รายงานการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
อทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
กลมุ่ งานวิชาการ สํานกั บริหารพ้ืนทีอ่ นุรักษ์ท่ี 7 (นครราชสีมา)
สว่ นสาํ รวจและวเิ คราะห์ทรพั ยากรปา่ ไม้ สํานกั ฟื้นฟแู ละพฒั นาพน้ื ทอ่ี นุรกั ษ์
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธพุ์ ืช
พ.ศ. 2556
บทสรปุ สาํ หรับผบู้ รหิ าร
จากสถานการณป์ ่าไม้ในปจั จบุ ันพบวา่ พน้ื ทปี่ ่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ 33.56
ของพ้ืนที่ประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหน่ึงที่ทําให้ทราบถึงสถานภาพและ
ศักยภาพของทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทําลายป่า เพ่ือนํามาใช้ใน
การดําเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้ดําเนินการมาอย่าง
ต่อเน่อื ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดําเนินงานและกําหนดจุดสํารวจเป้าหมายในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติตาดโตน เป็นเน้ือที่ 162,915 ไร่ หรือ
ประมาณ 260.66 ตารางกโิ ลเมตร ซง่ึ อทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตนมีเนื้อทีร่ ับผิดชอบดูแลตามประกาศพระราชกฤษฎีกา
135,737.50 ไร่ หรือประมาณ 217.18 ตารางกิโลเมตร และพืน้ ทเ่ี ตรียมผนวก 53,377.00 ไร่ หรือประมาณ 85.40
ตารางกิโลเมตร จงึ มีพื้นทร่ี บั ผิดชอบดูแลทงั้ ส้ิน 189,114.5 ไร่ หรือประมาณ 302.58 ตารางกิโลเมตร เน่ืองจาก
ในพ้ืนท่ีดูแลรับผิดชอบของอุทยานแห่งชาติตาดโตน มีพื้นที่ที่ราษฎรอาศัยทํากินอยู่ และได้ดําเนินการตรวจสอบ
พิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดิน ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 มิถุนายน 2541 เป็นเน้ือท่ี 26,199 ไร่ 2 งาน 6
ตารางวา จึงได้ดําเนินการสํารวจเพียง 162,915.00 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ตําบลท่าหินโงม ตําบลห้วยต้อน ตําบลนาฝาย
และตําบลนาเสียว อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ี 7
(นครราชสีมา) จํานวน 32 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาด
คงที่ รูปวงกลม 3 วงซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี
0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลกั ท้ัง 4 ทศิ
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะห์ขอ้ มูล พบวา่ มีชนิดป่าหรือลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินทส่ี ํารวจพบ
3 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ และป่าเตง็ รัง โดยมกี ารสาํ รวจพบป่าเต็งรังมากท่สี ดุ คิดเป็นร้อยละ
59.38 ของพืน้ ที่ท้ังหมด ป่าเบญจพรรณคิดเปน็ รอ้ ยละ 31.25 ของพื้นทที่ ัง้ หมด และสาํ รวจพบป่าดบิ แลง้ มเี นื้อที่
นอ้ ยที่สุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.38 ของพน้ื ที่ทั้งหมด สําหรับพรรณไม้รวมทุกชนดิ ป่าทีส่ ํารวจพบมีมากกว่า 183 ชนิด
รวมจาํ นวน 20,877,557 ตน้ คดิ เป็นปรมิ าตรไมร้ วมทง้ั หมด 2,540,896.83 ลูกบาศกเ์ มตร มคี วามหนาแนน่ ของ
ไม้เฉลีย่ 128 ต้นตอ่ ไร่ และมปี รมิ าตรไม้เฉลย่ี 15.60 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ซงึ่ เมื่อเรียงลําดับจากจาํ นวนต้นที่พบ
มากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia
leucantha) รักใหญ่ (Gluta usitata) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
รัง (Shorea siamensis) โลด (Aporosa villosa) พลับพลา (Microcos tomentosa) และมะเกลือเลือด
(Terminalia mucronata) ตามลําดับ แต่เม่อื เรียงลาํ ดับตามปรมิ าตรจากมากสดุ ไปหานอ้ ยสุด 10 อนั ดบั แรก
คอื เต็ง (Shorea obtusa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เหยี ง (Dipterocarpus obtusifolius) กระบก
(Irvingia malayana) แดง (Xylia xylocarpa) รักใหญ่ (Gluta usitata) รัง(Shorea siamensis) สาธร
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
(Millettia leucantha) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) และพะยอม (Shorea roxburghii) ตามลําดับ
ไมต้ ้นพบมากสุดในปา่ เต็งรัง รองลงมา คือ ปา่ เบญจพรรณ
กล้าไม้ (Seedling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 56 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 348,638,100 ต้น
มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 8,254 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สะเดาปัก
(Vatica harmandiana) สาธร (Millettia leucantha) เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx) ต้ิวเกลี้ยง
(Cratoxylum cochinchinense) แดง (Xylia xylocarpa) กะหนาย (Pterospermum littorale) ก่อนก
(Lithocarpus polystachyus) เต็ง (Shorea obtusa) ส้มกบ (Cratoxylum formosum) และรักใหญ่
(Gluta usitata) ตามลําดับ
ลกู ไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสํารวจมีมากกว่า 60 ชนิด รวมจํานวนท้ังหมด 32,908,830 ต้น มี
ความหนาแน่นของลกู ไม้ 618 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยชนิดไมท้ ี่มปี รมิ าณมากท่สี ดุ 10 อนั ดับแรก ได้แก่ สาธร (Millettia
leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) เหมือดจี้ (Memecylon scutellatum)
ปอพราน (Colona auriculata) พลับพลา (Microcos tomentosa) งิ้วป่า (Bombax anceps) หงอนไก่ป่า
(Heritiera parvifolia) เข็มปา่ (Ixora cibdela) และคอแลน (Nephelium hypoleucum) ตามลาํ ดับ
ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ทพี่ บในอุทยานแหง่ ชาติตาดโตน มมี ากกว่า 9 ชนิด รวมท้งั สิ้น 700,535
ตอ มคี วามหนาแนน่ ของตอไม้ 9 ตอตอ่ ไร่ โดยชนิดไม้ทมี่ ปี ริมาณตอมากท่สี ดุ 5 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ แดง (Xylia
xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และ
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) ตามลําดบั
สําหรับไม้ไผ่ ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติตาดโตน สํารวจพบว่า มีไม้ไผ่อยู่ 2 ชนิด ได้แก่ ไผ่รวก
(Thyrsostachys siamensis) และโจด (Vietnamosasa ciliate) รวมจํานวนกอไผ่ทั้งหมด 1,287,029 กอ
คิดเปน็ 19,875,630 ลํา
ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถี่ (Frequency) มากท่ีสุด คือ แดง
(Xylia xylocarpa) รองลงมา คอื ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ชนิดไม้ท่มี คี วามหนาแนน่ ของพชื พรรณ
(Density) มากที่สุด คือ เต็ง (Shorea obtusa) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpa) ชนิดไม้ท่ีมีความเด่น
(Dominance) มากท่ีสุด คือ เต็ง (Shorea obtusa) รองลงมา คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
ชนิดไมท้ ่ีมีความถีส่ ัมพทั ธ์ (Relative Frequency) มากทส่ี ดุ คอื แดง (Xylia xylocarpa) รองลงมา คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) เต็ง (Shorea obtusa) และสาธร (Millettia leucantha) ชนิดไม้ท่ีมีความ
หนาแน่นสมั พทั ธ์ (Relative Density) มากทีส่ ุด คอื เตง็ (Shorea obtusa) รองลงมา คือ แดง (Xylia xylocarpa)
ชนดิ ไม้ทมี่ คี วามเด่นสัมพทั ธ์ (Relative Dominance) มากทส่ี ดุ คอื เตง็ (Shorea obtusa) รองลงมา คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) ชนิดไม้ท่มี ีค่าความสาํ คัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI)
มากทสี่ ุด คอื เต็ง (Shorea obtusa) รองลงมา คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และข้อมลู เกยี่ วกบั
ความหลากหลายทางชีวภาพ พบวา่ ชนดิ ป่าหรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินท่ีมคี วามหลากหลายของชนดิ พันธ์ไุ ม้
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอี่ ุทยานแห่งชาติตาดโตน
(Species Diversity) มากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือป่าดิบแล้ง ซ่ึงชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชนท์ ่ีดินท่มี คี วามมากมายของชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ (Species Richness) มากที่สุด คือ ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา
คือ ปา่ เต็งรัง และชนิดป่าหรอื ลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ทม่ี คี วามสมํา่ เสมอของชนิดพันธ์ไุ ม้ (Species Evenness)
มากทสี่ ุด คอื ป่าดิบแลง้ รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โครงสรา้ งป่าในทกุ ชนดิ ปา่ หรือทกุ ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ พบวา่ ไม้ตน้
ขนาดเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนตเิ มตร จาํ นวน 14,565,737 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 69.77 ของ
ไม้ท้ังหมด ไม้ต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจาํ นวน 5,502,612 ต้น
คิดเป็นร้อยละ 26.36 ของไม้ทงั้ หมด และไมต้ ้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนตเิ มตรขึน้ ไป
จํานวน 809,208 ต้น คดิ เป็นร้อยละ 3.8 ของไมท้ ั้งหมด
จากผลการดําเนินงานดังกลา่ ว ทาํ ใหท้ ราบข้อมูลพ้นื ฐานเกีย่ วกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลงั ผลติ และความหลากหลายของพนั ธุ์พชื ในพ้ืนทต่ี า่ งๆ ของอทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน อกี ท้ังยงั เปน็ แนวทางใน
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสํารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน
เพ่ือเป็นแนวทางในการตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรป่าไม้ในพ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาติตาดโตนต่อไป
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
สารบญั i
สารบญั หน้า
สารบัญตาราง i
สารบัญภาพ iii
คาํ นาํ iv
วตั ถุประสงค์ 1
เปา้ หมายการดาํ เนนิ การ 2
ขอ้ มลู ท่วั ไปอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน 2
3
ประวตั ิความเปน็ มา 3
ลักษณะภูมปิ ระเทศ 3
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 4
พชื พรรณและสัตว์ป่า 4
แหล่งทอ่ งเท่ยี วและจุดเด่นทีน่ า่ สนใจ 5
กิจกรรมนนั ทนาการ
รูปแบบและวธิ ีการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้ 10
การส่มุ ตัวอยา่ ง (Sampling Design) 11
รปู ร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 11
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลทีท่ ําการสํารวจ 12
การวิเคราะหข์ ้อมลู การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ 12
13
1. การคาํ นวณเนื้อท่ปี ่าและปรมิ าณไม้ทัง้ หมดของแตล่ ะพืน้ ที่อนุรักษ์ 13
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้ 13
3. ขอ้ มูลทวั่ ไป 14
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองคป์ ระกอบของหมูไ่ ม้ 14
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 14
14
6. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย 15
7. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลสังคมพชื 16
8. วิเคราะหข์ ้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
สารบญั (ตอ่ ) ii
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ หน้า
1. การวางแปลงตัวอย่าง 17
2. พื้นทป่ี ่าไม้ 17
3. ปรมิ าณไม้ 18
4. ชนดิ พนั ธ์ุไม้ 23
5. ขอ้ มูลสงั คมพชื 27
6. ข้อมลู เกี่ยวกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ 36
41
วจิ ารณผ์ ลการศกึ ษา 42
สรปุ ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 43
ปญั หาและอุปสรรค 46
เอกสารอา้ งองิ 47
ภาคผนวก 48
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
iii
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หนา้
1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมูลท่ีทําการสํารวจ 12
2 พ้ืนที่ปา่ ไมจ้ าํ แนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ินในอุทยานแห่งชาติตาดโตน 19
(Area by Landuse Type)
3 ปริมาณไมต้ ้น (Tree) ท้งั หมดจําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี ินในอุทยานแห่งชาติ 23
ตาดโตน (Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแน่นและปริมาตรไมต้ อ่ หนว่ ยพืน้ ท่ีจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ 25
ในอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน (Density and Volume per Area by Landuse Type)
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน 26
6 ปรมิ าณไมต้ ้น (Tree) ทงั้ หมดของอุทยานแหง่ ชาติตาดโตน(30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมาตรไม้สูงสดุ ) 29
7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดบิ แลง้ ของอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด) 30
8 ปริมาณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติตาดโตน (30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ าตรไมส้ งู สุด) 31
9 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เต็งรังของอทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน (30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 32
10 ชนิดและปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ท่พี บในอทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน 33
11 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ท่ีพบในอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน 34
12 ชนิดและปริมาณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน 35
13 ชนิดและปรมิ าณของไผ่ในอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน 35
14 ชนิดพนั ธ์ุไม้จากการวเิ คราะหข์ ้อมูลสังคมพชื ดา้ นดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ 37
(Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ แล้งในอทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
15 ชนดิ พันธุไ์ ม้จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สังคมพชื ดา้ นดัชนีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ 38
(Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณในอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
16 ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้จากการวิเคราะห์ข้อมลู สงั คมพชื ด้านดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ 39
(Importance Value Index : IVI) ของปา่ เตง็ รงั ในอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
17 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธุ์ไมข้ องอุทยานแห่งชาติตาดโตน 41
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
สารบญั ภาพ iv
ภาพที่ หน้า
1 บริเวณน้ําตกตาดโตน 6
2 ภาพศาลปดู่ ้วง–ย่าดี 6
3 บรเิ วณนา้ํ ตกตาดฟา้ 7
4 บริเวณนา้ํ ตกผาเอียง 8
5 บรเิ วณจดุ ชมทิวทศั น์ภูโคง้ และองศศ์ วิ ะลงึ ค์ 9
6 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง 11
7 แผนทแ่ี สดงขอบเขตของอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน 17
8 แปลงตัวอย่างทไ่ี ด้ดาํ เนนิ การสํารวจภาคสนามในอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน 18
9 พน้ื ทีป่ ่าไม้จําแนกตามชนดิ ป่าในพ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน 19
10 ลกั ษณะท่ัวไปของปา่ ดบิ แล้งในพ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน 20
11 ลักษณะท่ัวไปของป่าเบญจพรรณพ้นื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน 21
12 ลกั ษณะทั่วไปของป่าเต็งรังในพื้นทอี่ ทุ ยานแห่งชาติตาดโตน 22
13 ปริมาณไม้ตน้ (Tree) ทง้ั หมดทพ่ี บในพืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน 24
14 ปรมิ าตรไม้ต้น (Tree) ทง้ั หมดท่ีพบในพ้นื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน 24
15 ความหนาแน่นไม้ตน้ (Tree) ในพื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาติตาดโตน 25
16 ปริมาตรไม้ตน้ (Tree) ตอ่ หนว่ ยพนื้ ท่ใี นอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน 26
17 การกระจายขนาดความโตของไม้ตน้ (Tree) ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาตติ าดโตน 27
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
1
คํานํา
ประเทศไทยมีการนําเอาภาพถ่ายทางอากาศมาสํารวจหาพ้ืนที่ป่าในปี พ.ศ. 2504 พบว่ามีพื้นที่ป่า
273,628.50 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 53.30 ต่อมามีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียมในการสํารวจเม่ือปี พ.ศ. 2516
พบว่าพืน้ ทปี่ า่ ลดลงเหลอื 221,707 ตารางกิโลเมตร หรือรอ้ ยละ 43.2 พ้ืนที่ปา่ ยังคงลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ขอ้ มลู ในปี
พ.ศ. 2551 ประเทศไทยมีพ้ืนที่ป่าเหลือ 171,585.7 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 33.40 ของพื้นที่ประเทศตาม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) ได้กําหนดเป้าหมายในการเพ่ิมพื้นท่ีป่าไม้
ให้ได้รอ้ ยละ 40 ของพ้ืนที่ประเทศ (สํานักงานสถิตแิ หง่ ชาต)ิ ซ่ึงอยูใ่ นพนั ธกจิ ของ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธ์พุ ชื ทีจ่ ะตอ้ งดําเนนิ การอนรุ กั ษ์ คุ้มครอง และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า มีการใช้ทรัพยากรป่าไม้
อย่างย่ังยืนและสมดุล จึงจาํ เป็นที่จะต้องทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรในปัจจุบัน โดยเฉพาะ
ทรัพยากรป่าไม้ รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพื้นที่ป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม
ท่มี ีผลต่อการบกุ รุกทาํ ลายปา่ เพอื่ นํามาใชใ้ นการดาํ เนินการตามภารกิจที่รับผิดชอบต่อไป ส่วนสํารวจและวิเคราะห์
ทรัพยากรป่าไม้ สํานกั ฟืน้ ฟแู ละพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ จึงได้ดําเนินการสํารวจพ้ืนที่ป่าของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ
เพ่อื รวบรวมเปน็ ฐานขอ้ มลู ในการดําเนินงานในกิจกรรมทม่ี ีความเกยี่ วข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้ง
ใชใ้ นการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือนําไปพัฒนา
การอนรุ กั ษ์ หรอื ใชเ้ ปน็ ต้นแบบในการดําเนนิ การในพื้นทอ่ี ่ืนๆ ต่อไป
กลุ่มงานวิชาการ สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 7 (นครราชสีมา) ได้รับมอบหมายให้ดําเนินงานการ
สาํ รวจทรัพยากรป่าไม้เพอื่ ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งทรัพยากรอื่นที่เก่ียวข้อง
ในพื้นท่ีรับผิดชอบของสาํ นักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 7 (นครราชสีมา) ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กลุ่มงาน
วิชาการได้ดําเนินงานการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติตาดโตน โดยวิธีการสํารวจแบบกลุ่ม
แปลงตัวอยา่ ง (Cluster) และวิธสี มุ่ ตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นท่ีภาพถ่ายดาวเทียม
ที่มีการแปลสภาพว่าเป็นป่า โดยให้แต่ละกลุ่มแปลงตัวอย่างมีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนที่ (Grid)
2.5x2.5 กิโลเมตร จํานวน 32 กล่มุ แปลงตวั อย่าง
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
2
วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื ให้ทราบข้อมลู พืน้ ฐานเกยี่ วกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะดา้ นกําลังผลิต และความ
หลากหลายของพชื พนั ธใุ์ นพื้นทอ่ี นรุ กั ษต์ ่างๆ ของประเทศไทย
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ เกยี่ วกบั รปู แบบ วธิ ีการสํารวจ และการ
วเิ คราะหข์ ้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน
3. เพอื่ เป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรปา่ ไม้ในพนื้ ท่ี
4. เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู พื้นฐานเกย่ี วกบั พรรณไมเ้ ดน่ และชนิดไมม้ าใชใ้ นการวางแผนเพาะชาํ กล้าไม้
เพ่อื ปลกู เสริมปา่ ในแต่ละพื้นที่
เป้าหมายดาํ เนนิ งาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่
อนุรักษ์ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธุพ์ ืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพ้ืนท่ีสํารวจ
เป้าหมายในพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน ในทอ้ งทอ่ี าํ เภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
ของสํานกั บริหารพื้นทีอ่ นรุ กั ษ์ท่ี 7 (นครราชสีมา) จาํ นวน 32 แปลง
การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม
3 วงซอ้ นกัน คอื วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จํานวนท้ังสิ้น 32 แปลง และทําการเก็บข้อมูลการสํารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นท่ีที่ต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ
เชน่ ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย
ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้
ปรมิ าณ และความหนาแน่นของหม่ไู ม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสบื พันธต์ุ ามธรรมชาตขิ องหมู่ไม้ในป่านน้ั
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
3
ข้อมูลท่ัวไปอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
ประวัตคิ วามเปน็ มา
ในปี พ.ศ. 2513 ป่าไมจ้ ังหวัดชัยภูมิ ได้พิจารณาเห็นวา่ นาํ้ ตกตาดโตน ซึ่งอยู่ในปา่ สงวนแห่งชาติ
ป่าภแู ลนคา ทอ้ งทีต่ าํ บลนาฝาย อาํ เภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ เป็นน้าํ ตกท่สี วยงามแห่งหน่ึงในภาตะวันออกเฉียงเหนือ
ประกอบดว้ ย ลานหินกว้างและมนี าํ้ ไหลตลอดปี เหมาะสมที่จะจดั ตงั้ เปน็ วนอุทยานขึน้ จึงไดเ้ สนอให้กรมป่าไม้
มีมติเห็นชอบตามท่ีจังหวัดเสนอให้จัดตั้ง “วนอุทยานนํ้าตกตาดโตน” ข้ึนเม่ือวันที่ 28 พฤษภาคม 2518 โดย
อยใู่ นความควบคุมดแู ลของสํานกั งานป่าไม้จังหวดั ชยั ภมู ิ
ต่อมากองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้พิจารณาเห็นว่าเพื่อให้การจัดการวนอุทยานแห่งน้ีเป็นไป
ตามหลักวิชาการ และเพ่ือรักษาสภาพธรรมชาติอันสวยงามแห่งน้ีไว้ ควรสํารวจและปรับปรุงยกฐานะวนอุทยาน
นํา้ ตกตาดโตน ใหเ้ ป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ จึงมคี าํ สงั่ ให้ นายไกรลาศ เทพสัมฤทธิ์พร นักวิชาการป่าไม้ 4 หัวหน้า
วนอุทยานน้ําตกตาดโตน ดําเนินการสํารวจหาข้อมูลเพิ่มเติมพบว่า วนอุทยานนํ้าตกตาดโตนมีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์
มีนํ้าตกที่สวยงามหลายแห่ง เหมาะสมจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ จึงได้นําเสนอ
คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซ่ึงมีมติในคราวการประชุมเมื่อวันท่ี 17 สิงหาคม 2519 เห็นชอบให้ยกฐานะ
วนอุทยานนํ้าตกตาดโตนเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากําหนดบริเวณท่ีดินป่าภูแลนคา ในท้องที่
ตาํ บลท่าหินโงม ตําบลหว้ ยต้อน ตําบลนาฝาย และตําบลนาเสียว อาํ เภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เน้ือที่ประมาณ
217.18 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 97 ตอนท่ี 208 ลงวันที่
31 ธนั วาคม 2523 เปน็ อุทยานแหง่ ชาติลําดับที่ 23 ของประเทศ
ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
อทุ ยานแห่งชาติตาดโตน ตั้งอยู่ในท้องท่ีอําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 15 องศา 54
ลิปดา 32 ฟิลิปดา–162 องศา 48 ลิปดา 51 ฟิลิปดาเหนือ และเส้นแวงท่ี 101 องศา 54 ลิปดา 32 ฟิลิปดา–102
องศา 10 ลิปดา 16 ฟิลปิ ดาตะวนั ออก ความสูงจากระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ย 200–1,000 เมตร มีพื้นท่ีประมาณ
1 ใน 4 อยู่บนเทือกเขาภูแลนคาด้านทิศใต้ โดยทั่วไปเป็นท่ีราบสูง โดยมีเทือกเขาล้อมรอบที่ราบเอาไว้ตอนกลาง
หบุ เขากว้างใหญ่ พ้ืนที่ของอุทยานแห่งชาติทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือจะมีภูเขาเขียว ภูกลาง และภูแลนคา
ซงึ่ จะมีระดบั สูงสุด 905 เมตร จากระดับนํา้ ทะเลปานกลาง ทางดา้ นตะะวนั ออกเฉียงเหนือจะมียอดภูแลนคา ซึ่ง
เป็นยอดเขาทีส่ งู ทส่ี ดุ ของอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน โดยมีความสงู ประมาณ 945 เมตร จากระดบั นา้ํ ทะเลปานกลาง
ยอดเขาสงู เหล่านี้เปน็ ต้นน้ําลาํ ธารของลําห้วยตา่ งๆ ทีส่ าํ คัญหลายสายและต้นกําเนิดของนํ้าตกตาดโตน ห้วยน้ําซับ
ห้วยคร้อ ห้วยตาดโตนน้อย ห้วยสีนวน และห้วยแก่นท้าว ซ่ึงจะไหลรวมกันเป็นห้วยปะทาวที่นอกเขตอุทยาน
แห่งชาติด้านทิศใต้ แล้วไหลลงสู่แม่นํ้าชีบริเวณตําบลบ้านค่ายหมื่นแผ้ว และไหลผ่านตัวอําเภอเมืองชัยภูมิ
นอกจากนีย้ งั มหี ้วยทส่ี าํ คัญ คอื ห้วยชลี อง หว้ ยชอ่ ระกา ห้วยเสียว หว้ ยแคน และหว้ ยเสยี วนอ้ ย
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
4
ลักษณะภูมอิ ากาศ
อุทยานแหง่ ชาติตาดโตนได้รบั อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
แบ่งฤดูกาลออกไดเ้ ป็น 3 ฤดู คอื ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์–พฤษภาคม อากาศค่อนข้างร้อน อุณหภูมิ
ถึง 43 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน จึงเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีนักท่องเท่ียวนิยมไปเล่นน้ําตก เพื่อพักผ่อน
และเล่นน้ําเป็นจํานวนมากโดยเฉพาะเทศกาลสงกรานต์ ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน–กันยายน ปริมาณนํ้าฝน
เฉลี่ยท้ังปี 1,154 มิลลิเมตร นํ้าตกตาดโตนจะมีน้ําไหลเต็มที่และสวยงามมาก ฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคม
– มกราคม อุณหภูมิต่าํ สุดในเดือนมกราคม ประมาณ 7 องศาเซลเซียส เฉล่ยี ทั้งปีประมาณ 28 องศาเซลเซียส
พชื พรรณและสตั วป์ า่
อทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน ตงั้ อยู่ที่ระดับความสูงระหวา่ ง 200–945 เมตรจากระดบั นํ้าทะเลปานกลาง
ดงั นัน้ สภาพสังคมพชื จึงแตกต่างไปตามระดับความสงู จําแนกไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คอื
ป่าเต็งรัง พบขึ้นกระจายในพ้ืนที่ที่มีความสูงจากระดับนา้ํ ทะเลปานกลาง 250–400 เมตร มี
เน้อื ทีป่ ระมาณ 94.93 ตารางกิโลเมตร ความสูงของเรือนยอดช้ันบนประมาณ 15–20 เมตร พันธุ์ไม้ท่ีสําคัญในชั้นน้ี
ไดแ้ ก่ พลวง รงั แดง ตะแบกเลือด มะกอกเกลื้อน ก่อแพะ และมะค่าแต้ ส่วนเรือนยอดในช้ันรอง มีไม้ขนาดเล็ก
ความสูงประมาณ 5–10 เมตร พนั ธุไ์ ม้ท่สี ําคญั ในช้ันนี้ ได้แก่ ชิงชนั ตาลเหลือง ยอเถอ่ื น กระท่อมหมู มะม่วงปา่
ต้ิวแดง และขว้าว พืชพ้ืนล่างประกอบด้วย หญ้าเพ็ก ลูกไม้ของไม้ชั้นบน กระดูกอ่ึง ลูกใต้ใบ เฟิร์น หมักม่อ
นางนวล กวาวเครือ และหนอนตายหยาก ในช่วงฤดูฝนจะมีพืชพ้ืนล่างพวกหญ้าและหญ้าเพ็กข้ึนอยู่หนาแน่น
ทวั่ ไป ใช้เป็นท่ีหลบซ่อนของสัตว์ปา่ ทอ่ี ยูบ่ นพ้ืนดินได้ดี เช่น กระต่ายป่า พังพอนธรรมดา นกคุ่มอืด นกกระทาทุ่ง
นกกระรางหัวขวาน อ้นเล็ก กระจ้อน รวมท้ังหนู จิ้งเหลน และงูอีกหลายชนิด แต่ในฤดูแล้งพื้นป่าจะโปร่ง
ประกอบกับมกั เกิดไฟไหม้ป่าอยู่ประจาํ สตั วป์ ่าทีม่ โี พรง รงั อาศยั หรือหาอาหารตามเรือนยอดและลําต้นของไม้
ยืนตน้ เชน่ กระรอกบนิ เลก็ แก้มขาว กระรอกบินเลก็ แกม้ สแี ดง กงิ้ ก่าบนิ ปีกสีสม้ กิ้งก่าสวนหวั สนี ้าํ เงิน ก้งิ ก่าสวน
หัวแดง ตุ๊กแกบ้าน นกตะขาบทุ่ง นกตีทอง รวมท้ังนกหัวขวาน นกแซงแซว นกปรอด นกกระจิ๊ด นกกระจิบ และ
นกกินปลี จะไปหลบภยั อยู่ในปา่ ดิบแล้ง
ป่าดงดิบแล้ง เป็นป่าที่ขึ้นในท่ีค่อนข้างชุ่มชื้นบริเวณริมน้าํ ลาํ ธาร หุบเขา และยอดเขา ความสูง
เหนือระดับนา้ํ ทะเลปานกลาง 300–900 เมตร มีพื้นที่ประมาณ 35.01 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะทางด้าน
ตัวเรือนยอดแบ่งเป็น ช้ันเรือนยอดชั้นบนสูง 25–30 เมตร พันธ์ุไม้สาํ คัญ ได้แก่ พลอง กระบก จิกดง มะหาด
ตีนเป็ดเขา ค้างคาว และต้ิวแดง เรือนยอดไม้ชั้นรองมีความสูงประมาณ 20–25 เมตร พันธุ์ไม้สําคัญในชั้นน้ี
ไดแ้ ก่ พะยอม มะกลํา่ ตน้ หวา้ กระเบากลัก กีบตอง ส้าน และก่อเดือย เรือนยอดไม้ช้ันสามมีความสูงประมาณ
15–20 เมตร พนั ธุ์ไม้ทีส่ าํ คัญ ไดแ้ ก่ ยางแดง มะแฟน เสม็ดเขา พลองกินลูก ลําดวน และกะอวม ส่วนเรือนยอด
ในช้ันของไม้ขนาดเล็ก มีความสูงประมาณ 10–15 เมตร พันธุ์ไม้ท่ีสําคัญ เช่น แดง มะหาด มะพอก เปล้าน้อย
เปล้าใหญ่ พุดป่า และพีพวน พื้นป่าประกอบด้วย กล้าไม้ของไม้ชั้นบน แก้ว เข็มขาว สาบเสือ หวายเขียว และ
เต่าร้าง บนชั้นเรือนยอดไม้ยืนต้นในป่าดงดิบแล้ง เป็นบริเวณที่สัตว์ป่าหลายชนิดใช้เป็นท่ีอยู่อาศัย หากิน หลบ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
5
ซ่อนตัว รวมท้ังดําเนินกิจกรรมต่างๆ สัตว์ป่าเหล่านี้ ได้แก่ ลิงกัง ลิงลม พญากระรอกบินหูแดง กระรอกบินเล็ก
แก้มขาว กระรอกหลากสี นกบ้ังรอกใหญ่ นกแก๊ก นกหกเล็ก-ปากแดง นกปีกลายสก๊อต นกเปล้าธรรมดา
รวมท้ังเหยย่ี วอีกหลายชนดิ สตั วป์ า่ ทใ่ี ชป้ ระโยชน์บริเวณพนื้ ปา่ ของปา่ ดงดบิ แล้ง ได้แก่ หมูป่า เก้ง อีเห็นข้างลาย
ล่ิน หนูหวาย ไก่ป่า นกกระรางหัวหงอก นกกระเบื้อง-ผา ตะกวด งูเหลือม ผีเสื้อหางติ่งเฮเลน ผีเสื้อปลาย
ปีกส้มใหญ่ และผีเสื้อจรกามลายู
สําหรับในบริเวณพื้นที่ที่เป็นป่าเหล่าและไร่ร้าง ซ่ึงเดิมเคยถูกปกคลุมด้วยป่าดงดิบแล้ง ต่อมาถูก
บุกรกุ แผว้ ถางเพื่อปลูกพืชไรแ่ ล้วถูกปล่อยทงิ้ ไว้เปน็ เวลานาน การทดแทนของพืชพรรณตามธรรมชาติจะเป็นพวก
ไม้พุ่มและลูกไม้ของไม้ยืนต้น ส่วนบริเวณที่เพ่ิงถูกปล่อยท้ิงไว้ไม่นานจะมีพวกไม้ล้มลุก หญ้าคา หญ้าขจรจบพง
และเลาขน้ึ อยู่หนาแนน่ สัตว์ป่าท่ีเข้าไปอาศัยอยู่หรือเข้าไปหาอาหารจึงมักเป็นสัตว์ขนาดเล็กและได้รับประโยชน์
จากการอาศยั อยูใ่ นท่คี อ่ นขา้ งโลง่ เช่น พังพอนธรรมดา หมปู ่า กระต่ายป่า นกคุ่มอืดใหญ่ นกเขาหลวง นกเขาไฟ
นกเขาชวา นกตะขาบทุ่ง นกเด้าดินทุ่ง นกปรอดสวน นกปรอดหัวสีเขม่า นกแซงแซวหางปลา นกกระจิบ
นกก้งิ โครงคอดาํ นกยอดหญ้าหวั ดํา ก้ิงก่าสวนหัวแดง ผเี สื้อหางต้มุ อดัมสนั ผเี สอื้ เชิงลายธรรมดา และผีเสื้อหนอน
ใบรักธรรมดา
สาํ หรับในบริเวณธารนํา้ ไหลพบปลานาํ้ จดื อาศัยอยู่หลายชนิด เช่น ปลารองไม้ตับ ปลาสร้อยนกเขา
ปลาแก้มชํ้า ปลากระทิงดํา ปลาชอ่ นทราย ปลากดเหลอื ง และปลากดหิน บริเวณริมลําห้วย ลานหิน โขดหิน และ
ซอกหลืบหินริมทางน้ํามีสัตว์ป่าหลายชนิดเข้ามาใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัย หลบภัย หาอาหาร ได้แก่ เหยี่ยวรุ้ง
นกอุ้มบาตร นกเด้าลมหลังเทา นกเด้าลมดง นกกวัก นกยางเขียว นกกระเต็นธรรมดา นกกางเขน นกอีแพรด
แถบอกดํา นกกระต๊ิด งูเหา่ งูสงิ ธรรมดา งทู บั สมงิ คลา จงิ้ เหลนภูเขาลายจุด ตะกวด กบหนอง เขียดอ่อง เขียดลื่น
เขยี ดจะนา เขยี ดตะปาด องึ่ ลายแต้ม คางคกบ้าน หมปู ่า พงั พอนธรรมดา และอีเห็นขา้ งลาย
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วและจุดเดน่ ทน่ี า่ สนใจ
นํ้าตกตาดโตน จดุ เด่นที่สําคัญที่สุดของอุทยานแห่งชาติ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญของจังหวัด
ชัยภมู ิ ห่างจากตัวจังหวัดชัยภูมิไปทางทิศเหนือ 21 กิโลเมตร ด้านบนน้ําตกมีสภาพเป็นลานหินกว้างประมาณ
50 เมตร และยาวไปตามลําน้ําประมาณ 300 เมตร ทําให้น้ําไหลลาดมาตามลานหิน มีแอ่งท่ีสามารถเล่นน้ํา
ไดเ้ ป็นจดุ ๆ และไหลลงมาตกท่หี นา้ ผาเปน็ นํา้ ตกตาดโตนทีม่ ีความสงู ประมาณ 6 เมตร และกว้าง 50 เมตร ใน
ฤดูฝน น้ําตกจึงจะมีน้ํามากเต็มหน้าผา ซ่ึงมีผู้นิยมไปลงเล่นน้ําเพราะนํ้าไม่ลึกและปลอดภัย ที่ทําการอุทยาน
แห่งชาตจิ ะอยใู่ กลก้ บั บรเิ วณนาํ้ ตกตาดโตน
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
6
ภาพท่ี 1 บรเิ วณน้ําตกตาดโตน
ศาลปู่ด้วง–ย่าดี ตั้งอยู่ที่บริเวณน้ําตกตาดโตน เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งชาวจังหวัดชัยภูมิและ
จงั หวดั ใกล้เคียงเคารพนับถือ มปี ระวตั โิ ดยยอ่ เกยี่ วกับปู่ด้วงว่า ท่านเป็นคนเช้ือสายเขมร มีชีวิตอยู่ในยุคเดียวกับ
เจา้ พ่อพระยาแล (เจ้าเมืองคนแรกของจังหวัดชัยภูมิ) ปู่ด้วงท่านชอบใช้ชีวิตแบบสมถะ สันโดษ ชอบความสงบ
เที่ยวเดินไปในป่าตลอดเทือกเขาภูแลนคา และมีความรู้ทางสมุนไพรช่วยเหลือรักษาชาวบ้านที่เจ็บไข้ได้ป่วย
ประกอบท่านใช้ความรู้ทางเวทย์มนต์คาถา จนเป็นที่เล่ืองลือเล่ือมใสของชาวบ้าน เมื่อท่านถึงแก่กรรมจึงมีผู้
เคารพนบั ถือศรัทธา ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งศาลไวก้ ราบไหว้บชู า สาํ หรับศาลย่าดี ตง้ั อย่บู ริเวณเดียวกบั ศาลปู่ด้วง ท่าน
เกิดหลังจากปู่ด้วงเสียชีวิตแล้วประมาณ 20 ปี ท่านได้ประกอบคุณงามความดีในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บให้
ประชาชนโดยการใช้สมุนไพรเป็นการสืบทอดเจตนารมณ์จากปู่ด้วง เม่ือท่านเสียชีวิตลง ชาวบ้านท่ีมีความ
เคารพศรัทธาไดส้ ร้างศาลขนึ้ ใกล้ศาลปดู่ ้วง
ภาพที่ 2 ภาพศาลปู่ด้วง–ยา่ ดี
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติตาดโตน
7
น้ําตกตาดฟ้า เป็นนํ้าตกขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายแก่งหินขวางลํานํ้า อยู่ทางทิศตะวันออกของ
เขตอุทยานแห่งชาติ ห่างจากที่ทําการอุทยานแห่งชาติไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ 19 กิโลเมตร
ห่างจากตัวจังหวัดชัยภูมิประมาณ 23 กิโลเมตร สามารถเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 201 ระยะทาง
ประมาณ 15 กิโลเมตร ถึงบา้ นไทรงามแล้ว แยกซ้ายมือไปจนถึงบ้านนาวัง ตําบลนาเสียว อําเภอเมือง แยกขวามือ
บริเวณโรงเรียนบ้านนาวังเข้าไปเป็นระยะทาง 4 กิโลเมตร สองข้างทางเป็นป่าเต็งรัง ถึงบริเวณหน่วยพิทักษ์
อุทยานแห่งชาติท่ี ตน.3 (ตาดฟ้า) บริเวณน้ําตกเป็นหินลาดชันกว้างประมาณ 15–20 เมตร ยาวโดยประมาณ
80–90 เมตร มีความลาดชันประมาณ 30 องศา ในฤดูฝนน้ําตกจะมีความสวยงามมาก ผู้ท่เี ข้าไปเท่ยี วนาํ้ ตก
สามารถที่จะเลน่ ล่นื ไหลไปตามแผน่ หนิ อย่างสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ท่ีเรียกวา่ “ไสลด์เดอรธ์ รรมชาติ”
ภาพที่ 3 บรเิ วณนาํ้ ตกตาดฟา้
ผาเกิง้ และพระพุทธชัยภมู พิ ิทกั ษ์ เป็นจดุ สงู สดุ ของทางหลวงหมายเลข 2159 (ชัยภูมิ–หนองบัวแดง)
บริเวณกิโลเมตรที่ 27 เป็นจุดชมทิวทัศน์ที่สวยงาม มองไปทางทิศเหนือจะเห็นตัวอําเภอหนองบัวแดง และ
เทือกเขาของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูเขียว ที่บริเวณผาเกิ้งยังเป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธชัยภูมิพิทักษ์ ซ่ึงเป็น
พระพทุ ธรปู คเู่ มอื งจงั หวัดชัยภูมิ ปางหา้ มญาติ สูงประมาณ 14 ศอก พระพกั ตรห์ ันไปทางหน้าผาทศิ เหนอื
นํ้าตกผาเอียง อยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ตน.2 (ชีลองเหนือ) ห่างจากที่ทําการ
อุทยานแห่งชาติไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 2159 (ชัยภูมิ –
หนองบัวแดง) บริเวณบ้านชีลองเหนือ ตําบลห้วยต้อน อําเภอเมือง ทางเข้าแยกขวา ประมาณ 2 กิโลเมตร
ถึงลานจอดรถจากน้ันเดินทางเท้าเข้าไปยังน้ําตกผาเอียงอีกราวประมาณ 800 เมตร น้ําตกมีลักษณะเฉียงตัด
กับลําห้วยตัวน้ําตกสูงประมาณ 5 เมตร บริเวณโดยรอบน้ําตกเป็นป่าดงดิบแล้งที่สมบูรณ์ มีความร่มรื่นเหมาะ
แกก่ ารพักผอ่ นเปน็ อย่างยิ่ง
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
8
ภาพที่ 4 บริเวณน้าํ ตกผาเอียง
นาํ้ ตกผาสองชน้ั อย่เู หนือขึน้ ไปจากนา้ํ ตกผาเอียงประมาณ 400 เมตร มีลักษณะเป็นนํ้าตกจาก
หน้าผาสองชน้ั โดยหนา้ ผามคี วามสงู ประมาณ 5 เมตร หากลงไปทางท้ายนํา้ ไม่ไกลจากน้ําตกผาเอยี งมีน้ําตกผานิต
นํ้าตกถ้ําเห้ยี เป็นนาํ้ ตกทม่ี คี วามสงู ไม่มากนัก สูงประมาณ 1.5 เมตร มีลักษณะเป็นลํานํ้าท่ีไหล
ลงมาตามลานหนิ ท่มี ีความเอยี งประมาณ 25–35 องศา ความยาวประมาณ 120 เมตร ในบริเวณนํ้าตกมีก้อน
หินขนาดใหญ่มีลักษณะคล้ายตัวเห้ียกําลังลงมาจากเขาจะกระโดดลงนํ้า และในอดีตจะมีตัวเหี้ยอยู่บริเวณนี้มาก
จึงเป็นที่มาของชื่อน้ําตก สามารถเดินทางมาจากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติท่ี ตน.3 (นํา้ ตกตาดฟ้า) ไปทาง
ทศิ ตะวันออกประมาณ 4 กิโลเมตร
จุดชมทิวทัศน์ภูโค้ง ห่างจากที่ทําการอุทยานแห่งชาติ 26 กิโลเมตร และห่างจากน้าํ ตกถ้ําเห้ยี
8 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนเทือกเขาภูแลนคา ที่ระดับความสูงประมาณ 945 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง
สามารถมองเห็นทิวทัศน์อําเภอแก้งคร้อ อาํ เภอคอนสวรรค์ อําเภอหนองบัวแดง และอําเภอเมืองชัยภูมิ
มองเห็นเทือกเขาภูผาแดง เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูเขียว ในตอนเช้าจะมีหมอกหนาทึบ อากาศเย็นสบาย สภาพ
พ้ืนที่โดยรอบเป็นปา่ ดงดบิ แลง้ และทุ่งหญา้ กว้างประมาณ 50–60 ไร่ เรียกว่า “แหละยาว” ในช่วงปลายฝนต้น
หนาวจะพบพันธไ์ุ มด้ อกพวกดุสติ า กระดมุ เงนิ กระเจียว และม้าวิง่ ขึ้นกระจดั กระจายอยทู่ ว่ั ไป ฤดูหนาวอุณหภูมิ
ประมาณ 5–10 องศาเซลเซียส และยังเป็นท่ีตั้งของ “องศ์ศิวะลึงค์” (ซึ่งเป็นสัญลักษณ์พระศิวะ (พระอิศวร)
เป็นประติมากรรมขอมในยุคพระเจ้าสุริยวรมัน ท่ี 1–2 ระหว่าง พ.ศ. 1544–1693 เป็นการสร้างข้ึนตามอิทธิพล
ของลัทธเิ ทวราช) ท่สี รา้ งขนึ้ ต้งั แต่สมยั ขอมเรืองอาํ นาจระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16–18 ใช้เป็นท่ีเคารพสักการะ
แทนองคพ์ ระศวิ ะ และถือว่าเป็นองศ์ศิวะลึงค์ที่สมบูรณ์ท่ีสุดในขณะนี้ การเดินทางข้ึนไปยังจุดชมทิวทัศน์ภูโค้ง
เป็นเสน้ ทางเดนิ เท้าจากนํ้าตกตาดฟ้าขึ้นไประยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
9
ภาพที่ 5 บรเิ วณจดุ ชมทวิ ทศั นภ์ ูโค้ง และองศศ์ ิวะลงึ
หินแม่ช้างและนาํ้ ตกแก่งห้วยชนั อยู่หา่ งจากที่ทาํ การอุทยานแห่งชาติไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ผ่านบ้านหินหนีบ ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ถึงหินแม่ช้างเดินเท้าต่อไปประมาณ 300 เมตร ถึงนํ้าตกแก่ง
ห้วยชัน หินแม่ช้าง และกลุ่มหินทรายท่ีมีรูปร่างแตกต่างกันตามมุมมอง จากคําบอกเล่าของชาวบ้านท่ีได้ช่ือว่า
หินแมช่ ้าง เนอ่ื งจากในอดีตไดม้ ีช้างฝงู หนง่ึ ออกหากินและได้เดินทางมาพกั ผ่อนบรเิ วณนี้ ขณะทพี่ กั ผอ่ นอยลู่ กู ชา้ ง
ซึ่งอยู่ในวัยซุกซนได้วิ่งออกไปจากฝูงจนหลงทางกลับเข้าฝูงไม่ได้ ด้วยความรักและเป็นห่วงลูก แม่ช้างก็นอนรอ
อยู่ทีเดิมจนกระท่ังตาย และได้กลายเป็นหินในเวลาต่อมา น้ําตกแก่งห้วยชัน มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร
อย่ใู นลาํ หว้ ยนํา้ ซับ เปน็ ลาํ ธารทม่ี ีลกั ษณะความลาดเอยี งประมาณ 15–30 องศา มคี วามสวยงามมากในชว่ งฤดฝู น
กิจกรรมนันทนาการ
ภายในเขตอุทยานแห่งชาติตาดโตนมีกจิ กรรมนันทนาการ ที่นา่ สนใจสําหรับบรกิ ารนกั ทอ่ งเทีย่ วดงั นี้
เดนิ ปา่ ศกึ ษาธรรมชาติ อทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตนได้จัดทาํ เส้นทางเดนิ เทา้ เพอื่ ศึกษาธรรมชาติ รวม
ท้ังสิน้ 5 เสน้ ทาง ดังนี้
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
10
เส้นทางศึกษาธรรมชาติทางด้านทิศเหนือท่ีทาํ การอุทยานแห่งชาติ เป็นเส้นทางที่เดินสบาย
ตลอดเส้นทาง ใช้เวลาในการเดินประมาณ 45 นาที ภายในเส้นทางประกอบด้วยป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
และป่าดงดิบแล้ง มีพันธุไ์ ม้หายาก พนั ธ์ุไมด้ อกและสตั ว์ปา่ นานาชนิด
เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติทิศใต้ของท่ีทําการอุทยานแห่งชาติ เป็นเส้นทางเลียบเลาะลําห้วยปะทาว
ยาวประมาณ 1,500 เมตร ใช้เวลาเดินประมาณ 45 นาที เช่ือมโยงระหว่างน้ําตกตาดโตนกับนํ้าตกตาดบง
ภายในเส้นทางประกอบด้วย ปา่ เต็งรงั ปา่ ดงดบิ แลง้ และความมหศั จรรยข์ องต้นไม้เกิดบนหิน
เส้นทางเดนิ ศึกษาธรรมชาตินํ้าตกผาเอียง ในทอ้ งท่หี น่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติท่ี ตน.2 (ชีลองหนือ)
ตําบลห้วยต้อน อําเภอเมือง เป็นเส้นทางเลาะลําห้วยชีลอง ความยาวประมาณ 1,700 เมตร ใช้เวลาเดินประมาณ
50 นาที ภายใต้บรรยากาศร่มรื่น สภาพป่าเป็นป่าเต็งรัง ป่าดงดิบแล้ง มีพันธุ์ไม้หายากมากมาย เฟินหลายชนิด
เช่น กระแตไตไ่ ม้ และสะไบนาง
เส้นทางเดินศกึ ษาธรรมชาตินํ้าตกตาดฟา้ ในท้องทหี่ น่วยพิทักษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี ตน.3 (นา้ํ ตก
ตาดฟ้า) ตําบลนาเสียว อําเภอเมือง ความยาวประมาณ 1,700 เมตร ใช้เวลาเดินประมาณ 1 ช่ัวโมง สภาพป่า
เป็นป่าเตง็ รัง พืชพ้นื ล่างเปน็ ป่าเพก็ พบพนั ธ์ไุ มม้ หศั จรรยท์ ีด่ ํารงชวี ติ บนโขดหิน ได้แก่ ปัดหิน มีจุดชมทิวทัศน์และ
กล้วยไมม้ ากมาย
เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติจุดวิวภูโค้ง ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินประมาณ
4 ชวั่ โมง เหมาะสาํ หรบั นกั ทอ่ งไพร เส้นทางผ่านป่าเต็งรัง ป่าดงดิบแล้ง ทุ่งหญ้า แหล่งนํ้าซับมีสัตว์ป่าจําพวกหมูป่า
ไก่ฟ้า ลงิ กัง และกระรอก พนั ธุไ์ ม้ดอกทีพ่ บ ไดแ้ ก่ ดสุ ติ า และหญา้ นาํ้ ค้าง (สาํ นักอทุ ยานแหง่ ชาต,ิ 2553)
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
11
รูปแบบและวิธีการสํารวจทรัพยากรป่าไม้
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นแตล่ ะจังหวัดทว่ั ประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรพั ยากร
ป่าไม้ ส่วนสาํ รวจและวิเคราะห์ทรพั ยากรป่าไม้ สาํ นักฟน้ื ฟแู ละพัฒนาพ้นื ทอ่ี นุรักษ์ และสํานกั บรหิ ารพ้นื ที่
อนุรักษต์ ่างๆ ในสังกัดกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธ์พุ ืช
การสุม่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design)
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่ําเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนที่
ท่ีภาพถ่ายดาวเทยี มแปลว่ามสี ภาพเป็นปา่ โดยให้แต่ละแปลงตัวอยา่ ง (Sample plot) มรี ะยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5 x 2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริด
แผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนทป่ี ระเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ใหม้ รี ะยะห่างระหวา่ งเส้นกรดิ ทั้งแนวตั้ง
และแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กโิ ลเมตร คอื ระยะชอ่ งกริดในแผนท่เี ท่ากบั 10 ช่อง จุดตัดของเสน้ กริดท้งั สองแนว
ก็จะเป็นตําแหนง่ ท่ตี ้งั ของแปลงตวั อย่างแต่ละแปลง เมือ่ ดําเนนิ การเสร็จสน้ิ แล้วจะทราบจาํ นวนหนว่ ยตวั อย่าง
และตาํ แหน่งท่ตี ้ังของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างดังภาพที่ 1 และรูปแบบของการวางแปลง
ตัวอยา่ งดงั ภาพที่ 2 ตามลาํ ดับ
ภาพที่ 6 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
12
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอยา่ ง (Sample Plot) ทใ่ี ชใ้ นการสํารวจมที ั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตวั อยา่ งช่วั คราว
เปน็ แปลงที่มขี นาดคงที่ (Fixed–Area Plot) และมรี ูปรา่ ง 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คอื
1. ลกั ษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รปู วงกลมที่มจี ุดศูนย์กลางร่วมกนั รัศมแี ตกตา่ งกัน จํานวน 3 วง คอื วงกลมรศั มี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลําดบั
1.2 รปู วงกลมท่มี ีรัศมีเท่ากัน จุดศูนยก์ ลางตา่ งกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เทา่ กัน
โดยจดุ ศนู ย์กลางของวงกลมอยบู่ นเสน้ รอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทง้ั 4 ทศิ
2. ลกั ษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เสน้ ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมจี ุดเริ่มต้นรว่ มกัน ณ จุดศนู ยก์ ลางแปลงตวั อย่างทาํ มมุ ฉากซ่งึ กันและกนั ซง่ึ ตัวมมุ Azimuth ของเสน้ ท่ี 1
ไดจ้ ากการสุ่มตัวอยา่ ง
ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ท่ที าํ การสาํ รวจ
ขนาดของแปลงตัวอยา่ ง และขอ้ มูลที่ทําการสํารวจแสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางท่ี 1
ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมลู ทีท่ าํ การสํารวจ
รศั มีของวงกลม หรอื จํานวน พื้นท่ีหรอื ความยาว ข้อมลู ทส่ี ํารวจ
ความยาว (เมตร)
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กลา้ ไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลกู ไม้และการปกคลุมพื้นทีข่ องกลา้ ไม้
และลกู ไม้
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไมไ้ ผ่ หวายที่ยังไม่เลอ้ื ย และตอไม้
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจัยที่รบกวน
พื้นทปี่ ่า
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร Coarse Woody Debris (CWD)
หวายเลือ้ ย และไม้เถา ท่พี าดผา่ น
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
13
การวิเคราะห์ข้อมูลการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
1. การคํานวณเนอ้ื ทีป่ ่าและปริมาณไม้ท้งั หมดของแตล่ ะพนื้ ทอี่ นุรกั ษ์
1.1 ใช้ขอ้ มูลพน้ื ทีอ่ นุรักษจ์ ากแผนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎีกาของแตล่ ะพน้ื ทีอ่ นรุ ักษ์
1.2 ใช้สดั สว่ นจํานวนแปลงตวั อยา่ งท่พี บในแตล่ ะชนิดปา่ เปรียบเทียบกบั จํานวนแปลงตวั อย่างที่
วางแปลงทงั้ หมดในแตล่ ะพนื้ ที่อนรุ กั ษ์ ทอ่ี าจจะไดข้ อ้ มูลจากภาคสนาม หรอื การดูจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม
หรือภาพถา่ ยทางอากาศ มาคาํ นวณเปน็ เนอ้ื ที่ปา่ แตล่ ะชนิดโดยนาํ แปลงตัวอย่างทวี่ างแผนไว้มาคาํ นวณทกุ แปลง
1.3 แปลงตวั อยา่ งทีไ่ มส่ ามารถดาํ เนินการไดก้ ็ตอ้ งนํามาคาํ นวณดว้ ย โดยทําการประเมินลกั ษณะ
พนื้ ท่ี วา่ เป็น หน้าผา นํา้ ตก หรือพ้ืนท่อี นื่ ๆ เพือ่ ประกอบลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน
1.4 ปริมาณไมท้ ง้ั หมดของพ้ืนที่อนุรักษ์ เป็นการคํานวณโดยใช้ข้อมลู เนอื้ ทอ่ี นุรักษจ์ ากแผนทแี่ นบ
ท้ายกฤษฎกี าของแตล่ ะพน้ื ทอี่ นรุ กั ษ์ ซง่ึ บางพน้ื ทีอ่ นรุ ักษม์ ขี อ้ มลู เนอื้ ทค่ี ลาดเคลื่อนจากข้อเทจ็ จรงิ และสง่ ผลต่อ
การคาํ นวณปรมิ าณไม้ท้งั หมด ทาํ ให้การคาํ นวณปริมาณไม้เปน็ การประมาณเบื้องตน้
1.5 หนังสือจาํ แนกชนิดพรรณไม้ ไดแ้ ก่ คูม่ ือจาํ แนกพรรณไม้ (ก่องกานดา, 2541) ไมป้ า่ ยนื ต้น
ของไทย 1 (เอ้อื มพร และปณิธาณ, 2547) ชอ่ื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย (เต็ม, 2544)
2. การคํานวณปรมิ าตรไม้
สมการปริมาตรไมท้ ่ใี ชใ้ นการประเมินการกกั เกบ็ ธาตุคาร์บอนในพนื้ ท่ปี ่าไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลมุ่ ของชนิดไมเ้ ปน็ จํานวน 7 กลมุ่ ดังนี้
2.1 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทน์กะพ้อ สนสองใบ
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลุม่ ที่ 2 ได้แก่ กระพ้จี ั่น กระพี้เขาควาย เกด็ ดํา เก็ดแดง เกด็ ขาว เถาวลั ยเ์ ปรยี ง พะยงู ชิงชนั
กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกุลมะเกลอื
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลุ่มท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอ้าย กระบก ตะคราํ้
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ตะบูน ตะบัน รัก ต้ิว สะแกแสง
ปเู่ จา้ และไมส้ กุลส้าน เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
14
2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางข้ีมอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ
และสกลุ ข้ีเหลก็
สมการท่ไี ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลมุ่ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เติม
สมการท่ีได้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สกั ตนี นก ผา่ เส้ียน หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ น่า กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
สมการทไี่ ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอนื่ ๆ เชน่ กกุ๊ ขว้าว ง้ิวป่า ทองหลางปา่ มะมว่ งป่า ซ้อ โมกมนั แสมสาร
และไม้ในสกุลปอ กอ่ เปลา้ เปน็ ตน้
สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คอื ปริมาตรสว่ นลําต้นเมือ่ ตัดโคน่ ทค่ี วามสูงเหนอื ดิน (โคน) 10 เซนติเมตร
ถงึ ก่งิ แรกท่ที ําเปน็ สนิ คา้ ได้ มหี น่วยเปน็ ลกู บาศก์เมตร
DBH มหี น่วยเป็นเซนติเมตร
Ln คอื natural logarithm
3. ขอ้ มูลทัว่ ไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นําไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตําแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ท่ีทําการเก็บ
ข้อมูล ความสงู จากระดับนํ้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ เป็นต้น โดยข้อมลู เหล่านีจ้ ะใช้ประกอบใน
การวิเคราะห์ประเมนิ ผลรว่ มกบั ข้อมลู ดา้ นอ่นื ๆ เพ่ือติดตามความเปลย่ี นแปลงของพ้ืนท่ีในการสํารวจทรัพยากร
ป่าไมค้ รง้ั ตอ่ ไป
4.การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะห์ข้อมูลชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)
6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลชนิดและปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จํานวนกอ และจํานวนลํา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ตัง้ (จาํ นวนต้น)
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
15
7. การวิเคราะหข์ อ้ มลู สังคมพืช
โดยมีรายละเอียดการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
7.1 ความหนาแนน่ ของพรรณพชื (Density : D) คือ จํานวนตน้ ไมท้ ้งั หมดของชนดิ พนั ธุ์ท่ีศกึ ษาท่ี
ปรากฏในแปลงตัวอย่างตอ่ หน่วยพ้ืนทที่ ีท่ าํ การสํารวจ
D= จาํ นวนต้นของไมช้ นดิ นน้ั ทัง้ หมด
.
พนื้ ท่แี ปลงตัวอย่างท้ังหมดทีท่ าํ การสํารวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency: F) คือ อตั รารอ้ ยละของจํานวนแปลงตวั อยา่ งทีป่ รากฏพันธไุ์ ม้ชนดิ น้นั
ตอ่ จํานวนแปลงทที่ าํ การสํารวจ
F = จาํ นวนแปลงตัวอย่างที่พบไม้ชนิดที่กาํ หนด X 100
จํานวนแปลงตวั อย่างทง้ั หมดท่ที ําการสํารวจ
7.3 ความเด่น (Dominance: Do) ใชค้ วามเดน่ ด้านพื้นท่ีหน้าตัด (Basal Area: BA) หมายถงึ
พ้นื ทหี่ นา้ ตัดของลาํ ตน้ ของต้นไม้ท่ีวดั ระดบั อก (1.30 เมตร) ตอ่ พื้นทที่ ที่ าํ การสาํ รวจ
Do = พ้นื ทห่ี นา้ ตัดทงั้ หมดของไมช้ นดิ ทีก่ าํ หนด X 100
พ้นื ทแ่ี ปลงตวั อย่างทที่ าํ การสาํ รวจ
7.4 ค่าความหนาแนน่ สมั พทั ธ์ (Relative Density: RD) คอื คา่ ความสมั พัทธข์ องความหนาแนน่
ของไมท้ ่ีต้องการตอ่ คา่ ความหนาแนน่ ของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ
RD = ความหนาแน่นของไมช้ นิดน้นั X 100
ความหนาแน่นรวมของไมท้ กุ ชนดิ
7.5 คา่ ความถสี่ ัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คอื คา่ ความสัมพทั ธ์ของความถขี่ องชนดิ ไม้ที่
ตอ้ งการตอ่ ค่าความถ่ที ้ังหมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ
RF = ความถ่ีของไม้ชนิดน้นั X 100
ความถี่รวมของไม้ทกุ ชนดิ
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ ค่าความสมั พันธข์ องความเด่นในรูป
พ้ืนที่หน้าตดั ของไมช้ นดิ ท่ีกําหนดตอ่ ความเดน่ รวมของไมท้ ุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ
RDo = ความเดน่ ของไม้ชนิดนั้น X 100
ความเด่นรวมของไม้ทุกชนิด
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
16
7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คอื ผลรวมของคา่ ความ
สัมพทั ธ์ตา่ งๆ ของชนิดไมใ้ นสงั คม ได้แก่ คา่ ความสัมพทั ธด์ ้านความหนาแนน่ ค่าความสมั พัทธด์ ้านความถ่ี และ
ค่าความสมั พัทธด์ า้ นความเด่น
IVI = RD + RF + RDo
8. วิเคราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยทําการวิเคราะหค์ า่ ตา่ งๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจาํ นวนชนดิ พันธ์ุท่ปี รากฏใน
สังคมและจํานวนต้นที่มใี นแตล่ ะชนิดพนั ธุ์ โดยใชด้ ัชนคี วามหลากหลายของ Shannon’s Index (Ludwig and
Reynolds, 1988) ซงึ่ มสี ตู รการคํานวณดงั ตอ่ ไปน้ี
โดย H คอื คา่ ดัชนีความหลากชนดิ ของชนดิ พนั ธไุ์ ม้
pi คอื สดั สว่ นระหว่างจาํ นวนตน้ ไม้ชนดิ ท่ี i ตอ่ จาํ นวนต้นไมท้ ัง้ หมด
S คอื จาํ นวนชนดิ พันธไุ์ มท้ ั้งหมด
8.2 ความรา่ํ รวยของชนิดพนั ธุ์ (Richness Indices) อาศยั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างจํานวนชนดิ กับ
จาํ นวนต้นท้ังหมดทีท่ าํ การสาํ รวจ ซึง่ จะเพ่มิ ขึ้นเมื่อเพม่ิ พ้นื ที่แปลงตวั อย่าง และดชั นคี วามร่าํ รวย โดยมีสูตรการ
คํานวณดงั น้ี
1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick index (R2)
R2 = S/
เมือ่ S คอื จาํ นวนชนิดทง้ั หมดในสังคม
n คือ จาํ นวนตน้ ทง้ั หมดทส่ี าํ รวจพบ
8.3 ความสม่ําเสมอของชนดิ พนั ธ์ุ (Evenness Indices) เปน็ ดัชนที ีต่ ง้ั อยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสมํ่าเสมอจะมคี า่ มากทส่ี ุดเม่อื ทุกชนดิ ในสังคมมจี าํ นวนตน้ เทา่ กนั ทงั้ หมด ซึง่ วิธกี ารทนี่ ยิ มใชก้ นั มาก
ในหมนู่ กั นเิ วศวิทยา ซ่งึ มีสูตรการคํานวณดังน้ี
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมือ่ H คอื ค่าดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จํานวนชนิดท้ังหมด (N0)
N1 คอื
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
17
ผลการสํารวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตัวอย่าง
จากผลการดาํ เนินการวางแปลงสาํ รวจเพือ่ ประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไมใ้ น
พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติตาดโตน โดยแบ่งพ้ืนที่ดําเนินการวางแปลงสาํ รวจตามพ้ืนที่รับผิดชอบของสาํ นักบริหาร
พ้นื ท่ีอนุรักษ์ กล่าวคือ สํานกั บริหารพ้ืนท่อี นุรักษท์ ี่ 7 (นครราชสีมา) รบั ผดิ ชอบดําเนินการสํารวจพื้นทอี่ ุทยาน
แห่งชาติตาดโตน ในส่วนของตําบลท่าหินโงม ตําบลห้วยต้อน ตาํ บลนาฝาย และตําบลนาเสียว อําเภอเมือง
จังหวัดชัยภูมิ จํานวน 32 แปลง ดังภาพที่ 7-8
ภาพท่ี 7 แผนทีแ่ สดงขอบเขตของอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีอุทยานแหง่ ชาติตาดโตน
18
ภาพท่ี 8 แปลงตัวอย่างท่ไี ด้ดําเนนิ การสาํ รวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
2. พน้ื ทป่ี า่ ไม้
จากการสาํ รวจ พบวา่ มพี น้ื ทปี่ า่ ไม้จําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ได้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่
ปา่ ดบิ แลง้ ปา่ เบญจพรรณ และปา่ เตง็ รงั โดยปา่ เตง็ รงั พบมากสดุ มพี นื้ ท่ี 154.77 ตารางกโิ ลเมตร (96,730.78 ไร)่
คิดเปน็ รอ้ ยละ 59.38 ของพ้นื ทีท่ ง้ั หมด รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ มพี น้ื ที่ 81.46 ตารางกโิ ลเมตร (50,910.94
ไร่) คดิ เป็นรอ้ ยละ 31.25 ของพ้นื ทท่ี ้งั หมด และป่าดิบแล้งมพี ืน้ ที่ 24.44 ตารางกิโลเมตร (15,273.28 ไร)่ คดิ เปน็
รอ้ ยละ 9.38 ของพน้ื ท่ที ัง้ หมด รายละเอียดดงั ตารางที่ 2
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อุทยานแห่งชาตติ าดโตน
19
ตารางท่ี 2 พ้ืนท่ีป่าไมจ้ าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินในอุทยานแห่งชาติตาดโตน
(Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ พ้ืนท่ี รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพืน้ ท่ที ัง้ หมด
ปา่ ดบิ แล้ง 24.44 15,273.28 2,443.73 9.38
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 81.46 50,910.94 8,145.75 31.25
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รงั 154.77 96,730.78 15,476.93 59.38
(Dry Dipterocarp Forest)
รวม 260.66 162,915.00 26,066.40 100.00
หมายเหตุ : - การคาํ นวณพ้นื ที่ป่าไม้ของชนดิ ปา่ แตล่ ะชนดิ ใช้สัดสว่ นของขอ้ มูลท่ีพบจากการสาํ รวจภาคสนาม
- ร้อยละของพ้ืนท่สี าํ รวจคํานวณจากข้อมลู แปลงท่สี ํารวจพบ ซ่ึงมีพืน้ ทดี่ งั ตารางที่ 1
- รอ้ ยละของพน้ื ที่ท้ังหมดคํานวณจากพ้นื ที่แนบทา้ ยกฤษฎีกาของอุทยานแหง่ ชาติตาดโตน รวมกับพื้นท่ี
เตรยี มผนวก ลบกบั ถือครองของราษฎร ตามมติ ครม. วนั ที่ 30 มิถุนายน 2541
ภาพท่ี 9 พืน้ ท่ปี า่ ไม้จําแนกตามชนิดปา่ ในพน้ื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
20
ภาพที่ 10 ลักษณะทั่วไปของป่าดบิ แล้งในพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
21
ภาพที่ 11 ลักษณะท่ัวไปของปา่ เบญจพรรณในพน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแห่งชาตติ าดโตน
22
ภาพที่ 12 ลักษณะทั่วไปของปา่ เตง็ รังในพืน้ ที่อุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติตาดโตน
23
3. ปรมิ าณไม้
จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติตาดโตน จํานวนทั้งสิ้น 32 แปลง พบว่า
ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสํารวจพบทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง
พบไมต้ ้นท่มี ีความสงู มากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่ หรอื เทา่ กับ 15 เซนติเมตร
ขน้ึ ไป มีมากกวา่ 183 ชนดิ รวม 20,877,557 ต้น ปรมิ าตรไมร้ วม 2,540,896.83 ลกู บาศกเ์ มตร ปรมิ าตรไม้เฉล่ีย
15.60 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ มีความหนาแน่นของต้นไมเ้ ฉล่ยี 128.15 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้ในป่าดิบแล้ง จํานวน
1,686,170 ต้น ป่าเบญจพรรณ จํานวน 5,237,717 ต้น และป่าเต็งรัง จํานวน 13,953,670 ต้น สําหรับปริมาตรไม้
พบในป่าดิบแล้ง จํานวน 181,210.87 ลูกบาศก์เมตร ป่าเบญจพรรณ จํานวน 506,652.36 ลูกบาศก์เมตร
และป่าเต็งรงั จํานวน 1,853,033.60 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียดดังตารางท่ี 3 และ 4 ตามลําดบั
ตารางที่ 3 ปรมิ าณไม้ต้น (Tree) ทั้งหมดจาํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ในอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
(Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน ปรมิ าณไม้ตน้ (Tree) ทง้ั หมด
(Landuse Type) จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ป่าดิบแลง้ 1,686,170 181,210.87
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 5,237,717 506,652.36
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รัง 13,953,670 1,853,033.60
(Dry Dipterocarp Forest)
รวม 20,877,557 2,540,896.83
ภาพท่ี 13 ปรมิ าณไม้ตน้ (Tree) ทัง้ หมดทพ่ี บในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
24
ภาพที่ 14 ปรมิ าตรไม้ต้น (Tree) ท้งั หมดท่พี บในพนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติตาดโตน
ตารางที่ 4 ความหนาแน่นและปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพนื้ ท่จี าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ
ในอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน (Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ป่าดิบแลง้ 110.40 690.00 11.86 74.15
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 102.88 643.00 9.95 62.20
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รงั 144.25 901.58 19.16 119.73
(Dry Dipterocarp Forest)
*เฉลีย่ 128.15 800.94 15.60 97.48
*ค่าความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ทง้ั หมดตอ่ หน่วยพ้นื ท่ี ในพืน้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาตติ าดโตน
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
25
ภาพที่ 15 ความหนาแนน่ ไม้ต้น (Tree) ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
ภาพท่ี 16 ปรมิ าตรไม้ตน้ (Tree) ตอ่ หน่วยพ้ืนทใ่ี นอุทยานแห่งชาตติ าดโตน
การสํารวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
26
ตารางที่ 5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ัง้ หมดในอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไม้ทง้ั หมด (ตน้ ) ร้อยละ (%)
15 - 45 ซม. 14,565,737 69.77
> 45 - 100 ซม. 5,502,612 26.36
> 100 ซม. 809,208 3.87
รวม 20,877,557 100.00
หมายเหตุ : เนอื่ งจากคา่ ความหนาแนน่ ทค่ี ํานวณหาปรมิ าณไมต้ ้น (Tree) ทัง้ หมด คํานวณได้ 128.15 ต้น/ไร่ แต่ค่าความหนาแนน่
ของการกระจายขนาดความโต ได้จากโปรแกรมมคี า่ 129 ต้น/ไร่ ทาํ ให้ได้ค่าปริมาณไมต้ ้น (Tree) ท้งั หมด มคี ่าไมเ่ ทา่ กัน
ภาพท่ี 17 การกระจายขนาดความโตของไมต้ ้น (Tree) ทง้ั หมดในอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
4. ชนิดพนั ธ์ไุ ม้
ชนิดพนั ธ์ไุ มท้ ่ีสาํ รวจพบในภาคสนาม จาํ แนกโดยเจา้ หน้าที่ผูเ้ ช่ียวชาญทางดา้ นพันธ์ุไมข้ องสาํ นัก
บริหารพ้ืนท่ีอนุรกั ษ์ที่ 7 (นครราชสมี า) และเจา้ หน้าทจี่ ากสาํ นักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า
และพนั ธุ์พืช โดยชนิดพันธ์ุไมท้ พ่ี บทัง้ หมดในพน้ื ที่อุทยานแห่งชาติตาดโตน มมี ากกว่า 183 ชนดิ มีปรมิ าณไม้รวม
20,877,557 ตน้ คดิ เปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 2,540,896.83 ลูกบาศก์เมตร มคี ่าความหนาแนน่ เฉลย่ี 128.15 ต้นต่อไร่
มปี ริมาตรไมเ้ ฉลีย่ 15.60 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้ต้น (Tree) ทมี่ ีปรมิ าตรไมม้ ากที่สดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่
เต็ง (Shorea obtusa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) กระบก
(Irvingia malayana) แดง (Xylia xylocarpa) รักใหญ่ (Gluta usitata) รัง (Shorea siamensis) สาธร
(Millettia leucantha) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) และพะยอม (Shorea roxburghii)
รายละเอียดดังตารางที่ 6
ในป่าดิบแล้งมีปริมาณไม้ต้น (Tree) รวม 1,686,170 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 181,210.87
ลกู บาศก์เมตร มคี า่ ความหนาแน่นเฉลยี่ 110.40 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลยี่ 11.86 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ชนดิ
ไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สัตบรรณ (Alstonia scholaris) ก่อเดือย (Castanopsisa
cuminatissima) พะยอม (Shorea roxburghii) มันปลา (Glochidion sphaerogynum) น่องขาว (Alstonia
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาตติ าดโตน
27
rostrata) กะหนาย (Pterospermum littorale) พันตา (Cleistanthus denudatus) กรมเขา (Aporosa
nigricans) กอ่ แพะ (Quercus kerrii) และเขลง (Dialium cochinchinense) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 7
ในปา่ เบญจพรรณมีปรมิ าณไมต้ น้ (Tree) รวม 5,237,717 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 506,652.36
ลูกบาศกเ์ มตร มคี ่าความหนาแน่นเฉล่ีย 102.88 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 9.95 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้
ท่ีมีปริมาตรไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เต็ง (Shorea obtusa)
สาธร (Millettia leucantha) แดง (Xylia xylocarpa) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ปออีเก้ง
(Pterocymbium tinctorium) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตีนนก (Vitex pinnata)
พลับพลา (Microcos tomentosa) และมะคา่ แต้ (Sindora siamensis) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 8
ในปา่ เตง็ รังมีปริมาณไมต้ ้น (Tree) รวม 13,953,670 ต้น คดิ เป็นปรมิ าตรไม้รวม 1,853,033.60
ลูกบาศก์เมตร มีคา่ ความหนาแน่นเฉลย่ี 144.25 ต้นตอ่ ไร่ มปี รมิ าตรไมเ้ ฉลี่ย 19.16 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนิด
ไม้ทม่ี ีปริมาตรไมม้ ากที่สดุ 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ เตง็ (Shorea obtusa) ประดู่ (Pterocarpus acrocarpus)
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) กระบก (Irvingia malayana) รกั ใหญ่ (Gluta usitata) แดง (Xylia
xylocarpa) รัง (Shorea siamensis) โลด (Aporosa villosa) มะกอกเกล้อื น (Canarium subulatum)
และกอ่ แพะ (Quercus kerrii) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 9
ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติตาดโตน มีมากกว่า 56 ชนิด รวมทั้งสิ้น
348,638,100 ต้น มีความหนาแนน่ ของกลา้ ไม้ 8,524 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยชนิดไม้ทมี่ ีปริมาณมากท่สี ดุ 10 อนั ดบั แรก
ได้แก่ สาธร (Millettia leucantha) สะเดาปัก (Vatica harmandiana) เส้ียวปา่ (Bauhinia saccocalyx)
ต้วิ เกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) แดง (Xylia xylocarpa) กะหนาย (Pterospermum littorale)
เตง็ (Shorea obtusa) กอ่ นก (Lithocarpus polystachyus) ตวิ้ ขน (Cratoxylum formosum) และรกั ใหญ่
(Gluta usitata) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 10
ชนิดและปริมาณของลูกไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติตาดโตน มีมากกว่า 60 ชนิด รวมทั้งส้ิน
32,908,830 ตน้ มคี วามหนาแน่นของลกู ไม้ 618 ตน้ ต่อไร่ โดยชนิดไมท้ ี่มปี รมิ าณมากทส่ี ดุ 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่
สาธร (Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) เหมือดจี้
(Memecylon scutellatum) งว้ิ ปา่ (Bombax anceps) ปอพราน (Colona auriculata) หงอนไกป่ า่ (Heritiera
parvifolia) เข็มป่า (Ixora cibdela) พลบั พลา (Microcos tomentosa) และคอแลน (Nephelium hypoleucum)
รายละเอียดดังตารางที่ 11
ชนดิ และปริมาณของตอไม้ท่ีพบในอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน มมี ากกว่า 9 ชนิด รวมทัง้ ส้ิน 700,535
ตอ มคี วามหนาแนน่ ของตอไม้ 9 ตอต่อไร่ โดยชนดิ ไม้ท่ีมีปริมาณตอมากทส่ี ดุ 5 อันดบั แรก ได้แก่ แดง (Xylia
xylocarpa) เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เหียง
(Dipterocarpus obtusifolius) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 12
สาํ หรับไม้ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติตาดโตน สาํ รวจพบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 2 ชนิด ได้แก่ ไผ่รวก
(Thyrsostachys siamensis) และโจด (Vietnamosasa ciliate) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 13
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
28
ตารางที่ 6 ปริมาณไมต้ ้น (Tree) ทัง้ หมดของอทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน (30 ชนิดแรกทม่ี ปี ริมาตรไม้สงู สุด)
ลําดบั ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 เตง็ Shorea obtusa 2,272,664 329,940.80 13.95 2.03
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 749,409 249,983.81 4.60 1.53
3 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 830,867 127,708.41 5.10 0.78
4 กระบก Irvingia malayana 293,247 124,379.07 1.80 0.76
5 แดง Xylia xylocarpa 1,474,381 115,115.01 9.05 0.71
6 รกั ใหญ่ Gluta usitata 863,450 94,140.35 5.30 0.58
7 รัง Shorea siamensis 684,243 84,940.79 4.20 0.52
8 สาธร Millettia leucantha 1,197,425 80,398.48 7.35 0.49
9 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 456,162 66,210.92 2.80 0.41
10 พะยอม Shorea roxburghii 171,061 64,211.13 1.05 0.39
11 โลด Aporosa villosa 578,348 54,205.18 3.55 0.33
12 กอ่ แพะ Quercus kerrii 195,498 52,250.40 1.20 0.32
13 มะกอกเกล้อื น Canarium subulatum 301,393 50,961.31 1.85 0.31
14 กางขม้ี อด Albizia odoratissima 301,393 50,403.92 1.85 0.31
15 พลวง Dipterocarpus 211,790 41,546.44 1.30 0.26
tuberculatus
16 คํารอก Ellipanthus tomentosus 333,976 41,183.67 2.05 0.25
17 สตั บรรณ Alstonia scholaris 32,583 32,442.63 0.20 0.20
18 กุก๊ Lannea coromandelica 366,559 25,940.71 2.25 0.16
19 ตีนนก Vitex pinnata 138,478 25,084.59 0.85 0.15
20 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 130,332 24,185.39 0.80 0.15
21 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 24,437 22,145.50 0.15 0.14
22 สะเดาปกั Vatica harmandiana 114,041 22,049.14 0.70 0.14
23 ยอป่า Morinda coreia 154,769 20,782.35 0.95 0.13
24 หวา้ Syzygium cumini 162,915 20,702.92 1.00 0.13
25 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 171,061 20,476.95 1.05 0.13
26 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia 138,478 20,054.37 0.85 0.12
duperreana
27 ก่อเดอื ย Castanopsis 32,583 19,485.24 0.20 0.12
acuminatissima
28 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 276,956 18,933.76 1.70 0.12
29 ขวา้ ว Haldina cordifolia 138,478 17,693.63 0.85 0.11
30 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium 81,458 16,468.73 0.50 0.10
31 อนื่ ๆ Others 7,999,126 606,871.20 49.10 3.73
รวม 20,877,557 2,540,896.83 128.15 15.60
หมายเหตุ : - มีชนิดพนั ธ์ุไม้ท่สี าํ รวจพบท้งั หมดมากกวา่ 183 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
29
ตารางที่ 7 ปรมิ าณไม้ต้นในปา่ ดบิ แลง้ ของอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ ูงสุด)
ลําดบั ชนดิ พันธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 สตั บรรณ Alstonia scholaris 32,583 32,442.63 2.13 2.12
2 กอ่ เดอื ย Castanopsis acuminatissima 32,583 19,485.24 2.13 1.28
3 พะยอม Shorea roxburghii 16,292 18,594.33 1.07 1.22
4 มันปลา Glochidion sphaerogynum 122,186 13,486.22 8.00 0.88
5 นอ่ งขาว Alstonia rostrata 32,583 10,153.00 2.13 0.66
6 กะหนาย Pterospermum littorale 130,332 8,778.18 8.53 0.57
7 พนั ตา Cleistanthus denudatus 16,292 5,479.81 1.07 0.36
8 กรมเขา Aporosa nigricans 16,292 5,031.80 1.07 0.33
9 ก่อแพะ Quercus kerrii 8,146 4,394.71 0.53 0.29
10 เขลง Dialium cochinchinense 8,146 4,361.56 0.53 0.29
11 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 8,146 4,252.12 0.53 0.28
12 กระบก Irvingia malayana 16,292 4,144.84 1.07 0.27
13 ผีเสอ้ื หลวง Casearia grewiifolia 16,292 3,951.13 1.07 0.26
14 ตนี นก Vitex pinnata 32,583 3,458.49 2.13 0.23
15 กระทมุ่ เขา Neonauclea calycina 40,729 2,843.78 2.67 0.19
16 คาง Albizia lebbeckoides 48,875 2,775.63 3.20 0.18
17 สะแกแสง Cananga latifolia 24,437 2,559.42 1.60 0.17
18 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 40,729 2,514.57 2.67 0.16
19 มังตาน Schima wallichii 8,146 2,272.55 0.53 0.15
20 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 40,729 2,271.94 2.67 0.15
21 คอแลน Nephelium hypoleucum 73,312 2,261.00 4.80 0.15
22 ยอปา่ Morinda coreia 48,875 2,151.92 3.20 0.14
23 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa 65,166 2,071.45 4.27 0.14
32,583 1,974.92 2.13 0.13
24 ง้ิวปา่ Bombax anceps
25 กระบาก Anisoptera costata 32,583 1,890.45 2.13 0.12
26 พังแหร Trema angustifolia 32,583 1,882.61 2.13 0.12
27 กะอวม Acronychia pedunculata 65,166 1,281.09 4.27 0.08
28 มะมอื Choerospondias axillaris 8,146 1,161.20 0.53 0.08
29 ขา้ วหลาม Goniothalamus marcanii 65,166 1,109.57 4.27 0.07
30 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 16,292 975.10 1.07 0.06
31 อน่ื ๆ Others 553,911 11,199.59 36.27 0.73
รวม 1,686,170 181,210.87 110.40 11.86
หมายเหตุ :- มชี นิดพนั ธไุ์ มท้ ส่ี ํารวจพบทงั้ หมดมากกวา่ 62 ชนดิ
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติตาดโตน
30
ตารางที่ 8 ปรมิ าณไมต้ น้ ในปา่ เบญจพรรณของอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน (30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ )
ลําดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 228,081 57,702.67 4.48 1.13
2 เตง็ Shorea obtusa 81,458 35,688.01 1.60 0.70
3 สาธร Millettia leucantha 610,931 34,603.73 12.00 0.68
4 แดง Xylia xylocarpa 171,061 24,227.59 3.36 0.48
5 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 203,644 23,233.99 4.00 0.46
6 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 81,458 16,468.73 1.60 0.32
7 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 105,895 15,088.91 2.08 0.30
8 ตีนนก Vitex pinnata 57,020 14,541.61 1.12 0.29
9 พลบั พลา Microcos tomentosa 521,328 13,827.55 10.24 0.27
10 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 81,458 13,126.76 1.60 0.26
11 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 32,583 12,077.96 0.64 0.24
12 มะกลํ่าต้น Adenanthera pavonina 89,603 11,443.80 1.76 0.22
13 ขว้าว Haldina cordifolia 105,895 10,857.61 2.08 0.21
14 ฉนวน Dalbergia nigrescens 24,437 10,194.65 0.48 0.20
15 พญารากดาํ Diospyros rubra 97,749 10,036.62 1.92 0.20
16 ข้ีอ้าย Terminalia triptera 97,749 9,403.10 1.92 0.18
17 งิ้วปา่ Bombax anceps 187,352 8,319.02 3.68 0.16
18 กุ๊ก Lannea coromandelica 146,624 7,940.37 2.88 0.16
19 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 171,061 7,869.49 3.36 0.15
20 กระเชา Holoptelea integrifolia 8,146 7,569.69 0.16 0.15
21 โมกมัน Wrightia arborea 154,769 7,360.85 3.04 0.14
22 มะกกั Spondias bipinnata 8,146 6,830.55 0.16 0.13
23 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 24,437 6,658.43 0.48 0.13
24 อีแปะ Vitex quinata 97,749 6,558.27 1.92 0.13
25 คอแลน Nephelium hypoleucum 16,292 6,518.73 0.32 0.13
26 คําแสด Mallotus philippensis 97,749 6,316.64 1.92 0.12
27 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 16,292 6,295.80 0.32 0.12
28 ตะครอ้ Schleichera oleosa 57,020 5,837.43 1.12 0.11
29 หว้า Syzygium cumini 32,583 5,393.27 0.64 0.11
30 ตะคร้ํา Garuga pinnata 48,875 5,267.40 0.96 0.10
31 อื่นๆ Others 1,515,110 94,326.56 29.76 1.85
รวม 5,237,717 506,652.36 102.88 9.95
หมายเหตุ : - มีชนิดพันธไุ์ มท้ สี่ ํารวจพบทง้ั หมดมากกวา่ 102 ชนดิ
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
31
ตารางที่ 9 ปริมาณไมต้ ้นในปา่ เต็งรงั ของอุทยานแห่งชาติตาดโตน (30 ชนิดแรกที่มีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ )
ลําดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 เต็ง Shorea obtusa 2,191,207 294,252.79 22.65 3.04
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 521,328 192,281.14 5.39 1.99
3 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 830,867 127,708.41 8.59 1.32
4 กระบก Irvingia malayana 276,956 120,234.23 2.86 1.24
5 รักใหญ่ Gluta usitata 855,304 93,641.50 8.84 0.97
6 แดง Xylia xylocarpa 1,287,029 90,621.79 13.31 0.94
7 รงั Shorea siamensis 684,243 84,940.79 7.07 0.88
8 โลด Aporosa villosa 562,057 53,702.06 5.81 0.56
9 มะกอกเกลือ้ น Canarium subulatum 268,810 48,560.01 2.78 0.50
10 ก่อแพะ Quercus kerrii 187,352 47,855.69 1.94 0.49
11 สาธร Millettia leucantha 586,494 45,794.75 6.06 0.47
12 พะยอม Shorea roxburghii 154,769 45,616.80 1.60 0.47
13 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 252,518 42,976.93 2.61 0.44
14 กางขม้ี อด Albizia odoratissima 260,664 42,770.39 2.69 0.44
15 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 211,790 41,546.44 2.19 0.43
16 คํารอก Ellipanthus tomentosus 325,830 40,375.71 3.37 0.42
17 สะเดาปกั Vatica harmandiana 114,041 22,049.14 1.18 0.23
18 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 16,292 20,673.40 0.17 0.21
19 ยอป่า Morinda coreia 105,895 18,630.43 1.09 0.19
20 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 130,332 17,962.38 1.35 0.19
21 กุก๊ Lannea coromandelica 211,790 17,902.64 2.19 0.19
22 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 219,935 16,331.46 2.27 0.17
23 หาด Artocarpus lacucha 114,041 16,306.09 1.18 0.17
24 หวา้ Syzygium cumini 122,186 15,226.72 1.26 0.16
25 เตง็ หนาม Bridelia retusa 81,458 15,145.45 0.84 0.16
26 ยางโอน Polyalthia viridis 81,458 13,166.82 0.84 0.14
27 สกณุ ี Terminalia calamansanai 81,458 12,810.91 0.84 0.13
28 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 122,186 12,591.47 1.26 0.13
29 ซาด Erythrophleum 146,624 12,387.82 1.52 0.13
succirubrum
30 แคทราย Stereospermum 114,041 12,100.57 1.18 0.13
neuranthum
31 อน่ื ๆ Others 2,785,847 205,810.23 28.80 2.13
รวม 13,953,670 1,853,033.60 144.25 19.16
หมายเหตุ : - มีชนดิ พันธไ์ุ มท้ ีส่ าํ รวจพบท้งั หมดมากกวา่ 103 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
32
ตารางท่ี 10 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ของอุทยานแหง่ ชาตติ าดโตน
ปรมิ าณกลา้ ไม้ทั้งหมด
ลาํ ดบั ชอ่ื พนั ธไ์ุ ม้ ชือ่ วิทยาศาตร์ จาํ นวน ความหนาแน่น
(ต้น) (ตน้ /ไร่)
1 สะเดาปกั Vatica harmandiana 22,808,100 235.79
2 สาธร Millettia leucantha 22,808,100 341.89
3 เส้ียวปา่ Bauhinia saccocalyx 21,178,950 218.95
4 ติว้ เกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense 21,178,950 218.95
5 แดง Xylia xylocarpa 16,291,500 183.58
6 กะหนาย Pterospermum littorale 13,033,200 599.02
7 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 13,033,200 494.04
8 เต็ง Shorea obtusa 13,033,200 134.74
9 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 11,404,050 746.67
10 รักใหญ่ Gluta usitata 11,404,050 117.89
11 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 11,404,050 117.89
12 คอแลน Nephelium hypoleucum 11,404,050 672.00
13 ติว้ ขน Cratoxylum formosum 11,404,050 207.72
14 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 8,145,750 533.33
15 ตะครอ้ Schleichera oleosa 8,145,750 84.21
16 มะกา Bridelia ovata 8,145,750 160.00
17 พญารากดาํ Diospyros rubra 6,516,600 128.00
18 หงอนไกป่ า่ Heritiera parvifolia 6,516,600 128.00
19 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 6,516,600 128.00
20 หวา้ Syzygium cumini 6,516,600 112.84
21 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 6,516,600 67.37
22 สุรามะรดิ Cinnamomum subavenium 4,887,450 320.00
23 มะเดอ่ื ปลอ้ ง Ficus hispida 4,887,450 320.00
24 มนั ปลา Glochidion sphaerogynum 4,887,450 320.00
25 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifolia 4,887,450 320.00
26 เหมอื ดจี้ Memecylon scutellatum 4,887,450 96.00
27 หาด Artocarpus lacucha 4,887,450 50.53
28 ส้านใบเลก็ Dillenia ovata 4,887,450 50.53
29 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 4,887,450 50.53
30 อื่นๆ Others 52,132,800 1,095.30
รวม 348,638,100 8,253.75
หมายเหตุ : - มีชนดิ พันธุ์กลา้ ไมท้ ่ีสํารวจพบท้งั หมดมากกวา่ 56 ชนดิ
การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาติตาดโตน
33
ตารางท่ี 11 ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) ของอทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
ปริมาณกลา้ ไม้ทงั้ หมด
ลําดบั ชอ่ื สามัญ ชอ่ื วิทยาศาตร์ จํานวน ความหนาแน่น
(ตน้ ) (ต้น/ไร)่
1 สาธร Millettia leucantha 4,235,790 61.98
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1,792,065 21.56
3 แดง Xylia xylocarpa 1,629,150 21.39
4 เหมอื ดจี้ Memecylon scutellatum 1,140,405 11.79
5 ปอพราน Colona auriculata 977,490 19.20
6 พลับพลา Microcos tomentosa 977,490 19.20
7 งวิ้ ปา่ Bombax anceps 977,490 15.80
8 หงอนไกป่ ่า Heritiera parvifolia 977,490 14.65
9 เขม็ ป่า Ixora cibdela 977,490 10.11
10 คอแลน Nephelium hypoleucum 814,575 30.93
11 เต็ง Shorea obtusa 814,575 8.42
12 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 651,660 33.68
13 เขลง Dialium cochinchinense 651,660 12.80
14 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 651,660 12.80
15 กาสามปีก Vitex peduncularis 651,660 12.80
16 โมกมนั Wrightia arborea 651,660 12.80
17 เสยี้ วปา่ Bauhinia saccocalyx 651,660 6.74
18 พะยงู Dalbergia cochinchinensis 651,660 6.74
19 มะขามปอ้ ม Phyllanthus emblica 651,660 6.74
20 พะยอม Shorea roxburghii 651,660 6.74
21 กอ่ ดาน Castanopsis purpurea 488,745 32.00
22 มนั ปลา Glochidion sphaerogynum 488,745 32.00
23 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 488,745 24.53
24 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 488,745 9.60
25 หวา้ Syzygium cumini 488,745 8.08
26 เอียน Neolitsea zeylanica 488,745 5.05
27 แสมสาร Senna garrettiana 488,745 5.05
28 รัง Shorea siamensis 488,745 5.05
29 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 488,745 5.05
30 อนื่ ๆ Others 7,331,175 144.84
รวม 32,908,830 618.13
หมายเหตุ : - มชี นดิ พนั ธุล์ ูกไม้ทสี่ ํารวจพบท้งั หมดมากกว่า 60 ชนิด
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตติ าดโตน
34
ตารางท่ี 12 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ของอุทยานแหง่ ชาติตาดโตน
ปริมาณตอไม้ทั้งหมด
ลาํ ดบั ชอ่ื พันธ์ุไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ความหนาแน่น
(ตน้ ) (ตน้ /ไร่)
1 แดง Xylia xylocarpa 228,081 2.81
2 เตง็ Shorea obtusa 130,332 1.35
3 รงั Shorea siamensis 65,166 0.67
4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 48,875 0.51
5 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 32,583 0.34
6 ตะคร้อ Schleichera oleosa 16,292 0.32
7 รกั ใหญ่ Gluta usitata 16,292 0.17
8 ตีนนก Vitex pinnata 16,292 0.17
9 Unknown Unknown 146,624 2.73
รวม 700,535 9.06
ตารางท่ี 13 ชนดิ และปรมิ าณของไผ่ในอทุ ยานแห่งชาตติ าดโตน
ลําดบั ชนิดพนั ธ์ุไผ่ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไผ่ทั้งหมด
จาํ นวนกอ จาํ นวนลาํ
1 ไผ่รวก Thyrsostachys siamensis 472,454 7,917,669
2 โจด Vietnamosasa ciliata
รวม 814,575 11,957,961
1,287,029 19,875,630
5. ขอ้ มลู สงั คมพืช
จากผลการสํารวจ เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติตาดโตน พบว่ามีสังคมพืช
3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง จากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่นของ
พรรณพืช (Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสําคัญของพรรณไม้ (IVI)
ดงั นี้
ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
มันปลา (Glochidion sphaerogynum) สตั บรรณ (Alstonia scholaris) กะหนาย (Pterospermum littorale)
ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) พะยอม (Shorea roxburghii) น่องขาว (Alstonia rostrata)
กะอวม (Acronychia pedunculata) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ปอแกน่ เทา (Grewia eriocarpa)
และข้าวหลาม (Goniothalamus marcanii) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 14
ในพ้นื ท่ีปา่ เบญจพรรณ มชี นิดไมท้ ี่มีค่าดัชนคี วามสําคญั ของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด 10 อันดับแรก
ไดแ้ ก่ สาธร (Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) พลบั พลา (Microcos tomentosa)
แดง (Xylia xylocarpa) มะเกลอื เลอื ด (Terminalia mucronata) งว้ิ ปา่ (Bombax anceps) เตง็ (Shorea
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาตติ าดโตน
35
obtusa) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) กุ๊ก (Lannea coromandelica) และขี้อ้าย
(Terminalia triptera) ดงั รายละเอยี ดในตารางที่ 15
ในพื้นท่ีป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เหยี ง (Dipterocarpus
obtusifolius) รักใหญ่ (Gluta usitata) โลด (Aporosa villosa) รงั (Shorea siamensis) สาธร (Millettia
leucantha) กระบก (Irvingia malayana) และมะกอกเกลอื้ น (Canarium subulatum) ดงั รายละเอียดใน
ตารางที่ 16
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่อทุ ยานแหง่ ชาติตาดโตน
ตารางที่ 14 ชนดิ พนั ธ์ุไม้จากการวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพชื ด้านดัชนคี วามสําคัญของชนิดไม้ (Import
ลําดับ ชนิดพันธไ์ุ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จํานวนตน้ ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ต้น/เฮกตาร)์
1 มันปลา Glochidion sphaerogynum 15 50.00 2
2 สตั บรรณ Alstonia scholaris 4 13.33 1
3 กะหนาย Pterospermum littorale 16 53.33 1
4 กอ่ เดอื ย Castanopsis acuminatissima 4 13.33 1
5 พะยอม Shorea roxburghii 2 6.67 2
6 นอ่ งขาว Alstonia rostrata 4 13.33 1
7 กะอวม Acronychia pedunculata 8 26.67 2
8 คอแลน Nephelium hypoleucum 9 30.00 1
9 ปอแก่นเทา Grewia eriocarpa 8 26.67 1
10 ข้าวหลาม Goniothalamus marcanii 8 26.67 1
11 คาง Albizia lebbeckoides 6 20.00 1
12 งวิ้ ปา่ Bombax anceps 4 13.33 2
13 พังแหร Trema angustifolia 4 13.33 2
14 กระบาก Anisoptera costata 4 13.33 2
15 ยอปา่ Morinda coreia 6 20.00 1
16 กระทุม่ เขา Neonauclea calycina 5 16.67 1
17 กอ่ นก Lithocarpus polystachyus 5 16.67 1
18 พันตา Cleistanthus denudatus 2 6.67 1
19 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 5 16.67 1
20 ตนี นก Vitex pinnata 4 13.33 1
21 อน่ื ๆ Others 84 280.00
รวม 207 690.00
tance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้งในอทุ ยานแห่งชาติตาดโตน
ความถี่ พื้นท่หี น้าตดั ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 18.01
17.91
2 66.67 0.27 0.08 7.25 2.70 8.06 15.04
11.99
1 33.33 0.48 0.15 1.93 1.35 14.63 11.28
8.61
1 33.33 0.20 0.06 7.73 1.35 5.96 7.64
7.47
1 33.33 0.29 0.09 1.93 1.35 8.71 6.85
6.21
2 66.67 0.25 0.08 0.97 2.70 7.61 6.19
6.05
1 33.33 0.18 0.05 1.93 1.35 5.33 6.02
5.93
2 66.67 0.04 0.01 3.86 2.70 1.07 5.86
5.70
1 33.33 0.06 0.02 4.35 1.35 1.77 5.50
5.30
1 33.33 0.05 0.02 3.86 1.35 1.63 5.28
5.26
1 33.33 0.03 0.01 3.86 1.35 0.99 131.91
300.00
1 33.33 0.06 0.02 2.90 1.35 1.94
2 66.67 0.05 0.01 1.93 2.70 1.41
2 66.67 0.05 0.01 1.93 2.70 1.39
2 66.67 0.04 0.01 1.93 2.70 1.29
1 33.33 0.05 0.02 2.90 1.35 1.61
1 33.33 0.06 0.02 2.42 1.35 1.93
1 33.33 0.06 0.02 2.42 1.35 1.73
1 33.33 0.10 0.03 0.97 1.35 2.99
1 33.33 0.05 0.02 2.42 1.35 1.51
1 33.33 0.07 0.02 1.93 1.35 1.98
1600 0.87 0.26 40.58 64.86 26.47
2,466.67 3.30 1.00 100.00 100.00 100.00
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาติตาดโตน
ตารางที่ 15 ชนดิ พนั ธุไ์ มจ้ ากการวเิ คราะหข์ ้อมูลสงั คมพืชด้านดชั นคี วามสาํ คัญของชนดิ ไม้ (Import
ลาํ ดบั ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ จาํ นวนต้น ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ต้น/เฮกตาร์)
1 สาธร Millettia leucantha 75 75.00 8
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 28 28.00 7
3 พลบั พลา Microcos tomentosa 64 64.00 3
4 แดง Xylia xylocarpa 21 21.00 7
5 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata 25 25.00 3
6 ง้ิวป่า Bombax anceps 23 23.00 5
7 เตง็ Shorea obtusa 10 10.00 2
8 ตะแบก Lagerstroemia 13 13.00 5
เปลือกบาง duperreana
9 กกุ๊ Lannea coromandelica 18 18.00 4
10 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 12 12.00 6
11 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 21 21.00 2
12 โมกมัน Wrightia arborea 19 19.00 2
13 ขวา้ ว Haldina cordifolia 13 13.00 2
14 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 10 10.00 3
15 มะกล่าํ ต้น Adenanthera pavonina 11 11.00 2
16 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium 10 10.00 1
17 ตนี นก Vitex pinnata 7 7.00 2
18 อแี ปะ Vitex quinata 12 12.00 2
19 พญารากดํา Diospyros rubra 12 12.00 1
20 คาํ แสด Mallotus philippensis 12 12.00 2
21 อ่ืนๆ Others 227 227
รวม 643 643.00
tance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณในอุทยานแห่งชาตติ าดโตน
ความถี่ พน้ื ทหี่ นา้ ตัด ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 23.65
19.70
80.00 0.72 0.07 11.66 4.49 7.49 15.44
11.97
70.00 1.09 0.11 4.35 3.93 11.42 9.49
8.53
30.00 0.36 0.04 9.95 1.69 3.80 7.56
7.33
70.00 0.46 0.05 3.27 3.93 4.78
30.00 0.37 0.04 3.89 1.69 3.92
50.00 0.20 0.02 3.58 2.81 2.14
20.00 0.47 0.05 1.56 1.12 4.88
50.00 0.24 0.02 2.02 2.81 2.50
40.00 0.18 0.02 2.80 2.25 1.83 6.88
60.00 3.37 1.60 6.84
20.00 0.15 0.02 1.87 1.12 1.76 6.15
20.00 1.12 1.81 5.88
20.00 0.17 0.02 3.27 1.12 2.35 5.49
30.00 1.69 2.20 5.44
20.00 0.17 0.02 2.95 1.12 2.44 5.28
10.00 0.56 2.93 5.05
20.00 0.22 0.02 2.02 1.12 2.50 4.71
20.00 1.12 1.50 4.49
10.00 0.21 0.02 1.56 0.56 2.04 4.47
20.00 1.12 1.44 4.43
1090.00 0.23 0.02 1.71 61.24 34.67 131.21
1,780.00 100.00 100.00 300.00
0.28 0.03 1.56
0.24 0.03 1.09
0.14 0.02 1.87
0.19 0.02 1.87
0.14 0.01 1.87
3.31 0.35 35.30
9.56 1.00 100.00
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแห่งชาตติ าดโตน
ตารางท่ี 16 ชนดิ พันธ์ุไมจ้ ากการวิเคราะหข์ อ้ มูลสงั คมพืชด้านดัชนีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Import
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุไ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จํานวนตน้ ความหนาแนน่ แปลงพบ
(ตน้ /เฮกตาร)์
1 เตง็ Shorea obtusa 269 141.58 19
2 แดง Xylia xylocarpa 158 83.16 18
3 ประดู่ Pterocarpus acrocarpus 64 33.68 15
4 เหียง Dipterocarpus btusifolius 102 53.68 13
5 รักใหญ่ Gluta usitata 105 55.26 11
6 โลด Aporosa villosa 69 36.32 17
7 รัง Shorea siamensis 84 44.21 8
8 สาธร Millettia leucantha 72 37.89 12
9 กระบก Irvingia malayana 34 17.89 10
10 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 33 17.37 12
11 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata 31 16.32 11
12 คํารอก Ellipanthus tomentosus 40 21.05 7
13 กางขม้ี อด Albizia odoratissima 32 16.84 7
14 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 26 13.68 8
15 ก่อแพะ Quercus kerrii 23 12.11 6
16 เหมือดจี้ Memecylon scutellatum 43 22.63 8
17 พะยอม Shorea roxburghii 19 10.00 6
18 กุ๊ก Lannea coromandelica 26 13.68 6
19 หาด Artocarpus lacucha 14 7.37 8
20 ยอปา่ Morinda coreia 13 6.84 7
21 อน่ื ๆ Others 456 240
รวม 1,713 901.58