นางสาวอภัสรา ประชาโรจน์
ต าแหน่งคร
ู
1
PA 1/ส
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มวิทยฐานะ)
ี
(ทุกสังกัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน 2565
ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางสาวอภัสรา นามสกุล ประชาโรจน์ ตำแหน่งครู
สถานศึกษา โรงเรียนชุมชนบึงบา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 18,590 บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรียนรู้จริง)
ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
ห้องเรียนปฐมวัย
ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
ห้องเรียนสายวิชาชีพ
ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตำแห่งครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็น
ตำแหน่ง ที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ึ
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 30 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
- กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
์
- กิจกรรมเสริมประสบการณ จำนวน 1 ชั่วโมง 70 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสร้างสรรค์ จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมเสรี/เล่นตามมุม จำนวน 3 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมกลางแจ้ง จำนวน 3 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมเกมการศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
2
- กิจกรรมทักษะพื้นฐานในชีวิตประจำวัน จำนวน 15 ชั่วโมง/สัปดาห์
(ดื่มนม รับประทานอาหาร สุขอนามัย และนอนพักผ่อน)
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสวัสดียามเช้าวันละ 12 นาที จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมส่งใจใส่เทียนน้อย วันละ 20 นาที จำนวน 1.40 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมจิตอาสาน้อย (วันพฤหัสบดี) จำนวน 20 นาที/สัปดาห์
-การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
-กลุ่มบริหารงานบุคคล จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
-กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาครูเพื่อเข้ารับการอบรม/
พัฒนาจากหน่วยงาน/องค์กรต่างๆภายนอกโรงเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
-กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาครู เพื่อเข้าร่วมประกวด
และพัฒนาผลงานทางวิชาการเพื่อรับรางวัล
จากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
-กิจกรรมแอโรบิค
-กิจกรรมกีฬาสีอนุบาล จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
-โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละ
ด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ตามขอตกลงใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
้
ึ้
การประเมิน ที่คาดหวังให้เกิดขน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรดระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ 1. จำนวนผู้เรียนไม่ 1.นักเรียนไม่น้อยกว่า
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง หลักสูตรการศึกษา น้อยกว่าร้อยละ 75 ร้อยละ 75 มีผลการ
การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร ปฐมวัยของสถานศึกษา มีผลการพัฒนา พัฒนาคุณภาพเป็นไป
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย คุณภาพเป็นไปตาม
3
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
้
ตามขอตกลงใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ึ้
การประเมิน ที่คาดหวังให้เกิดขน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรดระบุ)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และ ค่าเป้าหมายที่ ตามค่าเป้าหมายที่
การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม ตัวชี้วัด โครงสร้างหน่วย กำหนด กำหนด
เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้ หน่วยการ 2. จำนวนนักเรียน 2. นักเรียนร้อยละ 75 มี
การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ และนำมา ร้อยละ 75 มีผล ผลประเมินพัฒนาการอยู่
การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้กับแผนการ ประเมินพัฒนาการ ในระดับดีเยี่ยม
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ จัดประสบการณ์การ อยู่ในระดับดีเยี่ยม
ั
การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพฒนา เรียนรู้ โดยปรับให้
ผู้เรียนและการอบรมและพัฒนา เหมาะสมกับบริบทของ
คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน สถานศึกษา ผู้เรียน
ท้องถิ่น
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยประยุกต์ใช้รูปแบบบ
แผนการจัด
ประสบการณ์ตาม
แนวทาง Active
Learningเน้นให้นักเรียน
เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง
ใช้สื่อใกล้ตัวที่
หลากหลาย โดยอาศัย
ความร่วมมือกับ
ผู้ปกครอง
3. ศึกษา วิเคราะห์
แนวทางการจัดทำสื่อ
การสอนจากเอกสาร
งานวิจัย และประยุกต์ใช้
4
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
้
ตามขอตกลงใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ึ้
การประเมิน ที่คาดหวังให้เกิดขน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรดระบุ)
ในการสร้างสื่อ ให้
สอดคล้องกับหน่วยการ
เรียนรู้ สอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัจจุบันทั้ง 4
รูปแบบ อาทิ OnHand,
Online, On Demand
และ On site
4. ศึกษา วิเคราะห์
วิธีการวัดและ
ประเมินผล จากเอกสาร
งานวิจัย และนำมา
ประยุกต์ใช้ในการจัดทำ
เครื่องมือประเมินผล
เพื่อให้การประเมินผลมี
ความเหมาะสม
สอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชี้วัด โดย
การประเมินตามสภาพ
จริง
5. ศึกษา วิเคราะห์
เกี่ยวกับวิธีการจัด
บรรยากาศชั้นเรียน และ
นำมาประยุกต์ใช้ในการ
จัดบรรยากาศชั้นเรียน
จริงทั้งในรูปแบบ
5
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
้
ตามขอตกลงใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ึ้
การประเมิน ที่คาดหวังให้เกิดขน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรดระบุ)
Online และ Onsite
โดยจัดบรรยากาศชั้น
เรียนที่สะอาด อบอุ่นมี
์
มุมประสบการณ สร้าง
สถานการณ์ที่บ้านให้
นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
เพื่อส่งเสริมให้เด็กมี
พฤติกรรมที่สอดคล้อง
ตรงตามสภาพที่พึง
ประสงค์ของหลักสูตร
สถานศึกษา บนพื้นฐาน
ศักยภาพของแต่ละ
บุคคล
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน ศึกษา วิเคราะห์แนวทาง
การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ของ
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง สถานศึกษา และนำมา
้
การจัดทำขอมูลสารสนเทศของผู้เรียน ประยุกต์ใช้ในการ
และรายวิชาการดำเนินการตามระบบ ดำเนินการ ดังนี้
ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงาน 1. จัดทำข้อมูล 1. นักเรียนมีระบบ 1. นักเรียนร้อยละ 100
วิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา สารสนเทศของผู้เรียนที่ ข้อมูลสารสนเทศ มีข้อมูลในระบบ
และการประสานความร่วมมือกับ ได้รับมอบหมายเป็นครู สะดวกต่อการ สารสนเทศครบถ้วน ใน
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน ประจำชั้นในรูปแบบการ ใช้งานและมี ทุกด้าน เป็นระบบและ
ประกอบการ วิเคราะห์ผู้เรียน ผลการ ประสิทธิภาพ และ รายบุคคล
ประเมินพัฒนาการของ สามารถนำข้อมูลมา
ผู้เรียน ใช้ได้ทันท ี
6
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
้
ตามขอตกลงใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ึ้
การประเมิน ที่คาดหวังให้เกิดขน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรดระบุ)
2. การดำเนินการตาม 2. นักเรียนชั้น 2. นักเรียนร้อยละ 100
ระบบดูแลช่วยเหลือ อนุบาล 3 ได้รับการดูแลเอาใจใส่
ผู้เรียน จัดทำข้อมูลการ มีข้อมูลพื้นฐานเป็น ตรงตามความต้องการ
ดำเนินงานดูแล รายบุคคล และ รายบุคคลและมี
ช่วยเหลือผู้เรียนด้านการ ช่วยเหลือในเรื่อง ความสัมพันธ์อันดี
จัดประสบการณ์ ด้าน ต่างๆ จากข้อมูลการ ระหว่างครูและนักเรียน
ความประพฤติ ด้าน เยี่ยมบ้าน จัดหาทุน
ทุนการศกษา และด้าน การศึกษา นักเรียน
ึ
อื่นๆ ตามที่สถานศึกษา ยากจน
มอบหมาย
3. ดำเนินงานตาม 3. นักเรียนได้รับการ 3. นักเรียนร้อยละ 100
แผนปฏิบัติการ จัดประสบการณ์ จัดประสบการณ์
โครงการต่างๆ ในกิจกรรมที่ ในกิจกรรมที่หลากหลาย
ที่ได้รับมอบหมายตาม หลากหลายตาม ตามโครงการและ
ที่โรงเรียนแต่งตั้ง โครงการและ กิจกรรมที่ทางโรงเรียน
กิจกรรมที่ทาง ได้กำหนดขึ้น
โรงเรียนได้กำหนด
ขึ้น
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 1. เข้าร่วมการประชุม/ 1. เข้าร่วมการ 1. เข้าร่วมการประชุม/
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง อบรม/สัมมนา ในส่วนที่ ประชุม/อบรม/ อบรม/สัมมนา ในส่วนที่
การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ เกี่ยวข้องกับภาระหน้าที่ สัมมนา ในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับภาระหน้าที่
และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม และความรับผิดชอบ เกี่ยวข้องกับ และความรับผิดชอบ
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ และรายงานผลการ ภาระหน้าที่และ และรายงานผลการ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ประชุม/อบรม/สัมมนา ความรับผิดชอบ และ ประชุม/อบรม/สัมมนา
7
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ที่จะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน
ตามขอตกลงใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
้
ึ้
การประเมิน ที่คาดหวังให้เกิดขน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) กับผู้เรียน ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
สูงขึ้น(โปรดระบุ)
และการนำความรู้ความสามารถ อย่างเป็นระบบ ไม่น้อย รายงานผลการ อย่างเป็นระบบ ไม่น้อย
ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง กว่า 20 ชั่วโมง เพื่อ ประชุม/อบรม/ กว่า 20 ชั่วโมง
และวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา นำมาประยุกต์ใช้ในการ สัมมนา อย่างเป็น
การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ระบบ
ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม ให้มีประสิทธิภาพอย่าง
การจัดการเรียนรู้ สม่ำเสมอ
2. เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เข้าร่วมกิจกรรม 2. เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
เพื่อพัฒนางานด้าน กลุ่มเพอพัฒนางาน เพื่อพัฒนางานด้าน
ื่
วิชาชีพ (PLC) ด้านวิชาชีพ (PLC) วิชาชีพ (PLC)
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
นำความรู้ที่ได้มา ร่วมกับเพื่อนครู ร่วมกับเพื่อนครู
ประยุกต์สร้างนวัตกรรม ไม่น้อยกว่า 25 ชั่วโมง
เพื่อแก้ปัญหานักเรียน
อนุบาล 3
3.นักเรียนชั้นอนุบาล 3.นักเรียนร้อยละ 100 มี
้
3 ได้รับการแกไข ส่วนร่วมในการใช้
ื่
้
พัฒนาการได้ นวัตกรรมเพอแกไข
เหมาะสม ตามความ พัฒนาการได้เหมาะสม
แตกต่างระหว่าง ตามความแตกต่าง
บุคคล ระหว่างบุคคล
8
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการ
จัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการ
้
ครูผู้จัดทำขอตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่
ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ี่
ของรายวิชาหลักททำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้
โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน
้
ตามขอตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามขอตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน
้
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ
พัฒนางานตามขอตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ
้
ั
การจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพฒนางาน
ตามขอตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
้
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์
การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมี
การพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง "การประยุกต์ใช้การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ประกอบสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนา
ความสามารถทางความคิดรวบยอดของเด็กอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนชุมชนบึงบา" เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามแนวทาง Active Learning เน้นให้เด็กเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติจริงจากสื่อ อุปกรณ์ หรือสถานการณ์ที่
กำหนดขึ้น โดยใช้สื่อที่หลากหลาย เน้นสื่อหาง่ายในท้องถิ่น ใกล้ตัว ผสมผสานกับการใช้สื่อดิจิทัลที่มีเนื้อหา
ส่งเสริมความคิดรวบยอดของเด็กปฐมวัยและเหมาะสมกับพัฒนาการ รวมทั้งอาศัยความร่วมมือจากผู้ปกครอง
เพื่อพัฒนาความสามารถทางความคิดรวบยอดของเด็กอนุบาลปีที่ 3 ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนเกิด
ประโยชน์สูงสุดต่อเด็ก
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ึ
โรงเรียนชุมชนบึงบาเป็นโรงเรียนที่จัดการศกษา ๒ ระดับ คือระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษา
ผลจากการประเมินพัฒนาการปีการศึกษา 2563 พบว่าเด็กระดับชั้นปฐมวัย มีพัฒนาการด้านสติปัญญาเฉลี่ย
ภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 80.5 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนชุมชนบึงบากำหนดไว้
9
ึ
ื่
ในปีการศกษา 2564 จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัยขึ้น เพอส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านของ
เด็กปฐมวัยอย่างสมดุลตามวัย
ี่
การดำรงชีวิตนับตั้งแต่โลกก้าวเข้าสู่ศตวรรษท 21 เป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงและผันแปร
อย่างรวดเร็วของโลก การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสามารถคิดวิเคราะห์ คิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ได้ด้วยตนเอง ปรับตัวใช้ชีวิตกับโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ให้ได้อย่างเหมาะสม
การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) เป็นการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จาก
กิจกรรมหรือการปฏิบัติ ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเชิงนามธรรมโดย
้
ผ่านการสะทอนประสบการณ การคิดวิเคราะห์ การสรุปเป็นหลักการ ความคิดรวบยอด และการนำความรู้ไป
์
ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2562)
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่าส่งผลให้รูปแบบการดำรงชีวิตดำเนินไปตามแนวทาง
ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) การจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนชุมชนบึงบา ในปีการศกษา 2564 จึงต้องปรับให้
ึ
์
สอดคล้องกับสถานการณการแพร่ระบาดของโรคอบัติใหม่ มีการสำรวจความพร้อมของเด็กและผู้ปกครองต่อ
ุ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ทั้ง 4 รูปแบบ คือ On Hand คิดเป็นร้อยละ 94.11 On Demand คิดเป็นร้อยละ
92.94 On Air คิดเป็นร้อยละ 63.53 และ On Line คิดเป็นร้อยละ 74.12 โรงเรียนชุมชนบึงบาจึงจัดการ
เรียนรู้ในรูปแบบที่สอดคล้องกับความพร้อมของเด็กและผู้ปกครองทั้งแบบ On Hand On Demand On Air
และOn Line ซึ่งเห็นได้ว่าสื่อเทคโนโลยีมีบทบาทในการจัดการเรียนรู้มากขึ้น สอดคล้องกับสำนักงาน
ึ
เลขาธิการสภาการศกษา (2561) เสนอว่าปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนเพยงอย่างเดียวไม่
ี
เพียงพอ ต้องมีการนำเทคโนโลยีดิจัลมาใช้ควบคู่เพอส่งเสริมการเรียนรู้ ในลักษณะของแหล่งการเรียนรู้ทาง
ื่
กายภาพและแหล่งการเรียนรู้แบบดิจิทัล การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลสำหรับเด็กปฐมวัย ควรมีลักษณะเป็น
เครื่องมือที่ช่วยสร้างเสริมพัฒนาการและทักษะสำคัญที่จำเป็น โปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่นที่ใช้ควรมีเนื้อหา
เหมาะสม สอดคล้องกับความสนใจของเด็ก Wordwall เป็นเกมแบบโต้ตอบมีหลากหลายรูปแบบ เช่น จับคู่
จัดกลุ่ม เรียงลำดับ ตอบคำถาม (Wordwall.net, 2016) Liveworksheets เป็นใบงานออนไลน์ ที่เด็ก
สามารถทำและรู้คำตอบได้ทันที มีหลายลักษณะ เช่น เสียง วิดีโอ กิจกรรมลากและวาง โยงเส้นจับคู่ สามารถ
ปรับใช้กับการศึกษาได้ในลักษณะออนไลน์ได้หลากหลาย (Liveworksheets, 2021) Wordwall และ
Liveworksheets เป็นสื่อดิจิทัลที่ครูสามารถสร้างชิ้นงานให้มีเนื้อหาเหมาะสมกับวัยของเด็กได้ตาม
ื่
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ซึ่งต้องใช้ควบคู่กับสื่อทางกายภาพ เพอให้เกิดประโยชน์และส่งเสริมพัฒนาการ
ของเด็ก
กระบวนการความคิดที่มีต่อสิ่งเร้าหรือเหตุการณ์ ที่มีลักษณะเฉพาะร่วมกัน เป็นความรู้ความเข้าใจที่
ลึกซึ้ง (Deep knowledge & understanding) ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถนำไปเชื่อมโยงกับความคิดรวบ
ยอดอื่น ๆ นำไปสู่การต่อยอดองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรม มุ่งเน้นให้เด็กเข้าใจแนวคิด มากกว่าการท่องจำ
(วิชัย วงษ์ใหญ่, 2562) หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560 ระบุว่าเด็กปฐมวัยต้องมีความสามารถในการสังเกต
และบอกลักษณะส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงหรือความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง การจับคู่และเปรียบเทียบความ
10
แตกต่างและความเหมือน การจำแนกจัดกลุ่ม การเรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์ (กระทรวงศึกษาธิการ,
2560) เป็นความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ต่อไป
ดังกล่าวมาข้างต้นผู้จัดทำข้อตกลงได้รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ได้
เล็งเห็นถึงจุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ประกอบสื่อดิจิทัล ที่มุ่งให้
เด็กเกิดการสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรง จากการลงมือปฏิบัตินั้นส่งเสริมให้เด็กเกิดความสามารถทาง
ั้
ความคิดรวบยอด ซึ่งเป็นทักษะสำคัญตามกรอบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อีกทงเป็นรูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เป็น
พื้นฐานในการเรียนรู้ในระดับชั้นต่อไปและสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 และหลักสูตรสถานศกษา เพอ
ื่
ึ
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณลักษณะและตัวบ่งชี้
2) ศึกษาแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ประกอบสื่อดิจิทัล
3) ออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ตามแนวทางการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ประกอบสื่อ
ดิจิทัล
์
4) นำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชิงประสบการณประกอบสื่อดิจิทัล เสนอต่อ
ิ
หัวหน้าระดับชั้น หัวหน้ากลุ่มสาระปฐมวัย และผู้บริหาร พจารณาความเหมาะสม พร้อมเสนอแนะ
เพื่อปรับปรุงแกไข
้
5) ออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแผนการจัดประสบการณ ์
6) นำสื่อการเรียนรู้เสนอต่อหัวหน้าระดับชั้น หัวหน้ากลุ่มสาระปฐมวัย และผู้บริหาร
้
พิจารณาความเหมาะสม พร้อมเสนอแนะเพอปรับปรุงแกไข
ื่
์
7) นำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชิงประสบการณประกอบสื่อดิจิทัลและสื่อการ
เรียนรู้ไปทดลองใช้และนำผลที่ได้มาปรับปรุง พัฒนาให้มีความน่าสนใจ เข้าใจง่าย และนักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
์
8) นำผลสะท้อนในการใช้แผนการจัดประสบการณการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ประกอบสื่อ
ดิจิทัลบันทึกขอมูลในระบบสารสนเทศผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อประเมินการเรียนรู้ นำข้อมูลที่ได้
้
พัฒนาผลการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนชุมชนบึงบา หลังได้รับการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
ประกอบสื่อดิจิทัล มีความสามารถทางความคิดรวบยอดสูงขึ้น ร้อยละ 75
11
3.2 เชิงคุณภาพ
นักเรียนชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนชุมชนบึงบา มีพัฒนาการทางความสามารถทางความคิด
รวบยอดอยู่ในระดับดี
ลงชื่อ...................................................................
(นางสาวอภัสรา ประชาโรจน์)
ตำแหน่ง ครู
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
ื่
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพอนำไปแกไข และเสนอ
้
เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
.......................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................................
(นายปิยราช สืบเชื้อวงค์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนบึงบา
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564