
ประกอบท้งั หมดควรที่จะได้รับการประเมิน โดยเฉพาะการประเมินการทางานของบทเรียน ในสว่ นของ
การนาเสนอน้ันควรจะทาการประเมนิ ก็คอื ผู้ท่มี ีประสบการณ์ในการออกแบบมากอ่ นในการประเมนิ การ
ทางานของบทเรียนนั้น ผู้ออกแบบควรที่จะสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจากที่ได้ทาการเรียนจาก
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนน้ัน ๆ แล้วโดยผู้ที่เรียนจะต้องมาจากผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนนี้อาจจะ
ครอบคลมุ ถึงการทดสอบนารอ่ งการประเมนิ ผลจากผู้เช่ยี วชาญได้ ในการประเมนิ การทางานของบทเรยี น
น้ันผ้อู อกแบบควรท่จี ะสังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี นหลังจากทไ่ี ดท้ าการเรียน จากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนนั้
ๆ แล้ว โดยผู้ที่เรียนจะต้องมาจากผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย ข้นั ตอนนี้อาจจะครอบคลุมถงึ การทดสอบนา
รอ่ งการประเมินผลจากผูเ้ ชี่ยวชาญได้
SPU CHONBURI
18
แผนภาพสตอร่ีบอร์ด(Storyboard)
ขั้นตอนในการทาแผนภาพสตอรี่บอร์ด(Storyboard) ผู้จัดทาได้ทาการการออกแบบและ
พัฒนาส่ือการเรียนภาษาอังกฤษเร่ืองการฟังและการพูด ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 English
Listening and Speaking จานวน 8 บทเรียน และ ส่วนที่ 2 2000-1204 English Listening and
Speaking 2 จานวน 7 บทเรียน โดยมกี ารนาเสนอบทเรียนเปน็ มัลติมีเดียแบบสองมิติ(2D Animation)
โดยมีการสร้างการ์ตูน เป็นภาพเคลื่อนไหวท่าทางประกอบเนื้อหาในบทเรียน มีเสียงบรรยาย และ
ข้อความประกอบในเนื้อหาบทเรียนแต่ละบทเรียน ไปในลักษณะเดียวกันตามแผนภาพสตอร่ีบอร์ด
(Storyboard) ดังต่อไปน้ี
1. ขน้ั ตอนการออกแบบหน้าแรกของบทเรียน พร้อมกับการ์ตูนทีก่ ารเคลอื่ นไหวตามเนอื้ หา
ของบทเรยี น ดังภาพท่ี 3.1
ภาพที่ 3.1 แสดงหนา้ จอแรกของเนอ้ื หาบทเรียน
2. ขน้ั ตอนการออกแบบของหัวข้อเรอ่ื งในการทาสื่อการเรยี น แสดงดงั ภาพท่ี 3.2
SPU CHONBURI
19
SPU CHONBURIภาพที่ 3.2 แสดงหนา้ จอชือ่บทเรียน
3. ข้นั ตอนการออกแบบตัวละครท่ีใช้สาหรับการสนทนาในเน้ือหาบทเรียน พร้อมกับท่าทาง
ประกอบเน้อื บทเรียน โดยมเี สยี งและข้อความประกอบการบรรยายด้วย ดงั ภาพที่ 3.3
ภาพท่ี 3.3 แสดงหนา้ จอนาเสนอบทเรียน
4. ขั้นตอนการเปลยี่ นภาพตัวละคร ไปตามรปู แบบในเนื้อหาบทเรียน และเปลี่ยนท่าทางของ
ตวั ละครไปเรอื่ ยๆ เชน่ ลักษณะการพดู ทา่ ทางการนง่ั เพื่อเปลีย่ นการนาเสนอใหเ้ ป็นทนี่ า่ สนใจมากย่ิงข้ึน
ดงั ภาพที่ 3.4
20
ภาพที่ 3.4 แสดงหน้าจอการเปลยี่ นกิรยิ าท่าทางของตัวละครตามเนอ้ื หาบทเรียน
5. ข้ันตอนการออกแบบตัวละคร ให้สามารถแสดงสีหน้าและความรู้สึกของตัวละครตาม
เนอื้ หาบทเรียน ดังภาพที่ 3.5
ภาพที่ 3.5 แสดงหนา้ จอตวั ละครท่มี กี ารแสดงสหี นา้ และทา่ ทางตามเนอ้ื หาบทเรียน
ข้ันตอนการออกแบบตัวการต์ ูน
1. การออกแบบคาแรค็ เตอร์ โดยการวิเคราะห์คาแร็คเตอร์จากบทเรียนหรือจาก Concept
ข้นึ โครงรูปด้วยการวาดลายเสน้ แบบ ฟรีแฮนด์ โดยการหาแหล่งข้อมลู อ้างองิ ที่จะใช้เป็นฐานขอ้ มูลอา้ งอิง
ในการคิดออกแบบตวั ละครเพ่ือให้ตัวละครมคี วามสมบูรณ์มากท่ีสุด ใสท่ ่าทางใหก้ บั ตัวละคร หลังจากนั้น
คอื การพัฒนาจากตัวการ์ตูนที่อยูใ่ นหน้ากระดาษใหอ้ ยูใ่ นคอมพวิ เตอร์ด้วยการดราฟลายเสน้ ที่สาคัญตอ้ ง
คานึงวา่ ตัวละครท่ีทาขึ้นมันสูญเสียเอกลักษณ์และเสน่หจ์ ากต้นเค้าเดมิ หรือไม่หรือจากแหลง่ ท่ีมาหรือไม่
ดังภาพที่ 3.6
SPU CHONBURI
21
ภาพท่ี 3.6 แสดงการออกแบบตวั การต์ นู
2. การเขียนสคริปต(์ Script) เป็นขั้นตอนในการจับใจความสาคัญของเน้ือเร่อื งให้ออกมาใน
แต่หน้า ขั้นตอนน้ีเป็นการออกแบบและกาหนดลักษณะนิสัย บุคลิกบทบาทต่างๆและท่าทางการ
เคล่อื นไหว ให้กบั ตัวละคร ใหม้ ชี ีวิตเหมอื นจรงิ มกี ารเคลื่อนไหวได้จรงิ ถูกต้องตามธรรมชาตขิ องคน สัตว์
สิ่งของ ต่างๆ โดยอาศัยองค์ประกอบพ้ืนฐานของการออกแบบได้แก่ ขนาด ( Size ) รูปทรง ( Shape )
และสัดส่วน ( Proportion ) ดังภาพที่ 3.7
3. ขนาดของตัวแสดง (Character Size) นอกจากการออกแบบตัวละครแต่ละตัวแล้วการ
ตรวจขนาดของตัวแสดงมีส่วนสาคัญมากกับนักวาดภาพและแอนิเมเตอร์ในการเปรียบเทียบข นาดท่ี
แท้จริงเม่ือนามาจัดวางในแต่ละฉาก ขนาดของตัวตัวละครจะบ่งบอกถึงภาพที่ออกมาเมอื่ เทียบกับฉาก
และตัวละครแต่ละตัวว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ก่อนนาไปใช้งาน และสามารถดูสไตล์ของตัวละครว่า
เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั หรือไม่ ดงั ภาพท่ี 3.7
SPU CHONBURI
22
ภาพที่ 3.7 แสดงการออกแบบขนาดของตัวละคร
4. เตรียมตัวละคร (The Cast) หลังจากท่ีได้ออกแบบเรียบร้อยแล้ว ต้องขัดเกลา (Clean
up) หรือลอกเส้นหรือวาดใหม่ให้สวยงามพร้อมนาตัวการ์ตูนไปใช้ตอ่ ได้ การวาดภาพการต์ ูนควรเร่ิมต้น
จากโครงสร้างของภาพด้วยรูปทรงพื้นฐานต่างๆ เช่น สี่เหล่ียม, วงกลม, วงรี เป็นต้น และควรคานึงถึง
ขนาดและสัดสว่ นของรูปทรง เพือ่ ใหต้ ัวการ์ตนู ทีอ่ อกมาได้ภาพทไ่ี ดอ้ งค์ประกอบทีถ่ ูกต้อง ยกตวั อย่างภาพ
โครงสร้างของเตา่ ต่อไปนก้ี ็เกดิ จากการวาดดว้ ยรปู วงรี โดยท่ขี นาดของส่วนหัวจะดูใหญพ่ อๆ กบั ขนาดของ
ตวั สว่ นขาจะใหญ่กว่าส่วนแขนเพยี งเล็กนอ้ ย เม่อื เราเขา้ ใจ สดั ส่วนและขนาดของตัวการต์ นู แล้ว จะทาให้
เราสามารถออกแบบทา่ ทางของตวั การ์ตูนในลกั ษณะตา่ งๆ กนั ไดอ้ ยา่ งแม่นยาข้ึน
SPU CHONBURI
23
การสรา้ งเครือ่ งมอื ประเมนิ ความพึงพอใจ
ในการพัฒนาวีดโี อสื่อการสอน ผู้จัดทาได้มกี ารสรา้ งแบบประเมนิ การใช้งานของสื่อการสอน
เพ่ือใช้ในการประเมินประสิทธภิ าพการของส่ือการสอนโดยมขี ั้นตอนการสร้างเคร่ืองมีความพึงพอใจส่ือ
การสอนดงั นี้
1. การสรา้ งแบบประเมิน เรม่ิ จากการออกแบบ แบบประเมินโครงงาน และกาหนด หัวขอ้ ท่ี
จะประเมินผล
SPU CHONBURI
2. ตรวจสอบแบบประเมนิ โดยให้อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาตรวจสอบความถูกตอ้ ง และเสนอแนะ
3. ทาการปรบั ปรุงแบบประเมนิ ให้ถกู ต้องตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ทีป่ รกึ ษา
4. เก็บผลการประเมิน
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. สรปุ ผลการประเมนิ โดยมกี ารแบง่ เกณฑก์ ารให้คะแนนของแบบประเมนิ โครงงาน 5 ระดับ
ดังน้ี
ระดับ ค่าเฉลย่ี ความหมาย
1 1.00-1.50 นอ้ ย
2 1.51-2.50 พอใช้
3 2.51-3.50 ปานกลาง
4 3.51-4.50 ดี
5 4.51-5.00 ดีมาก ตาราง
ท่ี 3.1 แสดงตารางเกณฑ์การใหค้ ะแนนของแบบประเมินโครงงาน
การทดสอบและการประเมินระบบ
การทดสอบ
การทดสอบสอื่ การเรยี นภาษาองั กฤษเร่อื งการฟงั และการพดู ใชว้ ิธกี ารทดสอบดว้ ยตนเองและ
ผูเ้ ช่ยี วชาญ โดยทาการทดลองเรียน พรอ้ มกบั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งตามเนอื้ หาบทเรียน แต่ละบทเรียน
โดยผู้พัฒนาสื่อและผเู้ ชย่ี วชาญ
การประเมินผลระบบ
24
การประเมนิ ผลของส่อื การเรยี นภาษาอังกฤษเรือ่ งการฟงั และการพูด ทาโดยการใชแ้ บบ
ประเมนิ โครงงานท่ีไดส้ ร้างข้นึ โดยผปู้ ระเมนิ ผลคือผเู้ ชยี่ วชาญและผ้ใู ช้ระบบ จานวน 10 คน
สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการทดสอบ
สถิตทิ น่ี ามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู เป็นสถิติอยา่ งงา่ ย โดยนาผลการทดสอบทไี่ ดม้ าทาการหา
คา่ เฉลี่ย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ซงึ่ มวี ิธกี ารในการคานวณดังน้ี
1. ค่าเฉล่ยี (Mean) หรือเรยี กวา่ ค่ากลางเลขคณติ คา่ เฉลย่ี ค่ามัชฌมิ าเลขคณิต เป็นต้น
เมอ่ื แทน คา่ เฉลีย่
แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดของกลุ่ม
n แทน จานวนของคะแนนในกลมุ่
2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน็ การวัดการกระจายที่นิยมใชก้ นั มาก
เขียนแทนดว้ ย SD หรอื S
หรอื SD =
SD =
เมื่อ SD แทน คา่ เฉลยี่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน คา่ คะแนน
n แทน จานวนของคะแนนในแตล่ ะกลมุ่
แทน ผลรวม
SPU CHONBURI
SPU CHONBURI 23
บทท่ี 4
ผลการดาเนินโครงงาน
ผลการดาเนนิ งานของโครงงานสหกิจศกึ ษา บริษทั วงั อักษร จากดั ผ้ปู ฎิบัตงิ านรับมอบหมาย
ในการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเรื่องการฟังและการพูด ในรูปของสื่อมัลติมีเดียสองมิติ
(2D Animation) โดยมีการออกแบบเป็นอนิเมชั่น ให้มีการเคล่ือนไหว แสดงท่าทางประกอบกับการ
บรรยายเนื้อหา พร้อมทั้งมีข้อความประกอบการบรรยายเน้ือหาแต่ละบทเรียน ให้สอดคล้องกับเรื่องที่
นาเสนอ ประกอบด้วย 2 ส่วนคอื สว่ นท่ี 1 English Listening and Speaking จานวน 8 บทเรียน และ
สว่ นที่ 2 2000-1204 English Listening and Speaking 2 จานวน 7 บทเรยี น และหน้ารับผิดชอบด้าน
อืน่ ๆ โดยมีรายละเอียดในการ ดาเนนิ งานดงั ตอ่ ไปนี่
ผลการดาเนนิ โครงงาน
การพฒั นาส่ือการเรียนภาษาอังกฤษเร่ืองการฟงั และการพูด มีการแสดงผลพฒั นาสื่อการเรียน
ดงั น้ี
สว่ นที่ 1 English Listening and Speaking
1. บทที่ 1 My name is Mike!
2. บทท่ี 2 May I introduce myself?
3. บทที่ 3 What time is it?
4. บทที่ 4 How do you spend your free time?
5. บทที่ 5 Let’s go to see a movie.
6. บทท่ี 6 All about food.
7. บทท่ี 7 How much is it?
8. บทท่ี 8 Let’s have some fun!
ส่วนที่ 2 2000-1204 English Listening and Speaking 2
1. บทท่ี 1 Describing people
2. บทท่ี 2 I have a fever
3. บทท่ี 3 When I was young
4. บทที่ 4 Cooking is easy!
5. บทที่ 5 Could you please respect your neighbour?
24
6. บทท่ี 6 How can I get there ?
7. บทท่ี 7 Do you agree or disagree?
การพัฒนาส่ือการเรยี นภาษาอังกฤษเรื่องการฟังและการพูด ผู้จดั ทาไดพ้ ฒั นาเน้ือหาบทเรียน
ท้ังหมดในลักษณะเดียวกันทั้ง 2 ส่วน รวมทั้งหมด 15 บทเรียน โดยขอยกตัวอย่างบางบทเรียนตาม
หนา้ จอดังตอ่ ไปน้ี
ส่วนท่ี 1 English Listening and Speaking
บทท่ี 1 My name is Mike!
เปน็ บทเรยี นเก่ียวกบั การแนะนาตัว ซึง่ ได้มพี ฒั นาสอื่ การเรียนดังต่อไปน้ี
1. แสดงหนา้ แรกของการฃขึ้นบทเรียนท่ี 1 (Unit 1) เป็นลักษณะภาพน่ิงและเสยี งประกอบ
บอกว่าเปน็ บทเรียนที่ 1 ดงั ภาพที่ 4.1
ภาพท่ี 4.1 แสดงหน้าแรกของการข้นึ บทเรยี น
SPU CHONBURI
25
2. แสดงหน้าเนื้อหาบทเรยี น โดยในที่นี้คือการแนะนาตัว ซึ่งประกอบด้วยภาพพื้นหลงั และ
การ์ตูนประกอบ ดงั ภาพท่ี 4.2
ภาพท่ี 4.2 แสดงหนา้ เข้าสเู่ นื้อหาบทเรยี นแรกของการขึ้นบทเรยี น
3. แสดงหน้าเนื้อหาบทเรียน โดยในท่ีน้ีคอื เนื่อหาแบบภาพเคลื่อนไหวของตวั ละครภาพพื้น
หลังและการ์ตนู ประกอบ ดังภาพท่ี 4.3
ภาพท่ี 4.3 แสดงหนา้ เน้ือหาบทเรียนแรกของของภาพเคลอ่ื นไหว
SPU CHONBURI
26
4. แสดงหน้าเนอ้ื หาบทเรยี น โดยในที่นค้ี ือการเคลอื่ นไหวของตวั การ์ตนู และการโต้ตอบกลบั
ซงึ่ ประกอบด้วยภาพพื้นหลงั และการต์ ูนประกอบ ดงั ภาพที่ 4.4
ภาพที่ 4.4 แสดงหนา้ เขา้ สเู่ นอื้ บทเรยี นการเคลื่อนไหวของตวั การ์ตนู และการโตต้ อบกลบั
บทที่ 2 May I introduce myself?
เปน็ บทเรยี นเกย่ี วกับการแนะนาตวั ต่อคนอนื่ และการออกเสยี ง ซ่งึ ได้มีพฒั นาส่ือการเรยี น
ดงั ต่อไปน้ี
SPU CHONBURI
27
1. แสดงหน้าเนอ้ื หาบทเรียน โดยในท่นี คี้ อื การแนะนาตวั ตอ่ คนอื่นและการออกเสยี ง ซ่งึ
ประกอบดว้ ยภาพพื้นหลงั และการต์ ูนประกอบ ดงั ภาพที่ 4.5
ภาพที่ 4.5 แสดงหน้าเขา้ สเู่ น้ือหาบทเรียนแรกของการขึ้นบทเรยี น
2. แสดงหน้าเน้ือหาบทเรยี น โดยในที่นคี้ อื การออกเสยี งวา่ การออกเสียงไหนคอื อันทถ่ี ูก ซ่งึ
ประกอบดว้ ยภาพพนื้ หลงั และการ์ตนู ประกอบ ดังภาพที่ 4.6
ภาพที่ 4.6 แสดงหน้าเข้าสเู่ น้อื หาบทเรยี นแรกของการอา่ นออกเสียงทถ่ี ูกตอ้ ง
SPU CHONBURI
SPU CHONBURI 28
7. แสดงหน้าเนื้อหาไปยังข้อต่อไปโดยในที่นี้คือการอา่ นออกเสียง ซ่ึงประกอบด้วยภาพพื้น
หลังและตวั อักษรประกอบ ดังภาพท่ี 4.7
ภาพที่ 4.7 แสดงหน้าเขา้ ไปสูเ่ นอื้ หาของข้อถัดไปในการสอนออกเสยี ง
บทที่ 4 How do you spend your free time?
เป็นบทเรียนเกี่ยวกับคณุ ทาอะไรในเวลาว่าง ซึ่งได้มพี ัฒนาสอื่ การเรยี นดังตอ่ ไปน้ี
1. แสดงหน้าแรกของการขน้ึ หัวข้อหนวยในบทท่ี 4 เป็นลักษณะภาพน่ิงและเสียงประกอบ
บอกว่าเปน็ บทเรยี นท่ี 4 ดังภาพที่ 4.8
ภาพท่ี 4.8 แสดงหนา้ แรกของการขึน้ บทเรยี น
29
2. แสดงหน้าเนื้อหาของการอ่านออกเสียงของสิงของและมีตัวอักษรกากับไว้เป็นลักษณะ
ภาพนง่ิ และเสียงประกอบบอก ซึง่ ประกอบดว้ ยภาพพืน้ หลังและตวั อังษรประกอบ ดงั ภาพท่ี 4.9
ภาพท่ี 4.9 แสดงหน้าเนอ้ื ของภาพมีเสียงอ่านประกอบบทเรยี น
3. แสดงหน้าของการโต้ตอบของตัวการ์ตูน 2 ตัวเป็นลักษณะภาพเคล่ือนไหวและเสียง
สว่ นประกอบ ซง่ึ ประกอบดว้ ยภาพพ้นื หลังดงั ภาพที่ 4.10
ภาพที่ 4.10 แสดงหน้าเนอ้ื การโต้ตอบของการต์ นู เครอื นไหว 2 ตัวมีเสียงอา่ นประกอบ
SPU CHONBURI
SPU CHONBURI 30
4. แสดงหน้าของการพูดคุยในแบบท่านั้งการ์ตูน เป็นลักษณะภาพเคลื่อนไหวและเสียง
ประกอบบอกวา่ มีพ้นื หลังเป็นสวนประกอบ ซ่ึงประกอบดว้ ยภาพพื้นหลังดังภาพที่ 4.11
ภาพที่ 4.11 แสดงหนา้ ของทา่ นงั้ พดู คุยการสอนการออกเสยี ง
สว่ นที่ 2 2000-1204 English Listening and Speaking 2
บทท่ี 1 Describing people
เป็นบทเรียนเกี่ยวกบั การการบรรยายผคู้ น ซึง่ ได้มพี ัฒนาสอ่ื การเรียนการสอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. แสดงหนา้ เนื้อหาบทเรียน โดยในทนี่ ้คี ือการการบรรยาย ซงึ้ ประกอบดว้ ยภาพพน้ื หลัง
และการ์ตนู เคลอื่ นไหวประกอบ ดังภาพท4ี่ .12
ภาพท่ี 4.12 แสดงหน้าของการพูดแบบบรรยายมกี ารออกเสียง
31
2. แสดงหน้าเน้ือหาในบทเรียน โดยในที่นี้คือพูดคุยในเร่ืองทุกท่ีเกิดขึ้นโดยมีข้อความ ซ่ึง
ประกอบดว้ ยภาพพืน้ หลังและการ์ตูนประกอบ ดังภาพท่ี 4.13
SPU CHONBURI
ภาพท่ี 4.13 แสดงหนา้ ของการสทนาแบบมีขอ้ ความกากับและการอา่ นออกเสยี ง
ผลการวเิ คราะหแ์ บบประเมนิ
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ และแปรผลการประเมินความพึงพอใจของการพัฒนาส่ือการเรียน
ภาษาอังกฤษเรอ่ื งการฟงั และการพดู มี 1 ดา้ น คอื ความง่ายของสอื่ การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ โดยแสดง
ตารางดังตอ่ ไปน้ี
ตารางที่ 4.1 แสดงตารางผลวิเคราะห์แบบประเมินดา้ นความใชง้ านง่ายของสื่อการสอน (Usability Test)
รายการ X SD ความหมาย
สว่ นท่ี 1 English Listening and Speaking
บทที่ 1 My name is Mike! 4.10 0.30 ดี
บทที่ 2 May I introduce myself? 4.19 0.30 ดี
บทท่ี 3 What time is it? 3.80 0.75 ดี
บทท่ี 4 How do you spend your free time? 4.20 0.60 ดี
บทที่ 5 Let’s go to see a movie. 4.10 0.30 ดี
บทที่ 6 All about food. 3.90 0.54 ดี
32
บทท่ี 7 How much is it? 4.00 0.45 ดี
0.46 ดี
บทที่ 8 Let’s have some fun! 4.30
0.40 ดี
ส่วนท่ี 2 2000-1204 English Listening and Speaking 2
บทท่ี 1 Describing people 4.20
บทท่ี 2 I have a fever 4.00 0.63 ดี
SPU CHONBURIบทท่ี 3 When I was young 4.20 0.60 ดี
บทท่ี 4 Cooking is easy! 3.80 0.60 ดี
บทที่5 Couldyou please respect your neighbour? 3.90 0.54 ดี
บทท่ี 6 How can I get there ? 4.10 0.45 ดี
บทท่ี 7 Do you agree or disagree? 4.00 0.45 ดี
ตารางที่ 4.2 แสดงตารางผลวิเคราะหแ์ บบประเมนิ ดา้ นความใช้งานงา่ ยของสอื่ การสอน (Usability Test)
รายการ X SD ความหมาย
1. สอ่ื การเรียนสามารถเรียนรู้ไดง้ า่ ย 4.30 0.64 ดี
2. ความถูกต้องของเนือ้ หาบทเรยี น 4.70 0.46 ดี
3. ความสวยงามของสอ่ื การเรียนสามารถดงึ ดูดใจในการเรียนรู้ 4.50 0.64 ดี
4. ขอ้ ความกากับบทเรียนชัดเจน 4.50 0.89 ดี
5. เสียงการบรรยายและบทสนทนาของสอ่ื การเรยี นชัดเจน 4.59 0.50 ดีมาก
6. การใชส้ ีได้อย่างเหมาะสม 4.10 0.70 ดี
7. การออกแบบตัวการ์ตนู ไดเ้ หมาะสมกบั เนอื้ หาในบทเรยี น 3.80 0.60 ดี
8. ประสทิ ธภิ าพโดยรวม 4.20 0.60 ดี
คะแนนเฉลี่ยรวม 4.07 0.67 ดี
33
จากตารางท่ี 4.1 แสดงตารางสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ด้านความงา่ ยต่อการใช้งาน
ของส่ือการเรียนการสอน (Usability Test) ในภาพรวมอยู่ในระดับดี ซง่ึ มีคา่ เฉลีย่ (̅X) เท่ากับ 4.07 และ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) เทา่ กบั 0.67
สรุปผลการประเมินโครงงาน การพัฒนาส่ือการเรียนภาษาอังกฤษเรื่องการฟังและการพูด
จากการที่ให้อาจาร์และนักศึกษา ท่ีได้ทดลองใช้งานสื่อการเรียนภาษาอังกฤษเร่ืองการฟังได้ทดลองใช้
แล้วทาการประเมินระบบงานสามารถสรุปผลการทดสอบด้าน Usability Test ในการประเมินสื่อการ
เรยี นสามารถเรยี นร้ไู ด้งา่ ย โดยมคี ่าเฉล่ีย ( ̅ ) เท่ากับ 4.30 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) เท่ากบั 0.64 ซ่ึง
ผลการประเมินระบบในด้านนี้ถือไดว้ ่ามีประสิทธิภาพในการใช้งานอยู่ในระดับดี ความถูกต้องของเนื้อหา
บทเรยี น โดยมีคา่ เฉลย่ี ( ̅ ) เทา่ กับ 4.70สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ) เทา่ กับ 0.46 ซ่งึ ผลในการประเมินถือ
ไดว้ ่ามีประสิทธภิ าพในการทางานอยู่ในระดับดี ความสวยงามของส่ือการเรียนสามารถดงึ ดูดใจในการเรยี นรู้
โดยมีคา่ เฉลย่ี ( ̅ ) เท่ากับ 4.50 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( ) เทา่ กับ 0.64 ซึ่งผลในการประเมินถือได้ว่ามี
ประสิทธภิ าพในการทางานอยู่ในระดบั ดี ขอ้ ความกากับบทเรียนชัดเจน โดยค่าเฉลยี่ ( ̅ ) เทา่ กบั 4.50 สว่ น
เบ่ียงเบนมาตรฐาน ( ) เท่ากับ 0.89 ซึ่งผลในการประเมินถือได้ว่ามปี ระสิทธิภาพในการใชง้ านอยใู่ นระดบั ดี
เสยี งการบรรยายและบทสนทนาของสือ่ การเรยี นชัดเจนค่าเฉลยี่ ( ̅ ) เทา่ กับ 4.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
( ) เทา่ กบั 0.50 ซ่งึ ผลในการประเมนิ ถอื ได้ว่ามีประสทิ ธภิ าพการทางานอยู่ในระดบั ดมี าก การใช้สไี ดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม โดยมีคา่ เฉลีย่ (̅X) เทา่ กับ 4.10 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ( ) เทา่ กบั 0.70 ซ่งึ ผลในการประเมิน
ถือได้ว่ามีประสิทธิภาพการทางานอยู่ในระดับดีมาก การออกแบบตัวการ์ตูนได้เหมาะสมกับเนื้อหาใน
บทเรียน ค่าเฉล่ีย (X̅)เท่ากบั 3.80 และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( ) เท่ากับ 0.60 ซ่ึงผลในการประเมิน
แผนท่ีถือได้ว่ามีประสทิ ธภิ าพในการทางานอยู่ในระดับดี ประสทิ ธิภาพโดยรวม โดยค่าเฉลี่ย (̅X) เทา่ กับ 4.20
และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( ) เท่ากับ 0.60 ซง่ึ ผลในการพัฒนาสอ่ื การเรียนภาษาอังกฤษเรื่องการฟงั และ
การพูดถือไดว้ า่ มปี ระสิทธิภาพในการทางานอย่ใู นระดบั ดี
SPU CHONBURI
SPU CHONBURI บทท่ี 5
สรุปผลการศึกษา
สรุปผลการดาเนินโครงงาน
การจดั ทาโครงงานส่ือการเรียนภาษาอังกฤษเรอ่ื งการฟงั และการพูด มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ พัฒนา
ส่ือการเรียนการเร่อื งการฟงั และการพูดให้มีประสิทธภิ าพ และประเมินความพึงพอใจของผู้ใชส้ อื่ การเรยี น
ภาษาอังกฤษเร่ืองการฟังและการพูด โดยผู้จัดทาการทาการศึกษาขึ้นตอนการพัฒนาสื่อการเรียนใน
ลกั ษณะมัลติมเี ดียแบบสองมิติ (2D Animation) โดยมีการใช้โปรแกรม Adobe Flash CS6 การพัฒนา
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ English Listening and Speaking และ 2000-1204 English Listening and
Speaking 2 ซ่ึงสามารถเป็นสือ่ การเรยี นทมี่ ปี ระสิทธิภาพ พร้อมท้ังผูเ้ รียนสามารถทบทวนเน้อื หาในการ
เรียนได้ตามต้องการ
ผลการศกึ ษาและพฒั นาส่ือการเรยี นภาษาองั กฤษเร่ืองการฟังและการพูด พบวา่ การประเมนิ ความ
พงึ พอใจจากผู้ใช้สอ่ื การเรียน ด้านประสิทธิภาพและความถูกตอ้ งของสื่อการเรยี นตามเนอื้ หาแตล่ ะบทเรยี นอยู่
ในระบดับดแี ละส่วนของความสวยงามและความยากง่ายตอ่ การใช้งานอยู่ในระดับดี
ปญั หาและข้อเสนอแนะ
ปญั หา
1. การออกแบบตวั ละครนั้นคอ่ นข้างยาก และมีความหลากหลาย
2. การออกแบบและจดั ทา นน้ั ค่อนขา้ งยากต้องทาภาพขยบั แขน ขา การแสดงหน้าตาของตัว
ละครที่ต้องทาทลี ะเล็กทีละนอ้ ย และทาใหเ้ วลามากในการทาแต่ละตอน
3. การตดั ตอ่ นั้นมปี ญั หาต่อการทาให้เสียงตรงกบั ตัวละคร และตอ้ งใสข่ ้อความให้ตรงกับเสยี ง
ท่ีออกมา
4. ส่อื สามารถนาเสนอไดแ้ บบออฟไลนไ์ ดเ้ ทา่ นั้น
ขอ้ เสอนแนะ
1. ควรมีระบบที่สามารถนาส่ือการเรยี นภาษาอังฤษ เรอื่ งการฟังและการพดู ให้สามารถเรียน
ในรปู แบบออนไลนไ์ ด้
2. ควรมกี ารพตั นาสอ่ื การเรยี นใหม้ คี วามสามารถท่ีจะโต้ตอบผู้เรยี นได้
3. ควรมสี ่วนของการทดสอบความร้ผู ูเ้ รยี นได้
34
บรรณานกุ รม
SPU CHONBURI