0
1
2
รายงานการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
เขตรักษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ ภูสีฐาน
กลมุ่ งานวชิ าการ สานักบริหารพื้นทอ่ี นรุ ักษ์ ท่ี 8 (ขอนแกน่ )
และศูนย์สารสนเทศและการส่อื สาร สานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท์ ่ี 9 (อุบลราชธาน)ี
ส่วนสารวจและวิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้ สานกั ฟนื้ ฟแู ละพฒั นาพ้นื ท่อี นุรกั ษ์
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธพุ์ ืช
พ.ศ. 2556
3
บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร
จากสถานการณป์ า่ ไม้ในปจั จุบนั พบวา่ พนื้ ทป่ี า่ ไมใ้ นประเทศเหลอื อยเู่ พยี งประมาณร้อยละ 33.56
ของพ้นื ท่ปี ระเทศ การดาเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้จงึ เปน็ อีกทางหนึ่งทท่ี าใหท้ ราบถึงสถานภาพและศกั ยภาพ
ของทรพั ยากร ตลอดจนปจั จัยทางเศรษฐกจิ และสังคมทม่ี ผี ลตอ่ การบุกรุกทาลายปา่ เพือ่ นามาใช้ในการดาเนินการ
ตามภาระรบั ผดิ ชอบตอ่ ไป ซึง่ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุพ์ ชื ไดด้ าเนินการมาอย่างตอ่ เนื่อง
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธุ์พืช ไดจ้ ดั สรรงบประมาณการ
ดาเนนิ งานและกาหนดจุดสารวจเป้าหมายในพ้นื ที่เขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ ภสู ีฐาน ซงึ่ มีเนอ้ื ที่ 189,541 ไร่ หรือประมาณ
303.27 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลมุ พ้นื ท่ีตาบลกกตมู ตาบลบา้ นค้อ อาเภอดงหลวง ตาบลบ้านเหลา่ ตาบลนา้ เท่ียง
ตาบลคาชะอี อาเภอคาชะอี ตาบลโนนยาง อาเภอหนองสงู จังหวดั มุกดาหาร และตาบลสงเปลอื ย อาเภอเขาวง
ตาบลหนองหา้ ง ตาบลกุดหวา้ อาเภอกฉุ ินารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งอยู่ในความดูแลรบั ผดิ ชอบของสานักบรหิ าร
พืน้ ทีอ่ นรุ กั ษ์ที่ 8 (ขอนแกน่ ) จานวน 8 แปลง และสานกั บรหิ ารพ้ืนท่ีอนรุ ักษ์ท่ี 9 (อบุ ลราชธาน)ี จานวน 35 แปลง
รวมทั้งสน้ิ จานวน 43 แปลง สาหรับการวางแปลงตัวอยา่ งถาวร (Permanent Sample Plot) ทม่ี ขี นาดคงท่ี
รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดบั และมีวงกลมขนาดรศั มี 0.631
เมตร อย่ตู ามทิศหลกั ทง้ั 4 ทศิ
ผลการสารวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู พบวา่ มชี นดิ ปา่ หรือลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ทส่ี ารวจพบ
ทง้ั หมด 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแลง้ ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรงั และไร่รา้ ง โดยป่าเบญจพรรณพบมากทสี่ ดุ คดิ เป็น
ร้อยละ 58.14 ของพื้นที่ทง้ั หมด รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แลง้ คดิ เป็นร้อยละ 20.93 ของพน้ื ทีท่ ง้ั หมด และปา่ เตง็ รงั
คิดเปน็ ร้อยละ 18.60 ของพืน้ ท่ีทงั้ หมด ลาดับสุดทา้ ยเปน็ ไรร่ ้าง คิดเป็นรอ้ ยละ 2.33 ของพื้นท่ที งั้ หมด สาหรบั
พรรณไมร้ วมทกุ ชนดิ ปา่ พบทงั้ ส้ิน 51 วงศ์ มมี ากกว่า 220 ชนิด รวมจานวน 26,214,843 ตน้ คดิ เปน็ ปรมิ าตรไม้
รวมทง้ั หมด 3,846,358.14 ลกู บาศกเ์ มตร มีความหนาแนน่ ของไมเ้ ฉลย่ี 138.31 ตน้ ต่อไร่ และมปี ริมาตรไมเ้ ฉลย่ี
20.29 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ซ่ึงเมอ่ื เรียงลาดับจากจานวนต้นทพี่ บมากสดุ ไปหาน้อยสดุ 10 อนั ดับแรก คือ เปล้าใหญ่
(Croton roxburghii) ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) ติ้วขน (Cratoxylum formosum)
แดง (Xylia xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) โลด (Aporosa villosa) พลบั พลา (Microcos tomentosa)
คอแลน (Nephelium hypoleucum) รัง (Shorea siamensis) และสาธร (Millettia leucantha) ตามลาดบั
แตเ่ มอ่ื เรียงลาดับตามปรมิ าตรจากมากสดุ ไปหานอ้ ยสุด 10 อนั ดบั แรก คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) เตง็ (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) ตว้ิ ขน
(Cratoxylum formosum) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กอ่ หนิ (Castanopsis piriformis) กระบก
(Irvingia malayana) ขอ้ี ้าย (Terminalia triptera) และรงั (Shorea siamensis) ตามลาดบั โดยไมย้ ืนตน้
จะพบมากสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแลง้
กลา้ ไม้ (Seedling) ทีพ่ บในแปลงสารวจมีมากกวา่ 99 ชนิด รวมจานวนทง้ั หมด 1,067,777,020 ตน้
มคี วามหนาแนน่ ของกลา้ ไม้ 5,633.49 ต้นตอ่ ไร่ โดยชนดิ ไม้ท่มี ปี รมิ าณมากทส่ี ดุ 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ พลับพลา
4
(Microcos tomentosa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะหวด (Lepisanthes rubiginosa)
เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) หมักม่อ (Rothmannia wittii) กอ่ หนิ (Castanopsis piriformis) เต็ง (Shorea
obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia leucantha) และเขม็ ปา่ (Ixora cibdela) ตามลาดบั ชนิดปา่
ทส่ี ารวจพบจานวนกล้าไมม้ ากทสี่ ดุ คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ ดิบแลง้
ลูกไม้ (Sapling) ทพี่ บในแปลงสารวจ มีมากกว่า 83 ชนดิ รวมทั้งส้นิ จานวน 92,672,325 ตน้
มคี วามหนาแนน่ ของลกู ไม้ 488.93 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไมท้ มี่ ปี รมิ าณมากทสี่ ุด 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ ตะแบกเปลอื กบาง
(Lagerstroemia duperreana) มะหวด (Lepisanthes rubiginosa) ช้างน้าว (Gomphia serrata)
พลับพลา (Microcos tomentosa) เปล้าใหญ่ (Croton
roxburghii) เต็ง (Shorea obtusa) ติ้วขน (Cratoxylum formosum) กล้วยน้อย (Xylopia
vielana) แดง (Xylia xylocarpa) และเสี้ยวใหญ่ (Bauhinia malabarica) ตามลาดบั โดยพบจานวน
ลูกไมม้ ากทส่ี ุดในปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แลง้
ไผ่ (Bamboo) ท่ีพบในแปลงสารวจ มีจานวน 3 ชนิด ได้แก่ ไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata)
ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) และไผก่ ะแสนดา (Schizostachyum mekongensis) มีปริมาณไมไ้ ผ่
จานวน 5,416,465 กอ รวมท้งั สิ้น 64,616,731 ลา ซึ่งพบได้ในป่าดบิ แลง้ ปา่ เบญจพรรณ ป่าเตง็ รงั และไรร่ า้ ง
ส่วนหวายเสน้ ตั้งและหวายนอน สารวจพบเพยี งในป่าดิบแลง้ และป่าเบญจพรรณเท่านั้น โดยชนดิ
หวายทีส่ ารวจพบ มี 2 ชนิด คอื หวายขม (Calamus siamensis) และหวายหนู (Renanthera elongate)
รวมท้งั ส้นิ 1,170,746 เส้น
ตอไม้ทส่ี ารวจพบ มีมากกวา่ 35 ชนดิ รวมจานวนทงั้ ส้นิ 1,283,589 ตอ มีค่าความหนาแนน่ ของ
ตอไม้เฉล่ีย 6.77 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มปี รมิ าณตอมากทสี่ ุด 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ แดง (Xylia xylocarpa)
เต็ง (Shorea obtusa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ก่อหนิ (Castanopsis piriformis) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) รงั (Shorea siamensis) กระทมุ่ (Anthocephalus chinensis) มะนาวผี (Atalantia monophylla)
ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) และพลับพลา (Microcos tomentosa) ชนิดปา่ ที่สารวจพบจานวน
ตอไมม้ ากทส่ี ดุ คอื ปา่ เบญจพรรณ มจี านวน 592,426 ตอ รองลงมาพบในปา่ ดบิ แลง้ มจี านวน 366,740 ตอ
ในปา่ เตง็ รัง มจี านวน 310,310 ตอ และไร่ร้าง มจี านวน 14,105 ตอ
ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถ่ี (Frequency) มากท่ีสุด คือ
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpai) ต้วิ ขน (Cratoxylum
formosum) และประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ชนิดไมท้ ่มี คี วามหนาแนน่ ของพืชพรรณ (Density) มากท่ีสดุ
คอื เปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii) รองลงมา คือ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) ชนดิ ไม้
ทีม่ ีความเด่น (Dominance) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง(Lagerstroemia duperreana) รองลงมา
คอื แดง (Xylia xylocarpai) ชนดิ ไม้ที่มีความถสี่ ัมพทั ธ์ (Relative Frequency) มากท่สี ุด คือ ตะแบกเปลอื กบาง
5
(Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpai) ติ้วขน (Cratoxylum formosum)
และประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ชนิดไม้ทมี่ คี วามหนาแนน่ สมั พัทธ์ (Relative Density) มากท่สี ดุ
คือ เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) รองลงมา คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpai) ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญทางนิเวศวิทยา
(Importance Value Index : IVI) มากทส่ี ุด คอื ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา
คือ แดง (Xylia xylocarpai) โดยในพนื้ ท่ีปา่ ดบิ แลง้ ชนดิ ไม้ที่มีคา่ ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (IVI) มากทส่ี ุด
คอื คอแลน (Nephelium hypoleucum) รองลงมา คอื กอ่ หนิ (Castanopsis piriformis) ในพืน้ ทีป่ า่ เบญจพรรณ
ชนดิ ไม้ท่มี ีคา่ ดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) มากที่สดุ คือ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana)
รองลงมา คือ ติว้ ขน (Cratoxylum formosum) ในพนื้ ทป่ี า่ เต็งรงั ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้
(IVI) มากทส่ี ดุ คือ เต็ง (Shorea obtusa) รองลงมา คอื รัง (Shorea siamensis) และในพนื้ ทีไ่ ร่ร้าง ชนิดไม้ทมี่ ี
ค่าดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (IVI) มากทสี่ ดุ คอื มะมว่ งป่า (Mangifera caloneura) รองลงมา คือ กระทมุ่ นา
(Mitragyna diversifolia)
ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ พบวา่ ชนิดปา่ หรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ทมี่ ี
ความหลากหลายของชนดิ พนั ธุไ์ ม้ (Species Diversity) มากทสี่ ุด คือ ปา่ ดิบแลง้ รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ
ซึง่ ชนดิ ป่าหรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินที่มีความมากมายของชนดิ พนั ธุ์ไม้ (Species Richness) มากทสี่ ุด คอื
ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แลง้ และชนิดป่าหรือลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ทีม่ ีความสม่าเสมอ
ของชนดิ พนั ธุ์ไม้ (Species Evenness) มากท่สี ุด คอื ไรร่ า้ ง รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แลง้
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู โครงสรา้ งป่าในทุกชนดิ ปา่ หรอื ทุกลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ พบวา่ มไี ม้ยนื ตน้
ขนาดเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) ระหวา่ ง 15-45 เซนตเิ มตร จานวน 19,296,155 ต้น คดิ เป็นร้อยละ 73.61
ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืนตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มจี านวน
5,754,994 ตน้ คิดเป็นร้อยละ 21.95 ของไม้ทัง้ หมด และไมย้ ืนตน้ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่
100 เซนตเิ มตรขน้ึ ไป จานวน 1,163,694 ต้น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.44 ของไมท้ ้ังหมด
จากผลการดาเนินงานดงั กลา่ ว ทาให้ทราบข้อมลู พ้นื ฐานเก่ียวกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาลงั ผลิตและความหลากหลายของพนั ธุพ์ ืชในพืน้ ที่ต่างๆ ของเขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่าภสู ฐี าน อีกทงั้ ยังเปน็
แนวทางในการสารวจทรพั ยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสารวจ และการวิเคราะห์ขอ้ มลู อย่างเปน็ ระบบ
และแบบแผนเพื่อเป็นแนวทางในการตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไม้ในพน้ื ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ ่า
ภสู ฐี านต่อไป
สารบัญ 6
สารบญั หนา้
สารบัญตาราง
สารบญั ภาพ 6
คานา 8
วัตถุประสงค์ 9
เป้าหมายการดาเนินการ 10
ข้อมลู ทัว่ ไปเขตรักษาพนั ธ์สุ ัตว์ป่าภูสฐี าน 11
11
ประวตั คิ วามเปน็ มา 12
ทีต่ ัง้ และอาณาเขต 12
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม 12
ลักษณะภูมปิ ระเทศ 13
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 14
ลกั ษณะทางธรณีวิทยา 14
จดุ เดน่ ทน่ี า่ สนใจ 15
รปู แบบและวธิ กี ารสารวจทรัพยากรปา่ ไม้ 16
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 19
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design) 19
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มลู ที่ทาการสารวจ 20
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 20
1. การคานวณเนอื้ ที่ป่าและปรมิ าณไม้ทงั้ หมดของแตล่ ะพ้นื ทอี่ นรุ ักษ์ 21
2. การคานวณปริมาตรไม้ 21
3. การวเิ คราะห์ข้อมลู ท่ัวไป 21
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหม่ไู ม้ 22
5. การวิเคราะหข์ ้อมูลชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding) 23
6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย 23
7. การวิเคราะหข์ ้อมลู สงั คมพืช 23
8. การวิเคราะหข์ ้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ 23
9. การศึกษาคณุ ค่าทางนิเวศวทิ ยา 24
10. การประเมนิ สถานภาพทรพั ยากรป่าไม้ 25
26
สารบญั (ต่อ) 7
ผลการสารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทรพั ยากรปา่ ไม้ หน้า
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง
2. พื้นทีป่ า่ ไม้ 27
3. ปริมาณไม้ 27
4. ชนดิ พันธุไ์ ม้ 28
5. สงั คมพืช 34
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 38
48
สรุปผลการสารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทรัพยากรป่าไม้ 54
วจิ ารณผ์ ลการศกึ ษา 55
ปญั หาและอุปสรรค 59
ข้อเสนอแนะ 61
เอกสารอา้ งอิง 61
ภาคผนวก 62
64
8
สารบัญตาราง
ตารางท่ี หน้า
1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลทีท่ าการสารวจ 20
2 พ้ืนที่ป่าไมจ้ าแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดินในเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน 29
(Area by Landuse Type)
3 ปรมิ าณไม้ท้ังหมดจาแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี ินในเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ภสู ีฐาน 34
(Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ตอ่ หน่วยพืน้ ทจี่ าแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน 36
ในเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าภสู ฐี าน (Density and Volume per Area by Landuse Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าภสู ฐี าน 37
6 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดของเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ ภสู ีฐาน (30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 40
7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ แลง้ ของเขตรกั ษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ภสู ฐี าน (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ งู สดุ ) 41
8 ปรมิ าณไม้ในป่าเบญจพรรณของเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่าภูสฐี าน (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไม้สูงสดุ ) 42
9 ปรมิ าณไมใ้ นป่าเตง็ รงั ของเขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ า่ ภสู ฐี าน (30 ชนดิ แรกท่มี ปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 43
10 ปรมิ าณไมใ้ นพื้นที่ไรร่ า้ งของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตวป์ า่ ภูสฐี าน 44
11 ชนดิ และปรมิ าณไม้ไผ่ หวาย และไมก้ อ ทพี่ บในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่าภูสฐี าน 44
12 ชนิดและปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทพี่ บในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตวป์ า่ ภสู ีฐาน 45
13 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในเขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ า่ ภสู ีฐาน 46
14 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทพี่ บในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตว์ป่าภูสีฐาน 47
15 ดัชนีความสาคัญของชนิดไมท้ ้งั หมด (Importance Value Index : IVI) 49
ในเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ป่าภูสฐี าน
16 ดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้ง 50
ในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ภสู ีฐาน
17 ดัชนีความสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณ 51
ในเขตรักษาพันธ์สุ ตั วป์ ่าภูสฐี าน
18 ดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เตง็ รัง 52
ในเขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าภสู ฐี าน
19 ดัชนีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของไรร่ ้าง 53
ในเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าภูสฐี าน
20 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพันธ์ุไม้เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ภสู ฐี าน 54
สารบญั ภาพ 9
ภาพท่ี
หน้า
1 แสดงท่ีตง้ั และอาณาเขตของเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าภสู ฐี าน
2 บรเิ วณอ่างเกบ็ นา้ หว้ ยมว่ ง 13
3 ลักษณะหนิ ทพ่ี บในพื้นที่เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ ภสู ฐี าน 14
4 ลักษณะลานหนิ บนภผู าผึ้ง 15
5 บริเวณแหลง่ ท่องเทยี่ วภูผาซาน 16
6 “น้าตกแก้งวงั สาน” บรเิ วณหนว่ ยพทิ กั ษป์ า่ แกง่ นาง 17
7 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง 18
8 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมิประเทศของเขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตว์ปา่ ภสู ฐี าน 19
9 แปลงตวั อย่างท่ไี ดด้ าเนนิ การสารวจภาคสนามในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ ่าภสู ีฐาน 27
10 พ้ืนท่ปี า่ ไมจ้ าแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ในเขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ภูสีฐาน 28
11 ลักษณะท่ัวไปของป่าดบิ แล้งในพืน้ ทเ่ี ขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ ภสู ีฐาน 29
12 ลกั ษณะทั่วไปของปา่ เบญจพรรณพนื้ ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตวป์ ่าภูสีฐาน 30
13 ลักษณะทัว่ ไปของป่าเตง็ รังในพนื้ ที่เขตรกั ษาพันธ์ุสตั วป์ ่าภูสฐี าน 31
14 ลักษณะท่วั ไปของไรร่ ้างในพนื้ ท่ีเขตรักษาพันธุ์สตั วป์ ่าภูสฐี าน 32
15 ปรมิ าณไมท้ ้งั หมดท่ีพบในพืน้ ทเ่ี ขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ า่ ภสู ฐี าน 33
16 ปริมาตรไมท้ งั้ หมดท่ีพบในพื้นที่เขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ ภูสีฐาน 35
17 ความหนาแน่นของต้นไมใ้ นพ้นื ท่ีเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ป่าภสู ีฐาน 35
18 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ของพ้นื ที่แต่ละประเภทในเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ปา่ ภสู ฐี าน 36
19 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมดในพ้นื ทเี่ ขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ ภูสีฐาน 37
37
10
คานา
ปจั จุบันประเทศไทยมีพ้ืนท่ีป่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพื้นท่ีประเทศ (ท่ีมา : หนังสือข้อมูลสถิติ
อุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พุ ืช, 2552) เพ่ือให้การดาเนนิ งานของกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์ุ
พชื ท่จี ะตอ้ งดาเนินการอนรุ กั ษ์ สงวน และฟ้ืนฟคู วามหลากหลายทางชวี ภาพ มีการพฒั นาการใช้ทรัพยากรป่า
ไมอ้ ย่างย่ังยืน จึงจาเป็นที่จะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้
รวมทัง้ ความหลากหลายทางชีวภาพทม่ี ีอยู่ในพ้ืนทีป่ ่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีผลต่อการ
บุกรุกทาลายป่า เพอ่ื นามาใชใ้ นการดาเนนิ การตามภารกจิ รับผดิ ชอบตอ่ ไป สว่ นสารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากร
ปา่ ไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ จึงได้ดาเนินการสารวจพ้ืนที่ป่าของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อ
รวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดาเนนิ งานในกจิ กรรมที่มีความเกี่ยวข้องกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ัง
ใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อนาไป
พัฒนาการอนุรักษ์ หรอื ใช้เป็นตน้ แบบในการดาเนนิ การในพ้นื ทีอ่ ่ืนๆ ตอ่ ไป
การสารวจทรัพยากรป่าไม้เพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ และเพ่ือ
ติดตง้ั ระบบติดตามความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งทรัพยากรอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ได้รับการจัดสรร
งบประมาณในการดาเนินงานและกาหนดจุดสารวจเป้าหมายโดยส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้
สานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าว
สอดคล้องกับภารกิจของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ท่ีจะต้องดาเนินการอนุรักษ์ สงวน และ
ฟ้ืนฟคู วามหลากหลายทางชีวภาพ ใหม้ กี ารใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรป่าไม้อยา่ งย่งั ยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ทราบขอ้ มลู พน้ื ฐานเก่ียวกบั ทรพั ยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะดา้ นกาลงั ผลติ และความหลากหลายของพชื พนั ธุ์ในพ้นื ที่
ต่างๆ ของประเทศไทย สาหรับรูปแบบและวิธีการสารวจใช้การสารวจแบบแปลงตัวอย่าง (Plot) และวิธีสุ่ม
ตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ภาพถ่ายดาวเทียมท่ีมีการแปลสภาพว่าเป็นป่า
โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่างมีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนที่ (Grid) ได้แก่ 10x10 กิโลเมตร, 5x5
กิโลเมตร, 3x3 กิโลเมตร และ 2.5x2.5 กิโลเมตร แตกต่างกันไปตามปีงบประมาณและพ้ืนที่ที่ได้รับการสุ่ม
โดยระบบ Datum ของแผนท่ีสารวจส่วนใหญ่ จะเป็น Indian Thailand 1975 ส่วนปีงบประมาณท่ีใช้ระบบ
Datum เปน็ WGS 84 คอื ตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2555 เป็นต้นไป
11
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิต และความ
หลากหลายของพืชพันธุ์ในพ้ืนท่อี นรุ ักษ์ตา่ งๆ ของประเทศไทย
2. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสารวจ และการ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผน
3. เพ่อื เป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพน้ื ท่ี
4. เพอ่ื ให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชากล้าไม้
เพือ่ ปลกู เสรมิ ปา่ ในแตล่ ะพ้นื ท่ี
เปา้ หมายการดาเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สว่ นสารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สานักฟน้ื ฟแู ละพัฒนาพืน้ ที่
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพื้นที่
สารวจเป้าหมายในพ้ืนที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน ในท้องท่ีอาเภอดงหลวง อาเภอคาชะอี และอาเภอ
หนองสูง จังหวัดมุกดาหาร ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 9 (อุบลราชธานี)
จานวน 35 แปลง และอยู่ในท้องท่ีอาเภอเขาวง และอาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซ่ึงอยู่ในความดูแล
รับผิดชอบของสานักบริหารพืน้ ที่อนรุ ักษ์ที่ 8 (ขอนแก่น) จานวน 8 แปลง รวมทัง้ สิ้น 43 แปลง
การสารวจใชก้ ารวางแปลงตวั อย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ทม่ี ขี นาดคงท่ี รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี
0.631 เมตร อยู่ตามทศิ หลกั ทงั้ 4 ทศิ โดยจดุ ศูนยก์ ลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของ
วงกลมรัศมี 3.99 เมตร จานวนท้ังส้ิน 43 แปลง และทาการเก็บข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ
เช่น ชนดิ ไม้ ขนาดความโต ความสูง จานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ท่ีต้นไม้ขึ้นอยู่
ขอ้ มลู ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ เช่น ระดับความสงู ความลาดชนั เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วม
ของปา่ เช่น ไมไ้ ผ่ หวาย ไมพ้ ุ่ม เถาวลั ย์ และพืชชั้นล่าง แลว้ นามาวเิ คราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเนื้อที่
ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตาม
ธรรมชาติของหมไู่ มใ้ นปา่ นัน้
12
ข้อมลู ทวั่ ไป
เขตรักษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ ภูสฐี าน
ประวัติความเป็นมา
พื้นทีเ่ ขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ า่ ภูสีฐานเคยผ่านการสัมปทานเพื่อการทาไม้มาก่อน ต่อมา ราษฎรใน
ทอ้ งถ่ินโดยสภาตาบลคาชะอี อาเภอคาชะอี จังหวดั มุกดาหาร มองเหน็ คุณค่าของป่าไม้ท่ีจะเอื้อประโยชน์ต่อ
การยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของคนท้องถิ่นที่อยู่อาศัยใกล้ชิดป่าให้ดีขึ้น ประกอบกับพ้ืนที่ป่าดงภูสีฐานมีสภาพ
ภูมิประเทศเป็นเทือกเขาติดต่อกัน บนยอดเขาเป็นที่ราบกว้าง สภาพป่าท่ัวไปเป็นป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรังป่า
ผสมผลัดใบและทุ่งหญา้ มแี หล่งน้าและแหล่งอาหารของสตั วป์ า่ อดุ มสมบูรณ์ มสี ัตวป์ ่าอาศยั อยู่หลายชนิด และ
เป็นแหลง่ กาเนดิ ของตน้ นา้ ลาธารของลานา้ หลายสายในจังหวดั มกุ ดาหาร จึงร่วมกนั เรียกร้องให้รัฐบาลยกเลิก
สัมปทานป่าไมบ้ รเิ วณป่าดงภูสฐี าน เพอ่ื รักษาพ้ืนทีป่ า่ ไมไ้ วเ้ ปน็ แหลง่ ต้นน้าลาธาร โดยให้ประกาศเปน็ อุทยาน
แห่งชาติหรอื เขตรักษาพนั ธ์สุ ัตว์ป่า พ.ศ. 2529 กรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหนา้ ทเ่ี ข้าสารวจป่าดงภูสีฐาน พบว่าสภาพป่า
แหง่ น้ีมีศกั ยภาพ และเหมาะสมแกก่ ารสงวนรักษาไวเ้ ป็นปา่ ต้นน้าและแหลง่ ทอ่ี ยู่อาศัยของสัตวป์ า่ มากกว่าเป็น
แหล่งท่องเที่ยว ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2533 ได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้พื้นที่ป่าดงภูสีฐานเป็นเขตรักษาพันธ์ุ
สตั วป์ ่าภูสฐี าน โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั พิเศษ หน้า 21 เล่ม 107 ตอนที่ 100 ลงวันท่ี 12 มิถุนายน
2533 นบั เปน็ เขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ป่าเพยี งแหง่ เดียวของทั้งจังหวัดมกุ ดาหารและจังหวดั กาฬสินธ์ุ และเป็นเขต
รักษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ท่ีเกดิ จากความตอ้ งการของราษฎรท้องถ่นิ อยา่ งแทจ้ ริง ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 ไดม้ ีพระราช
กฤษฎกี าใหย้ กเลกิ พืน้ ท่ีเขตฯ และประกาศข้นึ ใหม่ โดยได้ผนวกพ้นื ทีบ่ างสว่ น ในทอ้ งทตี่ าบลบา้ นคอ้ จานวน
33,291 ไร่ ให้เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 117 ตอนที่ 101 ก.
ลงวนั ที่ 8 พฤศจิกายน 2543
ทีต่ ้ังและอาณาเขต
เขตรักษาพันธุส์ ตั วป์ ่าภูสฐี าน ตงั้ อยูร่ ะหวา่ งละติจดู 16 องศา 30 ลปิ ดา - 16 องศา 45 ลิปดา เหนือ
และลองจจิ ดู 104 องศา 0.5 ลิปดา - 104 องศา 25 ลิปดา ตะวนั ออก ครอบคลุมปา่ สงวนแหง่ ชาติ ปา่ ดงภูสีฐาน
ป่าสงวนแหง่ ชาติปา่ ดงหมู แปลง 3 และปา่ สงวนแห่งชาตปิ ่าดงด่านแย้ เนอ้ื ท่ี 189,541 ไร่ อยู่ในพ้ืนท่ีตาบลกกตูม
ตาบลบา้ นคอ้ อาเภอดงหลวง ตาบลบา้ นเหลา่ ตาบลนา้ เทย่ี ง ตาบลคาชะอี อาเภอคาชะอี ตาบลโนนยาง
อาเภอหนองสูง จงั หวัดมุกดาหาร และตาบลสงเปลือย อาเภอเขาวง ตาบลหนองหา้ ง ตาบลกดุ หว้า อาเภอ
กุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ โดยมีเนื้อท่ีส่วนใหญ่ คอื 128,125 ไร่ หรอื 205 ตารางกิโลเมตร อยู่ในจังหวัด
มุกดาหาร ส่วน 28,125 ไร่ หรือ 45 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังน้ี
13
ทศิ เหนือ จดอ่างเก็บน้าหว้ ยไผ่ ตาบลกกตมู อาเภอดงหลวง ห้วยบางทราย ห้วยตาเปอะ
ทิศใต้ ตาบลบา้ นเหลา่ อาเภอคาชะอี จังหวดั มุกดาหาร
จดพนื้ ทเี่ กษตรกรรม ตาบลกุดหวา้ อาเภอกุฉนิ ารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวนั ออก ปา่ สงวนแห่งชาตปิ า่ ดงภูสฐี าน ตาบลโนนยาง อาเภอหนองสูง
ทศิ ตะวันตก และอ่างเก็บน้าห้วยมุก ตาบลน้าเท่ียง อาเภอคาชะอี จงั หวัดมกุ ดาหาร
จดพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมของราษฎรตาบลบ้านเหลา่ อาเภอคาชะอี จงั หวดั มกุ ดาหาร
จดอา่ งเกบ็ น้าลาตะพะยงั ตอนบน ตาบลสงเปลือย อาเภอเขาวง และ
อ่างเก็บนา้ หว้ ยมว่ ง ตาบลหนองหา้ ง อาเภอกฉุ ินารายณ์ จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม
การเดินทางเข้าสเู่ ขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตว์ปา่ ภูสฐี าน โดยรถยนต์มคี วามสะดวกรวดเร็วเน่ืองจาก มีเส้นทาง
อยู่โดยรอบหลายสาย ท้ังทางหลวงแผน่ ดิน ทางหลวงจงั หวดั และถนน รพช. ในสว่ นของสานักงานเขตฯ ตั้งอยู่
ในบรเิ วณรมิ อา่ งเก็บนา้ หว้ ยม่วง ตาบลหนองห้าง อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ อยหู่ ่างจากกรุงเทพมหานคร
ประมาณ 600 กิโลเมตร ห่างจากตัวอาเภอกุฉนิ ารายณ์ ไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนือประมาณ 12 กโิ ลเมตร
เดนิ ทางไปตามทางหลวงจังหวดั หมายเลข 2042 สายกฉุ ินารายณ์ - มุกดาหาร ระยะทางประมาณ 2 กโิ ลเมตร
เลี้ยวซ้ายเข้าถนน รพช. หมายเลข กส.0415 สายโนนสวรรค์-โพนนาดี ถึงบ้านหว้ ยม่วง เลี้ยวขวา ตรงไปถึง
ทท่ี าการเขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ป่าภูสฐี าน
ภาพที่ 1 แสดงท่ีตงั้ และอาณาเขตของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ ่าภูสฐี าน
14
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูสีฐาน เป็นภูเขาสูง มีท่ีราบบนภูเขา อยู่ในแนว
เทือกเขาภูพานตอนลา่ ง ระดบั ความสงู อย่ใู นชว่ ง 200 - 592 เมตรจากระดับนา้ ทะเล จุดสูงสดุ คอื ภูเมย (592 เมตร)
อยู่ในเขตจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ พ้ืนท่ีสว่ นใหญล่ าดเอียงลงส่ทู ศิ เหนือดา้ นอาเภอคาชะอี และอาเภอดงหลวง จังหวัด
มุกดาหาร กอ่ ให้เกิดลาหว้ ยหลายสาย ได้แก่ ห้วยไผ่ ห้วยยาง หว้ ยกระแส หว้ ยนกเต็น หว้ ยตาเปอะ และหว้ ยเลา
ทงั้ หมดเป็นสาขาของหว้ ยบางทราย ดา้ นทศิ ใตเ้ ป็นต้นกาเนิดของห้วยบงกือ ห้วยคันแท หว้ ยทราย ห้วยบังอี่
และห้วยมกุ ส่วนดา้ นทศิ ตะวนั ตกเปน็ ต้นกาเนิดของแมน่ ้ายงั และลาห้วยสาขา ได้แก่ หว้ ยแดง ห้วยม่วง และ
ห้วยจมุ จงั
ภาพที่ 2 บรเิ วณอา่ งเก็บนา้ ห้วยมว่ ง
ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูสีฐานอยู่ในเขตมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ แต่เนื่องจากพื้นที่อยู่ห่างไกล
ชายฝั่งทะเลค่อนข้างมาก จึงทาให้ภูมิอากาศค่อนไปทางภูมิอากาศแบบก่ึงร้อน มีช่วงฤดูกาลที่เด่นชัดแยก
ออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม ซึ่งได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตก
เฉียงใต้พัดพาความชื้นจากทะเลเข้าสู่แผ่นดิน นอกจากน้ียังไดร้ ับอทิ ธิพลจากพายุดเี ปรสช่ัน ฤดหู นาวเริ่มจาก
เดอื นพฤศจกิ ายน - เดือนกุมภาพันธ์ เป็นช่วงที่อากาศแห้งแล้งและหนาวเย็น เน่ืองจากได้รับอิทธิพลจากลม
มรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื พดั พาความแห้งแล้งและหนาวเย็นมาจากประเทศจีน และฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือน
มนี าคม - กลางเดอื นพฤษภาคม ซ่ึงเป็นชว่ งเวลาท่ีการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ยอ์ ยใู่ นตาแหน่งที่ดวงอาทิตย์
ส่องลงมาตั้งฉากกับบริเวณประเทศไทย โดยเฉพาะเดือนเมษายน นอกจากนี้ยังเป็นระยะเวลาท่ีบริเวณ
รอ่ งความกดอากาศต่าพาดผ่านประเทศไทย มีผลทาให้ได้รับอิทธิพลจากลมฝ่ายใต้พัดพาอากาศร้อนช้ืนจาก
ทะเลผา่ นภาคกลางของประเทศสภาพอากาศจึงร้อนอบอ้าว จากขอ้ มูลทบี่ ันทึกโดยกรมอตุ นุ ยิ มวิทยาทอี่ าเภอ
15
ต่างๆ ท่ีอยู่บริเวณใกล้เคียงเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูสีฐาน วัดได้ดังนี้ อุณหภูมิเฉล่ีย 26.55 องศาเซลเซียส
เดือนเมษายนมีคา่ อุณหภูมิสงู สุดโดยเฉลยี่ 29.6 องศาเซลเซียส สว่ นอณุ หภมู ติ ่าสุดโดยเฉลี่ย 22.25 องศาเซลเซียส
อยใู่ นเดือนธันวาคม ปรมิ าณนา้ ฝนเฉล่ยี ต่อปี 1,364.71 มิลลิเมตร ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยสูงสุดในเดือนสิงหาคม
306.35 มิลลิเมตร และต่าสุดในเดือนมกราคมเฉลี่ย 2.01 มิลลิเมตร ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุดในเดือน
สิงหาคม ร้อยละ 81.50 และตา่ สุดรอ้ ยละ 59.5 ในเดือนมีนาคม
ลักษณะทางธรณวี ิทยา
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูสีฐานเป็นภูเขาในแนวเทือกเขาภูพาน ซ่ึงมีสภาพทางธรณีวิทยา
เป็นหินตะกอนน้าจืด ประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ง หินดินดาน หินกรวดมน จัดอยู่ในชุดหินโคราช
(Khorat Group) โดยมีหมวดหิน ภูกระดึง (Phu Kradung Formation) หมวดหินพระวิหาร (Phra Wihan
Formation) หมวดหินเสาขัว (Sou Khua Formation) อยู่ยุคจูแรสสิก (Jurassic Period) อายุประมาณ
190 - 130 ล้านปี และหมวดหินภูพาน (Pho Phan Formation) ในยุคครีเทเชียส (Cretaceous Period)
อายุประมาณ 120 ล้านปี ทั้งน้ีมักพบหินทรายหมวดภูพานในลักษณะเป็นลานหินบริเวณยอดราบของภูเขา
ลานหินเหล่านี้มีอาณาบริเวณกว้างขวาง ปรากฏกระจายอยู่ท่ัวพื้นท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูสีฐาน ลักษณะ
ปฐพีวิทยาของเขตรักษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ ภสู ีฐาน มีความสอดคลอ้ งกบั ลักษณะธรณีวทิ ยาทเ่ี ปน็ หนิ ต้นกาเนดิ ดิน เนอ้ื
ดินจงึ เป็นดินทราย ดนิ ปนกรวด และเน่ืองจากโดยสภาพพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นภูเขามีความลาดชันมากกว่า 35%
มีเศษหินกระจัดกระจาย และหินโผล่โดยท่ัวไป จึงจัดอยู่ในกลุ่มดิน Slope Complex สภาพการพังทลาย
รนุ แรง
ภาพท่ี 3 ลกั ษณะหินทพี่ บในพื้นทเี่ ขตรกั ษาพันธุ์สตั วป์ ่าภสู ฐี าน
16
จุดเด่นที่น่าสนใจ
เขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ ่าภสู ีฐานมจี ุดเดน่ ทน่ี ่าสนใจในพ้ืนที่และพื้นที่ใกลเ้ คียง ดงั นี้
1. ภผู าผ้ึง เปน็ แหลง่ ท่องเท่ยี วธรรมชาตทิ ่สี วยงามตัง้ อยู่บนเทอื กเขาภูสีฐานภายในจะมีรูปฝ่ามือ
สวยงามเหมาะสาหรบั ทัศนศึกษา และพักผอ่ นหย่อนใจ มีลกั ษณะเป็นภูเขาขนาดเล็ก ต้ังอยู่ทางทิศตะวันออก
ของบ้านหนองห้าง เป็นเขตรอยต่อกับบ้านวังมน ตาบลกุดหว้า อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็น
มรดกทางธรรมชาติอันล้าค่าของตาบลหนองห้าง มีสัตว์ป่า และพันธุ์ไม้นานาชนิด มรดกที่ธรรมชาติ
สร้างสรรค์ ได้แก่ สะพานหิน ซึ่งมีลักษณะเป็นสะพานท่ีใช้สาหรับเดินข้ามไปมาสาหรับพรานท่ีเดินป่า และ
มรี ูปลักษณ์ทสี่ วยงาม นักเดนิ ปา่ และนักท่องเที่ยวนยิ มถ่ายภาพไวเ้ ป็นท่รี ะลกึ
2. ภผู าซาน ตงั้ อยใู่ นเขตพ้ืนที่บ้านแมด หมทู่ ่ี 5 และ10 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอคาชะอี จังหวัด
มกุ ดาหาร เปน็ ภเู ขาท่ีสงู ท่สี ดุ ในจงั หวัดมุกดาหาร ซ่ึงมคี วามสงู ชนั สลบั กบั ท่ีราบลมุ่ เชงิ เขา สงู จากระดบั นา้ ทะเล
617 เมตร พน้ื ท่ีสว่ นมากเป็นภเู ขาหินปูน สลบั กบั ตน้ ไม้นานาพันธุ์ สภาพป่าของท่ีน่ียังอุดมสมบูรณ์ด้วยป่าดิบ
และป่าเบญจพรรณ สภาพอากาศจะเย็นช้ืนเกือบตลอดปี นับเป็นจุดชมวิวของจังหวัดมุกดาหารท่ีสวยงาม
แห่งหน่ึงที่ทา้ ทายความสามารถนกั ทอ่ งเท่ียวเชิงอนุรกั ษ์ทช่ี อบการท้าทาย ปนี เขา ลุยไพร ที่น่าสัมผัส เขาลูกน้ี
อยู่ห่างจาก อาเภอคาชะอี 10 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร 42 กิโลเมตร ตามทางหลวง
หมายเลข 2042 ถึงบ้านหนองเอีย่ นทุง่ เล้ียวขวาตามถนนทางหลวงแผ่นดนิ หมู่บา้ นตา่ งๆ ถึงบา้ นแมด หม่ทู ่ี 10
เป็นหมู่บ้านสุดท้ายเลยไปจนถึงตีนเขา ซ่ึงเป็นท่ีตั้งหน่วยพิทักษ์ป่า “ภูผาเมือง” ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ภสู ฐี าน
ภาพที่ 4 ลกั ษณะลานหินบนภผู าผ้ึง
17
ภาพท่ี 5 บริเวณแหล่งทอ่ งเทีย่ วภูผาซาน
3. อ่างเก็บน้าห้วยมว่ ง บ้านหว้ ยม่วง ตาบลหนองห้าง อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ เป็น
เขอ่ื นดินขนาดเลก็ สามารถกักเก็บนา้ ได้ประมาณ 560,000 ลบ.ม. ถกู สรา้ งขนึ้ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของ
ประชาชนท่ีประสบปัญหาจากภาวะขาดแคลนน้าในทุกๆ ปี หลังผ่านพ้นฤดูฝน แต่ปีไหนที่ฝนน้อยน้าแล้ง
ยงิ่ ทวีคณู มากขน้ึ โดยอ่างเกบ็ นา้ หว้ ยมว่ งไดถ้ กู สรา้ งขน้ึ ในปี 2532 จากงบประมาณ JBIC โดยมีองค์การบริหาร
ส่วนตาบลหนองห้างเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ จากนั้นในปี 2549 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ รับโครงการปรับปรุงอ่างเก็บน้าห้วยม่วงไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตามท่ี
นายวิทยา ทะมานนท์ ประธานกรรมการบริหารองค์การบรหิ ารส่วนตาบล (อบต.) หนองห้าง ขอพระราชทาน
พระมหากรุณาธิคุณ ก่อนที่กรมชลประทานจะดาเนินการสนองพระราชดาริปรับปรุง เพื่อเพ่ิมความจุของ
อ่างเก็บนา้ ห้วยม่วง โดยเริ่มในปี 2549 เสร็จสิ้นในปี 2551 ทาให้อ่างเก็บน้าห้วยม่วงมีความจุเพิ่มขึ้นเป็น
700,000 ลบ.ม. มีพ้นื ท่ที าการเกษตรในฤดูแลง้ ประมาณ 500 ไร่ ฤดูฝนประมาณ 2,900 ไร่
4. น้าตกแก้งวังสาน เปน็ นา้ ตกท่ีชาวบา้ นแก่งนางและชาวบ้านใกล้เคียงนิยมมาเท่ียวพักผ่อนหย่อนใจ
มนี ้าไหลผา่ นเกอื บตลอดปีผ่านพลาญหนิ บริเวณกว้างด้านหน้าทางเข้าหน่วยพิทักษ์ป่าแก่งนาง ของเขตรักษา
พนั ธุ์สัตวป์ า่ ภูสีฐาน สามารถเดินทางไปทอ่ งเที่ยวได้โดยใชเ้ สน้ ทางเดียวกนั กบั ทางไปอา่ งเกบ็ น้าห้วยไผ่ ซง่ึ อย่ใู น
เขตตาบลกกตูม อาเภอดงหลวง จงั หวดั มุกดาหาร
18
ภาพท่ี 6 “นา้ ตกแก้งวงั สาน” บริเวณหนว่ ยพทิ ักษ์ป่าแกง่ นาง
19
รปู แบบและวธิ กี ารสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
การสารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศไทย ดาเนินการโดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไ ม้ ส่วน
สารวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สานกั ฟืน้ ฟแู ละพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ และสานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ต่างๆ
ในสงั กัดกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธพ์ุ ชื
การสมุ่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design)
การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกาหนดใหแ้ ต่ละแปลงหา่ งกนั 2.5x2.5 กิโลเมตร เร่มิ จากการสมุ่ กาหนดแปลงตวั อย่างแรกบนเส้นกริดแผนที่
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวตั้งและ
แนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนที่เท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดทั้ง สอง
แนวกจ็ ะเป็นตาแหน่งที่ต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทราบจานวนหน่วย
ตัวอยา่ ง และตาแหน่งท่ีตง้ั ของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างและขนาดของแปลงตัวอย่างดัง
ภาพท่ี 7
ภาพท่ี 7 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง
20
รปู ร่างและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสารวจมีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชว่ั คราว เป็นแปลงทม่ี ีขนาดคงท่ี (Fixed – Area Plot) และมีรูปร่าง 2 ลักษณะดว้ ยกนั คือ
1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มจี ดุ ศนู ย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดับ
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน
โดยจดุ ศูนย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลกั ทั้ง 4 ทิศ
2. ลักษณะแบบแนวเสน้ ตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเริ่มตน้ รว่ มกนั ณ จุดศูนยก์ ลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซึ่งกันและกนั ซึง่ ตวั มมุ Azimuth ของเส้นท่ี 1
ได้จากการสมุ่ ตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มูลท่ที าการสารวจ
ขนาดของแปลงตวั อย่าง และขอ้ มลู ทที่ าการสารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ที่ทาการสารวจ
รัศมขี องวงกลม หรือ จานวน พ้ืนทหี่ รือความยาว ขอ้ มูลท่สี ารวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กลา้ ไม้
0.631 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลมุ พืน้ ท่ขี องกล้าไม้ และลูกไม้
3.99 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายท่ยี งั ไม่เลือ้ ย และตอไม้
12.62 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจยั ทร่ี บกวนพืน้ ทป่ี ่า
17.84 2 เสน้ 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลอื้ ย
17.84 (เส้นตรง)
และไมเ้ ถา ทพ่ี าดผ่าน
21
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
1. การคานวณเนือ้ ที่ป่าและปริมาณไม้ท้งั หมดของแต่ละพน้ื ทอี่ นรุ กั ษ์
1.1 ใช้ข้อมลู พื้นทอี่ นรุ กั ษจ์ ากแผนทแี่ นบท้ายกฤษฎกี าของแต่ละพื้นที่อนรุ ักษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจานวนแปลงตัวอย่างทพ่ี บในแตล่ ะชนดิ ปา่ เปรยี บเทียบกับจานวนแปลงตัวอย่างที่
วางแปลงทง้ั หมดในแตล่ ะพืน้ ที่อนุรกั ษ์ ท่อี าจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคานวณเปน็ เนือ้ ท่ีปา่ แตล่ ะชนดิ โดยนาแปลงตวั อยา่ งท่ีวางแผนไว้มาคานวณทกุ แปลง
1.3 แปลงตัวอยา่ งทไ่ี ม่สามารถดาเนินการได้ ก็ต้องนามาคานวณดว้ ย โดยทาการประเมินลักษณะ
พน้ื ทีว่ ่าเปน็ หนา้ ผา น้าตก หรอื พืน้ ทอ่ี นื่ ๆ เพื่อประกอบลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ
1.4 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดของพ้ืนท่ีอนรุ กั ษ์ เป็นการคานวณโดยใชข้ ้อมูลเนื้อที่อนรุ กั ษจ์ ากแผนที่แนบ
ทา้ ยกฤษฎกี าของแตล่ ะพื้นที่อนุรักษ์ ซ่งึ บางพน้ื ที่อนุรกั ษ์มีข้อมลู เนือ้ ทค่ี ลาดเคลอ่ื นจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อ
การคานวณปรมิ าณไมท้ ง้ั หมด ทาให้การคานวณปรมิ าณไม้เปน็ การประมาณเบื้องตน้
2. การคานวณปรมิ าตรไม้
สมการปริมาตรไม้ท่ีใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพ้ืนที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบง่ กลุ่มของชนดิ ไมเ้ ป็นจานวน 7 กล่มุ ดงั นี้
2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทนก์ ะพอ้ สนสองใบ
สมการที่ได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ กระพี้จัน่ กระพเ้ี ขาควาย เก็ดดา เกด็ แดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยงู
ชงิ ชัน กระพ้ี ถอ่ น แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลมุ่ ท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพเิ ภก สมอไทย หูกวาง หกู ระจง ตนี นก ข้ีอ้าย กระบก ตะคร้า
ตะครอ้ ตาเสอื คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เลีย่ น มะฮอดกกานี ขี้อ้าย ตะบนู ตะบัน รกั ตว้ิ
สะแกแสง ป่เู จ้า และไมส้ กลุ ส้าน เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
22
สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางข้มี อด คูน พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถนิ พิมาน มะขามปา่ หลมุ พอ
และสกลุ ขเี้ หล็ก
สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลมุ่ ที่ 5 ได้แก่ สกุลประดู่ เตมิ
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลุม่ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สัก ตนี นก ผ่าเส้ียน หมากเลก็ หมากนอ้ ย ไข่เนา่ กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ท่ี 7 ไดแ้ ก่ ไม้ชนิดอื่นๆ เช่น กกุ๊ ขวา้ ว งวิ้ ปา่ ทองหลางป่า มะมว่ งปา่ ซ้อ โมกมนั
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ กอ่ เปลา้ เปน็ ตน้
สมการทไี่ ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คือ ปริมาตรสว่ นลาต้นเม่อื ตดั โค่นทค่ี วามสงู เหนอื ดิน (โคน) 10 เซนติเมตร
ถึงก่ิงแรกท่ีทาเป็นสินคา้ ได้ มหี นว่ ยเป็นลกู บาศกเ์ มตร
DBH มหี น่วยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. การวิเคราะหข์ ้อมูลท่วั ไป
ข้อมูลทั่วไปท่ีนาไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตาแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทาการ
เก็บข้อมูล ความสูงจากระดับน้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้
ประกอบในการวิเคราะห์ประเมินผลร่วมกับข้อมูลด้านอ่ืนๆ เพ่ือติดตามความเปล่ียนแปลงของพื้นท่ีในการ
สารวจทรัพยากรป่าไม้คร้ังต่อไป
23
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding)
6. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ชนดิ และปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแน่นของหวายเสน้ ต้งั (จานวนตน้ )
7. การวิเคราะหข์ ้อมูลสงั คมพชื
โดยมีรายละเอยี ดการวิเคราะหข์ อ้ มูลดงั น้ี
7.1 ความหนาแนน่ ของพรรณพชื (Density : D) คอื จานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธุ์ท่ีศึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตัวอยา่ งต่อหน่วยพน้ื ทีท่ ี่ทาการสารวจ
D= จานวนตน้ ของไมช้ นิดนั้นทัง้ หมด
.
พน้ื ทแ่ี ปลงตวั อย่างทัง้ หมดท่ที าการสารวจ
7.2 ความถี่ (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธ์ุไม้
ชนดิ นน้ั ต่อจานวนแปลงทีท่ าการสารวจ
F = จานวนแปลงตัวอย่างที่พบไม้ชนิดทก่ี าหนด X 100
จานวนแปลงตวั อยา่ งทั้งหมดท่ีทาการสารวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (Basal Area : BA)
หมายถึง พืน้ ท่ีหนา้ ตัดของลาตน้ ของตน้ ไม้ที่วดั ระดบั อก (1.30 เมตร) ตอ่ พนื้ ท่ที ีท่ าการสารวจ
Do = พ้ืนท่ีหนา้ ตดั ท้งั หมดของไมช้ นิดทก่ี าหนด X 100
พน้ื ท่แี ปลงตัวอย่างท่ที าการสารวจ
7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไม้ทีต่ อ้ งการตอ่ ค่าความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ
RD = ความหนาแน่นของไมช้ นิดนั้น X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ ุกชนิด
7.5 ค่าความถสี่ ัมพทั ธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิด
ไม้ทีต่ ้องการต่อคา่ ความถี่ท้ังหมดของไมท้ กุ ชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ ร้อยละ
RF = ความถ่ีของไม้ชนดิ นน้ั X 100
ความถีร่ วมของไมท้ กุ ชนดิ
24
7.6 คา่ ความเด่นสัมพทั ธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ คา่ ความสมั พันธ์ของความเดน่
ในรปู พ้นื ทีห่ นา้ ตัดของไมช้ นิดทีก่ าหนดตอ่ ความเดน่ รวมของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ
RDo = ความเด่นของไม้ชนดิ นั้น X 100
ความเดน่ รวมของไม้ทกุ ชนดิ
7.7 คา่ ดัชนีความสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสัมพทั ธ์ต่างๆ ของชนดิ ไมใ้ นสงั คม ได้แก่ คา่ ความสัมพัทธด์ ้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ดา้ นความถี่
และคา่ ความสัมพัทธ์ด้านความเด่น
IVI = RD + RF + RDo
8. การวิเคราะห์ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยทาการวิเคราะห์คา่ ตา่ งๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนดิ พันธ์ุ (Species Diversity) วดั จากจานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏใน
สังคมและจานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธีการของ Kreb (1972) ซึ่งมีสตู รการคานวณดังต่อไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คอื คา่ ดัชนคี วามหลากชนิดของชนิดพนั ธไุ์ ม้
pi คอื สัดสว่ นระหวา่ งจานวนต้นไม้ชนิดท่ี i ตอ่ จานวนตน้ ไม้ทัง้ หมด
S คือ จานวนชนดิ พนั ธ์ุไม้ทัง้ หมด
8.2 ความร่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจานวนชนิด
กบั จานวนตน้ ทัง้ หมดทท่ี าการสารวจ ซึ่งจะเพ่ิมข้ึนเมื่อเพิ่มพ้ืนทแ่ี ปลงตัวอยา่ ง และดัชนคี วามรา่ รวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตร
การคานวณดงั น้ี
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เมอ่ื S คอื จานวนชนิดทงั้ หมดในสงั คม
n คือ จานวนตน้ ท้งั หมดทสี่ ารวจพบ
25
8.3 ความสม่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า
ดชั นีความสมา่ เสมอจะมีค่ามากท่ีสดุ เมอื่ ทกุ ชนดิ ในสังคมมจี านวนต้นเท่ากันท้ังหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใช้กันมาก
ในหมูน่ ักนิเวศวทิ ยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มีสตู รการคานวณดังน้ี
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมอื่ H คอื ค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จานวนชนิดทั้งหมด (N0)
N1 คอื eH
9. การศกึ ษาคณุ คา่ ทางนเิ วศวิทยา เปน็ คณุ ค่าทป่ี ่ามอี งคป์ ระกอบ และหน้าที่ตามสภาพธรรมชาติ ปราศจาก
การรบกวนหรอื มีการรบกวนโดยเฉพาะจากมนษุ ย์นอ้ ย ไมท่ าใหอ้ งค์ประกอบและหนา้ ทเี่ ปลีย่ นไปจากเดิมหรือ
เลวลงกวา่ เดมิ ซึ่งการประเมนิ คุณค่าทางนเิ วศวทิ ยารวมท้ังพิจารณาจากป่าในพ้ืนท่ีท่ีศึกษา แบ่งการพิจารณา
ดังน้ี
9.1 องคป์ ระกอบของปา่ (Structure) โดยพจิ ารณาจาก 4 ประเดน็ ดังน้ี
1) ชนิด หมายถึง จานวนชนิดของป่า และชนิดของไม้ที่พบในบริเวณพื้นที่ศึกษา โดย
อทุ ศิ กฎุ อนิ ทร์ (2536) กล่าวว่า พื้นที่ใดก็ตามที่มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์และความมากมาย
ของจานวนของสิ่งมีชีวิต ถือว่าพ้ืนท่ีน้ันมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และถือได้ว่าเป็นพื้นท่ีท่ีมี
คุณค่าทางนิเวศสูงดว้ ย
2) ปรมิ าณ หมายถึง ความมากมายในดา้ นจานวนของต้นไม้
3) สัดส่วน หมายถึง สัดส่วนของต้นไม้ขนาดต่างๆ ท่ีกระจายอยู่ตามธรรมชาติ ซ่ึงในสภาพ
ปกตสิ ัดส่วนของไม้ขนาดใหญม่ นี ้อยกวา่ ไม้ขนาดเล็ก ซงึ่ ทาใหก้ ารทดแทนของป่าเป็นไปอย่างต่อเน่ือง
และรกั ษาสมดลุ ของปา่ ใหค้ งอย่ตู ลอดไป
4) การกระจาย หมายถึง การขยายหรอื แพร่พนั ธ์ุของชนิดป่าและชนดิ ไมใ้ นบริเวณพน้ื ที่ศึกษา
9.2 หนา้ ท่ีของป่า (Function)
หนา้ ทีข่ องปา่ ไมท้ สี่ าคัญ คอื การเป็นผู้ผลิต (Producer) ในระบบนิเวศ โดยเป็นตัวกลางใน
การหมุนเวียนธาตุอาหารและถา่ ยทอดพลังงานไปสู่ผู้บริโภคในระดับต่างๆ ป่าท่ีมีกระบวนการหมุนเวียนธาตุ
อาหารและถ่ายทอดพลงั งานอยู่ตลอดเวลา ถอื ว่าเป็นปา่ ที่มคี ุณคา่ ทางนิเวศสูง
26
9.3 กจิ กรรมของมนุษย์
กิจกรรมของมนษุ ยท์ ม่ี ผี ลกระทบต่อป่าประกอบไปด้วย กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมความย่ังยืน
ของป่า เชน่ การฟ้ืนฟูสภาพปา่ การปอ้ งกันรักษาป่า การปลูกป่าทดแทน เป็นต้น กิจกรรมใดๆที่ช่วยส่งเสริม
ความย่ังยนื ใหก้ ับป่า ถอื ว่าพื้นทน่ี ้ันมีคณุ คา่ ทางนเิ วศสูง สว่ นกจิ กรรมท่ีทาลายความย่ังยืนของป่า เช่น การบุก
รกุ พ้ืนท่ปี ่า การตดั ไมท้ าลายปา่ เป็นต้น
9.4 คุณคา่ ของปา่ ในดา้ นการเป็นพ้ืนทอี่ นรุ ักษ์
คณุ ค่าด้านการเป็นพ้ืนที่อนุรักษ์ของพื้นท่ีลุ่มน้า เป็นพื้นท่ีรวมและอนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่าและ
พนั ธไ์ุ ม้ป่าท่ีหายาก เปน็ พ้นื ที่ตน้ นา้ ลาธารที่ใช้อุปโภคและบรโิ ภคของชมุ ชนในพื้นท่แี ละบริเวณข้างเคียง อีกทั้ง
ยงั เป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางธรรมชาตทิ ี่สวยงาม
10. การประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ผู้เชี่ยวชาญได้แบ่งสถานภาพของระบบสิ่งแวดล้อมออกเป็น
4 สถานภาพ ซ่ึงแตล่ ะสถานภาพมลี กั ษณะดังน้ี
10.1 ระดับสมดลุ ธรรมชาติ (Nature) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ไม่ถูกรบกวนจากปัจจัยต่างๆ
มีองค์ประกอบหลากหลาย ท้ังชนิดและปริมาณในอัตราส่วนที่เหมาะสม ซ่ึงสามารถทาหน้าที่ได้ปกติตาม
ธรรมชาติ
10.2 ระดบั เตอื นภัย (Warning) หมายถึง โครงสร้างและองค์ประกอบบางส่วนของทรัพยากร
ปา่ ไมถ้ ูกรบกวนทาใหก้ ารทาหนา้ ทข่ี องระบบไม่สมบรู ณ์ แตส่ ามารถกลบั ตวั ฟื้นสสู่ ภาพเดิมได้ในเวลาไมน่ าน
10.3 ระดบั เสย่ี งภยั (Risky) หมายถึง มีการรบกวนโครงสร้าง และองค์ประกอบของทรัพยากร
ปา่ ไม้ ทาให้บางส่วนมจี านวนลดลง และมีชนิดอน่ื เข้ามาทดแทน หรือมบี างอย่างมีจานวนมากเกนิ ไป ทาให้การ
ทางานของระบบนิเวศในทรพั ยากรปา่ ไมเ้ ปลย่ี นไปจากเดิม ตอ้ งใช้เวลานานมากกวา่ จะกลบั คนื ส่สู ภาพเดมิ
10.4 ระดับวิกฤติ (Crisis) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ ถูกรบกวนทาให้โครงสร้างและองค์ประกอบ
บางชนิดเหลือน้อย หรือสูญพันธุ์ไปจากระบบหรือไม่ทาหน้าท่ีของตนเอง ทาให้การทางานของระบบนิเวศ
ไมค่ รบวงจร หรอื มีประสทิ ธภิ าพลดลงแต่สามารถฟ้นื กลบั คืนสู่สภาพธรรมชาตไิ ด้ โดยตอ้ งใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย
จึงจะกลบั คนื สู่สภาพเดมิ ได้
27
ผลการสารวจและวเิ คราะห์
ขอ้ มลู ทรัพยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง
จากผลการดาเนินการวางแปลงสารวจเพื่อประเมินสถานภาพและศกั ยภาพของทรพั ยากรปา่ ไมใ้ น
พ้ืนที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน โดยแบ่งพื้นท่ีดาเนินการวางแปลงสารวจตามพื้นที่รับผิดชอบของสานัก
บรหิ ารพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ กลา่ วคอื สานักบริหารพน้ื ที่อนรุ ักษท์ ่ี 9 (อบุ ลราชธาน)ี รบั ผิดชอบดาเนินการสารวจพื้นท่ี
เขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ปา่ ภสู ีฐาน ในสว่ นของอาเภอดงหลวง อาเภอคาชะอี และอาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
จานวน 35 แปลง และสานักบริหารพื้นทอี่ นรุ กั ษ์ท่ี 8 (ขอนแก่น) รับผิดชอบดาเนินการสารวจพ้ืนท่ีเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าภูสีฐาน ในส่วนของอาเภอเขาวง และอาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จานวน 8 แปลง
รวมท้ังส้นิ จานวน 43 แปลง ดงั ภาพที่ 8 และ 9
ภาพท่ี 8 แผนท่แี สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของเขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ ่าภูสฐี าน
28
ภาพท่ี 9 แปลงตัวอยา่ งทไ่ี ดด้ าเนินการสารวจภาคสนามในเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ปา่ ภสู ฐี าน
2. พ้ืนที่ปา่ ไม้
จากการสารวจ พบว่า มีพ้ืนท่ปี า่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินได้ 4 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรัง และไร่ร้าง โดยป่าเบญจพรรณพบมากสดุ มีพื้นที่ 176.32 ตารางกิโลเมตร
(110,198.26 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 58.14 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง มีพ้ืนที่ 63.47 ตาราง
กโิ ลเมตร (39,671.37 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 20.93 ของพื้นที่ท้ังหมด ป่าเต็งรังมีพื้นที่ 56.42 ตารางกิโลเมตร
(35,263.44 ไร่) คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.60 ของพ้นื ที่ท้ังหมด และ ไร่ร้าง มีพื้นท่ี 7.05 ตารางกิโลเมตร (4,407.93 ไร่)
คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.33 ของพ้ืนท่ที ง้ั หมด รายละเอยี ดดังตารางท่ี 2
29
ตารางท่ี 2 พืน้ ที่ปา่ ไมจ้ าแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ในเขตรักษาพนั ธสุ์ ัตวป์ ่าภูสฐี าน
(Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ พ้ืนที่ รอ้ ยละ
(Landuse Type) ไร่
ตร.กม. 39,671.37 เฮกตาร์ ของพื้นท่ีทั้งหมด
ปา่ ดิบแล้ง 63.47
(Dry Evergreen Forest) 6,347.42 20.93
ปา่ เบญจพรรณ
(Mixed Deciduous Forest) 176.32 110,198.26 17,631.72 58.14
ป่าเต็งรงั
(Dry Dipterocarp Forest) 56.42 35,263.44 5,642.15 18.60
ไร่ร้าง
(Agricultur lotation) 7.05 4,407.93 705.27 2.33
รวม 303.27 189,541.00 30,326.56 100.00
หมายเหตุ : - การคานวณพ้ืนท่ปี ่าไมข้ องชนดิ ป่าแต่ละชนดิ ใชส้ ดั ส่วนของข้อมูลท่พี บจากการสารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพ้ืนทสี่ ารวจคานวณจากขอ้ มูลแปลงท่ีสารวจพบ ซงึ่ มีพ้ืนท่ีดงั ตารางท่ี 1
- ร้อยละของพื้นทที่ ้ังหมดคานวณจากพ้นื ท่ีแนบท้ายกฤษฎีกาของเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน ซึ่งมีพน้ื ทีเ่ ท่ากับ
303.27 ตารางกิโลเมตร หรือ 189,541 ไร่
ภาพที่ 10 พ้ืนที่ป่าไมจ้ าแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินในเขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ป่าภสู ฐี าน
30
ภาพที่ 11 ลักษณะทวั่ ไปของปา่ ดบิ แลง้ ในพื้นที่เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ภสู ฐี าน
31
ภาพที่ 12 ลักษณะทวั่ ไปของป่าเบญจพรรณพื้นที่เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ภสู ฐี าน
32
ภาพที่ 13 ลักษณะทวั่ ไปของป่าเต็งรงั ในพื้นที่เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ภสู ฐี าน
33
ภาพที่ 14 ลักษณะทวั่ ไปของไร่ร้างในพ้ืนท่ีเขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ภสู ีฐาน
34
3. ปรมิ าณไม้
จากการวิเคราะหเ์ ก่ียวกับชนดิ ไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของตน้ ไมใ้ นป่า โดยการ
สารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นแปลงตวั อยา่ งถาวร ในพืน้ ท่เี ขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ปา่ ภูสฐี าน จานวนทง้ั ส้ิน 43 แปลง พบว่า
ชนิดปา่ หรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ทสี่ ารวจพบทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ ปา่ ดบิ แล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และ
ไรร่ ้าง พบไมย้ นื ตน้ ท่มี ีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเสน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) มากกว่าหรือเทา่ กบั
15 เซนติเมตรข้นึ ไป มมี ากกว่า 220 ชนิด รวมท้งั หมด 26,214,843 ตน้ ปรมิ าตรไมร้ วมทัง้ หมด 3,846,358.14
ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแนน่ ของต้นไม้เฉล่ยี 138.31 ต้นตอ่ ไร่ มปี รมิ าตรไมเ้ ฉลี่ย 20.29 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่
พบปริมาณไมม้ ากสุดในปา่ เบญจพรรณ จานวน 12,335,152 ตน้ รองลงมา คอื ป่าดิบแลง้ พบจานวน 8,456,173
ตน้ สาหรบั ปริมาตรไมพ้ บมากสดุ ในปา่ เบญจพรรณ จานวน 2,276,158.87 ลูกบาศกเ์ มตร รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง
จ า น ว น 9 2 4 , 6 8 2 . 6 4 ลู ก บ า ศ ก์ เ ม ต ร ร า ย ล ะ เ อี ย ด ดั ง ต า ร า ง ท่ี 3 แ ล ะ 4 ต า ม ล า ดั บ
ตารางท่ี 3 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ในเขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ ่าภูสีฐาน
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ปริมาณไมท้ ้ังหมด
(Landuse Type)
จานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดิบแลง้
(Dry Evergreen Forest) 8,456,173 924,682.64
ปา่ เบญจพรรณ
(Mixed Deciduous Forest) 12,335,152 2,276,158.87
ป่าเตง็ รัง
(Dry Dipterocarp Forest) 5,381,201 541,839.17
ไรร่ ้าง
(Agricultur lotation) 42,316 103,677.46
รวม 26,214,843 3,846,358.14
35
ภาพท่ี 15 ปริมาณไม้ทัง้ หมดทีพ่ บในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ภูสีฐาน
ภาพท่ี 16 ปริมาตรไม้ทัง้ หมดทพ่ี บในพ้ืนทเ่ี ขตรักษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ ภูสีฐาน
36
ตารางที่ 4 ความหนาแน่นและปรมิ าตรไมต้ อ่ หนว่ ยพ้ืนทจี่ าแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ
ในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(Landuse Type) ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ตน้ /ไร่ ต้น/เฮกตาร์
ปา่ ดิบแล้ง 23.31 145.68
(Dry Evergreen Forest) 213.16 1,332.22
ป่าเบญจพรรณ
(Mixed Deciduous Forest) 111.94 699.60 20.66 129.09
ป่าเต็งรัง
(Dry Dipterocarp Forest) 152.60 953.75 15.37 96.03
ไรร่ ้าง
(Agricultur lotation) 9.60 60.00 23.52 147.00
เฉลี่ย 138.31 864.42 20.29 126.83
ภาพที่ 17 ความหนาแนน่ ของตน้ ไมใ้ นพื้นท่ีเขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าภสู ีฐาน
37
ภาพท่ี 18 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพ้นื ที่แต่ละประเภทในเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ภสู ฐี าน
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ ่าภสู ฐี าน
ขนาดความโต (GBH) ปรมิ าณไมท้ งั้ หมด (ต้น) รอ้ ยละ (%)
15 - 45 ซม. 19,296,155
>45 - 100 ซม. 5,754,994 73.61
>100 ซม. 1,163,694 21.95
26,214,843 4.44
รวม 100.00
ภาพที่ 19 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ง้ั หมดในพื้นที่เขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ภูสฐี าน
38
4. ชนดิ พันธ์ไุ ม้
ชนิดพันธ์ุไม้ที่สารวจพบในภาคสนาม จาแนกโดยใช้เจ้าหน้าท่ีผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธ์ุไม้
ชว่ ยจาแนกชนิดพันธ์ไุ มท้ ี่ถกู ตอ้ ง และบางครงั้ จาเปน็ ต้องใช้ราษฎรในพื้นทซี่ งึ่ มคี วามรู้ในชนิดพันธุ์ไม้ประจาถ่ิน
ช่วยในการเก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธ์ุไม้ เพื่อนามาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุ์ไม้ในสานักบริหาร
พ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ี 9 (อุบลราชธาน)ี เจา้ หนา้ ท่ีจากสว่ นกลาง และสานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพนั ธุ์พชื ชว่ ยจาแนกช่อื ทางการและช่ือวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง และชนิดพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่ที่พบ
มักจะเป็นพันธ์ุไม้ที่รู้จักและคุ้นเคยสาหรับเจ้าหน้าที่ท่ีทาการสารวจอยู่แล้ว โดยชนิดพันธุ์ไม้ที่พบทั้งหมด
ในพนื้ ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั ว์ป่าภสู ีฐาน มี 51 วงศ์ มากกวา่ 220 ชนดิ มปี ริมาณไม้รวม 26,214,843 ต้น คิดเป็น
ปริมาตรไม้รวม 3,846,358.14 ลูกบาศกเ์ มตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 138.31 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 20.29
ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ทีม่ ีปริมาตรไม้มากทส่ี ดุ 10 อนั ดบั แรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa)
ตวิ้ ขน (Cratoxylum formosum) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กอ่ หนิ (Castanopsis piriformis)
กระบก (Irvingia malayana) ข้อี ้าย (Terminalia triptera) และ รัง (Shorea siamensis) รายละเอียด
ดังตารางท่ี 6
ปา่ ดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 8,456,173 ตน้ คดิ เปน็ ปรมิ าตรไมร้ วม 924,682.64 ลูกบาศก์เมตร
มคี ่าความหนาแนน่ เฉลย่ี 213.16 ตน้ ต่อไร่ มปี รมิ าตรไมเ้ ฉล่ีย 23.31 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้มาก
ทสี่ ดุ 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อหิน (Castanopsis piriformis) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ขว้าว (Haldina
cordifolia) ต้วิ ขน (Cratoxylum formosum) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะพอก
(Parinari anamense) กะเพราต้น (Cinnamomum glaucescens) แดง (Xylia xylocarpa) พะยูง
(Dalbergia cochinchinensis) และพลับพลา (Microcos tomentosa) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 7
ป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 12,335,152 ตน้ คิดเปน็ ปริมาตรไมร้ วม 2,276,158.87 ลกู บาศก์เมตร
มีค่าความหนาแนน่ เฉลีย่ 111.94 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 20.66 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) กระบก (Irvingia malayana) ตวิ้ ขน (Cratoxylum
formosum) แดง (Xylia xylocarpa) ขอี้ ้าย (Terminalia triptera) มะกอกเกลอ้ื น (Canarium subulatum)
สาธร (Millettia leucantha) และมะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) รายละเอียดดังตารางท่ี 8
ป่าเตง็ รัง มปี ริมาณไมร้ วม 5,381,201 ตน้ คดิ เป็นปรมิ าตรไมร้ วม 541,839.17 ลูกบาศก์เมตร
มคี ่าความหนาแน่นเฉล่ีย 152.60 ต้นต่อไร่ มปี ริมาตรไม้เฉลย่ี 15.37 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้ทีม่ ปี รมิ าตรไม้
มากท่สี ดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) แดง (Xylia xylocarpa)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สาธร (Millettia leucantha) กระทมุ่ เนิน (Mitragyna
rotundifolia) ตีนนก (Vitex pinnata) โลด (Aporosa villosa) รกฟ้า (Terminalia alata) และเปล้าใหญ่
(Mallotus macrostachyus) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 9
39
พืน้ ทีไ่ รร่ า้ ง มปี ริมาณไม้รวม 42,316 ตน้ คดิ เป็นปริมาตรไม้รวม 103,677.46 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลยี่ 9.60 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลย่ี 23.52 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนดิ ไม้ที่มปี รมิ าตรไมม้ ากทสี่ ดุ
ไดแ้ ก่ มะม่วงป่า (Mangifera caloneura) รองลงมา คือ ยางนา (Dipterocarpus alatus) กระทุ่มนา
(Mitragyna diversifolia) และช้ิงขาว (Ficus fistulosa) ตามลาดับ รายละเอียดดงั ตารางที่ 10
ชนิดไม้ไผ่และหวาย ท่ีสารวจพบในพนื้ ทีเ่ ขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูสีฐาน มีไม้ไผ่อยู่ 3 ชนิด ได้แก่
ไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) และไผ่กะแสนดา (Schizostachyum
mekongensis) มีปรมิ าณไมไ้ ผ่จานวน 5,416,465 กอ รวมทั้งส้ิน 64,616,731 ลา โดยสารวจพบในป่าดิบแล้ง
ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรงั และไร่ร้าง สว่ นหวายเสน้ ตงั้ และหวายนอน พบเพยี งในปา่ ดบิ แลง้ และป่าเบญจพรรณ
เทา่ นัน้ โดยชนดิ หวายท่สี ารวจพบ มี 2 ชนดิ คือ หวายขม (Calamus siamensis) และหวายหนู (Renanthera
elongate) รวมทง้ั สน้ิ 1,170,746 เสน้ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 11
ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไมท้ ี่พบในเขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ า่ ภสู ฐี าน มมี ากกวา่ 99 ชนิด รวมท้ังสิ้น
1,067,777,020 ต้น มคี วามหนาแน่นของกล้าไม้ 5,633.49 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ไดแ้ ก่ พลับพลา (Microcos tomentosa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะหวด
(Lepisanthes rubiginosa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) หมกั ม่อ (Rothmannia wittii) กอ่ หนิ (Castanopsis
piriformis) เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia leucantha) และเข็มปา่ (Ixora
cibdela) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 12
ชนดิ และปรมิ าณของลูกไม้ท่ีพบในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั วป์ ่าภสู ีฐาน มีมากกว่า 83 ชนิด รวมท้ังสิ้น
92,672,325 ตน้ มคี วามหนาแนน่ ของลกู ไม้ 488.93 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยชนิดไมท้ มี่ ปี ริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะหวด (Lepisanthes rubiginosa) ช้างน้าว (Gomphia
serrata) พลับพลา (Microcos tomentosa) เปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii) เตง็ (Shorea obtusa) ติว้ ขน
(Cratoxylum formosum) กล้วยนอ้ ย (Xylopia vielana) แดง (Xylia xylocarpa) และเสย้ี วใหญ่ (Bauhinia
malabarica) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 13
ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ที่พบในเขตรักษาพันธ์สุ ตั วป์ า่ ภูสฐี าน มีมากกว่า 35 ชนิด รวมทั้งสิ้น
1,283,589 ตอ มีความหนาแนน่ ของตอไม้ 6.77 ตอตอ่ ไร่ โดยชนิดไม้ท่มี ีปรมิ าณตอมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) เตง็ (Shorea obtusa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ก่อหิน (Castanopsis
piriformis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รัง (Shorea siamensis) กระทุ่ม (Anthocephalus
chinensis) มะนาวผี (Atalantia monophylla) ต้วิ ขน (Cratoxylum formosum) และพลับพลา (Microcos
tomentosa) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 14
40
ตารางที่ 6 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดของเขตรกั ษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ ภสู ฐี าน (30 ชนดิ แรกที่มีปรมิ าตรไมส้ งู สุด)
ลาดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่ )
1 ตะแบก Lagerstroemia duperreana 1,191,904 229,999.84 6.29
1.21
เปลือกบาง
2 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 239,791 226,161.52 1.27 1.19
860,428 174,436.22 4.54 0.92
3 เตง็ Shorea obtusa 930,955 169,756.31 4.91 0.90
1,008,534 148,616.04 5.32 0.78
4 แดง Xylia xylocarpa 303,266 131,662.48 1.60 0.69
500,741 114,985.59 2.64 0.61
5 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 260,949 114,530.98 1.38 0.60
289,160 106,473.89 1.53 0.56
6 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 599,479 103,803.79 3.16 0.55
416,109 97,660.03 2.20 0.52
7 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 648,847 95,246.62 3.42 0.50
42,316 93,769.77 0.22 0.49
8 กระบก Irvingia malayana 564,215 89,712.70 2.98 0.47
430,214 87,694.78 2.27 0.46
9 ขอ้ี า้ ย Terminalia triptera 338,529 65,913.39 1.79 0.35
169,265 63,813.43 0.89 0.34
10 รัง Shorea siamensis 169,265 61,047.77 0.89 0.32
1,262,431 57,688.09 6.66 0.30
11 ขว้าว Haldina cordifolia 176,317 56,509.02 0.93 0.30
324,424 54,571.25 1.71 0.29
12 คอแลน Nephelium hypoleucum 691,163 52,785.22 3.65 0.28
465,477 52,332.56 2.46 0.28
13 มะมว่ งป่า Mangifera caloneura 155,159 51,162.63 0.82 0.27
253,897 46,052.92 1.34 0.24
14 สาธร Millettia leucantha 56,422 45,754.99 0.30 0.24
338,529 43,871.98 1.79 0.23
15 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 225,686 43,342.49 1.19 0.23
225,686 38,968.13 1.19 0.21
16 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 197,475 37,388.50 1.04 0.20
12,878,209 1,090,645.21 67.94 5.75
17 ตนี นก Vitex pinnata 26,214,843 3,846,358.14 138.31 20.29
18 เขลง Dialium cochinchinense
19 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
20 มะพอก Parinari anamense
21 อะราง Peltophorum dasyrachis
22 พลับพลา Microcos tomentosa
23 กระทุ่มเนนิ Mitragyna rotundifolia
24 จกั จ่ัน Millettia xylocarpa
25 กระทงลอย Crypteronia paniculata
26 สมอพิเภก Terminalia bellirica
27 สะแกแสง Cananga latifolia
28 มะค่าแต้ Sindora siamensis
29 หวา้ Syzygium cumini
30 งิ้วป่า Bombax anceps
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธุไ์ มท้ ี่สารวจพบท้ังหมด 220 ชนิด
41
ตารางที่ 7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดบิ แลง้ ของเขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ป่าภสู ีฐาน (30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ าตรไมส้ ูงสดุ )
ลาดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )
1 ก่อหนิ Castanopsis piriformis 380,845 97,198.44 9.60
620,637 87,462.24 15.64 2.45
2 คอแลน Nephelium hypoleucum 49,369 59,646.93 1.24 2.20
56,422 42,984.86 1.42 1.50
3 ขวา้ ว Haldina cordifolia 42,316 39,591.82 1.07 1.08
119,896 36,805.78 3.02 1.00
4 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 7,053 33,202.99 0.18 0.93
148,106 29,795.07 3.73 0.84
5 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 134,001 26,345.09 3.38 0.75
253,897 20,776.54 6.40 0.66
6 มะพอก Parinari anamense 7,053 17,210.04 0.18 0.52
359,687 16,979.84 9.07 0.43
7 กะเพราต้น Cinnamomum glaucescens 260,949 16,168.81 6.58 0.43
119,896 15,799.83 3.02 0.41
8 แดง Xylia xylocarpa 317,371 15,324.10 8.00 0.40
49,369 15,290.33 1.24 0.39
9 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 190,423 14,392.66 4.80 0.39
458,425 14,137.32 11.56 0.36
10 พลบั พลา Microcos tomentosa 134,001 13,754.20 3.38 0.36
148,106 13,310.45 3.73 0.35
11 ลกู ดงิ่ Parkia sumatrana 162,212 12,033.22 4.09 0.34
169,265 11,788.55 4.27 0.30
12 โลด Aporosa villosa 35,263 11,182.19 0.89 0.30
21,158 9,676.25 0.53 0.28
13 สตั บรรณ Alstonia scholaris 14,105 9,201.98 0.36 0.24
63,474 9,103.44 1.60 0.23
14 อะราง Peltophorum dasyrachis 35,263 9,080.04 0.89 0.23
56,422 8,752.35 1.42 0.23
15 หมกั มอ่ Rothmannia wittii 183,370 8,747.97 4.62 0.22
112,843 8,267.79 2.84 0.22
16 ขี้อา้ ย Terminalia triptera 3,744,978 200,671.51 94.40 0.21
924,682.64 213.16 5.06
17 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 8,456,173 23.31
18 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii
19 มะค่าแต้ Sindora siamensis
20 ติว้ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense
21 กระทงลอย Crypteronia paniculata
22 เต็ง Shorea obtusa
23 กางข้ีมอด Albizia odoratissima
24 มะมว่ งป่า Mangifera caloneura
25 ซาด Erythrophleum succirubrum
26 ตีนนก Vitex pinnata
27 ดีหมี Cleidion spiciflorum
28 กายาน Styrax benzoides
29 พลองเหมอื ด Memecylon edule
30 กลว้ ยน้อย Xylopia vielana
31 อ่นื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธไุ์ ม้ทส่ี ารวจพบทง้ั หมด 143 ชนิด
42
ตารางท่ี 8 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ ่าภสู ีฐาน (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ ูงสดุ )
ลาดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )
1 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 183,370 224,053.80 1.66
832,217 147,602.99 7.55 2.03
2 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 190,423 121,564.25 1.73 1.34
197,475 106,237.76 1.79 1.10
3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 712,322 100,660.99 6.46 0.96
564,215 97,133.69 5.12 0.91
4 กระบก Irvingia malayana 225,686 90,327.29 2.05 0.88
225,686 72,628.31 2.05 0.82
5 ติ้วขน Cratoxylum formosum 373,792 61,392.77 3.39 0.66
218,633 60,935.93 1.98 0.56
6 แดง Xylia xylocarpa 77,580 58,349.23 0.70 0.55
63,474 44,736.07 0.58 0.53
7 ขีอ้ ้าย Terminalia triptera 804,006 43,550.77 7.30 0.41
35,263 40,721.35 0.32 0.40
8 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 84,632 39,387.52 0.77 0.37
197,475 38,649.96 1.79 0.36
9 สาธร Millettia leucantha 183,370 36,817.72 1.66 0.35
49,369 36,217.57 0.45 0.33
10 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 218,633 35,225.20 1.98 0.33
317,371 34,033.24 2.88 0.32
11 เขลง Dialium cochinchinense 91,685 34,019.70 0.83 0.31
105,790 32,493.20 0.96 0.31
12 จักจน่ั Millettia xylocarpa 296,213 31,458.62 2.69 0.29
91,685 29,588.29 0.83 0.29
13 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 373,792 28,043.75 3.39 0.27
70,527 27,738.58 0.64 0.25
14 สมอพิเภก Terminalia bellirica 84,632 26,549.43 0.77 0.25
7,053 25,926.85 0.06 0.24
15 ตนี นก Vitex pinnata 14,105 20,505.49 0.13 0.24
56,422 19,703.24 0.51 0.19
16 อะราง Peltophorum dasyrachis 5,388,254 509,905.31 48.90 0.18
4.63
17 งิ้วปา่ Bombax anceps 12,335,152 2,276,158.87 111.94
20.66
18 เตง็ Shorea obtusa
19 สะแกแสง Cananga latifolia
20 ขว้าว Haldina cordifolia
21 กระทงลอย Crypteronia paniculata
22 หวา้ Syzygium cumini
23 กระทุ่มเนนิ Mitragyna rotundifolia
24 มะค่าแต้ Sindora siamensis
25 พลบั พลา Microcos tomentosa
26 สลอดป่า Microdesmis caseariifolia
27 มะกอก Spondias pinnata
28 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata
29 สกุณี Terminalia calamansanai
30 มะพอก Parinari anamense
31 อืน่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธ์ไุ ม้ที่สารวจพบท้งั หมด 162 ชนิด
43
ตารางท่ี 9 ปริมาณไม้ในป่าเต็งรงั ของเขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตวป์ า่ ภสู ีฐาน (30 ชนิดแรกที่มีปรมิ าตรไม้สงู สุด)
ลาดบั ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )
1 เต็ง Shorea obtusa 641,795 126,430.11 18.20
571,268 96,068.62 16.20 3.59
2 รงั Shorea siamensis 218,633 42,827.55 6.20 2.72
317,371 42,805.03 9.00 1.21
3 แดง Xylia xylocarpa 183,370 27,408.57 5.20 1.21
141,054 20,287.63 4.00 0.78
4 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 21,158 15,322.47 0.60 0.58
253,897 14,165.44 7.20 0.43
5 สาธร Millettia leucantha 162,212 13,461.99 4.60 0.40
394,951 12,615.82 11.20 0.38
6 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 197,475 10,005.60 5.60 0.36
49,369 1.40 0.28
7 ตนี นก Vitex pinnata 105,790 8,711.25 3.00 0.25
70,527 7,895.71 2.00 0.22
8 โลด Aporosa villosa 91,685 7,690.82 2.60 0.22
232,739 6,426.56 6.60 0.18
9 รกฟ้า Terminalia alata 84,632 5,652.38 2.40 0.16
42,316 5,586.70 1.20 0.16
10 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 239,791 5,236.52 6.80 0.15
49,369 4,970.19 1.40 0.14
11 แดง Xylia xylocarpa 63,474 3,979.85 1.80 0.11
21,158 3,964.93 0.60 0.11
12 มะกอก Spondias pinnata 56,422 3,552.35 1.60 0.10
35,263 3,223.02 1.00 0.09
13 สะแกแสง Cananga latifolia 21,158 3,084.65 0.60 0.09
56,422 2,984.50 1.60 0.08
14 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 14,105 2,777.29 0.40 0.08
7,053 2,741.42 0.20 0.08
15 จักจัน่ Millettia xylocarpa 56,422 2,611.99 1.60 0.07
77,580 2,565.04 2.20 0.07
16 มะมว่ งหวั แมงวนั Buchanania lanzan 902,744 2,192.16 25.60 0.06
5,381,201 34,593.02 152.60 0.98
17 ปอเลยี งฝ้าย Eriolaena candollei 541,839.17 15.37
18 สีเสยี ดเปลือก Pentace burmanica
19 ต้วิ ขน Cratoxylum formosum
20 ขวา้ ว Haldina cordifolia
21 พลบั พลา Microcos tomentosa
22 หมีเหม็น Litsea glutinosa
23 รกั ใหญ่ Gluta usitata
24 สมอไทย Terminalia chebula
25 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata
26 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria
27 ส้านชา้ ง Dillenia pentagyna
28 ตะครอ้ Schleichera oleosa
29 กะเจียน Polyalthia cerasoides
30 ตับเต่าตน้ Diospyros ehretioides
31 อื่นๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธไ์ุ มท้ ส่ี ารวจพบท้งั หมด 70 ชนิด
44
ตารางที่ 10 ปริมาณไม้ในพนื้ ท่ไี ร่รา้ งของเขตรกั ษาพันธ์ุสตั วป์ ่าภสู ฐี าน
ลาดบั ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่ )
1 มะม่วงป่า Mangifera caloneura 14,105 3.20
7,053 83,803.16 1.60 19.01
2 ยางนา Dipterocarpus alatus 14,105 9,683.19 3.20 2.20
7,053 7,577.32 1.60 1.72
3 กระทมุ่ นา Mitragyna diversifolia 42,316 2,613.79 9.60 0.59
103,677.46 23.52
4 ช้ิงขาว Ficus fistulosa
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธุ์ไม้ทสี่ ารวจพบท้ังหมด 4 ชนดิ
ตารางท่ี 11 ชนดิ และปริมาณไมไ้ ผ่ หวาย และไม้กอ ที่พบในเขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าภสู ฐี าน
ลาดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไมไ้ ผ่ท้งั หมด
ไผ่ Gigantochloa albociliata จานวนกอ จานวนลา
1 ไผไ่ ร่ Thyrsostachys siamensis
2 ไผ่รวก Schizostachyum mekongensis 3,850,768 46,533,638
3 ไผก่ ะแสนดา รวมไผ่
1,043,798 10,367,452
521,899 7,715,641
5,416,465 64,616,731
ปรมิ าณหวายทัง้ หมด (เส้น)
หวายตน้ Calamus siamensis 719,374
1 หวายขม Renanthera elongata 451,372
2 หวายหนู รวมหวาย 1,170,746
ปริมาณไมก้ อ ปาล์ม และหวายเลอื้ ยทงั้ หมด
ไม้กอ ปาลม์ และหวายเลอ้ื ย -
--
รวมไมก้ อ ปาล์ม และหวายเล้ือย
45
ตารางท่ี 12 ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทพ่ี บในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั ว์ป่าภสู ีฐาน
ลาดบั ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณกล้าไมท้ งั้ หมด ความหนาแนน่
(ตน้ ) (ต้น/ไร่)
1 พลับพลา Microcos tomentosa 73,347,959 386.98
71,937,421 379.53
2 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 70,526,884 372.09
52,189,894 275.35
3 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 39,495,055 208.37
33,852,904 178.60
4 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 31,031,829 163.72
31,031,829 163.72
5 หมกั มอ่ Rothmannia wittii 28,210,753 148.84
25,389,678 133.95
6 กอ่ หนิ Castanopsis piriformis 23,979,140 126.51
22,568,603 119.07
7 เต็ง Shorea obtusa 22,568,603 119.07
19,747,527 104.19
8 แดง Xylia xylocarpa 19,747,527 104.19
18,336,990 96.74
9 สาธร Millettia leucantha 18,336,990 96.74
16,926,452 89.30
10 เข็มปา่ Ixora cibdela 15,515,914 81.86
15,515,914 81.86
11 เหมอื ดคน Helicia robusta 15,515,914 81.86
14,105,377 74.42
12 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 12,694,839 66.98
12,694,839 66.98
13 ขี้อ้าย Terminalia triptera 12,694,839 66.98
11,284,301 59.53
14 เหมอื ดคนตัวผู้ Helicia nilagirica 11,284,301 59.53
11,284,301 59.53
15 ช้างนา้ ว Gomphia serrata 9,873,764 52.09
9,873,764 52.09
16 เสีย้ วดอกขาว Bauhinia variegata 296,212,912 1,562.79
17 ติว้ ขาว Cratoxylum formosum 1,067,777,020 5,633.49
18 ลาบิดดง Diospyros filipendula
19 กระบก Irvingia malayana
20 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
21 ขนั ทองพยาบาท Suregada multiflorum
22 หัสคณุ Micromelum minutum
23 เสยี้ วปา่ Bauhinia saccocalyx
24 ตบั เต่าต้น Diospyros ehretioides
25 มะค่าแต้ Sindora siamensis
26 สะแกแสง Cananga latifolia
27 อนิ ทนลิ บก Lagerstroemia macrocarpa
28 กลว้ ยน้อย Xylopia vielana
29 ปอพราน Colona auriculata
30 ต้วิ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense
31 อืน่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุก์ ลา้ ไม้ท่สี ารวจพบทงั้ หมด 99 ชนดิ
46
ตารางท่ี 13 ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในเขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ปา่ ภูสีฐาน
ลาดบั ที่ ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณลูกไม้ทั้งหมด ความหนาแนน่
(ตน้ ) (ต้น/ไร่)
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 8,181,119 43.16
7,193,742 37.95
2 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 5,218,989 27.53
4,795,828 25.30
3 ช้างนา้ ว Gomphia serrata 4,654,774 24.56
4,090,559 21.58
4 พลบั พลา Microcos tomentosa 3,385,290 17.86
3,385,290 17.86
5 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 3,244,237 17.12
2,680,021 14.14
6 เตง็ Shorea obtusa 2,538,968 13.40
2,397,914 12.65
7 ต้ิวขน Cratoxylum formosum 2,115,807 11.16
1,833,699 9.67
8 กล้วยน้อย Xylopia vielana 1,692,645 8.93
1,551,591 8.19
9 แดง Xylia xylocarpa 1,410,538 7.44
1,410,538 7.44
10 เสย้ี วใหญ่ Bauhinia malabarica 1,410,538 7.44
1,410,538 7.44
11 มะค่าแต้ Sindora siamensis 1,269,484 6.70
1,269,484 6.70
12 ลาดวน Melodorum fruticosum 1,128,430 5.95
1,128,430 5.95
13 สะแกแสง Cananga latifolia 987,376 5.21
987,376 5.21
14 เหมือดคนตวั ผู้ Helicia nilagirica 846,323 4.47
846,323 4.47
15 สาธร Millettia leucantha 846,323 4.47
705,269 3.72
16 ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 18,054,882 95.26
92,672,325 488.93
17 เสย้ี วดอกขาว Bauhinia variegata
18 มะชมพู่ปา่ Syzygium aqeum
19 พลากวาง Pterospermum lanceaefolium
20 หมกั ม่อ Rothmannia wittii
21 กระโดงแดง Bhesa robusta
22 กอ่ หิน Castanopsis piriformis
23 เหมอื ดคน Helicia robusta
24 กะนอื เราะ Goniothalamus malayanus
25 ผีเส้อื หลวง Casearia grewiifolia
26 ชงิ ชัน Dalbergia oliveri
27 กายาน Styrax benzoides
28 เมา่ ไข่ปลา Antidesma ghaesembilla
29 ทองแมว Gmelina elliptica
30 ปอพราน Colona auriculata
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธ์ลุ กู ไม้ทสี่ ารวจพบทงั้ หมด 83 ชนิด
47
ตารางท่ี 14 ชนิดและปริมาณของตอไม้ (Stump) ท่ีพบในเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ภูสฐี าน
ลาดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณตอไมท้ ัง้ หมด ความหนาแนน่
(ตอ) (ตอ/ไร่)
1 แดง Xylia xylocarpa 253,897 1.34
155,159 0.82
2 เต็ง Shorea obtusa 112,843 0.60
56,422 0.30
3 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 42,316 0.22
42,316 0.22
4 ก่อหนิ Castanopsis piriformis 28,211 0.15
28,211 0.15
5 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 28,211 0.15
28,211 0.15
6 รัง Shorea siamensis 28,211 0.15
28,211 0.15
7 กระทมุ่ Anthocephalus chinensis 28,211 0.15
28,211 0.15
8 มะนาวผี Atalantia monophylla 28,211 0.15
28,211 0.15
9 ต้ิวขน Cratoxylum formosum 14,105 0.07
14,105 0.07
10 พลบั พลา Microcos tomentosa 14,105 0.07
14,105 0.07
11 ขว้าว Haldina cordifolia 14,105 0.07
14,105 0.07
12 เหมอื ดคน Helicia robusta 14,105 0.07
14,105 0.07
13 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 14,105 0.07
14,105 0.07
14 คอแลน Nephelium hypoleucum 14,105 0.07
14,105 0.07
15 กายาน Styrax benzoides 14,105 0.07
14,105 0.07
16 ตีนนก Vitex pinnata 141,054 0.74
17 กางขีม้ อด Albizia odoratissima 1,283,589 6.77
18 สตั บรรณ Alstonia scholaris
19 กระบาก Anisoptera costata
20 ราชพฤกษ์ Cassia fistula
21 พะยงู Dalbergia cochinchinensis
22 ยางนา Dipterocarpus alatus
23 เหียง Dipterocarpus obtusifolius
24 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens
25 ตะเคียนหิน Hopea ferrea
26 มะคา่ แต้ Sindora siamensis
27 รกฟา้ Terminalia alata
28 ตะครอง Ziziphus cambodiana
29 คนทา Harrisonia perforata
30 เสี้ยวเครือ Bauhinia glauca
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธต์ุ อไมท้ ีส่ ารวจพบทงั้ หมด 35 ชนิด
48
5. สงั คมพชื
จากผลการสารวจเก็บและวเิ คราะหข์ ้อมูลสงั คมพชื ในเขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ ่าภูสีฐาน พบวา่ มสี ังคมพชื
4 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังและไร่ร้าง จากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช เช่น
ความหนามแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนความสาคัญ
ของพรรณไม้ (Importance Value Index : IVI) พบวา่ ในสังคมพชื ทั้ง 4 ประเภท มชี นิดไม้ที่มีค่าดชั นีความสาคญั
ของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia
xylocarpa) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) เต็ง (Shorea obtusa)
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สาธร (Millettia leucantha) พลับพลา (Microcos tomentosa)
ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) และรัง (Shorea siamensis) รายละเอียดดังตารางที่ 15
ในพืน้ ท่ปี ่าดิบแลง้ มีชนิดไม้ท่มี ีค่าดชั นีความสาคญั ของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่
คอแลน (Nephelium hypoleucum) ก่อหิน (Castanopsis piriformis) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii)
โลด (Aporosa villosa) หมักม่อ (Rothmannia wittii) พลบั พลา (Microcos tomentosa) มะพอก (Parinari
anamense) พะยงู (Dalbergia cochinchinensis) แดง (Xylia xylocarpa) และมะกอกเกล้ือน (Canarium
subulatum) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 16
ในพื้นที่ปา่ เบญจพรรณ มีชนดิ ไมท้ มี่ คี ่าดชั นคี วามสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) แดง (Xylia xylocarpa)
เปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
ขี้อ้าย (Terminalia triptera) สาธร (Millettia leucantha) กระบก (Irvingia malayana) และมะกอกเกลอื้ น
(Canarium subulatum) รายละเอียดดงั ตารางที่ 17
ในพื้นท่ปี ่าเตง็ รงั มีชนิดไม้ทมี่ ีค่าดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (IVI) สูงสดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ เต็ง
(Shorea obtusa) รงั (Shorea siamensis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia
xylocarpa) สาธร (Millettia leucantha) เปลา้ ใหญ่ (Mallotus macrostachyus) กระทุม่ เนิน (Mitragyna
rotundifolia) ตวิ้ ขน (Cratoxylum formosum) โลด (Aporosa villosa) และรกฟ้า (Terminalia alata)
รายละเอียดดงั ตารางที่ 18
ในพื้นที่ไรร่ ้าง มีชนดิ ไม้ทมี่ คี ่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสดุ คือ มะม่วงป่า (Mangifera
caloneura) รองลงมา คอื กระทมุ่ นา (Mitragyna diversifolia) ยางนา (Dipterocarpus alatus) และชิ้งขาว
(Ficus fistulosa) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 19
ตารางที่ 15 ดัชนีความสาคัญของชนิดไมท้ ั้งหมด (Importance Value Index : IVI) ในเขตรักษาพนั ธุ์สตั วป์ ่าภูสีฐาน
ลาดับ ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ จานวน ความหนาแน่น แปลงพบ ความถ่ี พื้นทห่ี น้าตัด ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ต้น) (ต้น/เฮกตาร)์ (ตร.ม.)
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 169 39.3 28 65.12 4.16 0.06 4.55 2.7 5.52 12.76
2 แดง Xylia xylocarpa 132 30.7 23 53.49 3.31 0.04 3.55 2.22 4.39 10.16
3 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 143 33.26 23 53.49 3.09 0.04 3.85 2.22 4.09 10.15
4 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 179 41.63 18 41.86 1.58 0.02 4.82 1.73 2.09 8.64
5 เตง็ Shorea obtusa 122 28.37 10 23.26 3.22 0.04 3.28 0.96 4.27 8.51
6 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 43 10 23 53.49 2.42 0.03 1.16 2.22 3.21 6.58
7 สาธร Millettia leucantha 80 18.6 21 48.84 1.77 0.02 2.15 2.02 2.34 6.52
8 พลับพลา Microcos tomentosa 98 22.79 21 48.84 1.27 0.02 2.64 2.02 1.68 6.34
9 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 34 7.91 10 23.26 3.07 0.04 0.91 0.96 4.08 5.95
10 รงั Shorea siamensis 85 19.77 8 18.6 2.14 0.03 2.29 0.77 2.83 5.89
11 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 61 14.19 20 46.51 1.69 0.02 1.64 1.93 2.24 5.81
12 ขอี้ า้ ย Terminalia triptera 41 9.53 21 48.84 1.9 0.03 1.1 2.02 2.52 5.65
13 กอ่ หิน Castanopsis piriformis 71 16.51 10 23.26 2.07 0.03 1.91 0.96 2.75 5.62
14 คอแลน Nephelium hypoleucum 92 21.4 7 16.28 1.79 0.02 2.48 0.67 2.37 5.52
15 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 66 15.35 22 51.16 1.16 0.02 1.78 2.12 1.54 5.44
16 โลด Aporosa villosa 105 24.42 13 30.23 0.95 0.01 2.82 1.25 1.26 5.34
17 กระบก Irvingia malayana 37 8.6 15 34.88 2.01 0.03 1 1.45 2.67 5.11
18 ขวา้ ว Haldina cordifolia 59 13.72 14 32.56 1.61 0.02 1.59 1.35 2.13 5.07
19 หมกั มอ่ Rothmannia wittii 64 14.88 18 41.86 0.67 0.01 1.72 1.73 0.89 4.35
20 ตวิ้ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense 58 13.49 15 34.88 0.68 0.01 1.56 1.45 0.9 3.91
21 อนื่ ๆ Others 1,978 460 698 1,623.26 34.85 0.46 53.21 67.24 46.22 166.68
รวม 3,717 864.42 2,413.95 75.4 1 100 100 100 300
49