The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสวดมนต์1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือสวดมนต์1

หนังสือสวดมนต์1

วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๑ คําแผ่เมตตา (หันทะ มะยัง เมตตาผะระณัง กะโรมะ เส.) อะหัง สุขิโต โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ถึงสุข, นิททุกโข โหมิ, จงเป็นผู้ไร้ทุกข์, อะเวโร โหมิ, จงเป็นผู้ไม่มีเวร, อัพฺยาปัชโฌ โหมิ, จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน, อะนีโฆ โหมิ, จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์, สุขีอัตตานัง ปะริหะรามิ, จงรักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด, สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ถึงความสุข, สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร, สัพเพ สัตตา อัพฺยาปัชฌาโหนตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงอย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกัน, สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีทุกข์, (ทั้งกายและใจ), สัพเพ สัตตา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงรักษาตน อยู่เป็นสุขเถิด,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๒ สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงพ้นจากทุกข์ทั้งมวล, สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงอย่าได้พรากจากสมบัติ อันตนได้แล้ว, สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีกรรมเป็นของๆตน, มีกรรมเป็นผู้ให้ผล, มีกรรมเป็นแดนเกิด, มีกรรมเป็นผู้ติดตาม, (เป็นเผ่าพันธุ์) มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย, ยัง กัมมัง กะริสสันติ, กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ, จักทํากรรมอันใดไว้, เป็นบุญหรือเป็นบาป, จักต้องเป็น ผู้ได้รับผลของกรรมนั้นๆ สืบไป,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๓ อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (หันทะ มะยัง อุททิสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส. ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ, ด้วยบุญนี้ อุทิศให้, อุปัชฌายา คุณุตตะรา, อุปัชฌาย์ผู้เลิศคุณ, อาจะริยปะการา จะ, ู แลอาจารย์ผู้เกื้อหนุน, มาตาปิ ตา จะ ญาตะกา, ทั้งพ่อแม่แลปวงญาติ, สุริโย จันทิมา ราชา, สูรย์จันทร์ แลราชา, คุณะวันตา นะราปิจะ, ผู้ทรงคุณ หรือสูงชาติ, พรัหมะมารา จะ อินทา จะ, พรหมมาร และอินทราช, โลกะปาลา จะ เทวะตา, ทั้งทวยเทพ และโลกบาล, ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ, ยมราช มนุษย์มิตร, มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ, ผู้เป็นกลาง ผู้จ้องผลาญ, สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ, ขอให้เป็นสุขศานติทุกทั่วหน้า อย่าทุกข์ทน, ์ ปุญญานิปะกะตานิเม, บุญผองที่ข้าทําจงช่วยอํานวยศุภผล,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๔ สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ, ให้สุขสามอย่างล้น, ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง, ให้ลุถึงนิพพานพลัน, อิมินา ปุญญะกัมเมนะ, ด้วยบุญนี้ที่เราทํา, อิมินา อุททิเสนะ จะ, แลอุทิศให้ปวงสัตว์, ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ, เราพลันได้ซึ่งการตัด, ตัณหุปาทานะ เฉทะนัง, ตัวตัณหาอุปาทาน, เย สันตาเน หินา ธัมมา, สิ่งชั่วในดวงใจ, ยาวะ นิพพานะโต มะมัง, กว่าเราจะถึงนิพพาน, นัสสันตุสัพพะทา เยวะ, มลายสิ้นจากสันดาน, ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว, ทุกๆภพ ที่เราเกิด อุชุจิตตัง สะติปัญญา, มีจิตตรงและสติทั้งปัญญาอันประเสริฐ, สัลเลโข วิริยัมหินา, พร้อมทั้งความเพียรเลิศ เป็นเครื่องขูดกิเลสหาย, มารา ละภันตุโนกาสัง, โอกาสอย่าพึงมีแก่หมู่มารสิ้นทั้งหลาย, กาตุญจะ วิระเยสุเม, เป็นช่อง ประทุษร้ายทําลายล้าง ความเพียรจม,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๕ พุทธาธิปะ วะโร นาโถ, พระพุทธผู้บวรนาถ, ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม, พระธรรมที่พึ่งอุดม, นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ, พระปัจเจกะพุทธสม, สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง, ทบพระสงฆ์ที่พึ่งผยอง, เตโสตตะมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพนั้น, มาโรกาสัง ละภันตุมา, ขอหมู่มารอย่าได้ช่อง, ทะสะปุญญานุภาเวนะ, ด้วยเดชบุญทั้งสิบป้อง, มาโรกาสัง ละภันตุมา. อย่าเปิดโอกาสแก่มาร เทอญ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๖ บทอนุโมทนาให้พร


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๗ อนุโมทนารัมภะคาถา ยะถา วาริวะหา ป ู รา ปะริป ู เรนติ สาคะรัง, ห้วงนํ้าที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณ์ได้ ฉันใด, เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ, ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วแต่โลกนี้, ย่อมสําเร็จประโยชน์ แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ ฉันนั้น, อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง, ขออิฏฐะผลที่ท่านปรารถนาแล้ว ตั้งใจแล้ว , ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ, จงสําเร็จโดยฉับพลัน, สัพเพ ป ูเรนตุสังกัปปา, ขอความดําริทั้งปวงจงเต็มบริบูรณ์, จันโท ปัณณะ ระโส ยะถา, เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ, มะณิโชติระโส ยะถา. เหมือนแก้วมณีอันสว่างไสวควรยินดี.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๘ สามัญญานุโมทนาคาถา สัพพีติโย วิวัชชันตุ, ความจัญไรทั้งปวง จงบําราศไป, สัพพะโร โค วินัสสะตุ, โรคทั้งปวงของท่านจงหาย มา เต ภะวัตวันตะราโย, อันตรายอย่ามีแก่ท่าน, สุขีทีฆายุโก ภะวะ, ท่านจงเป็นผู้มีความสุขมีอายุยืน, อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ, อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง. พรสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ, ย่อมเจริญแก่ บุคคลผู้มีปรกติไหว้กราบ, มีปรกติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ เป็นนิจ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๔๙ โภชนทานานุโมทนาคาถา อายุโท พะละโท ธีโร, ผู้มีปัญญาให้อายุ ให้กําลัง, วัณณะโท ปะฏิภาณะโท, ให้วรรณะ ให้ปฏิภาณ, สุขัสสะ ทาตา เมธาวี, ผู้มีปัญญาให้ความสุข , สุขัง โส อะธิคัจฉะติ, ย่อมได้ประสบสุข , อายุง ทัตฺวา พะลัง วัณณัง สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท, บุคคลผู้ให้อายุ พละ วรรณะ สุขะ และปฏิภาณ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถู ปะปัชชะตีติ. บังเกิดในที่ใด ๆ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศในที่นั้น ๆ ดังนี้.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๐ อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา อัคคะโต เว ปะสันนานัง, อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง, เมื่อบุคคลรู้จักธรรมอันเลิศ, เลื่อมใสแล้วในความเป็นของเลิศ, อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง, เสื่อมใสแล้วในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ, ทักขิเณยเย อะนุตตะเร, ซึ่งเป็นทักขิไณยบุคคลอย่างเยี่ยมยอด, อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง วิราคปะสะเม ู สุเข, เลื่อมใสแล้วในพระธรรมอันเลิศ, ซึ่งเป็นธรรมอันปราศจาก ราคะ และสงบระงับเป็นสุข, อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระสงฆ์ผู้เลิศ, ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร, ซึ่งเป็นบุญญะเขตอย่างยอด, อัคคัสฺมิง ทานัง ทะทะตัง, ถวายทานในท่านผู้เลิศ, อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, บุญที่เลิศย่อมเจริญ,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๑ อัคคัง อายุจะ วัณโณ จะ, อายุ วรรณะที่เลิศ, ยะโส กิตติสุขัง พะลัง, และยศ เกรียติคุณ สุขะ พละที่เลิศ ย่อมเจริญ, อัคคัสสะ ทาตา เมธาวีอัคคะธัมมะสะมาหิโต, ผู้มีปัญญาตั้งมั่นในพระธรรมอันเลิศแล้ว , ให้ทานแก่ท่าน ผู้เป็นบุญญะเขตอันเลิศ, เทวะภ ูโต มะนุสโส วา, จะไปเกิดเป็นเทพยดา หรือมนุษย์ก็ตาม, อัคคัปปัตโต ปะโมทะตีติ. ย่อมเป็นผู้ถึงความเป็นผู้เลิศ บันเทิงอยู่, ดังนี้.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๒ กาละทานะสุตตะคาถา กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญ�ู วีตะมัจฉะรา, กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ, อุชุภูเตสุ ตาทิสุวิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา, ทายกทายิกาทั้งหลายเหล่าใด, เป็นผู้มีปัญญามีปกติ รู้จักคําพูด, ปราศจากตระหนี่มีใจเสื่อมใสแล้วในพระอริยเจ้า ทั้งหลาย, ซึ่งเป็นผู้ตรงคงที่, บริจาคทานทําให้เป็นของที่ตน ถวายโดยกาลนิยม, ในกาลสมัยทักษิณาทานของ ทายกทายิกานั้น, เป็นสมบัติมีผลไพบูลย์. เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา, ชนทั้งหลายเหล่าใด, อนุโมทนา, หรือช่วยทําการขวนขวาย ในทานนั้น, นะ เตนะ ทักขิณา โอนา, ทักษิณาทานของเขามิได้บกพร่องไปด้วยเหตุนั้น, เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน, แม้ชนเหล่านั้น, ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งผลบุญนั้นด้วย, ตัสฺมา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง, เหตุนั้น, ทายกทายิกาควรเป็นผู้มีจิตใจไม่ท้อถอย, ให้ในที่ใดมีผลมาก, ควรให้ที่นั้น, ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ. บุญย่อมเป็นที่พึ่งอาศักของสัตว์ทั้งหลาย, ในโลกหน้าดังนี้.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๓ ติโรกุฑฑกัณฑปัจฉิมคาถา อะทาสิ เม อะกาสิ เมญาติมิตตา สะขา จะ เม, บุคคลมาระลึกถึงอุปการะอันท่านได้ทําแกตนในการก่อนว่า, ผู้นี้ได้ให้สิ่งนี้แก่เรา, ผู้นี้ได้ทํากิจนี้ของเรา, ผู้นี้เป็นญาติมิตร เป็นเพื่อนของเรา, ดังนี้, เปตานัง ทักขิณัง ทัชชาปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง, ก็ควรให้ทักษิณาทาน, เพื่อผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, นะ หิรุณณัง วา โสโกวายา วัญญา ปะริเทวะนา, การร้องไห้ก็ดี, การเศร้าโศก็ดี หรือการรํ่าไรรําพันอย่างอื่น ก็ดี, บุคคลไม่ควรทําทีเดียว, นะตัง เปตานะมัตถายะ, เพราะว่าการร้องไห้เป็นต้นนั้น, ไม่เป็นประโยชน์แก่ญาติ ทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย, ญาติทั้งหลาย, ย่อมตั้งอยู่อย่างนั้น, อะยัญจะโข ทักขิณา ทินนา, ก็ทัษิณาทานนี้แล, อันท่านให้แล้ว, สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ประดิษฐานไว้ดีแล้วในสงฆ์


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๔ ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะฐานะโส อุปะกัปปะติ, ย่อมสําเร็จประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วนั้น, ตลอดกาลนาน ตามฐานะ, โส ญาติธัมโม จะอะยัง นิทัสสิโต, ญาติธรรมนี้นั้น, ท่านได้แสดงให้ปรากฏแล้ว, เปตานะ ป ู ชา จะ กะตา อุฬารา, แลบูชาอันยิ่งท่านก็ได้ทําแล้ว, แก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, พะลัญจะ ภิกขนะมะนุปปะทินนัง, ู กําลังแห่งภิกษาทั้งหลาย, ชื่อว่าท่านได้เพิ่มให้แล้วด้วย, ตุมเหหิปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ. บุญไม่น้อย, ท่านได้ขวนขวายแล้ว, ดังนี้แล.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๕ มงคลจักรวาฬน้อย สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะ นานัง อานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งรัตนะทั้งสาม คือ, พุทธรตนะ ธรรมรตนะ สังฆรัตนะ, จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์ แปดหมื่นสี่พัน, ปิ ฏะกัตตะยานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระไตรปิฏก, ชินะสาวะกานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสาวก ของพระชินเจ้า, สัพเพ เต โรคา, สรรพโรคทั้งหลายของท่าน, สัพเพเต ภะยา, สรรพภัยทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต อันตะรายา, สรรพอันตรายทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต อุปัททะวา, สรรพอุปัทวะทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เตทุนนิมิตตา, สรรพนิมิตร้ายทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต อะวะมังคะลา, วินัสสันตุ, สรรพอวมงคลทั้งหลายของท่าน,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๖ วินัสสันตุ, จงพินาศไป, อายุวัฑฒะโก, ความเจริญอายุ, ธะนะวัฑฒะโก, ความเจริญทรัพย์, สิริวัฑฒะโก, ความเจริญสิริ, ยะสะวัฑฒะโก, ความเจริญยศ, พะละวัฑฒะโก, ความเจริญกําลัง, วัณณะวัฑฒะโก, ความเจริญวรรณะ, สุขะวัฑฒะโก, ความเจริญสุข โหตุ สัพพะทา, จงมีแก่ท่าน ในกาลทั้งปวง, ทุกขะโรคะภะยา เวรา, ทุกข์โรคภัย และเวรทั้งหลาย, โสกา สัตตุ จุปัททะวา, ความโศกศัตรู แลอุปัทวะทั้งหลาย, อะเนกา อันตะรายาปิ, ทั้งอันตรายทั้งหลายเป็นอเนก, วินัสสันตุ จะ เตชะสา, จงพินาศไปด้วยเดช, ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง, ความชนะสําเร็จทรัพย์ลาภ, โสตถิ ภาคยัง สุขัง พะลัง, ความสวัสดีมีโชคดี ความสุข และกําลัง, สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ, สิริอายุแลวรรณะ, โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา, โภคะความเจริญ แลความเป็นผู้มียศ, สะตะวัสสา จะ อายุ จะ, แลอายุยืนนานร้อยปี, ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต. แลความสําเร็จกิจในความเป็นอยู่ จงมีแก่ท่านในกาลทุกเมื่อเทอญ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๗ สัพพะโรคะ สัพพะโรคะวินิมุตโต, จงพ้นจากโรคทั้งปวงด้วย, สัพพะสันตาปะวัชชิโต, จงพ้นจากความเดือดร้อนทั้งปวงด้วย, สัพพะเวระมะติกกันโต, จงล่วงเสียซึ่งเวรทั้งปวงด้วย, นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ. ท่านจงเป็นผู้ดับทุกข์ทั้งปวงด้วย. ภะวะตุสัพ ภะวะตุสัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน, รักขันตุสัพพะเทะตา, ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาท่าน, สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ขอความสวัสดีทั้งหลาย, จงมีแก่ท่านทุกเมื่อเทอญ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๘ ศาสนพิธีสําหรับ พระภิกษุ - สามเณร


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๕๙ คําอุปโลกน์ภัตตาหาร ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ชานาตุ, อะยัง ปะฐะมะภาโค เถรัสสะ ปาปุณาติ, อะวะเสสา ภาคา อัมหากัง ภิกข ูณัญจะ, สามะเณราณัง, อุปาสะกะอุปาสิกาณัง, ยะถา สุขัง ปะริปัญชันตุ . คําแปล ข้าแต่สงฆ์ผู้เจริญ, วันนี้ได้มีอุบาสกอุบาสิกาผู้มีจิตศรัทธา อุตสาหะ, ได้นํ้านํามาแล้วซึ่งภัตตาหา, พร้อมกับของอันเป็นบริวาร ทั้งหลายเหล่านี้, มาถวายเป็นสังฆทานแด่สงฆ์, จะได้จําเพาะ เจาะจงให้เป็นของพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ก่อนนั้นก็หามิได้, แต่ได้ น้อมนํามาถวายแด่สงฆ์ทั้งปวง, บัตดนี้, สงฆ์ได้สมมุติให้ข้าพเจ้า เป็นภัตตุทเทศก์, เพื่อถวายภัตต์แด่สงฆ์,ขอถวายดังนี้, ส่วนที่หนึ่ง น้อมถวายแด่พระเถระผู้เป็ นประธาน, ส่วนที่สองถวายแก่ พระอนุเถระ พระมัชฌิมะ และพระสวกะตามลําดับ, ตลอดถึง สามเณร ปะขาว, ส่วนที่เหลือนอกนั้น, ให้เป็นของอุบาสกอุบาสิกา, จงบริโภคกันได้ตามสบาย, ถ้าภิกษุ รูปใดเห็นว่าไม่สมควร ดังที่กล่าว, จงทักท้วงขึ้น ณ ที่ท่ามกบลางสงฆ์นี้,...(หยุด)... ถ้าหากเห็นสมควรแล้วไซร้, จงเปล่งเสียงอนุโมธนาสาธุการขึ้น พร้อมกันทุกท่านทุกคน เทอญ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๐ คําอุปโลกน์ผ้ากฐิน (รู ปทีหนึ่ ่ ง) ผ้ากฐินทาน, กับทั้งผ้าอานิสังสบริวารทั้งปวงนี้, เป็นของ อุบาสกอุบาสิกา, ผู้มีจิตศรัทธาอุตสาหะ, ได้พร้อมเพรียงกันนํามา ถวาย,แด่พระภิกษุสงฆ์ผู้อยู่จําพรรษาครบถ้วนไตรมาสในอาวาสนี้, ก็แลผ้ากฐินทานนี้, เป็ นของได้มาด้วยศรัทธาอันบริสุทธิ ์ เกิดขึ้นแล้วในท่ามกลาระหว่างสงฆ์,จะได้จําเพาะเจาะจงเป็นของ พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ก็หามิได้, มีพระบรมพุทธานุญาตไว้ว่า, ให้พระสงฆ์ทั้งปวง, ยินยอมพร้อมใจกัน, ให้แก่พระภิกษุรูปใด รูปหนึ่ง, เพื่อที่จะกระทําซึ่งกฐินนัตถารกิจ, ตามพระบรมพุทธา นุญาต, และมีพระอรรถกถาจารย์, ผู้รู้พระบรมพุทธาธบาย, ได้สังวรรณนาไว้ว่า, ภิกษุรูปใด, ประกอบ ด้วยศีลสุตาทิคุณ, เป็ นผู้มีสติปัญญา, สามารถรู้ธรรม 8 ประการณ, มีบุพพกิจ เป็ นต้น, ภิกษุรูปนั้น, จึงสมควรที่จะกระทําซึ่งกฐินัตถารกิจ, ให้ถูกต้องตามพระบรมพุทธานุญาตได้, บัด่นี้, พระสงฆ์ทั้งปวง, จะเห็นสมควรแก่ภิกษุ รูปใด, จงพร้อมใจกันอนุญาตให้แก่ภิกษุรูปนั้น, เทอญ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๑ (รู ปทีสอง)่ ผ้ากฐินทาน, กับทั้งผ้าอานิสังสบริวารทั้งปวงนี้, ข้าพเจ้า พิจารณเห็นสมควรแก่ท่าน... ซึ่งเป็นผู้มีสติปัญญาสามารถ, ที่จะ กระทําซึ่งกฐินัตถารกิจ, ให้ถูกต้องตามพระบรมพุทธานุญาตได้, ถ้าหาภิกษุรูปใด, เห็นไม่สมควรดังที่กล่าว, จงทักท้วงขึ้นในที่ ท่ามกลางสงฆ์นี้, (....หยุดนิดหนึ่ง....) ถ้าเห็นสมควรแล้วไซร์, จงเปล่งสัททสัญญาสาธุการ,ขึ้นให้พร้อมกันทุกท่านทุกคนเทอญ. (พระสงฆ์รับสาธุ)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๒ คําขอขมา ในพุทธศาสนา มีข้อปฏิบัติอย่างหนึ่งว่า ผู้ใดล่วงเกินผู้อื่น ผู้นั้นไม่ควรทําเฉยเมย เมื่อรู้สึกตัวแล้วพึงขอโทษ เรียกว่า “ขอขมา”แปลว่า “ขอให้ยกโทษ”และผู้ใดถูกล่วงเกิน เมื่อได้รับ การขอขมา ผู้นั้นไม่ควรถือโกรธไม่รู้หาย พึงรับขมายอมยกโทษให้ นอกจากนี้การขอขมายังเป็นธรรมเนียมอย่างหนึ่ง ที่ภิกษุ ประพฤติกันในโอกาสต่าง ๆ เช่น ในวันเข้าพรรษาหรือในวัน ต่อจากนั้น ซึ่งเป็นกิจที่ผู้น้อยทําแก่ผู้ใหญ่ ศิษย์ทําแก่อุปัชฌาย์ อาจารย์ แม้ไม่เคยล่วงเกินกัน ก็ยังถือว่าเป็นสิ่งที่ควรทํา คําขอขมา ผู้ขอ เถเร ปะมาเทนะ, ทะวารัตะเยะน กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ เม ภัณเต. (ขอท่านได้กรุณายกโทษทั้งปวง ที่ข้าพเจ้าได้ล่วงเกินต่อ ท่านด้วย กาย วาจา ใจ เพราะความประมาทด้วยเทอญ) ผู้รับ อะหัง ขะมามิ, ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง. (ข้าพเจ้าขอยกโทษนั้นแก่ท่าน, แม้ท่านก็ถึงยกโทษนั้น แก่ข้าพเจ้าด้วย)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๓ ผู้ขอ ขะมามิภันเต. (ข้าพเจ้าขอยกโทษนั้นแก่ท่าน) ถ้าเป็นพระมหาเถระผู้มีอาวุโสมาก พึงใช้คําว่า มหาเถเร ถ้าเป็นพระเถระที่มีพรรษา ๑๐ พรรษาขึ้นไปใช้คําว่า เถเร ถ้าเป็นพระอุปัชฌาย์พึงใช้คําว่า อุปัชฌาเย ถ้าเป็นพระอาจารย์ พึงใช้คําว่า อาจาริเย หากภิกษุผู ้ขอขมามีหลายร ู ป พึงเปลี่ ยนแปลงดงนี ้ ผู้ขอเปลี่ยน ขะมะถะ เม ภันเต เป็น ขะมะตุ โน ภันเต ผู้รับเปลี่ยน ตะยาปิเป็น ตุมเหหิปิ ผู้ขอเปลี่ยน ขะมามิเป็น ขะมามะ คําให้พรเมื่ อมีผ ู ้ขอขมา เอวัง โหตุ เอวัง โหตุ, โย จะ ปุพเพ ปะมัชชิตฺวา ปัจฉา โส นัปปะมุจจะติ, โสมัง โลกัง ปะภาเสติ อาภา มุตโต วะ จันทิมา, ยัสสะ ปาปั กะตัง กัมมัง กุสะเลนะ ปะหิยฺยะติ, โสมัง โลกัง ปะภาเสติ อาภา มุตโต วะ จันทิมา, อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง. ธรรมเนียมการขอขมา ให้ว่าแต่ภาษาบาลี และเป็นธรรมเนียม ที่ผู้รับการขอขมาต้องกล่าวคําให้พร ฉะนั้นเมื่อขอขมาแล้ว ผู้ขอขมาพึงหมอบรอรับพรจากท่านเมื่อท่านให้พรจบ ผู้ขอขมา พึงรับว่า สาธุ ภันเต


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๔ คําอธิฐานเข้าพรรษา เมื่อถึงฤดูฝน ภิกษุจะต้องหยุดเดินทาง แล้วเข้าพํานักในวัด หรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งที่สมควรตลอด 3 เดือน เริ่มตั้งแต่ แรม ๑ คํ่า เดือน ๘ ขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ เรียกธรรมเนียมนี้ว่า การจําพรรษา (เมื่อมีเหตุจําเป็นหรือธุระอันสมควรสามารถ ไปที่อื่นได้คราวละ 7 วัน) เมื่อถึงวันเข้าพรรษา ภิกษุในอาวาสทั้งหมด ถึงเข้าไปประชุม พร้อมกันในโรงอุโบสถหรือในวิหารแล้วกล่าวคําอธิษฐาน พร้อมกันว่า :- อิมัสฺมิง อาวาเส, อิมัง เตมาสัง, วัสสัง อุเปมะ. (๓ ครั ้ ง) “เราทั้งหลายจักอยู่ในอาวาสนี้ตลอด ๓ เดือน ในฤดูฝน” หมายเหตุ หากกล่าวทีละรูปเปลี่ยนคําว่า อุเปมะ เป็ น อุเปมิและ เปลี่ยน เราทั้งหลาย เป็น เรา หรือ ข้าพเจ้า ถ้าจําพรรษารูปเดียวเปลี่ยน อาวาเส เป็น วิหาเร (วิหาร)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๕ คําขอนิสัย ภิกษุผู้อุปสมบทแล้วถ้าได้ได้อยู่ในวัดเดียวกันกับอุปัชฌาย์ จะต้องต้องถือนิสัยในอาจารย์ หรือเจ้าอาวาสวัดที่ตนอาศัยอยู่ นอกจากนี้การขอนิสัย ก็ยังนิยมทํากันต่อจากการขอขมา พระอุปชฌาย์อาจารย์ในวันเข้าพรรษาด้วย หรือ ในบางโอกาส เช่น เมื่อไปขอพํานักศึกษาพระธรรมวินัย กับพระอาจารย์ในวัดอื่น คําขอนิสัย:- ศิษย์ อาจาริโย เม ภันเต โหหิ, อายัสฺมะโต นิสสายะ วัจฉามิ. (๓ ครั ้ ง) (ขอท่านได้โปรดเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า. ข้าพเจ้าขออาศัยท่าน) อาจารย์ โอปายิกัง. (เป็นอุบายที่สมควรแล้ว) ศิษย์ สาธุภันเต. (ดีแล้ว ท่านผู้เจริญ) จากนั้น ภิกษุพึงกล่าวคํารับเป็นธุระให้ท่านสืบไป ดังนี้:-


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๖ อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมปิเถรัสสะภาโร (ตั้งแต่วันนี้ไป ท่านอาจารย์ย่อเป็น ภาระของเกล้ากระผม และเกล้ากระผมย่อมเป็นภาระของท่านอาจารย์) หมายเหตุ ถ้าภิกษุรูปใดอยู่โดยไม่ขอนิสัย ท่านปรับอาบัติทุกกฏแก่ภิกษุรูปนั้น. *(ธรรมเนียมการขอนิสัยต่อพระผู้ใหญ่ ไม่นิยมแปล) คําปวารณา (ออกพรรษา) สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสัง กายะ วา, วะทันตุมัง อายัสฺมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. ข้าพเจ้าขอปวารณาต่อสงฆ์ หากความประพฤติบกพร่องใด ๆ ของข้าพเจ้าปรากฏแก่ท่านทั้งหลายด้วยได้เห็นก็ดี ด้วยได้ยินก็ดี ด้วยสงสัยอยู่ก็ดี ขอท่านทั้งหลาย จงอาศัย ความกรุณาว่ากล่าวตักเตือนข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าทราบแล้ว จักแก้ไขต่อไป


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๗ ทุติยัมปิภันเต, สังฆัง ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสัง กายะ วา, วะทันตุมัง อายัสฺมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอปวารณาต่อสงฆ์ หากความ ประพฤติบกพร่องใด ๆ ของข้าพเจ้าปรากฏแก่ท่านทั้งหลาย ด้วยได้เห็นก็ดีด้วย ได้ยินก็ดี ด้วยสงสัยอยู่ก็ดี ขอท่าน ทั้งหลาย จงอาศัยความกรุณาว่ากล่าวตักเตือนข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าทราบแล้วจักแก้ไขต่อไป ตะติยัมปิภันเต, สังฆัง ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสัง กายะ วา, วะทันตุมัง อายัสฺมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ. แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอปวารณาต่อสงฆ์ หากความ ประพฤติบกพร่องใด ๆ ของข้าพเจ้าปรากฏแก่ท่านทั้งหลาย ด้วยได้เห็นก็ดีด้วย ได้ยินก็ดี ด้วยสงสัยอยู่ก็ดี ขอท่าน ทั้งหลาย จงอาศัยความกรุณาว่ากล่าวตักเตือนข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าทราบแล้วจักแก้ไขต่อไป


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๘ ศาสนพิธีของ อุบาสก - อุบาสิกา


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๖๙ คําบ ู ชาพระรัตนตรัย (ว่าตามผู้นําพิธี) อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปเชมะ, ู ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาพระพุทธเจ้า, ด้วยเครื่องสักการะนี้, อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปเชมะ, ู ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาพระธรรม, ด้วยเครื่องสักการะนี้, อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปเชมะ, ู ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาพระสงฆ์, ด้วยเครื่องสักการะนี้, คํากราบพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิง ทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดย พระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ, ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า,ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๐ ธัมมัง นะมัสสามิ, ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ) ปุพพภาคนมการ (ตั้ง นะโม พร้อมกัน ๓ จบ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธธัสสะ (คําแปล ให้ว่าตามผู้นําพิธี๑ จบ) ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระองค์นั้น, ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๑ คําอาราธนาศีล ๕ (ให้ว่าพร้อมกัน) มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิยาจามะ, ทุติยัมปิมะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิยาจามะ, ตะติยัมปิมะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิยาจามะ. คําอาราธนาธรรม (ผู้นําพิธีว่า คนเดียว) พรหมา จะ โลกาธิปะติ สะหัมปะติ, กัตอัญชะลีอันธิวะรัง อะยาจะถะ, สันตีธะ สัตตาป ปะรักชักขะ ชาติกา เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัม ปิ มัง ปะชัง.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๒ คําถวายภัตตาหาร (ว่าตามผู้นําพิธี) อิมานิมะยัง ภันเต, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัส สะ โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปะฎิคคัณหาตุ, อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ. ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย ภัตตาหาร, กับทั้งของอันเป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระสงฆ์, ขอพระสงฆ์โปรดรับ, ภัตตาหาร, กับทั้งของอันเป็น บริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของข้าพเจ้าทั้งหลาย, เพื่อประโยชน์, และ ความสุข, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, แก่ญาติทั้งหลาย, ทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่, และล่วงลับไปแล้ว, อันมีบิดามารดาเป็นต้น, ตลอดทั้ง เจ้ากรรมนายเวร, และสรรพสัตว์ทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ * (ถ้าถวายเลยเวลาฉันภัตตาหาร ให้เปลี่ยน ภัตตานิเป็น สังฆทานานิ และเปลี่ยนคําแปลจาก ภัตตาหารเป็น เครื่ องสังฆทาน ) * (ถ้าถวายเทียนพรรษา ให้เปลี่ยน ภัตตานิเป็น วัสสทีปะวะรานิและ เปลี่ยนคําแปลจาก ภัตตาหารเป็น เทียนพรรษา)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๓ คําถวายผ้ากฐิน อิมัง ภันเต, สะปะริวารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, สังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, สังโฆ อิมัง, สะปะริวารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, ปะฏิคคัณหาตุ, ปะฏิคคะเหตะวา จะ, อิมินา ทุสเสนะ, กะฐินัง, อัตถะระตุ, อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ. ข้าแต่สงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ผ้ากฐินจีวร, กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์โปรดรับ, ผ้ากฐินจีวร, กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของข้าพเจ้าทั้งหลาย, รับแล้ว,จงกรานกฐินด้วยผ้านี้, เพื่อประโยชน์และความสุข, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, แก่ปวงเทพเทวา และญาติทั้งหลาย, ทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่, และที่ล่วงลับไปแล้ว, อันมีบิดามารดาเป็นต้น, ตลอดทั้งเจ้ากรรมนายเวร, และ สรรพสัตว์ทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๔ คําอาราธนาศีล ๘ (ศีลอุโบสถ) มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, อัฎฐะ สีลานิยาจามะ, ทุติยัมปิมะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, อัฎฐะ สีลานิยาจามะ, ตะติยัมปิมะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, อัฎฐะ สีลานิยาจามะ. คําสมาทานศีล ๘ (สิกขาบท ๘) ปาณาติปาตา เวระมะณีสิกฺขาปะทัง สะมาทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการฆ่าสัตว์) อะทินนาทานา เวระมะณีสิกฺขาปะทัง สะมาทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจ้าของไม่ได้ให้) อะพฺรัหมะจะริยา เวระมะณีสิกฺขาปะทัง สะมาทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการประพฤติผิด พรหมจรรย์)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๕ มุสาวาทา เวระมะณีสิกฺขาปะทัง สะมาทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการพูดไม่จริง) สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณีสิกฺขาปะทัง สะมาทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการเสพของมึนเมา คือ สุรา, เมรัย และสิ่งเสพติดอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท) วิกาลธโภชะนา เวระมะณี สิกฺขาปะทัง สะมา ทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากบริโภคอาหาร ในเวลาวิกาล) นัจจะคีตะวาทิตะวิส ู กะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภ ู สะนัฎฐานา เวระมะณี สิกฺขาปะทัง สะมา ทิยามิ, (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากฟ้อนรํา ขับร้อง ประโคมเครื่องดนตรีดูการละเล่นที่เป็นข้าศึกต่อกุศล และ ทัดทรงสวมใส่ประดับตกแต่งกาย ด้วยดอกไม้ของหอม เครื่องทาเครื่องย้อม) อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกฺขาปะทัง สะมาทิยามิ. (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการนั่ง นอน เหนือที่นั่งที่นอนอันสูงอันใหญ่)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๖ คําสรุปท้ายศีล ๘ อิมานะ อัฎฐะ สิกขาปะทานิสะมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท ๘ ประการเหล่านี้) (พระกล่าวครั้งเดียว ผู้สมาทานกล่าวตาม ๓ ครั้ง


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๗ มนต์พิธี


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๘ สวดชุมนุมเทวดา (ถ้าสวดในงานทั่ วไป) ผะริตฺวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา, อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ. สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน, ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ วัตถุมหิ เขตเต, ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละ วิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา, ติฏฐันตา สันติเกยัง มุนิวะระวะ จะนัง สาธะโว เม สุณันตุ, ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา, ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา, ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา, (ถ้าสวดในงานพระราชพิธีใช้) สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง, ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ, ตามด้วย ผะริตฺวานะ เมตตัง ไปจนจบ อะยัมภะทันตา. (ถ้าสวดในงานรัฐพิธีใช้) สะมันตาจักกะวาเฬสุ อัตฺราคัจฉันตุเทวะตา, สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุสัคคะโมกขะทัง, ตามด้วย สัคเค กาเม จะ ร ู เป ไปจนจบ อะยัมภะทันตา.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๗๙ ปุพพะภาคะนะมะการะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ, นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ, นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ, สะระณะคะมะนะปาฐะ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๐ นะมะการะสิทธิคาถา โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามังวะ พุทโธ สุคะโตวิมุตโต, มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิเขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง, พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ, ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิโหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ, ธัมโม ธะโช โย วิยะตัสสะ สัตถุ ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง, นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ, ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง, ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิโหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ, สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา, สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ สวากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ, สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง, ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิโหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๑ สัมพุทเธ สัมพุทเธอัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก, ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง, เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง, นะมะการานุภาเวนะ หันตฺวา สัพเพ อุปัททะเว, อะเนกา อันตะรายาปิ วิ นัสสันตุ อะเสสะโต, สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก, ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง, เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง, นะมะการานุภาเวนะ หันตฺวา สัพเพ อุปัททะเว, อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต, สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬี สะสะหัสสะเก, วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง, เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง, นะมะการานุภาเวนะ หันตฺวา สัพเพ อุปัททะเว, อะเนกา อันตะรายาปิ วิ นัสสันตุ อะเสสะโต. (ถ้าไม่สวด โย จักขุมาจะสวด สัมพุทเธ แทนก็ได้)


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๒ นะโมการะอัฎฐะกะ นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน, นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ, นะโม มะหาสังฆัสสาปิวิ สุทธะสีละทิฏฐิโน, นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนัตตยัสสะ สาธุกัง, นะโม โอมะกาตีตัสสะตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ, นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา, นะโม การานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา, นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ(หยุด) เตชะวา. มังคะละสุตตัง พะห ู เทวา มะนุสสาจะ มังคะลานิ อะจินตะยุง, อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะมัง, อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา, ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา, อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๓ พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต, สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง, มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห, อะนากลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห, อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังตะละมุตตะมัง, อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม, อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง, คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญ�ุตา, กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง, กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ตะโป จะ พฺรัหฺมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ, อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง , เอตาทิสานิ กัตฺวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา, สัพพัตถะโสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๔ ระตะนะสุตตัง ยานีธะ ภูตานิสะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข, สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ, อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง, ตัสฺมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ, เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ, ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง , ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา. • ยังกิญจิวิตตัง อิธะ วา หุรัง วา, สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง, นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ, อิทัมปิ พุเธ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. • ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตังยะทัชฌะคา สักฺยะมุนี สะมาหิโต, นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ, อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. • ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง, สะมาธิมานันตะริ- กัญญะมาหุ, สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ, อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๕ • เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา, จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ, เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา, เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ. เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ, นิกกามิโน โคตะมะสา สะนัมหิ, เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ, ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. (สวดย่อพึงข้ามไปบท ขีณัง ปุราณัง ฯลฯ) ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา, จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย, ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ, โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ, คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา, นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะ- มาทิยันติ, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ, ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ, สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ, สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ, จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต, ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๖ กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง, กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา, อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ, อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค, คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห, ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยินิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ, อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. วะโร วะรัญ�ู วะระโท วะราหะโร,อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ,อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. • ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง, วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง, เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา, นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป, อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ( หยุด )


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๗ • ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข, ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง, พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ. ยานีธะ ภูตานิสะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเขตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง, ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ. ยานีธะ ภูตานิสะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเขตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง, สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ. กะระณียะเมตตะสุตตัง กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ, สักโก อุชูจะ สุหุชูจะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานิ, สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ, สันตินทฺริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ, นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญ�ู ปะเร อุปะวะเทยยุง, สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุสุขิตัตตา,


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๘ เย เกจิปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา, ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกาอะณุกะถูลา, ทิฏฐา วา เย จะอะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติอะวิทูเร, ภูตา วา สัมภะเวสีวา สัพเพ สัตตา ภะวันตุสุขิตัตตา, นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจินัง กิญจิ, พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ, มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข, เอวัมปิสัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง, เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง, อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง, ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ, เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหฺมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ, ทิฏฐิญจะอะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน, กาเมสุวิเนยยะเคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๘๙ ขันธะปะริตตัง วิร ู ปักเขหิเม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม, ฉัพฺยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ, อะปาทะเกหิเม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิเม, จะตุปปะเทหิเม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม, มา มังอะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิทิปาทะโก, มา มังจะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท, สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา, สัพเพ ภัทฺรานิปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา, (หยุด) อัปปะมาโณ พุทโธ, อัปปะมาโณ ธัมโม, อัปปะมาโณ สังโฆ, ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ,อะหิวิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพูมูสิกา, กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา, ปะฏิกกะมันตุภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.


วัดจอมคีรีชัย อ.เด่นชัย จ.แพร่ ๑๙๐ ฉัททันตะปะริตตัง วะธิสสะเมนันติปะรามะสันโต, กาสาวะมัททักขิธะชัง อิสีนัง, ทุกเขนะ ผุฏฐัสสุทะปาทิ สัญญา,อะระหัทธะโช สัพภิ อะวัชฌะรูโป,สัลเลนะ วิทโธ พยะถิโตปิ สันโต, กาสาวะวัตถัมหิ มะนัง นะ ทุสสะยิ, สะเจอิมัง นาคะวะเรนะ สัจจัง, มา มัง วะเน พาละมิคา อะคัญฉุนติ. โมระปะริตตัง อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา, หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส, ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง, ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง, เย พราหฺมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม, เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ, นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา, นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา, อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา.


Click to View FlipBook Version