The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aranpat, 2022-07-25 04:16:44

เก็บไว้เป็นความทรงจำ สุนทรี พัฒโนทัย

หนังสืออนุสรณ์

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สนุ ทรี พฒั โนทยั

ชาตะ 3 มกราคม พ.ศ. 2485

มรณะ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2565

สริ ิอายุรวม 80 ปี 6 เดอื น



เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 5

ประวัติ ผศ. สนุ ทรี พฒั โนทัย

การศึกษา
2495 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 : โรงเรยี นประชาบาล
2500 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 : โรงเรยี นสตรีศรีน่าน
2501 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 : โรงเรียนเซน็ โยเซฟคอนแวนต์
2503 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย : โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา
2508 ปรญิ ญาตรี : กสิกรรมและสัตวบาลบณั ฑติ (กส.บ.),

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
2515 ปรญิ ญาโท : M.S. (Plant Pathology),

Iowa State University, USA

เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 6

การงานท่ีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2509 อาจารย์ชน้ั ตรี อันดับ 2
2509 อาจารยช์ นั้ โท อนั ดบั 1
2511-2515 ลาไปศกึ ษาต่อ ณ สหรฐั อเมริกา ด้วยทุนส่วนตัว
2515 อาจารยช์ นั้ โท อันดบั 2
2525 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ระดบั 6
2526-2529 หัวหนา้ ภาควิชากีฏวทิ ยาและโรคพชื
2527 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ระดับ 7
2528-2544 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดบั 8
2544 เกษยี ณอายรุ าชการกอ่ นกาหนด

เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์

2517 จัตุรถาภรณช์ ้างเผอื ก
2520 ตรติ าภรณ์มงกุฎไทย
2524 ตริตราภรณช์ ้างเผอื ก
2528 ทวีติยาภรณม์ งกุฎไทย
2532 ทวตี รยิ าภรณช์ ้างเผือก
2533 เหรยี ญจกั รพรรดิมาลา

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 7

ประวัติครอบครัว

ผศ. สนุ ทรี (จามิกรานนท)์ พัฒโนทัย เกิดเมื่อวันที่ 3
มกราคม พ.ศ. 2485 ทีต่ าบลกลางเวยี ง อาเภอเวยี งสา จงั หวัดนา่ น
บดิ าชือ่ นายเฮียโหงว แซ่เลา้ มารดาชอื่ นางกิมฮวย แซเ่ ลา้ มพี ่ีนอ้ ง
ร่วมบดิ า-มารดารวม 10 คน คือ

1. นางส่งศรี จามกิ รานนท์ ถึงแกก่ รรม
2. นายบญุ ทรวง จามกิ รานนท์ ถึงแก่กรรม
3. นายบญุ เคยี้ ง จามกิ รานนท์ ประกอบธุรกจิ ส่วนตัวท่ี

ประเทศฮ่องกง
4. นางสนุ ทรี พฒั โนทัย (ผวู้ ายชนม)์
5. นางสุรีย์พร ภาณุสัณห์ ขา้ ราชการบานาญ
6. นายปรีชา จามิกรานนท์ ประกอบธรุ กจิ สว่ นตวั
7. นางเสาวนีย์ นกยูงทอง ข้าราชการบานาญ
8. นายฉตั รชัย จามกิ รานนท์ ถึงแก่กรรม
9. นายสาธติ จามกิ รานนท์ เกษียณอายุ
10. นางสาวมยุรี จามิกรานนท์ อธิบดผี ู้พิพากษาภาค 6

ผศ.สนุ ทรี พฒั โนทยั ได้สมรสกับ ศ.ดร.อารนั ต์ พฒั โนทยั
(อดตี คณบดี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น) เมื่อวันท่ี
27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 มีบตุ ร 1 คน คือ

เก็บไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 8

นายเชษฐ พฒั โนทยั (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควิชาวศิ ว-
กรรมคอมพวิ เตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
สมรสกบั นางกิดาการ พฒั โนทัย (จนั ทรพ์ วง) ผูอ้ านวยการฝา่ ย
พิจารณารับประกนั บริษัทอลิอันซอ์ ยธุ ยาประกันชวี ติ มีธิดา 2 คน
คอื

1. นางสาวณชิ า พฒั โนทัย พนักงานบรษิ ัทเอกชน
2. นางสาวนภสั พัฒโนทยั นสิ ติ ปที ี่ 3 คณะวิศวกรรม
ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

-----------------------------

อาจารย์สุนทรี พัฒโนทยั บ้านเกิดอยู่อาเภอเวียงสา จังหวัด
นา่ น เรียนชั้นประถมศกึ ษา และช้ันมัธยมศกึ ษาท่จี งั หวัดนา่ น จนจบ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จึงเขา้ มาเรยี นตอ่ ท่ีกรุงเทพฯ โดยเข้าเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ท่โี รงเรยี นเซน็ โยเซฟคอนแวนต์ และเรียนต่อช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 7 และ 8 (ตามระบบการศึกษาสมยั นัน้ ) ทโ่ี รงเรยี น
เตรยี มอุดมศกึ ษา เป็นนกั เรยี นเตรียมฯร่นุ ท่ี 21 (ต.อ. 21) หลังจาก
นั้นไดเ้ ขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดับปรญิ ญาตรี ทมี่ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ในช่วงปี พ.ศ. 2503-2508 จบการศกึ ษาทางด้านโรคพืช เป็นบัณฑิต
รุ่นท่ี 20 ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (KU 20)

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทัย 9

เมือ่ จบปรญิ ญาตรใี นปี พ.ศ. 2508 ได้เขา้ ทางานทีโ่ ครงการ
จดั ตง้ั มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (ช่ือในโครงการจดั ต้ัง
ของมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น) ซ่งึ ในขณะนน้ั สงั กัดสภาการศึกษา
แหง่ ชาติ เม่อื มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ได้รับการจัดตั้งเปน็ ทางการในปี
พ.ศ. 2509 จึงได้โอนย้ายมาเปน็ อาจารย์ สังกดั คณะเกษตรศาสตร์
ของมหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ขณะน้นั มเี พียงคณะเกษตรศาสตร์
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ และคณะวทิ ยาศาสตร์ โดยมีการรบั นักศกึ ษา
เฉพาะ 2 คณะแรก ส่วนคณะวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นคณะบริการสอนวชิ า
พื้นฐานให้แกน่ ักศึกษาทัง้ สองคณะ) อาจารย์สุนทรี สอนนักศึกษา
คณะเกษตรศาสตร์ มข. มาตั้งแตร่ ุ่นท่ี 1 ร่วมในการก่อตง้ั ภาควชิ า
อารกั ขาพชื หนง่ึ ในห้าภาควชิ าของคณะเกษตรศาสตร์ในสมยั นน้ั
นบั เป็นอาจารย์รนุ่ บกุ เบกิ ของ มข. โดยแท้

ในปลายปี พ.ศ. 2509 อาจารย์สุนทรี ไดเ้ ข้าพธิ มี งคลสมรส
กบั อาจารย์อารันต์ พัฒโนทัย ซ่ึงเป็นเพื่อนรุ่นเดยี วกนั ทงั้ ทโี่ รงเรียน
เตรยี มอดุ มศึกษา และทมี่ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ คบหากันมา
ตง้ั แต่เปน็ นิสิตมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และมาเป็นอาจารย์ มข.
ดว้ ยกนั เม่อื จบปริญญาตรี นบั เป็นคแู่ ตง่ งานคู่แรกของอาจารย์ มข.

ในปลายปี พ.ศ. 2510 อาจารยอ์ ารันตไ์ ดเ้ ดนิ ทางไปศึกษา
ต่อท่ี Iowa State University สหรฐั อเมริกา โดยทุนรฐั บาลไทย
ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2511 อาจารยส์ ุนทรีจงึ ไดล้ าตามไปศึกษาต่อที่

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 10

เดยี วกนั โดยทนุ สว่ นตวั ทัง้ คูก่ ลบั มาประจาทางานที่ มข. ในปี 2515
โดยอาจารยอ์ ารนั ต์จบปริญญาเอกด้านการปรบั ปรงุ พนั ธุพ์ ืช สว่ น
อาจารยส์ นุ ทรจี บปรญิ ญาโทด้านโรคพชื ทง้ั คู่ประจาทางานท่ี มข.
จนเกษียณอายุ โดยอาจารย์สุนทรเี กษียณอายุ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อน
กาหนด 1 ปี

ตลอดระยะเวลา 35 ปที ่เี ป็นอาจารย์ อาจารยส์ นุ ทรไี ด้ทา
หน้าที่ทรี่ ับผดิ ชอบอย่างเต็มความสามารถ ทัง้ ในด้านการสอน และ
การบริหารภาควิชาฯในช่วงที่ได้รับมอบหมาย ในหนังสือโรคพืช
มข. ปรทิ รรศน์ ทภี่ าควิชาโรคพชื ได้จัดทาขึ้นเพื่อแสดงมุทิตาจิตตอ่
อาจารย์สุนทรีในวาระท่เี กษียณอายุราชการ ในคานาได้กล่าวถงึ
อาจารย์สุนทรไี วว้ ่า “อาจารย์สนุ ทรเี ปน็ อาจารยส์ อนทางดา้ นโรค
พืชมาตั้งแต่ยังเปน็ ภาควิชาอารักขาพืช ซ่ึงเป็นหน่ึงในห้า
ภาควิชาหลกั ของคณะเกษตรศาสตร์ในยุคแรก อาจารย์สุนทรี
เปน็ อาจารย์ของอาจารยใ์ นภาควชิ าโรคพชื วทิ ยาหลายคน เป็น
พ่ี ๆ ของอาจารย์ทีเ่ หลืออยู่ (ในเวลาน้ัน) และทสี่ าคัญ เปน็ เพ่อื น
ร่วมงานท่ที กุ คนในภาควชิ าให้ความเคารพอย่างสูง รวมทั้งเปน็ ท่ี
ปรึกษาทช่ี าวโรคพชื วทิ ยาใช้บริการอยูเ่ ป็นประจา เป็นอาจารยท่ี
ใจดี รกั และหวังดีต่อลกู ศิษยต์ ลอดมา จนได้รบั การเขยบิ ฐานะ
เปน็ อาจารย์แม่ของลูกศษิ ย์”

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 11

หลงั จากเกษยี ณอายรุ าชการแล้ว อาจารยส์ นุ ทรีก็ยังพานกั
อย่ทู ข่ี อนแกน่ ยงั พบปะกับอาจารยแ์ ละลูกศิษย์ท่คี ้นุ เคยอยู่เสมอ
และมักจะติดตามอาจารยอ์ ารันต์ในการไปปฏิบตั ิงานในที่ตา่ ง ๆ ทา
หน้าทเี่ ป็นผู้สนับสนุนในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีไม่ใชเ่ ป็นเร่อื งวิชาการ
โดยเฉพาะในชว่ งทอ่ี าจารย์อารนั ต์ ดาเนินการโครงการสนบั สนนุ
การเข้าสตู่ าแหน่งศาสตราจารย์ ของ มข. ดว้ ยเหตทุ เี่ ปน็ คนใจดี รา่
เรงิ โอบอ้อมอารี เข้าได้กับทกุ คน จงึ เป็นท่ีรักและเคารพของสมาชกิ
ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ และผู้ทเี่ กีย่ วข้อง คาไว้อาลัยจากผู้ร่วมงาน ลูก
ศษิ ย์ และมิตรสหาย ทอี่ ยู่ในหนังสอื เล่มน้ี คงจะสะท้อนถึงตวั ตนท่ี
แทจ้ ริงของอาจารย์สนุ ทรีได้เป็นอยา่ งดี

การเจ็บปว่ ยของอาจารย์สนุ ทรี
อาจารย์สนุ ทรีปว่ ยไดเ้ ข้านอนทโ่ี รงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ เม่ือ

วันท่ี 30 พฤษภาคม 2565 ดว้ ยอาการไขข้ ้ึนสงู หลังจากเข้าฉดี ยา
รกั ษาโรคเซลล์ไขกระดูกไม่ทางาน ในการสรา้ งเม็ดเลอื ดขาว เม็ด
เลือดแดง และเกล็ดเลือด โรคนม้ี ชี ่อื ว่าโรคเอ็มดีเอส (MDS) หรอื ชื่อ
เต็ม ๆ วา่ Myelodysplastic Syndrome (ไมอโี ลดสิ พลาสติก ซนิ
โดรม) ซึ่งเปน็ กลุ่มโรคซึ่งเกดิ จากความผิดปกติของไขกระดูกในการ
สรา้ งเมด็ เลอื ด อาจารยส์ นุ ทรีตรวจพบวา่ เป็นโรคนี้ต้งั แต่ปี 2559
และไดร้ บั การรักษาโดยแพทย์ผูเ้ ชย่ี วชาญ (ผศ.พญ. กาญจนา จันทร์
สูง) โดยการฉดี ยากระตุน้ การสรา้ งเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 12

ซ่ึงก็ตอบสนองดีมาตลอด จนเมื่อต้นปี 2565 เกล็ดเลือดต่าลงมาก
แม้จะได้รับเกลด็ เลือดเป็นระยะ ๆ และเม็ดเลอื ดขาวก็ต่า จึงเห็น
ชอบตามข้อเสนอแนะของแพทย์ ในการเปลีย่ นวิธีการรักษามาเป็น
การฉดี ยาชนิดใหม่ ทจี่ ะไปเปลยี่ นสภาพแวดล้อมในเซลล์ไขกระดูก
ให้เซลล์ทางานในการสรา้ งเม็ดเลอื ดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ด
เลอื ดได้ วธิ ีนีต้ อ้ งใชเ้ วลา 4-6 เดอื นจึงจะรู้ผลว่าตอบสนองหรือไม่
ระหว่างน้ีก็ให้หยุดยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือด และต้องไปรับเลอื ด
และเกล็ดเลือดเปน็ ระยะ ๆ เพราะเมด็ เลือดจะต่า โดยเฉพาะเมด็
เลอื ดขาว ซ่ึงจะทาให้ภูมิคมุ้ กันตา่

เมอื่ วันที่ 30 พ.ค. หลงั จากไดร้ บั การฉีดยาโรคเลือดชนิด
ใหมเ่ ขม็ แรกของเดือนที่สาม ปรากฏวา่ มีไข้ขึ้นสงู แพทย์ผู้ให้การ
รกั ษาจึงสัง่ ให้ admit เขา้ นอนโรงพยาบาลทันที เพราะกลัววา่ จะตดิ
เชอ้ื ในกระแสเลอื ดจากการที่ภูมิคุ้มกันต่า ในระยะแรกตรวจไมพ่ บ
การตดิ เชอื้ แต่กม็ ไี ขอ้ ยู่ตลอด แตร่ ะยะต่อมาพบวา่ มีการติดเช้อื
แบคทเี รียชนิดดื้อยาในกระแสเลือด ประกอบกบั อาจารย์สุนทรมี ี
ภมู ิคุ้มกนั ตา่ และเชื้อโรคเป็นชนดิ ดอื้ ยามาก ๆ แมจ้ ะได้รับการ
รักษาและดแู ลอย่างใกลช้ ดิ จากคณะแพทย์ผู้รักษา แต่กไ็ ม่สามารถ
ระงบั ยบั ยั้งการแพรก่ ระจายของเชอื้ โรคได้ ในช่วงสุดท้ายอาการ
ทรดุ หนกั ลง ในท่สี ุดอาจารยส์ ุนทรกี จ็ ากไปอย่างสงบ ในเชา้ วนั
อาทติ ย์ท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 สิรอิ ายรุ วม 80 ปี 6 เดือน

เกบ็ ไวเ้ ป็นความทรงจา สุนทรี พัฒโนทยั 13

อำลำ...อำลยั

เกบ็ ไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 14

เก็บไวเ้ ปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 15

อำลยั แม่

ขอใหแ้ มน่ อนหลบั สบาย ไมต่ อ้ งเจ็บปวดอีกแลว้ นะครบั

แม่คอยดแู ลเชษฐอยู่เสมอตั้งแต่เด็กจนโต สมัยเรยี นอยชู่ น้ั
ประถม แม่จะคอยไปรบั ไปสง่ ที่โรงเรียน โดยเวยี นกนั กับเพื่อน ๆ คน
ละวัน คอยทาอาหารให้กินทุก ๆ วัน

แม่ชอบทาขนมเค้ก และเชษฐก็ชอบกินขนมเค้กฝีมือแม่
ทสี่ ดุ ไม่ว่าจะเป็น chocolate cake, fruit cake และพายมะมว่ ง ที่
หาทานทไี่ หนไม่ได้อีกแล้วในโลกนี้ อร่อยทีส่ ุด ตอนหลงั ที่แม่เร่ิมไม่
ค่อยแขง็ แรง กเ็ ลยไม่ได้ทาขนมพวกนี้อกี

วันนไ้ี ม่มีแม่แลว้ แตแ่ ม่จะอยู่ในความทรงจาและความ
คิดถงึ ของเชษฐเสมอ

เชษฐ

เกบ็ ไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 16
คณุ ยำ่ สนุ ของหลำน

ตอนหนสู องคนเปน็ เด็ก ทกุ ครง้ั ท่มี าขอนแก่นหรือคุณย่าไป
หาทก่ี รุงเทพฯ พวกเราสองคนจะไปปูผา้ นอนกับคุณยา่ ในหอ้ ง ทุก ๆ
คนื คุณยา่ จะเล่าเร่ืองตอนเดก็ ๆ ของคณุ ยา่ ของพอ่ และของหนสู อง
คนใหฟ้ งั เรอื่ งทีค่ ุณย่าเลา่ จะเป็นเรอ่ื งเดมิ ๆ จนพวกเราจาขน้ึ ใจ
และเลา่ ได้ ทุก ๆ ปดิ เทอมใหญ่ตอนประถม เราจะมาขอนแกน่ อยู่
กบั คุณปู่ คณุ ยา่ คุณย่าชอบบอกว่าดีทห่ี ลาน ๆ มา คุณปู่จะได้มี
เพือ่ นกนิ พิซซา่ ช่วงที่มาเรียนซมั เมอรท์ ี่สาธิต มข. คณุ ปูจ่ ะไปส่ง
ตอนเชา้ ทุกวนั พอตอนบา่ ยคุณย่าจะไปรบั ทโ่ี รงเรียน และเตรยี ม
กระติกใส่เป๊ปซหี่ รือนา้ แดงมะนาวไปใหพ้ วกหนู และคุณย่ากจ็ ะต่ืน

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 17

เช้ามาเตรยี มอาหารให้ไปกินท่ีโรงเรียนตอนกลางวนั ดว้ ย เพราะคณุ
ยา่ รู้วา่ พี่หวานเปน็ เด็กกนิ ยาก

คุณยา่ ชอบทาขนมและทาอร่อยมาก ทาให้เราสองคนชอบ
ทาขนมไปด้วย คุณย่าชอบกินเคก้ ช็อกโกแลตหนา้ นิ่มทีพ่ วกเราสอง
คนทา ทกุ ครงั้ ที่คุณย่าไปกรุงเทพฯ ก็จะขอให้พวกเราทาให้ และเอา
ไปใหเ้ พ่ือน ๆ ของคุณยา่ ชิม ถงึ แม้วา่ ต่อจากนจ้ี ะไมไ่ ด้ทาขนมให้
คณุ ย่าแลว้ แต่คุณยา่ ก็จะอย่ใู นความทรงจาของพวกเราตลอดไป
หนูสัญญาวา่ จะดแู ลคุณป่แู ทนคุณย่า ขอให้คณุ ยา่ หลบั ใหส้ บายนะ
คะ

รักและเคารพคุณยา่ ตลอดไปค่ะ
น้าหวาน – นา้ มนต์

เกบ็ ไว้เปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทยั 18

แดพ่ ี่สนุ (อ.สนุ ทรี พฒั โนทยั ) ที่เคำรพ รกั

ผมไดเ้ หน็ พี่สุนเป็นคร้งั แรกเมื่อปี พ.ศ. 2506 ขณะทผ่ี ม
เรียนอยปู่ ี 2 และพสี่ ุนอยปู่ ี 3 ที่มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน
และรูจ้ กั พ่สี ุนมากขน้ึ ในปี พ.ศ. 2508 เมื่อพ่ีสนุ เปน็ แฟนของพร่ี นั ต์
(ดร. อารนั ต์ พัฒโนทัย) รนุ่ พ่ีในภาควชิ าพชื ไร่-นา คณะเกษตร มก.
ที่ผมเคารพนบั ถืออย่างสงู และสนิทกบั พี่รันต์และพส่ี ุนอยา่ งมาก
ในช่วง พ.ศ. 2513-2515 เมือ่ เราเรยี นอยู่ดว้ ยกันที่ Iowa State U.
และมบี า้ นพักอยทู่ ่ี Pammel Court เมือง Ames, Iowa เหมือนกัน

ในชว่ งท่ศี กึ ษาอยู่ท่ี USA และกลับมารบั ราชการท่ีคณะ
เกษตรศาสตร์ ม.ขอนแก่น (ปี พ.ศ. 2513-2547) ดร.อารนั ตไ์ ด้
ชว่ ยเหลือและสนับสนุนการทางานของผมมาโดยตลอด ทาใหผ้ ม

เก็บไว้เป็นความทรงจา สุนทรี พัฒโนทยั 19

สามารถก้าวเดินตามหลังท่านมาเกือบทกุ ระดับ แต่ทีส่ าคัญอยา่ งยิง่
อ.สนุ ทรีภรรยาดร.อารนั ต์ เป็นผู้ทใ่ี ห้ความเมตตาและช่วยเหลอื ผม
และภรรยา (ดร.บุปผา โตภาคงาม) ในการดารงชวี ติ อยู่ในต่าง
ประเทศและในขอนแก่นได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งใหค้ วาม
เมตตาแก่ลกู ชาย ลูกสะใภ้ และหลานชายของผม ท่ีมโี อกาสไป
ทางานและเรยี นหนงั สือในระยะสน้ั ๆ ที่มลรฐั Hawaii, USA

อ.สนุ ทรีที่ผมรจู้ กั เปน็ คนสวย เข้มแข็ง ร่าเริง สนกุ สนาน
และดูแลครอบครวั เป็นอยา่ งดีมาไม่น้อยกวา่ 45 ปี ผมได้รับทราบ
ความไมส่ บายของพสี่ ุนมาตงั้ แต่ปี 2563-2564 แตไ่ ด้พบเจอ พดู คยุ
กบั พี่สุนครั้งสดุ ท้ายในปลายเดอื นเมษายน 2565 และได้รับทราบ
อาการปว่ ยที่น่าเป็นห่วงอยา่ งมากของพส่ี ุน ก่อนท่ีจะเข้ารบั การ
รกั ษาข้ันสุดท้ายในโรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ในเดือนมิถุนายน และก็
มาถงึ วนั ท่ีพวกเราเสียใจและอาลัยอยา่ สดุ ซ้งึ กับการจากไปของพี่
สุน เมื่อต้นเดอื นกรกฎาคม 2565 ผมขออนญุ าตต้ังจิตอธิษฐาน
ขอใหด้ วงวิญญาณของพ่สี นุ ล่องลอยไปสสู่ คุ ติภพ ภพภมู ิอนั สูงส่ง
ดงั ความดที ่ีพ่สี นุ ได้กระทามาตลอดชวี ิต เทอญ

รองศาสตราจารย์ ดร. เอนก โตภาคงาม
ศาสตราจารย์ ดร. บุปผา โตภาคงาม
และครอบครัวโตภาคงามทัง้ 6 คน

เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 20

อาลยั พ่ีสนุ ทรี

ผมไดร้ บั ทราบการปว่ ยหนักของพีส่ ุนทรี ว่าไดม้ าถึงขนั้
สดุ ท้ายแล้วดว้ ยความตกใจ และรู้สึกใจหายท่จี ะต้องสญู เสียร่นุ พ่ที ี่
เคารพรักและสนิทสนมมาเป็นเวลานานคนหนึง่ ไป

ผมไปคนุ้ เคยกบั พ่สี ุนทรีและพ่ีอารนั ต์ท่ี Iowa State U.
เมอ่ื ผมได้รับทุนรัฐบาลไทย ไปเรยี นต่อทางดา้ นปรบั ปรุงพันธ์ุพชื ท้ัง
ปรญิ ญาโทและเอก ในชว่ งปี 2513–2517 ซ่ึงในช่วงเวลานน้ั มรี ่นุ พ่ี
ทแ่ี ต่งงานแลว้ ไปเรยี นต่อทางด้านเกษตรด้วยกนั หลายคู่ และได้
อาศัยอยูบ่ ้านพกั ของมหาวิทยาลัยฯ ทส่ี ามารถทาอาหารและปลกู
ผกั กนิ ได้ และเนื่องจากผมเป็นคนโสด จงึ ได้อาศัยกินอาหารไทย
ฝมี อื รุ่นพห่ี ลายครอบครัว ท่ผี ลัดกนั เลย้ี งบอ่ ย ๆ และได้มโี อกาสทา
กจิ กรรมร่วมกันเสมอ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในชว่ งเวลาหลังการสอบ
ไล่ในแต่ละเทอม เช่น การไปปคิ นคิ ตามสวนสาธารณะ ไปช้อปปง้ิ
ในช่วงทม่ี ีสินค้าลดราคา ไปตกปลาตามแหลง่ ตา่ ง ๆ โดยเตรยี ม
อาหารไปด้วย ไปฟังเพลงจากแผน่ เสียงทบี่ างครอบครวั เพ่ิงสั่งซอ้ื ได้
เพ่ือจะได้ซอ้ื ตาม ไปแข่งโบว์ลิ่งเพอื่ หาเจา้ มือเลยี้ ง ฯลฯ นบั ไดว้ ่าเป็น
ช่วงเวลาทน่ี กั เรยี นไทยมีความสุขกันมาก

เกบ็ ไวเ้ ปน็ ความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 21

เม่ือผมกลบั มาเมืองไทย ตอ้ งไปทางานใชท้ นุ ที่กองการข้าว
กรมวิชาการเกษตร ซ่ึงอยู่ในกรงุ เทพฯ ส่วนพ่ีสนุ ทรีและพ่ีอารนั ต์
เปน็ อาจารยท์ ่ีมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ จงึ ไม่ค่อยมีโอกาสพบกันบอ่ ย
นกั อย่างไรก็ตาม เมอื่ ผมลาออกจากราชการไปทางานด้านธรุ กจิ
เมล็ดพันธุ์ ใหก้ บั บริษัทเอกชนตา่ งชาติจนเกษียณอายุ แลว้ ไดร้ บั
เชิญให้เป็นคณะกรรมการชุดตา่ ง ๆ ของหน่วยงานภาครัฐท่ีใหท้ ุน
สาหรบั โครงการวจิ ัยและพฒั นาดา้ นการเกษตร เชน่ สกว. สวทช.
สวก. สวทน. ฯลฯ รวมท้งั ของศูนยว์ จิ ยั ปรบั ปรุงพันธพุ์ ืชเพ่ือ
การเกษตรทีย่ ่ังยืน คณะเกษตรศาสตร์ มข. ผมจงึ ได้มโี อกาสพบกับ
พ่ีสุนทรบี ่อยขนึ้ จากการเดินทางไปประชุมและติดตามการดาเนนิ -
งานของโครงการวจิ ยั ท่จี ังหวัดขอนแก่น และ ในที่อนื่ ๆ ที่พส่ี นุ ทรี
มักจะเดินทางไปกับพ่ีอารนั ต์เสมอ เม่ือพบกนั ก็หนีไม่พน้ ทจ่ี ะเล่า
เรื่องเก่าๆ สมัยทยี่ งั อยู่ที่ Iowa

เมือ่ ผมได้ทราบว่าพี่สนุ ทรเี รมิ่ ไมส่ บาย ผมก็ไดแ้ วะไปเยีย่ ม
ท่บี ้านที่ขอนแกน่ บา้ งแล้วแตโ่ อกาส แตก่ ็คอยสอบถามอาการของพี่
สุนทรีจากพี่อารันต์ และจากอาจารยข์ อง มข. ทใี่ กล้ชดิ อยูเ่ สมอ
พร้อมกบั ฝากขนมไปให้ และคดิ วา่ คงจะไม่เปน็ อะไรมากนัก เพราะ
อยูภ่ ายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของพ่ีอารนั ต์ และคณาจารย์แพทย์
ของ มข. อยแู่ ลว้ ผมไม่คาดคิดวา่ พ่ีสุนทรีจะจากไปเร็วเช่นน้ี

ขอให้พีส่ ุนทรีหลบั สบาย และขอใหด้ วงวญิ ญาณของพ่ี ไปสู่
สขุ คตแิ ละภมู ิภพทด่ี ีตลอดไป

ดว้ ยความเคารพรักและอาลยั

เกรียงศักด์ิ – สายใจ สรุ รณธราดล

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 22

Some memories of Ajaan Soontree

I can no longer remember when Aj. Soontree and I first
met but it must have been in the early 1980s. At that time, I was
a frequent visitor to the KKU Farming Systems Project and was
involved in a number of research activities with her husband,
Aj. Aran. Over the subsequent 40 years we became good
friends, sharing stories about our children and grandchildren
with each other whenever we met. In 1998, Soontree and Aran
were our sponsors at Patma’s and my wedding party in Khon
Kaen. Soontree was delighted that we had decided to get
married, and I will always remember the gentle reprimand she
gave me when we first informed her that we were getting
married. She looked at me with a sparkle in her eyes and said:
“Terry, what took you so long?”

After Aran and Soontree moved into their new house
in Siriporn Village, their former campus house was assigned to
Patma for us to live in. Soontree was pleased that we would
occupy what she referred to as the “Happy-hearted House”
where she had raised her own family. With her blessing our own
long stay there has also been a happy one.

เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สุนทรี พัฒโนทยั 23

In the years when Aran was running the program to
bring KKU faculty to the East-West Center in Hawaii to write
papers needed for promotion to full professor, I always looked
forward to his and Soontree’s arrival in Honolulu, where I
stayed in my own house there for several months each year.
Each year when they first arrived, I would pick them up from
their apartment in Lincoln Hall on the University of Hawaii
campus and drive them to the nearest Safeway supermarket to
do their initial shopping. Soontree was always so happy to be in
Hawaii that it made me, a somewhat jaded long-time resident,
see it again through her eyes as a truly special place. I hope
those memories of happy times in Hawaii gave her solace
during her long illness.

I last saw Soontree a few weeks ago when Patma and I
were walking our dog Nuu in Siriporn Village and dropped by
Aran and Soontree’s house to say hello. Nuu, still a skittish
puppy who was afraid of strangers, took an instant liking to
Soontree, and laid down at her feet quietly while we chatted.
Soontree was quite amused to hear me call Nuu by the
nickname “Pumpkin”, which is a common term of endearment
that Americans apply to little children and pets, but not one that
Thais would use. I am glad to have such a happy memory of the
last conversation I shared with Soontree.

During her long and painful illness, Soontree, with the
strong support of Aran, displayed a quiet courage that I hope I
can emulate when my own time comes.

A. Terry Rambo,
Professor (Ret.), Khon Kaen University

เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 24
อำลยั ท่ำนอำจำรยส์ นุ ทรี พฒั โนทยั

ดฉิ นั รูส้ ึกเป็นเกียรติอย่างยิ่ง ที่ทา่ นอาจารยอ์ ารันต์ได้ขอให้
เขียนใหแ้ ก่ท่านอาจารย์สนุ ทรี ซงึ่ ขณะทเี่ ขียนเป็นวันที่ 2 ก.ค. 2565
ดฉิ นั ได้พบทา่ นอาจารยส์ ุนทรี ตั้งแต่เรมิ่ เข้ารบั ราชการที่คณะเกษตร
ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ในปพี .ศ. 2522 ทา่ นเป็นอาจารยร์ นุ่
แรก ๆ ของคณะฯ อาจารย์ผู้ใหญย่ ุคนนั้ ให้การตอ้ นรับแก่ผมู้ าใหม่
อย่างใส่ใจ จริงใจ และอบอ่นุ ตลอดช่วงเวลาท่ีใช้ชีวติ และทางานท่ี
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ กวา่ 40 ปี เราได้มีความเก่ียวข้องกันท้งั ชวี ิต
ทางานและสว่ นตวั และไดร้ บั ความเอื้ออารี ใส่ใจ ความอบอุ่น และ
มติ รภาพจากท่านตลอดมา อาจารยส์ ุนทรีหรือ “พสี่ นุ ” มักมองโลก

เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 25

อย่างมสี ีสนั และทาใหเ้ หน็ เร่ืองหนัก ๆ เครียด ๆ ในมมุ ท่ีสนุกและ
ผอ่ นคลาย เราเคยพบกันเกอื บทุกปีในช่วงทศวรรษ 2550 สว่ นใหญ่
ในเดือนตุลาคม ในการประชมุ ทางวิชาการของฝ่ายวชิ าการ สกว.
(สานักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย) ท่ีชะอา ซ่งึ พ่สี นุ ไดม้ ากบั ท่าน
อาจารย์อารนั ต์ ซึ่งตอ้ งรบั ภาระเครยี ด เพราะเป็นกรรมการหลกั
ทา่ นหน่ึงในงานประจาปีน้ี งานนี้มนี กั วิชาการสว่ นใหญเ่ ป็นอาจารย์
มหาวทิ ยาลยั มาเขา้ ร่วมนบั พันกวา่ คนจากทั่วประเทศ ทางสกว. จดั
เล้ยี งอาหารในศาลาใหญข่ องโรงแรมท่จี ดั พสี่ ุนจะเรยี กศาลานี้อย่าง
สนกุ ๆ วา่ “โรงทาน” เพราะสกว. ใจปา้ เลยี้ งขา้ วกลางวนั และเยน็
ฟรตี ลอดการประชมุ ดิฉนั ได้มโี อกาสพบครอบครวั ของท่านอาจารย์
ทต่ี ดิ ตามมาพักผ่อนทช่ี ะอา โดยเฉพาะหลานสาวที่เป็นทรี่ ัก สนทิ
สนม และภาคภมู ใิ จของพส่ี ุนมาก ในงานเล้ียงแต่งงานของดฉิ นั และ
อาจารยเ์ ทรที ่ีขอนแกน่ ในปี 2541 พสี่ นุ และอาจารย์อารนั ต์ไดใ้ ห้
เกียรตเิ ปน็ ประธานในงาน ซง่ึ มีพน่ี ้องชาวคณะเกษตรฯมาร่วมงาน
มากหนา้ หลายตา จาได้ว่าพ่ีสุนไดบ้ อกกับดิฉนั ว่า งานสนกุ มาก
และทา่ นกด็ ูสนุกและมคี วามสขุ ในงานนัน้

เราไดเ้ ดินทางเป็นทริปใหญ่ด้วยกัน ทจี่ าได้ดีครัง้ หนึง่ คอื ไป
เวยี ดนาม (เมอื งเว้ ดานัง และนงั่ กระเชา้ ไฟฟ้าขน้ึ เขาบานา ฝ่าทะลุ
หมอก) จดั โดยท่านอาจารยอ์ ารนั ต์ เพ่ือไปทาเร่ืองเครียด ๆ คือ
เขยี นบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ พี่สุนเป็น

เก็บไว้เป็นความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 26

ทางออกหนง่ึ ให้เราไดผ้ อ่ นคลาย ช่วงเบรค แค่เห็นหนา้ ท่านก็รู้สึก
สบาย ๆ เราพบกันท่ฮี าวายหลายครง้ั เพราะงานด้านการกระต้นุ ให้
อาจารย์ มข. เขา้ สตู่ าแหนง่ ศ. มีท่านอาจารย์อารันต์เป็นหวั หอก
โดยผู้รว่ มรายการน้ไี ด้ไปเขียนงานกนั ท่ีอสี ต์-เวสตเ์ ซ็นเตอร์ เมอื ง
ฮอนโนลูลู ฮาวาย ดฉิ ันและอาจารย์เทรีได้มีโอกาสมาสงั สรรค์กับ
สมาชกิ กลุม่ เตรยี มศ. และได้นาเทยี่ วอาจารยท์ ้ังสองท่านยังสถานท่ี
สวยงามของฮาวายช่วงวนั หยดุ พ่สี ุนมีความประทบั ใจในบรรยากาศ
ทนี่ ั่นมาก ทงั้ อากาศเย็นสบาย สถานทส่ี วยงาม และผู้คนมีความ
หลากหลายทางเชือ้ ชาตแิ ละวัฒนธรรม เธอเคยเลา่ ใหฟ้ งั ว่า ไป
ฮาวายเพ่ือไปน่ังใตต้ น้ ไม้เฉย ๆ ก็พอใจแลว้

นอกจากน้ี เรายงั โชคดไี ด้มาอยูบ่ า้ นพักมอดินแดงใต้ บา้ น
หลวงรุ่นแรกของ มข. ซึ่งอาจารยท์ ั้งสองทา่ นเคยอยู่มาก่อนด้วย พ่ี
สนุ รกั บา้ นนมี้ าก ท่านมกั ถามถงึ อยูเ่ สมอ ไมว่ า่ จะเป็นต้นไม้ ไม้ผล
กลว้ ยไม้ ฯลฯ ท่ที ่านมคี วามผกู พัน ทา่ นเคยกล่าววา่ ช่วงตอ้ งย้าย
เพราะเกษยี ณไม่อยากย้ายออกจากบ้านน้ีเลย

ในชว่ งหลัง ท่านไดเ้ ลา่ ให้ฟังถงึ ความถดถอยลงของสังขาร
ทง้ั เรื่องกระดูกสนั หลังที่กระทบเสน้ ประสาททาใหท้ า่ นเจบ็ เวลาเดนิ
และเรือ่ งโรคเลือดท่ีมีเกล็ดเลือด และเม็ดเลอื ดขาวต่า ตอ้ งไปรบั
เลอื ดทโ่ี รงพยาบาลอยู่เป็นประจา ถึงจะมีความกังวลในสุขภาพที่
ถดถอยลง แต่ท่านก็ใช้ชีวติ ให้เป็นสขุ ทีส่ ุดเทา่ ที่ทาได้ ด้วยการ

เกบ็ ไวเ้ ปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 27

เดนิ ทางไปเย่ียมครอบครัวและเพ่ือนเก่า ๆ ทีก่ รุงเทพฯและต่าง
จงั หวดั เม่อื ร่างกายแข็งแรงพอ และการฝักใฝ่ทางการทาใจใหผ้ อ่ ง
แผว้ ดว้ ยการทาสมาธิ เราเคยไปเจอกันโดยไม่ไดน้ ดั หมายที่กิจกรรม
สอนทาสมาธิในสายหลวงพ่อวริ ิยงั ซึ่งจัดทค่ี ณะแพทย์ มข. ซงึ่ พ่ีสนุ
ได้เลา่ ว่า ทงั้ ท่านและอ.อารนั ต์ปฏบิ ตั ติ ่อเนอื่ งมา ในระยะหลังนเี้ รา
ไดพ้ บกันบ้างเวลาดฉิ ันและคุณเทรไี ปเดนิ เลน่ ในหม่บู า้ น และแวะ
เย่ยี มระยะสน้ั ๆ ทบี่ า้ นของทา่ น ซ่ึงท่านยงั คงออกมาต้อนรบั ดว้ ย
ใบหนา้ ยมิ้ แย้มเสมอ นับเป็นบทเรยี นทไ่ี ดจ้ ากทา่ นในการดารงตน
อยา่ งงามสงา่ แม้ในยามที่สังขารถดถอยลง

ดิฉันขอตง้ั จติ อธิษฐาน ใหค้ ุณความดที ่ีพ่ีสุนได้กระทามาใน
ชีวติ เปน็ พลังปจั จัยให้ทา่ นจากไปอยา่ งสงบ และไปสสู่ ุคตใิ น
สมั ปรายภพ ท้งิ ไว้ซึ่งความทรงจาทด่ี ี ทเี่ ปน็ กาลังใจและเปน็ บทเรียน
ใหด้ ิฉนั และผู้อยูข่ ้างหลัง

ปทั มา วติ ยากร แรมโบ
(ศาสตราจารย์ คณะเกษตรศาสตร์
และนกั วจิ ยั อาวุโส มหาวิทยาลยั ขอนแก่น)

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สุนทรี พฒั โนทยั 28

อำลยั พ่ีสนุ ทรี

ผมได้รู้จกั พี่สนุ หรอื อาจารยส์ ุนทรี พัฒโนทัย ตั้งแต่ยังเปน็
นกั ศึกษารุ่น 2 ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ในปี
พ.ศ. 2508 พ่สี นุ เป็นอาจารย์ทจ่ี บจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รุ่นแรก ทม่ี าบุกเบิกและจดั การเรยี นการสอนท่ี มข. จงึ มีความ
ใกล้ชดิ กบั นกั ศกึ ษาในชว่ งส้ัน ๆ ก่อนท่จี ะเดนิ ทางไปศกึ ษาต่อ ณ
ประเทศสหรฐั อเมริกา ผมมโี อกาสได้พบพ่สี นุ อีกครงั้ หน่ึง เมื่อพสี่ ุน
และอาจารย์อารนั ต์สาเร็จการศกึ ษาแล้ว ระหวา่ งเดนิ ทางกลับได้
แวะไปท่ี East-West Center ซง่ึ ขณะน้ันผมกาลังเรียนปริญญาโท
อยูท่ ม่ี หาวทิ ยาลยั ฮาวาย ในสาขาวชิ าโรคพืชวิทยา พสี่ นุ ไดช้ วนให้
ผมมาเปน็ อาจารย์ท่ี มข. ซ่งึ เป็นจุดเร่ิมตน้ ของชีวิตราชการอาจารย์
มหาวทิ ยาลยั ของผมนานถงึ 35 ปี

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทยั 29

พ่สี นุ เป็นทั้งพแี่ ละเพื่อนรว่ มงาน ของพวกเราในภาควิชา
โรคพืช ซึ่งพีส่ นุ มีส่วนสาคัญในการจดั ตงั้ ภาควิชาฯ มีบรรยากาศ
การทางานฉนั ฑ์พ่นี อ้ ง โดยมีพส่ี นุ เปน็ พีผ่ ู้อาวุโส ที่มแี ตค่ วามเมตตา
กรุณา ความปราถนาดี และทัศนคติที่สร้างสรรค์ ทาให้ผมมีความสขุ
ในการทางานมาโดยตลอด ด้วยความสัตย์จรงิ ผมไม่เคยเห็นพ่สี ุน
โกรธใครเลย (ทง้ั ทใ่ี นบางสถานการณ์ มเี ร่ืองทนี่ ่าโมโหท่สี ุด) พส่ี นุ
ในความทรงจาของผมจึงมีแต่มิตรภาพ ความโอบอ้อมอารี ความ
รกั และไมตรจี ิตท่เี รารบั ร้ไู ด้

ด้วยกศุ ลกรรมที่พี่บาเพ็ญมาโดยตลอด ขอให้ดวงวญิ ญาณ
ของพใ่ี ห้ไปสู่สขุ คติในสัมปรายภพเทอญ

ด้วยความรกั และอาลัย

อศั นี ปาจนี บรู วรรณ์
อดตี คณบดีคณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแกน่

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 30

คารวาลยั

จากวนั นนั้ กอ่ สมั พันธ์ ฐานครู-ศษิ ย์
ได้แนวคิด ชแ้ี นะ และสั่งสอน
หนนุ ชว่ ยให้ ไดง้ านดี ที่องค์กร
เอื้ออาทร ดแู ล เปรียบแมเ่ รา

เมอ่ื ทา่ นปว่ ย คอยตดิ ตาม คอยถามขา่ ว
เมือ่ ถึงคราว ละสงั ขาร ผ่านมาถึง
แสนอาลัย โศกเศรา้ เฝ้าราพงึ
หวลคานงึ ถงึ วนั วาร ทผี่ ่านมา
ศิษยน์ อ้ มกราบ ส่งครู ส่สู วรรค์
ขอให้ทา่ น มแี ต่สขุ ทุกภพหน้า
กล้นั นา้ ตา อาลัยรัก วันจากลา
ขอส่งกลอน นม้ี า บชู าครู

รศ.ดร.สวุ ิทย์ เลาหศริ ิวงศ์
อดตี อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยนครพนม

เก็บไวเ้ ปน็ ความทรงจา สุนทรี พฒั โนทัย 31

คำไวอ้ ำลยั
ผศ. สนุ ทรี พฒั โนทยั

ปี พ.ศ. 2507 นิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่เมเจอรโ์ รค
พชื ตอ้ งเรยี นวชิ ากฏี วทิ ยาให้ครบ 6 หน่วยกติ พีส่ นุ ทรแี ละผมเรยี น
วชิ าแมลงศตั รูในโรงเกบ็ ด้วยกัน มดี ร.โกวิท โกวิทวที เปน็ อาจารย์
ผ้สู อน คร้ังหนงึ่ พส่ี ุนทรีไดย้ กมือบอกอาจารย์ว่า พวกหนูเรียนปหี ้า
แลว้ ขอให้อาจารยพ์ จิ ารณาให้ทกุ คนสอบผ่าน ซ่ึงวชิ านี้ทกุ คนทา
คะแนนได้เป็นท่ีน่าพอใจ เหตุการณ์นท้ี าให้ผมจาพสี่ ุนทรไี ด้

ปี พ.ศ. 2510 ผมได้มาทางานท่ีภาควิชาอารักขาพืช คณะ
เกษตรศาสตร์ มข. มี มก.รนุ่ 21 จานวน 3 คน และรุ่น 22 จานวน
8 คน เพื่อเตรียมทาหลกั สูตร มกี ิจกรรมเพมิ่ ข้ึนอย่างมาก ต้องอาศัย
ความรว่ มมือช่วยเหลือกนั ในการจดั หาอปุ กรณ์ และเครื่องมือต่าง ๆ
ให้มพี ร้อมสาหรบั การสอนวชิ าพ้นื ฐานของภาควชิ าอารักขาพชื ในปี
พ.ศ. 2511 พ่สี นุ ทรีไดไ้ ปศกึ ษาตอ่ ที่รัฐไอโอวา ประเทศสหรัฐ
อเมรกิ า และได้มอบความไว้วางใจให้ผมรับเงนิ เดือนเพอ่ื ส่งให้
นอ้ งสาว (สรุ ีย์พร) โดยทางธนาณตั ิ เปน็ เวลารว่ มปี ซ่งึ ผมดใี จมากที่

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สุนทรี พฒั โนทัย 32

พ่ีสนุ ทรไี ว้ใจ พ.ศ. 2512 ผมไปเรยี นต่อทแี่ คนาดา เมื่อกลับมาปี
พ.ศ. 2515 ก็มาชว่ ยกันทางานใหภ้ าควิชาฯ โดยสลบั กนั เปน็ หัวหน้า
ภาคฯ ต่อมาปี 2519-2524 ผมไปเรียนต่อทมี่ หาวิทยาลยั ควีนแลนด์
ประเทศออสเตรเลยี เม่อื กลับมา แม้ภาควชิ าอารักขาพืชได้แยก
ออกเป็นภาควิชากีฏวทิ ยาและภาควชิ าโรคพืชวทิ ยา แต่นกั ศกึ ษา
วิชาโรคพชื ยังต้องเรียนวชิ าหลกั การป้องกนั กาจัดศตั รูพชื ซง่ึ เปน็
วิชาบงั คับ โดยมีผมเปน็ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ ความสมั พนั ธ์ของเรา
ยังคงมีอยู่ดว้ ยดี เราปรกึ ษากันในเร่อื งตา่ ง ๆ รวมท้งั การพิจารณารับ
อาจารย์ใหมห่ ลายคนในภาควิชาโรคพืช

ในชว่ งการทางาน มีโครงการวิจยั ทเี่ ขา้ ร่วมหลายโครงการ
เชน่ Semi-arid Crops การปรับปรุงพนั ธถุ์ ั่วลิสง และระบบการทา
ฟารม์ จึงมกี จิ กรรมร่วมกนั เสมอ ในงานประชุมประจาปี พวกเราได้
มีโอกาสรว่ มสนกุ ด้วยกนั นั่งรถตเู้ ดนิ ทางกนั ไป ได้พดู คุยกนั จงึ
เข้าใจกนั ดี เราอยกู่ นั มาจนเกษียณอายรุ าชการด้วยความสุข มหี ลาย
ครง้ั ทีเ่ ราพูดวา่ โชคดที ไ่ี ด้มาทางานที่คณะเกษตรศาสตร์ มข. มี
ครอบครัวที่ดี จึงต้ังหลกั อยู่ที่ขอนแกน่ ต่อไป

หลงั เกษยี ณอายรุ าชการ การพบปะกันนอ้ ยลง กิจกรรม
ของคณะฯได้ไปร่วมเปน็ บางคร้ัง ผมไดพ้ บพ่ีสนุ ทรีทส่ี ระพลาสติก
(ในมหาวทิ ยาลัยฯ) ในต้อนเช้า ระยะแรกบ่อยครั้ง จนกระท่ังพี่
สนุ ทรงี ดการเดนิ ตอนเช้า และในช่วงโควดิ -19 ไม่ไดพ้ บกันเลย ขา่ ว

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทยั 33

การลม้ ปว่ ยของพ่ีสุนทรีที่ได้รับเมื่อวนั ท่ี 16 มิถนุ ายน 2565 ทาให้
ผมตกใจมาก ได้โทรคยุ กบั ดร.นุชรยี ์ และสง่ ข่าวให้พ่วี รนุชทราบ

ในโอกาสสุดท้ายน้ี ผมรู้สกึ เสียใจทพี่ สี่ นุ ทรจี ากไป พี่ได้
สร้างผลงานอันดีงาม มคี วามซื่อสตั ย์สจุ รติ จนเปน็ ทร่ี ักใคร่ของ
ผู้บังคับบญั ชาและเพื่อนรว่ มงาน ขอให้ดวงวิญญาณของพ่ีสนุ ทรี จง
ไปส่สู ขุ คติเถิด

รศ.ดร.มโนชัย กรี ติกสกิ ร

เป็นภรรยา ท่ีแสนดี สุดทร่ี ัก
ยอดคณุ แม่ แทต้ ระหนัก รักลกู เหลือ

เปน็ แมค่ รู ของศิษย์ คอยจุนเจือ
เป็นทองเนื้อ นพคุณ นามสนุ ทร.ี .

เกษสดุ า เดชภิมล...

เกบ็ ไวเ้ ปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 34

รกั และอำลยั จำก”ครอบครวั คนโรคพืช”

นึกนึกไป ใจสะทอ้ น รอ้ นรอ้ นหนาว
เม่ ือถึงคราว ลาจากพ่ ี ท่ เี คยสอน
ครู คณุ แม่ ผูด้ ูแล เอ้ืออาทร
จาตอ้ งจร จากลา ลา้ ระทม

พ่ /ี อาจารย์/ แม่ “สนุ ”(พระ) คณุ ลน้ เหลือ
ณ ยามเม่ อื เราทง้ั ผอง ปองประสม
ร่วมวจิ ัย สอนส่ัง ดงั นิยม
ร่วมอบรม “โรคพืช” ไมจ่ ืดแรง

มาบัดน้ี เรามมิ ี คณุ พ่ แี ลว้
เหมือนดวงแกว้ หล่นหาย ไรส้ ้นิ แสง
เหลือแต่ใจ รวมจิต คิดสาแดง
พรอ้ มร่วมแรง ร่วมกระทา ร่วมนาพา

ส่งิ ท่ สี ร้าง สรรค์ส่ัง ใหย้ ่ังยืน
อยู่คู่ผืน แผน่ ดนิ ไทย ไปช่ัวหลา้
ขอดวงจิต สงั ขารเธอ จงนทิ รา
หลบั เถิดหนา ปลอ่ ยวาง ห่างตรอมตรม

ขอวญิ ญาณ เธอจงสู่ สคุ ติ
จงบรรลุ วมิ ุตติ ท่ สี ขุ สม
เกดิ ชาติหนา้ ฉันใด อย่าระทม
ขอบรม พทุ ธธรรม จงนาพา

คาอาลยั คาน้ี ช้ีใหเ้ ห็น
ส่งิ ท่ีเป็ น ส่งิ ท่ีทา ของเธอหนา
ศิษยป์ ระจักษ์ นอ้ งประจักษ์ เพ่ือนวนั ทา
หลบั เถิดหนา อยา่ อาลยั my Soontree

ดว้ ยรกั และอาลยั
“ครอบครวั คนโรคพืช”

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทยั 35

ดว้ ยรกั และอำลยั แด่.... ผศ. สนุ ทรี พฒั โนทยั
พวกเราชาวกีฏวทิ ยา อยรู่ ่วมกับสาขาโรคพชื วิทยาในนาม

ภาควชิ าอารักขาพืช (ปี พ.ศ. 2509 – พ.ศ. 2521) และภาควชิ ากฏี
วทิ ยาและโรคพืชวทิ ยา (ปี พ.ศ. 2521 – พ.ศ. 2530) โดยมีอาจารย์
สนุ ทรีเป็นหวั หน้าภาควิชาฯ ในชว่ งนั้น ๆ อาจารย์มีคุณูปการต่อ
ภาควิชาฯ เพอ่ื นรว่ มงาน และผใู้ ตบ้ ังคับบัญชา อาจารยเ์ ป็นหัว
หนา้ ที่มคี วามเมตตา ให้กาลงั ใจ และสามารถแก้ไขปัญหาปวดหวั
นานาประการ ใหล้ ุลว่ งไปไดด้ ้วยดี

อาจารย์สุนทรี เป็นแบบอย่างทีด่ ีท้ังในการทางานและการ
ดารงชวี ิตอยา่ งมีคณุ ภาพ รอยย้มิ บนใบหนา้ ที่สดใสของอาจารย์
เสียงพดู เสียงหัวเราะ ล้วนแล้วแตเ่ ปน็ เอกลักษณ์ ทาใหอ้ นุ่ ใจเมือ่ ได้
ทางานรว่ มกับอาจารย์ อาจารย์มชี ีวิตครอบครวั ที่อบอนุ่ และมี
ความสขุ เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีของการดารงชีวติ ในสังคม

เกบ็ ไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 36

ด้านการอบรมสงั่ สอนศิษย์ ให้ความรแู้ ละทักษะการดาเนิน
ชีวิต ทาให้ศษิ ยป์ ระสบความสาเร็จในหนา้ ท่ีการงาน นาความ
เจริญกา้ วหนา้ มาสู่ประเทศชาติ

การได้มีโอกาสรว่ มงานกับอาจารย์ เป็นส่งิ ทีป่ ระเสรฐิ การ
จากไปของอาจารย์นามาซง่ึ ความเศรา้ เสยี ใจ ขอใหค้ ุณงามและ
ความดขี องอาจารย์ จงหนุนนาใหอ้ าจารย์ไปสสู่ ุคติ พวกเราจะคิดถึง
อาจารย์ คิดถึงใบหนา้ ทมี่ รี อยย้มิ เสมอ เกบ็ คุณงามความดที ุกอย่างท่ี
อาจารย์ได้ใหไ้ ว้ อยู่ในความทรงจาทดี่ ีของพวกเราตลอดไป

ดว้ ยรกั และอาลัย
สมาชิกสาขาวชิ ากฏี วิทยา (แมลงตวั น้อย ๆ)

เก็บไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 37

ดว้ ยรกั .......
และผกู พนั

พวกเราโชคดีท่ีไดม้ ีโอกาสผูกพันกับอาจารย์สนุ ทัง้ ในฐานะ
ศิษย์ และทางานในหนว่ ยงานเดยี วกันจนเกษียณอายุราชการ หลงั
เกษียณยังไปรว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ดว้ ยกันบอ่ ย ๆ ทกุ ครง้ั เราจะไปกัน
เปน็ กลุม่ สว่ นใหญก่ ็ไปหาของอร่อยทานกนั และจะคยุ กันทุกเรอ่ื ง
อาจารย์จึงเป็นท้ังที่ปรกึ ษา เป็นทพ่ี ่ึงทีพ่ ักพิงใจของอาจารย์รุ่นนอ้ ง

กวา่ 30 ปีที่ผูกพันกันมา อาจารย์เปรียบไดก้ บั “ทรัพย์” ที่
ทไี่ ม่อาจประเมินค่าได้ ยามเฮฮารื่นเริงบันเทิงใจ อาจารย์สุนกน็ า
หนา้ พานอ้ ง ๆ สนุกสนาน ยามอาจารยป์ ว่ ยไข้ น้อง ๆ กลบั ไม่
สามารถไปเฝ้าดูแลให้อาจารย์ไดส้ ุขใจ คลายทุกข์จากความเจบ็ ป่วย

ขอให้อาจารย์สุน ไปสู่สวรรคช์ ้นั ฟา้ มีความสขุ ในภพภมู ทิ ่ี
สวา่ ง แจ่มใส

ด้วยรักและเคารพ
สภุ ร–เริงศกั ด์ิ กตเวทิน นชุ รีย์-บุญมี ศริ ิ

ประภัสสร เตชะประเสริฐวทิ ยา

เก็บไว้เปน็ ความทรงจา สุนทรี พัฒโนทยั 38

พ่ีสนุ ที่รกั
และนบั ถือยงิ่ ....

พี่สุนคะ จนุ่ ดีใจทมี่ โี อกาสได้เขยี นเรอื่ งราวดี ๆ เกยี่ วกับพี่
ค่ะ นานมาแลว้ เมอ่ื เดือนม.ิ ย. 2516 หลังจากเรียนจบจากเมืองนอก
จุน่ เรมิ่ เข้าทางานครงั้ แรก คือมาเปน็ อาจารย์ในภาควชิ าอารักขาพชื
มข. ซง่ึ มีพ่สี ุนเป็นหัวหน้าภาคฯ ตอนนั้นมีอาจารย์ใหม่ ๆ โสด ๆ เขา้
มาให้พี่สนุ ดูแลพรอ้ มกัน 3 คน คอื อ.อัศนี อ.โสภณ และจุ่น พีส่ ุน
เป็นอาจารยห์ วั หน้าภาคฯ ท่ีเป็นผ้ใู หญท่ ี่ใจเยน็ อ่อนโยน คิดบวก
และใจดมี าก ๆ โดยเฉพาะพ่ีสุนเปน็ คนยม้ิ งา่ ย เจอหนา้ จ่นุ จะยม้ิ ให้
ทกุ ครงั้ พ่ีมีเสน่ห์ตรงมเี ขย้ี วเล็ก ๆ ที่มุมปากเวลาย้ิม ซง่ึ จุน่ ชอบมอง
มาก เพราะพี่แสดงความจริงใจและความสดใสออกมาทางสายตา
ทาให้จุ่นสบายใจทุกคร้ังทไ่ี ด้พบและคุยกับพ่ี จนุ่ โชคดที ่ีไม่เคยโดนพ่ี
สนุ ดุเลย และก็ไม่เคยเหน็ พี่สุนแสดงอาการเกร้ยี วกราดกับใครดว้ ย
เมือ่ มีปัญหาเช่นงบประมาณ (ที่ค่อนขา้ งจะขดั สนในสมยั นนั้ ) จุ่นเขา้
ไปขอคาปรึกษาก็ไดร้ ับคาแนะนาทดี่ ีจากพี่ตลอดมาค่ะ จ่นุ โชคดีมาก
ทไ่ี ด้หวั หน้าท่ีดีเม่ือเริ่มตน้ ทางาน มคี าของพสี่ นุ คาหนงึ่ ที่กลา่ วเร่อื ง
การทางานของจุ่น (ซง่ึ จาได้ไม่ลืมจนทกุ วันนี้) คือ “จุ่นน่ะเค้าทางาน
เหมอื นฝร่ังนะ”

เกบ็ ไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 39

จุน่ ได้รบั ความไว้วางใจจากพีส่ ุน ในการให้ชว่ ยทางานใน
ภาคฯ หลายอย่าง ทาใหจ้ นุ่ ทางานได้อยา่ งสบายใจ ม่นั ใจ และ
เดนิ หน้าได้เต็มทตี่ ามศกั ยภาพของตัวเอง เม่ือพี่พน้ จากวาระหวั หน้า
ภาคฯ และต่อมาเมื่อภาควชิ าอารกั ขาพืช แยกออกเป็นภาควชิ ากฏี
วิทยาและภาควชิ าโรคพชื พวกเราสมยั นนั้ กย็ ังรักและผกู พันกนั มาก
เหมือนเดิม เจอหนา้ กนั คุยกันทกุ วนั พ่กี ็ยังคงเปน็ อาจารย์รนุ่ พท่ี ีด่ ี
ต่อจนุ่ เหมือนเดมิ และเสมอมาดว้ ยค่ะ

อีกอย่างหนงึ่ ทจ่ี ุ่นช่นื ชมและภมู ิใจ คือ พีส่ นุ มคี รอบครัวที่
อบอุน่ มาก เป็นครอบครัวตวั อยา่ งท่ดี ีของชาวเกษตร พี่สุนมพี อ่ี า
รนั ตท์ ่เี ป็นตัวอยา่ งอาจารยท์ ี่ดีและเป็น "นักวิจยั มือทอง" ของคณะ
เกษตรท่ีทกุ คนนับถือ เปน็ อาจารย์ทมี่ ชี ื่อเสียงท้ังในและต่างประเทศ
และมนี ้องเชษฐเป็นหนงึ่ เดยี วที่เป็นหัวใจของครอบครวั

พี่สนุ คะ ในวาระทพี่ ่ีจากไป จุน่ ขออญั เชญิ พระคุณและ
บารมขี องพระรัตนตรัย และบุญกุศลทั้งปวงทีจ่ ุ่นได้กระทามา จงดล
บนั ดาลให้พ่ไี ด้ไปสสู่ ุขติในสมั ปรายภพ และจนุ่ ขอโอกาสน้ี ขอขมา
ต่อพสี่ นุ ในอกุศลกรรมทั้งปวงที่จ่นุ ได้เคยลว่ งเกนิ พ่ี ทั้งโดยกายกรรม
วจกี รรม และมโนกรรม โดยตัง้ ใจหรอื ไมต่ ัง้ ใจ ทง้ั ในอดีตชาติและ
ชาตินี้ ขอพสี่ ุนไดโ้ ปรดอโหสกิ รรมแก่จ่นุ ดว้ ย และในทางกลับกนั
หากมกี รรมใด ๆ ทพ่ี ่สี ุน ไดก้ ระทาต่อจนุ่ ทกุ ประการตงั้ แต่ใน
อดีตชาติจนถึงชาติน้ี จุ่นก็ได้อโหสกิ รรมแก่พีส่ ุนแล้วเชน่ กัน

ดว้ ยความเคารพ รัก และระลึกถึงพส่ี นุ พคี่ นดีคนนี้เสมอ

จาก จนุ่ (รศ.ดร.จุฑารัตน์ อรรถจารสุ ทิ ธิ์)

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 40

แด่เพื่อน

ชีวิตเพอื่ น เหมอื นผใู้ ห้ ไมร่ ู้จบ
ตงั้ แต่พบ คบด้วยใจ ไม่หา่ งหาย
กราบเคารพ ศพเพือ่ น เหมือนไม่ตาย
ทั้งใจกาย หมายผูกพนั ด้วยม่นั คง

หากชาตหิ น้า ถ้าเกดิ ใหม่ ให้พานพบ
ได้ประสบ พบอย่างดี ไมม่ ีหลง
ไปเขาใหญ่ ใจฉัน ยังมั่นตรง
ตามประสงค์ คงม่นั นิรันดร

ด้วยรกั และผูกพนั
ดวงทิพย์-พลั ลภ เปรมจิตต์

เพอื่ น KU 20

เก็บไวเ้ ปน็ ความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 41

สนุ ...สดุ คิดถึง

สนุ ..... เมื่อเราไดค้ บกันอย่างใกล้ชิด ทาใหร้ ้วู ่าสนุ เป็นคน
ฉลาดและทันคน

สนุ ..... จะชอบดรู ายการสารคดี และรายการทใ่ี หค้ วามรู้
เช่น รายการลายกนก รายการเจาะใจ รายการ perspective

สนุ ..... รกั ดอกไมเ้ ป็นชวี ิตจิตใจ จาช่ือต้นไม้ดอกไม้ได้เกอื บ
ท้งั หมด เวลาทีพ่ วกเราตดิ ขดั จาไมไ่ ด้จะต้องถามสนุ และก็ไมผ่ ดิ หวงั
เมอ่ื ย้อนกลับมาดู LINE ทีเ่ ราคยุ กนั พดู ได้คาเดยี วว่า "สดุ คิดถึง"

ไม่มีอีกแลว้ ท่เี ราจะได้พบกนั
ภาพทเี่ ราเทีย่ วด้วยกัน จะไม่เลอื นไปจากใจ

สนุ นั ทา ศรสี ขุ
เพอ่ื น KU 20

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทยั 42

รกั และอำลยั สดุ หวั ใจ

สุนทีร่ กั
พไ่ี ม่อยากจะคิดวา่ ต้องเขยี นอาลยั สุนเรว็ ขนาดนี้ เราสอง

คนเคยคุยกนั วา่ เรามผี ิวท่ีเหี่ยวเหมือนกัน คนหนึ่งกลา้ มเนื้อลบี อีก
คนหนึ่งกแ็ ก่ ก็คือเหี่ยวไปดว้ ยกัน สนุ เปน็ คนฉลาด มีความคิดดี ๆ
หลายประโยคของสุนทพ่ี ี่ต้องถามซา้ เช่น สุนบอกว่าอยากตาย พ่ีก็
ไมก่ ล้าถามตอนน้นั พอมโี อกาสพก่ี ถ็ ามวา่ ทาไมสุนถึงอยากตาย สนุ
กลบั ตอบว่า ตอนน้ีไม่อยากตายแลว้ บางครง้ั อยากตายเพราะมโี รค
ภยั ไข้เจบ็ แตต่ อนน้ไี ม่อยากตายเพราะอยากอย่เู ป็นเพอ่ื นอารันต์
คาตอบของสุนพ่ซี ึ้งมากเลย และสบายใจเพราะคิดวา่ สนุ จะต้องอยู่
อีกนาน เพราะอารันต์ยังแขง็ แรงดี

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สุนทรี พฒั โนทัย 43

สุนปว่ ยคราวนี้พก่ี ค็ ิดว่าคงจะหาย พี่ยังบอกอารนั ตว์ ่า พอ
สนุ หายดีและแข็งแรงพอท่ีจะเดินทางได้ ใหม้ าพกั ฟืนทีเ่ ขาใหญ่ มา
เปน็ เจ้าแม่วังค้างคาวเช่นเคย คราวนพี้ ักอย่สู กั หลาย ๆ วนั ฟอก
ปอด และกินอาหารถูกใจท่ีครัวอรุณรงุ่ พ่ีคดิ ว่าตน้ เดือนกรกฎาคม
น่าจะไดเ้ จอกัน ไม่คดิ เลย พอทิพย์โทรมาบอกวา่ ใหเ้ ขียนไว้อาลยั สนุ
พ่ีกาลังกินขา้ วอยู่ ช๊อกไปเลย น้าตาตกลงไปคลุกกบั ข้าว บรรยาย
ความรู้สกึ ไม่ถูกจริง ๆ ลกู ตกใจถามว่าแม่เปน็ อะไร พดู ไมอ่ อก รอ้ ง
สกั พักแลว้ ก็บอกวา่ น้าทพิ ย์โทรมาบอกว่านา้ สนุ ไปแล้ว

สนุ เป็นคนฉลาด คนทนี่ า่ รัก สวรรค์คอยตอ้ นรับสุนอยู่ สนุ
เลอื กได้เลยว่าจะไปอย่ชู น้ั ไหน สาหรบั ในโลกมนษุ ย์นี้ สุนจะอยู่ใน
ความทรงจาของพ่ียา้ และเพ่ือนฝูงตลอดไป

รกั และอาลัยสดุ หัวใจ
พยี่ ้า

เก็บไวเ้ ป็นความทรงจา สุนทรี พฒั โนทยั 44

ดว้ ยรกั _ผกู พนั _อำลยั

"พส่ี นุ คะ”

เป็นพ่ีเปน็ นอ้ งกนั มาหลายสบิ ปี ผกู พันกนั มายาวนาน
ยอ้ นกลบั ไปในปี 2507 เริ่มคนุ้ เคยกบั พ่สี นุ เพราะเปน็ เพื่อนพ่ียา้
นอกจากพ่สี นุ จะเปน็ เพื่อนร่วมห้องพักในหอ 10ก. ของม.เกษตร
ศาสตร์แล้ว พ่สี ุนยังเป็นรุ่นพี่โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา เกินจะ
บรรยายความผกู พันของเรา เรียนจบเราต่างแยกย้ายกนั ไปเรียนตอ่
ต่างประเทศตามภาระหน้าที่ แต่ความรกั พี่-นอ้ งไม่เคยเลอื น

มากระชบั ความรักความสนทิ สนมกันอีกครั้ง เม่อื พอี่ ารนั ต์
พาพ่สี ุนไปรว่ มสนุกกับเพ่ือน ๆ ทบี่ า้ นพี่ย้าที่เขาใหญ่ สนิทสนมกัน
มากกวา่ เดิม เพราะถูกใจ ถูกคอ ถูกปาก น้องทาอะไรพ่ีก็ชนื่ ชมทุก
อยา่ ง ร่วมสนุกร้องเพลง พีอ่ ารนั ต์คมุ เครื่องคาราโอเกะ ตกเย็นจะ
นง่ั ริมบงึ คอยลุ้นดูฝงู ค้างคาวที่บินเฉียดหลังคาบ้านเปน็ แนวทาบ
ท้องฟา้ และมีอาหารตามส่ัง โดยพ่ีสุนจะขอร้อง..ยกยอ..นอ้ งณใี ห้
ช่วยทาให้ พจ่ี ะบอกว่าอร่อยมากทุกอย่างทนี่ ้องทา ใครจะไมเ่ ช่ือล่ะ

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทัย 45

และก่อนจะออกจากบ้านเขาใหญ่ จะขอรายการอาหารเสนอให้น้อง
ทาสาหรบั นดั คราวหน้า

นึกแล้วเศร้า ไมม่ ีนัดคราวหน้ากบั พส่ี ุนอกี แล้ว ยงั นึกถึง
คาพดู เก่า ๆ ท่ีพสี่ นุ พร่าบอกวา่ ชอบบรรยากาศเขาใหญม่ าก เชา้
เยน็ จะไม่มีพสี่ ุนเดินชมสวนกุหลาบ และดอกไมห้ ลากหลายนานา
พันธ์ุ รวมทง้ั ถ่ายรูปดอกไม้ท่ีพีส่ นุ ชอบเก็บไว้ แล้วเอามาย้อนดกู ัน
คร้ังไหนท่ีดอกไม้บานสะพรั่ง จะบอกให้พ่ยี ้าโทรบอก เพ่ือให้พส่ี ุนมา
ร่วมชื่นชม ขาดพส่ี ุนทบ่ี า้ นเขาใหญ่จะขาดเสยี งหัวเราะใส ๆ ขาด
คาพดู หวาน ๆ แต่ทุกอย่างท่ีเกีย่ วกับพจี่ ะอยู่ในความทรงจา ขอให้พี่
ไปส่สู คุ ติ ไมต่ ้องหว่ งพอี่ ารันต์ เพ่อื น ๆ ของพ่ีจะช่วยกันดแู ลรวมทัง้
นอ้ งด้วย

ดว้ ยรกั _ผกู พัน_อาลัย
นอ้ งณี (วณี สัมพนั ธารักษ์)

เกบ็ ไว้เป็นความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทัย 46

ดว้ ยรกั และอำลยั สนุ ทรี พฒั โนทยั

18.38 น. ของวันองั คารท่ี 28 มถิ ุนายน 2565 ได้รบั
โทรศพั ทจ์ ากคุณดวงทิพย์ เปรมจติ ต์ แจ้งใหท้ ราบวา่ เพื่อนรักของ
เรา อ.สนุ ทรี พัฒโนทัย ไมส่ บายมาก เกดิ จากการติดเชือ้ ในกระแส
โลหติ และปอด หมอไดใ้ ห้ยาปฏิชีวนะทดี่ ีทีส่ ดุ แลว้ แตอ่ าการก็ไม่ดี
ขน้ึ ตอนนหี้ มอกาลงั ทาการรักษา เจาะน้าไขสนั หลังไปตรวจซงึ่ กย็ ัง
ได้ผลไมช่ ัดเจน จะตอ้ งทาการเจาะใหม่อีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงตอ้ งรอดู
อาการกนั ต่อไป ล่าสุดก็คอื ยาเอาเชือ้ ที่ติดในกระแสเลือดไมอ่ ยู่แลว้
ค่าไตก็ตา่ ลง และไมร่ บั รู้อะไรแล้ว เรียกเขย่าก็ไม่มีการตอบสนอง
ไมล่ ืมตา คงอย่ไู ด้อกี ไมน่ าน … มันชา่ งเป็นข่าวร้ายทีท่ าให้ใจหาย วา่
สุนทรีจะต้องจากลาเพอื่ น ๆ ไปก่อนแล้วหรอื นี่ จึงโทรหาอารันต์ ก็

เกบ็ ไวเ้ ปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พฒั โนทยั 47

ได้รับการยนื ยันว่าสนุ คงตอ้ งไปแลว้ ละ ขอให้ทาใจ ซงึ่ ฟงั น้าเสียงของ
อารนั ต์ ก็รูว้ า่ เพื่อนเราช่างเข้มแขง็ จรงิ ๆ และได้ทาใจไวก้ ่อนแล้ว วา่
จะต้องสูญเสยี ภรรยาสดุ ท่ีรักไป

ความหลังครั้งเราเรยี นเกษตรมาด้วยกัน เปน็ เพ่ือนรักกนั มา
หกสิบกว่าปี ไดพ้ ร่ังพรเู ขา้ มาในสมอง สนุ เป็นคนดีมีคุณธรรม มีนา้ ใจ
จติ ใจงาม ร่ืนเริงแจ่มใส ในวงสนทนาหรอื สงั สรรค์ จะสนุกย่ิงกว่า ถา้
มีสุนอยู่ด้วย เพอ่ื น ๆ ให้สมญานามสุนว่า “แมด่ อกคะน้าหน้าหวาน”
ผมเอง major วชิ าโรคพืช เชน่ เดียวกบั สนุ วนั หน่งึ ผมเหน็ หน้าปก
สมดุ lecture วิชาหนง่ึ ของสุน วาดเป็นรปู นา้ แขง็ แชอ่ ยู่ในกาละมัง
จงึ ถามสนุ วา่ รปู อะไร สุนตอบวา่ เปน็ หินแชน่ า้ แขง็ จา้ ทาให้ผมขาไป
ด้วยกบั อารมณ์ขนั ของสุน ที่ไปตงั้ สมญานามให้อาจารยผ์ ู้สอนทา่ น
นั้น สุนเรียนอยา่ งสบาย ๆ ปนเลน่ กระเซา้ เย้าแหย่เพื่อนไปบ้าง ไม่
เคร่งเครยี ด และเปน็ คนแรกของแผนกที่วทิ ยานพิ นธ์ผา่ นก่อนใคร ๆ

งานสังสรรคเ์ กษตร รนุ่ 20 ทกุ คร้งั จะมี อ.สุนทรี และดร.อา
รนั ต์ พฒั โนทยั มาร่วมดว้ ยไมเ่ คยขาด ทุกครั้งจะมีไวนม์ าบรกิ าร
เพอื่ น ๆ แบบไม่อน้ั ผมยังจาภาพที่สนุ และเพื่อน ๆ สาวของเรา
ออกไป เต้นสา่ ยสะโพกในเพลง Blue Hawaii กนั เต็มฟลอร์ เพิ่ม
ความครึกคร้ืนให้กบั งานได้ไม่น้อยเลย สนุ กบั อารันต์ไม่เคยขาดทจี่ ะ
เดินทางจากขอนแก่นมางานสังสรรค์ที่กรุงเทพฯวันที่ 2 กุมภาพนั ธ์

เก็บไว้เป็นความทรงจา สุนทรี พัฒโนทัย 48

ของทุกปี และรว่ มทาบุญอุทิศสว่ นกศุ ลใหก้ ับเพ่ือนทล่ี ่วงลับไปแล้ว
ในวนั รุง่ ขน้ึ เหน็ สุนท่ไี หนก็จะเหน็ อารนั ต์ที่นน่ั อยูด่ ้วยเสมอ

ตอ่ แต่นี้ เราไม่มแี ม่ดอกคะน้าหนา้ หวานมาร่วมแจมในงาน
สงั สรรค์อีกแลัว ผมเชอ่ื วา่ พวกเราเกษตรร่นุ 20 ทุกคน จะยังคง
คิดถึงสุน และชอ่ื สนุ ทรี พัฒโนทัย จะอยใู่ นความทรงจาของพวกเรา
ตลอดไป ขอให้เธอจงพักผอ่ นนอนหลับให้สบายในสคุ ตภิ พเถอะนะ
เพอื่ นรัก

ท้ายสุดน้ี ขอแสดงความเสยี ใจกับเพื่อนรกั ดร.อารันต์ พัฒ
โนทัย ท่ีต้องสญู เสยี ภรรยาสุดทรี่ ักไป อยากบอกวา่ เพ่ือนเปน็ สามี
ตวั อย่างทีด่ ี รักเดียวใจเดยี ว รว่ มทุกขร์ ว่ มสขุ และดแู ลสนุ ท่ีปว่ ย
กระเสาะกระแสะมาเปน็ อยา่ งดี จวบจนวันสดุ ท้ายของชวี ติ

ด้วยรกั และอาลัย
ทนง พงษพ์ านชิ (ขิง) เพอ่ื น KU 20

เกบ็ ไวเ้ ป็นความทรงจา สุนทรี พัฒโนทยั 49

อาลัยรกั พ่ีสุน
ทราบจากพ่ขี งิ ว่า พส่ี นุ ไดจ้ ากไปแลว้ อยา่ งสงบเม่อื เช้าน้ี ใจ

หนงึ่ ก็เศร้าเสียใจมาก แต่อีกใจหน่ึงกร็ ูส้ กึ หมดหว่ งที่พ่ีไมต่ อ้ งทน
ทกุ ข์ทรมานกบั ความเจ็บป่วยอีกต่อไป เขยี ดกับพ่ีสนุ พดู คุยกนั ทาง
ไลนอ์ ยเู่ สมอ ๆ พ่ีสนุ เป็นผหู้ ญิงท่ีเข้มแข็งมาก ถึงแมพ้ ่จี ะเจ็บปว่ ยแต่
พ่ีอารมณ์ดีอยเู่ สมอ พี่สนุ เป็นเหมอื นพส่ี าวคนหนึ่งของเขียดท่เี ขยี ด
รักและเคารพมาก ขอให้พ่ีสาวคนนไี้ ปสู่สคุ ติในสมั ปรายภพดว้ ย
เทอญ

ดว้ ยรักและอาลัย
กฤษณา พงษพ์ านิช (เขียด ภรรยาพีข่ ิง)

เชา้ นท้ี ราบขา่ วการจากไปของอาสุน ถึงแม้หนูจะไม่ไดเ้ จอ
อาสุนบอ่ ยนัก แต่หนเู องอดใจหายไม่ได้ ชื่อของอาสุนและดร.อารันต์
เปน็ ช่อื ท่หี นูไดย้ นิ พ่อและแม่พดู ถึงอย่บู ่อย ๆ และแมม่ ักจะส่งคลิป
ของเจา้ ฟีให้อาสนุ ดูอยู่เปน็ ระยะ ๆ อาสุนในความทรงจาของหนคู อื
ผ้หู ญิงทสี่ วย บคุ ลิกสงา่ งาม เป็นคนท่ีอารมณด์ ี อยู่ใกลด้ ้วยแล้วสบาย
ใจ หนเู ช่ือมั่นวา่ ด้วยคุณความดีท่อี าสนุ ทาไว้ อาสนุ คงไปเป็นนางฟา้
อยูบ่ นสวรรค์แล้ว

ดว้ ยรักและอาลยั
มนนัทธ์ พงษพ์ านชิ (จินเจอร์ ลกู พอ่ ขิง)

เกบ็ ไวเ้ ปน็ ความทรงจา สนุ ทรี พัฒโนทยั 50
รกั อำลยั .......เพื่อนรกั

จากการท่ีเราคุยกนั ทาง line ทุกวนั แต่การตดิ ต่อห่างไป
2-3 วนั เมือ่ ได้รับข่าวจากดวงทิพย์ ว่าสนุ เข้าโรงพยาบาล เราก็
ภาวนาขอให้สุนหายเปน็ ปกติ แข็งแรงเรว็ ๆ แตข่ ่าวกลับตรงกนั ข้าม
ว่าทรุดหนกั หมอพยายามชว่ ยเตม็ ท่ี ในทส่ี ุดขา่ วทไ่ี ม่อยากรบั ทราบ
ก็กลับเป็นจริง สุนได้จากเราไปแลว้ จรงิ ๆ ความรู้สกึ แรกกย็ งั ตกใจ
แม้จะทาใจไวบ้ ้างกต็ าม ความรสู้ ึกนัน้ บรรยายไม่ถกู เสียใจเกินกว่า
ทใ่ี ช้คาใดมาแทน

ขอแสดงความเสยี ใจอย่างสดุ ซึ้ง ต่อดร.อารันต์และครอบ
ครวั พัฒโนทัย ท่สี ญู เสียผเู้ ป็นทีร่ ักยง่ิ ท่ีไม่สามารถหวนกลับมาได้
ตลอดนริ ันดร์


Click to View FlipBook Version