บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหำร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยส่วนสารวจและวิเคราะห์
ทรัพยากรป่าไม้ ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดจุดสารวจเป้าหมายในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ
ภพู าน ซงึ่ มีเนื้อท่ี 415,439 ไร่ หรอื ประมาณ 664.70 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมท้องที่ อาเภอพรรณานิคม
อาเภอเมอื ง อาเภอกดุ บาก อาเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร อาเภอสมเดจ็ อาเภอห้วยผง้ึ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ซึ่งอยู่ใน
ความดูแลรบั ผดิ ชอบของสานกั บริหารพน้ื ท่ีอนรุ ักษ์ที่ 8 (ขอนแก่น) และสานกั บริหารพืน้ ที่อนรุ ักษท์ ี่ 10 (อุดรธาน)ี
โดยได้ทาการวางแปลงตัวอย่างวงกลม ขนาด 0.1 เฮคแตร์ (0.625 ไร่) ระยะ 2.5x2.5 กิโลเมตร
จานวน 117 แปลง สามารถแบง่ ตามสดั ส่วนทส่ี ารวจพบไดล้ ักษระการใช้ประโยชนท์ ่ดี ิน 4 ประเภท ดงั นี้
1. พน้ื ท่ปี ่า คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.05 จาแนกได้ 3 ประเภท ได้แก่
1.1) ปา่ ดิบแล้ง คิดเปน็ ร้อยละ 10.26 มคี วามหนาแน่นเฉลี่ย 109.67 ตน้ ตอ่ ไร่ ปรมิ าตร 33.60
ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่
1.2) ปา่ เบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ 41.03 มคี วามหนาแนน่ เฉล่ยี 121.07 ต้นต่อไร่ ปริมาตร
23.56 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
1.3) ป่าเตง็ รงั คิดเป็นร้อยละ 30.77 มีความหนาแนน่ เฉลีย่ 113.55 ต้นต่อไร่ ปริมาตร 13.93
ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่
2. พ้ืนทเี่ กษตรกรรม คดิ เป็นร้อยละ 14.53
2.1) สวนยางพารา คดิ เปน็ ร้อยละ 1.71
2.2) พนื้ ทเี่ กษตรกรรมอ่ืนๆ คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.82
3. แหล่งน้าธรรมชาติ คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.56
4. หมบู่ า้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.85
จากผลการสารวจ สามารถสรปุ ภาพรวมของอุทยานแห่งชาติภพู าน พบวา่ มีพันธ์ุไม้มากกว่า 232
ชนิด หมู่ไม้มีความหนาแน่นเฉลี่ย 94.86 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรเฉลี่ย 17.01 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ลูกไม้
(Sapling) มีความหนาแน่นเฉลย่ี 157.33 ต้นต่อไร่ กลา้ ไม้ (Seedling) มีความหนาแน่นเฉล่ีย 1,031.11 ต้นต่อไร่
และพบตอไม้จานวน 1,217,017 ตอ เฉล่ีย 2.87 ตอตอ่ ไร่
ชนิดไม้ที่พบมาก 10 ลาดับแรก ได้แก่ ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) เต็ง (Shorea obtusa) หมักม่อ (Rothmannia wittii) แดง (Xylia xylocarpa)
รัง (Shorea siamensis) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) สาธร (Millettia leucantha) โมกมัน
(Wrightia arborea) และเปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตามลาดับ
ชนดิ ไม้ท่มี ปี ริมาตรมาก 10 ลาดับแรก ไดแ้ ก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
รงั (Shorea siamensis) เตง็ (Shorea obtusa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) พลวง (Dipterocarpus
tuberculatus) เขลง (Dialium cochinchinense) กระบก (Irvingia malayana) ตะแบก (Lagerstroemia
cuspidate) ตวิ้ ขน (Cratoxylum formosum) และสมพง (Tetrameles nudiflora) ตามลาดับ
ลูกไม้ (Sapling) พบมากกว่า 102 ชนิด มีความหนาแน่นเฉล่ียเท่ากับ 157.33 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ที่พบ
มาก 5 ลาดับแรก ได้แก่ มะเกลือ (Diospyros mollis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx) แดง (Xylia xylocarpa) และเปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตามลาดับ
จากการสารวจพบลูกไมม้ ากทส่ี ุด ในปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ปา่ เตง็ รัง และป่าดบิ แลง้ ตามลาดบั
กล้าไม้ (Seedling) พบมากกวา่ 65 ชนดิ มคี วามหนาแน่นเฉลยี่ เท่ากบั 1,028.15 ตน้ ต่อไร่ โดยกล้า
ไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia
leucantha) รกั ใหญ่ (Gluta usitata) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตามลาดับ
เมื่อทาการประเมนิ ทรพั ยากรปา่ ไม้ในพน้ื ทขี่ องอุทยานแหง่ ชาตภิ ูพาน โดยใชส้ ัดส่วนของแปลงสารวจกบั
ขนาดของพ้ืนที่แนบท้ายกฤษฎีกา 415,439 ไร่ (ไม่รวมพ้ืนท่ีแหล่งน้าธรรมชาติ) สรุปผลได้ว่ามีปริมาณไม้รวม
40,938,376 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้ 7,383,794.29 ลูกบาศก์เมตร มีลูกไม้ (Sapling) จานวน 68,058,843 ต้น
กล้าไม้ (Seedling) จานวน 439,429,505 ต้น มีไผ่ (Bamboo) จานวน 1,279,022 กอ รวม 18,044,545 ลา
มีตอไม้ (Tree Stump) จานวน 1,217,017 ตอ
ในส่วนของการประเมินขนาดความโตของหมู่ไม้ พบว่า มีไม้ยืนที่มีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH)
ตั้งแต่ 15-45 เซนติเมตร มีจานวน 27,646,031 ต้น และท่ีมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 45-
100 เซนติเมตร มีจานวน 11,105,725 ต้น และที่มีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร
มจี านวน 2,186,619 ตน้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 67.53, 27.13 และ 5.34 ตามลาดับ
จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู สงั คมพชื และความหลากหลายทางชวี ภาพในพนื้ ทขี่ องอุทยานแหง่ ชาติภพู าน
พบว่า
1. ชนิดไมท้ ีม่ คี วามถ่ี (Frequency) มากท่สี ดุ คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา คือ
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) แดง
(Xylia xylocarpa) และตวิ้ ขน (Cratoxylum formosum)
2. ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากที่สุด คือ เต็ง (Shorea obtusa)
รองลงมา คือ ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง
(Xylia xylocarpa) และหมกั ม่อ (Rothmannia wittii)
3. ชนิดไม้ที่ทีความเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) รองลงมา คือ รัง (Shorea siamensis) ต็ง (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus
tuberculatus) และประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
4. ชนิดไม้ท่ีมีค่าความสาคัญทางนิเวศวิทยา (IVI) มากที่สุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) รองลงมา คือ รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum)
และแดง (Xylia xylocarpa)
5. ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า
- ป่าเบญจพรรณ มีความหลากหลายของชนดิ พันธุ์ไม้ (Species Diversity) และความสม่าเสมอของ
ชนดิ พันธ์ไุ ม้ (Species Evenness) มากท่สี ดุ
- ป่าดิบแล้ง มคี วามมากมายของชนดิ พันธไ์ุ ม้ (Species Richness) มากที่สดุ
หมำยเหตุ
1. ในการประมาณคา่ ปริมาณไมท้ ั้งหมดของพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษแ์ ต่ละแห่ง เป็นการคานวณโดยใช้ข้อมูล
เน้ือที่จากแผนท่ีแนบท้ายกฤษฎีกา ซ่ึงบางพื้นท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อการ
คานวณปริมาณไม้ท้ังหมด ดังนั้น ปริมาณและปริมาตรไม้เป็นค่าประมาณการเบื้องต้น อย่างไรก็ตามค่าความ
หนาแน่นและปริมาณไม้ต่อหน่วยเนื้อทข่ี องแตล่ ะพน้ื ท่ีสามารถเปน็ ตัวแทนของพนื้ ทน่ี นั้ ๆได้ และหากไดข้ ้อมูลเนอื้ ที่
แตล่ ะชนิดป่าของพน้ื ท่อี นุรกั ษ์ จะทาใหค้ า่ ประมาณการมีความถูกต้องและแมน่ ยามากยิง่ ขนึ้
2. ในกรณีที่ชนิดปา่ ใดมแี ปลงตวั อยา่ งตกอยูเ่ พียงแปลงเดียว ควรวางแปลงตวั อย่างเพม่ิ
สารบญั i
สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง i
iii
สารบญั ภาพ iv
คานา 1
2
วตั ถปุ ระสงค์ 2
2
พ้นื ที่การดาเนนิ งาน 3
ประวัติความเป็นมา 4
หนว่ ยงานในพื้นท่ี 4
ลกั ษณะภมู ิประเทศ 4
ลักษณะภมู ิอากาศ 5
พชื พรรณ 5
สัตวป์ า่ 5
6
รูปแบบและวธิ ีการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 6
การส่มุ ตวั อยา่ ง (Sampling Design) 7
รูปแบบและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design) 7
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและขอ้ มลู ที่ทาการสารวจ 7
8
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสารวจทรพั ยากรป่าไม้ 8
1. การคานวณเนื้อทปี่ ่าและปริมาณไม้ท้ังหมด 9
2. การคานวณปรมิ าตรไม้ 9
3. ข้อมูลทัว่ ไป 10
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมูไ่ ม้ 11
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลชนิดและปรมิ าณของไมไ้ ผ่ หวาย 11
6. การวิเคราะหข์ ้อมูลสงั คมพืช 13
7. วิเคราะหข์ ้อมลู เกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ 19
23
ผลการสารวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู ทรัพยากรป่าไม้ 32
1. แปลงตวั อยา่ ง 37
2. ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ
3. ปรมิ าณไม้
4. ชนดิ พันธุ์ไม้
5. สังคมพชื
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ
สารบญั (ตอ่ ) ii
สรุปผลการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ หน้า
วิจารณผ์ ล 38
ปัญหาและอุปสรรค 41
ข้อเสนอแนะ 42
เอกสารอา้ งอิง 42
ภาคผนวก 43
44
สารบัญตาราง iii
ตารางท่ี ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ท่ีทาการสารวจ หน้า
1 6
2 พน้ื ทป่ี ่าไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Area by Landuse Type) 14
3 19
ปรมิ าณไม้ท้งั หมดจาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินในอุทยานแหง่ ชาติภพู าน
4 (Volume by Landuse Type) 20
ความหนาแน่นและปรมิ าตรไมต้ ่อหนว่ ยพื้นที่จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ
5 (Density and Volume per Area by Landuse Type) 22
6 การกระจายขนาดความโตของไมท้ งั้ หมดในอุทยานแห่งชาติภูพาน 25
7 26
8 ปริมาณไม้ทง้ั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาติภพู าน (30 ชนิดแรกท่มี ปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 27
9 28
10 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ แลง้ ของอทุ ยานแห่งชาติภูพาน (30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 29
11 30
12 ปรมิ าณไม้ในปา่ เบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติภพู าน (30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ าตรไม้สงู สดุ ) 31
13 31
14 ปริมาณไม้ในป่าเตง็ รงั ของอทุ ยานแหง่ ชาติภูพาน (30 ชนิดแรกทีม่ ีปริมาตรไม้สงู สดุ ) 33
15 ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ในอุทยานแห่งชาติภูพาน (30 ชนิดแรกทมี่ ปี รมิ าณสงู สดุ ) 34
16 ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูพาน (30 ชนดิ แรกที่มีปรมิ าณสูงสดุ ) 35
ชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ (Bamboo) ในอทุ ยานแห่งชาติภูพาน
17 36
ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ในอุทยานแห่งชาติภพู าน
18 37
ดัชนคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าในอุทยานแหง่ ชาตภิ พู าน
(20 อนั ดับแรก)
ดัชนคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้ง
ในอุทยานแหง่ ชาติภูพาน (20 อนั ดับแรก)
ดัชนคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ
ในอุทยานแหง่ ชาติภูพาน (20 อันดับแรก)
ดชั นคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเตง็ รัง
ในอุทยานแห่งชาติภูพาน (20 อันดับแรก)
ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนิดพันธไ์ุ มอ้ ุทยานแห่งชาติภูพาน
สารบญั ภาพ iv
ภาพที่ หน้า
1 รูปแบบและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 5
2 พิกัดตาแหนง่ แปลงตวั อย่างของสานักบรหิ ารพนื้ ทีอ่ นุรกั ษท์ ี่ 8 (ขอนแกน่ ) 11
3 พกิ ดั ตาแหนง่ แปลงตวั ของสานักบริหารพน้ื ทอี่ นุรกั ษท์ ่ี 10 (ขอนแก่น) 12
4 แปลงตัวอย่างท่ไี ดด้ าเนินการสารวจในอุทยานห่งชาตภิ ูพาน 12
5 พ้นื ท่ีอุทยานแหง่ ชาตภิ ูพานจาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ 13
6 ลักษณะของป่าดบิ แล้งที่สารวจพบในพน้ื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติภพู าน 15
7 ลกั ษณะของปา่ เบญจพรรณทสี่ ารวจพบในพ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาติภพู าน 16
8 ลักษณะของปา่ เต็งรงั ทสี่ ารวจพบในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติภูพาน 17
9 ลักษณะของพื้นทเ่ี กษตรกรรมทีส่ ารวจพบในพื้นทอี่ ุทยานแห่งชาตภิ ูพาน 18
10 ปริมาณไม้ทั้งหมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน 19
11 ปรมิ าตรไม้ทั้งหมดจาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ 20
12 ความหนาแน่นตอ่ หนว่ ยพื้นท่ีจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดิน 21
13 ปริมาตรไม้ตอ่ หน่วยพน้ื ที่จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ิน 21
14 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูพาน (ต้น) 22
15 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ พู าน (รอ้ ยละ) 22
1
ในปัจจุบันประเทศไทยมีพ้ืนท่ีป่าไม้เหลืออยู่ร้อยละ 31.60 ของพ้ืนท่ีประเทศ (สถิติป่าไม้, 2559)
พื้นท่ีดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซึ่งมีหน้าท่ีในการอนุรักษ์
สงวน และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ให้มีความอุดมสมบูรณ์และย่ังยืน ดังนั้น เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว
จงึ จาเปน็ ทจ่ี ะต้องทราบถงึ สถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมี
อยใู่ นพื้นทป่ี า่ ไม้ รวมถึงปัจจัยดา้ นอน่ื ๆ ท่ีมผี ลตอ่ การบกุ รกุ ทาลายป่า
ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักพ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ มีหน้าท่ีรับผิดชอบใน
การสารวจเก็บข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ัวประเทศ ร่วมกับสานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ในพ้ืนท่ี
เพ่อื เก็บรวบรวมข้อมูลและจดั ทาเป็นฐานข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ สาหรับใช้ประกอบในการดาเนินงานใน
กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากรปา่ ไม้ เพ่อื นาไปใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและพฒั นาพ้ืนทอ่ี นรุ ักษ์ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสงู สุดต่อไป
ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ โดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ได้ร่วมกับสานักบริหาร
พื้นท่ีอนุรักษ์ที่ 8 และ 10 ดาเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูพาน เพื่อประเมินสถานภาพ
และศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ เพ่ือให้ทราบถึงชนิด ขนาด ปริมาณ ปริมาตร จานวนกล้าไม้และลูกไม้ ตลอดจน
ความหลากหลายของพืชพรรณในแต่ละสภาพพ้นื ท่ี ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถนาไปใช้ในการประเมินการสืบต่อพันธุ์
ตามธรรมชาติและความสมบูรณ์ของหมู่ไม้ในอนาคต นอกจากนี้ยังใช้ในการติดตามความเปล่ียนแปลงของ
ทรพั ยากรปา่ ไม้ และนาไปประยุกตใ์ ชป้ ระเมินมลู ค่าทางด้านเศรษฐกิจและส่ิงแวดลอ้ มต่อไป
2
1. เพือ่ ให้ทราบข้อมลู พนื้ ฐานเกี่ยวกับสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ ปริมาณและกาลัง
ผลิตของไมใ้ นพน้ื ที่ รวมถงึ ความหลากหลายของชนดิ พนั ธุ์พชื และการสืบพันธุต์ ามธรรมชาตขิ องหม่ไู ม้
2. เพ่ือนาไปใช้สามารถประเมินมูลค่าทรัพยากรป่าไม้และมูลค่าความเสียหายหรือสูญเสีย กรณี
มีการดาเนินงานหรือโครงการต่างๆ ซงึ่ อาจส่งผลกระทบต่อทรพั ยากรในพน้ื ที่อนุรกั ษ์
3. เพอ่ื ตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพื้นที่อนุรักษ์
ประวตั คิ วามเป็นมา
อุทยานแห่งชาติภูพาน ปัจจุบันมีพื้นท่ีครอบคลุมท้องท่ีอาเภอพรรณานิคม อาเภอเมือง อาเภอกุดบาก
อาเภอภูพาน จงั หวดั สกลนคร อาเภอสมเด็จ อาเภอหว้ ยผง้ึ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ประกอบดว้ ย ป่าท่ีอุดมสมบูรณ์และ
มีธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้าตก ถ้า หน้าผา ทิวทัศน์ตามธรรมชาติ ตลอดจนพื้นป่าแห่งนี้ในอดีตได้ช่ือว่าเป็น
ปัญหาทางด้านการเมือง และในสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 ก็ยังเป็นแหล่งสะสมอาวุธยุทธภัณฑ์ท่ีใช้สาหรับต่อต้าน
ทหารกองทัพญี่ปุ่นซึ่งนับเป็นประวัติศาสตร์ มีเนื้อที่ประมาณ 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร ตามมติ
คณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กาหนดป่าเขาภูพานหรือที่เรียกกันโดยท่ัวไปว่า “ป่าเขาชมภูพาน” จังหวัด
สกลนคร และจังหวัดกาฬสินธุ์ และป่าอ่ืนๆ ในท้องที่จังหวัดต่างๆ รวม 14 ป่า เป็นอุทยานแห่งชาติเพ่ืออนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้เป็นการถาวรเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม กรมป่าไม้ ได้เสนอจัดตั้งป่าภูพานเป็นอุทยาน
แหง่ ชาติ โดยได้มปี ระกาศคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 244 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2515 กาหนดบริเวณท่ีดินป่าภูพานใน
ท้องท่ีตาบลนาใน ตาบลไร่ ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอพรรณานิคม ตาบลโคกภู ตาบลนาม่อง อาเภอกุดบาก และตาบล
ห้วยยาง ตาบลพังขว้าง อาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร และตาบลแซงบาดาล อาเภอสมเด็จ จังหวัด
กาฬสินธ์ุ เนื้อท่ี 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 89 ตอนท่ี 170 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2515 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 7 ของประเทศ จังหวัด
กาฬสินธ์ุ ได้มีหนังสือท่ี กส 09/598 ลงวันท่ี 12 มกราคม 2516 รายงานว่า ตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี
244 ลงวนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2515 กาหนดให้ที่ดินป่าภูพานเป็นอุทยานแห่งชาติน้ัน ปรากฏว่ามีพ้ืนที่บางส่วนในบาง
ตาบลของจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นเขตอุทยานแห่งชาติแต่ไม่ได้ระบุช่ือตาบลลงไว้ กรมป่าไม้จึงได้ดาเนินการ
ตรวจสอบแนวเขตอุทยานแห่งชาติใหม่ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกายกเลิกประกาศคณะปฏิวัติ และกาหนดบริเวณ
ท่ีดินป่าภูพาน ในท้องที่ตาบลนาใน ตาบลไร่ ตาบลนาหัวบ่อ อาเภอพรรณานิคม ตาบลพังขว้าง ตาบลห้วยยาง
3
อาเภอเมอื ง ตาบลนาม่อง ตาบลโคกภู อาเภอกุดบาก จงั หวดั สกลนคร และตาบลแซงบาดาล อาเภอสมเด็จ ตาบล
คาบง อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซ่ึงลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92
ตอนที่ 106 ลงวนั ท่ี 6 มิถนุ ายน 2518 กรมป่าไม้ดาเนินการรังวัดแนวเขตของพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูพาน เพ่ือทา
การขอเพิกถอนแนวเขตอุทยานแห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม 2520 ซึ่งอนุมัติในหลักการให้
เพิกถอนพ้ืนท่ีบริเวณบ่อหิน เน้ือท่ีไม่เกิน 5 ไร่ คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่
2/2521 เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2521 ให้กรมป่าไม้ดาเนินการเพิกถอนพื้นที่พระตาหนักภูพานราชนิเวศน์ สานัก
สงฆ์ถ้าขาม (หลวงปู่ฝั้น) และอ่างเก็บน้าห้วยแข้ ออกจากพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูพาน แต่เนื่องจากแนวเขตอุทยาน
แห่งชาติตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกา กาหนดบริเวณท่ีดินป่าภูพานให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2518
ไม่ได้ระบุชื่อตาบลบางตาบลไว้ จึงไม่สามารถดาเนินการเพิกถอนได้ กรมป่าไม้จึงเสนอคณะกรรมการอุทยาน
แห่งชาติได้มีมติในคราวประชุม คร้ังท่ี 3/2523 เม่ือวันท่ี 21 ตุลาคม 2523 ดาเนินการตามที่คณะกรรมการ
กฤษฎีกาให้แนวทางปฏิบัติ โดยให้เสนอร่างพระราชกฤษฎีกาขึ้นไปใหม่และกันพื้นท่ีดังกล่าวออกเสียและเพิ่ม
ตาบลท่ีตกหล่นให้สมบูรณ์ เป็นการเปล่ียนแปลงแนวเขตอุทยานแห่งชาติ ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปล่ียนแปลงเขต
อุทยานแห่งชาติป่าภูพาน ในท้องที่ตาบลนาใน ตาบลไร่ ตาบลห้วยบ่อ อาเภอพรรณานิคม ตาบลพังขว้าง
ตาบลห้วยยาง อาเภอเมือง ตาบลนาม่อง ตาบลโคกภู ตาบลสร้างค้อ อาเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร และตาบล
แซงบาดาล ตาบลมหาไชย ตาบลผาเสวย อาเภอสมเด็จ ตาบลคาบง ก่ิงอาเภอห้วยผึ้ง อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัด
กาฬสินธ์ุ พ.ศ. 2525 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 161 ลงวันท่ี 29 ตุลาคม 2525 รวมเนื้อท่ี
ท้ังหมดประมาณ 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร (คือระบุตาบลเพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงแนวเขต
ตาบล และเพิกถอนสานักสงฆ์ถ้าขาม บ่อหิน พระตาหนักภูพานราชนิเวศน์ อ่างเก็บน้าห้วยแข้ ออกจากเขต
อทุ ยานแห่งชาติ) (ทีม่ า : แผนการจดั การเบ้อื งตน้ ปี 2558-2562)
หน่วยงานในพ้ืนที่
- หนว่ ยพทิ กั ษ์อทุ ยานแห่งชาตทิ ี่ ภพ. 1 (หนองดนิ ดา)
- หน่วยพทิ ักษ์อทุ ยานแห่งชาตทิ ่ี ภพ. 2 (ภูผักหวาน)
- หน่วยพทิ ักษ์อุทยานแห่งชาติท่ี ภพ. 3 (ภูมะแงว)
- หนว่ ยพทิ กั ษ์อุทยานแห่งชาติท่ี ภพ. 4 (หนิ แตก)
- หน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ภพ. 5 (น้าพุง)
- หนว่ ยพิทักษ์อทุ ยานแห่งชาติท่ี ภพ. 6 (ตอ่ เขต)
- หน่วยพิทักษ์อทุ ยานแห่งชาตทิ ่ี ภพ. 7 (เชิงดอย)
- หนว่ ยพิทักษ์อุทยานแห่งชาตทิ ี่ ภพ. 8 (แกง้ มดแดง)
- หนว่ ยพทิ ักษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ภพ. 9 (หว้ ยเวยี นไพร)
- หนว่ ยพทิ ักษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ภพ. 10 (สร้างค้อ)
- หน่วยพทิ กั ษ์อุทยานแห่งชาตทิ ่ี ภพ. 11 (แก้งกะอาม)
- หน่วยพทิ ักษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ภพ. 12 (ห้วยแข)้
4
ลกั ษณะภูมิประเทศ
อทุ ยานแหง่ ชาตภิ พู าน ตัง้ อยูใ่ นเขตเทอื กเขาภพู าน มีลกั ษณะโครงสร้างทางธรณีเป็นหินทราย โดย
มีความสูงอยู่ระหว่าง 200-567 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง ประกอบด้วยภูนางงอย ภูมะแงว ภูน้อย
ภูเพ็ก โดยมีภูเขียวซ่ึงอยู่ในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจุดสูงสุดในเขตอุทยานแห่งชาติ มีความสูง 567 เมตรจาก
ระดับน้าทะเลปานกลาง เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธารและห้วยต่างๆ เช่น ห้วยเลา ห้วยอีโคก ห้วยยาง ห้วยเวียงไพร
ห้วยข้ีนก ห้วยโคก ห้วยวังถ้า ห้วยผึ้ง ห้วยอีดอน น้าอูนตอนบน ห้วยทราย และห้วยนาจาน ซึ่งจะไหลลงสู่
แม่น้าอูน ห้วยแข้ ห้วยแสนกงและน้าพุงตอนบน ไหลลงแม่น้าพุง ห้วยสะทด ห้วยแก้งหว้า ห้วยแก้งโคก
และห้วยหลัก ไหลลงลาน้ายงั หว้ ยพริกไหลลงลาปาว ห้วยทรายและห้วยเดียกไหลลงส่หู นองหาร
ลักษณะภมู ิอากาศ
ลกั ษณะภมู ิอากาศโดยทว่ั ไปของอทุ ยานแหง่ ชาติภพู าน จะมีอากาศเย็นสบาย โดยมีอุณหภูมิต่าสุดช่วง
เดือนธันวาคมประมาณ 11.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉล่ียท้ังปีประมาณ 26.3 องศาเซลเซียส มีช่วงฤดูกาลเป็น
3 ฤดู คอื ฤดูหนาว เร่ิมต้ังแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม ฤดูร้อนเริ่มต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน สาหรับ
ฤดูฝนเร่ิมต้ังแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน ปริมาณน้าฝนประมาณปีละ 1,353.40 มิลลิเมตร (ท่ีมา :
แผนการจดั การเบ้อื งต้น ปี 2558-2562)
พืชพรรณ
สภาพป่าในอุทยานแห่งชาติภูพานประกอบด้วยชนิดป่าที่สาคัญ 3 ชนิด คือ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
และป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรังพบข้ึนอยู่ต้ังแต่ตอนกลางขึ้นไปจนถึงด้านทิศเหนือ ในระดับความสูง 200-400 เมตรจาก
ระดับน้าทะเลปานกลาง พันธุ์ไม้ท่ีสาคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง ตีนนก กว้าว แดง ส้าน ช้างน้าว กระโดน
มะพอก ฯลฯ พชื พน้ื ล่างประกอบด้วย หญ้าเพก็ ตะโกหิน ปอหู ปรง พวงประดิษฐ์ รางจืด เป็นต้น ส่วนป่าดิบแล้ง พบ
ข้ึนอยู่เป็นผืนใหญ่ตอนกลางค่อนไปทางทิศใต้และพบเป็นหย่อมเล็กๆ กระจายอยู่ทางด้านทิศเหนือและทิศใต้
ในระดับความสูงตั้งแต่ 400 เมตรจากระดับน้าทะเลปานกลางข้ึนไป ชนิดไม้ที่สาคัญ ได้แก่ เขล็ง นางดา ก่อ
กระพี้เขาควาย หว้า เปล้าหลวง ขนุนป่า แคหางค่าง เหมือด หมากมุ้ย ฯลฯ พืชพื้นล่างส่วนใหญ่เป็นลูกไม้และ
กล้าไม้ของไม้ช้ันบน เช่น ตีนตั่ง นางดา รวมท้ัง เข็มขาว เข็มแดง เฟิน ไม้เถา เป็นต้น ป่าเบญจพรรณ พบข้ึนอยู่
ทางตอนใต้ของพื้นที่อุทยานฯ ชนิดไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ตีนนก ติ้ว คางฮุ่ง แดง มะกอกเล่ือม แสนคา ประดู่ โมกมัน
ตะแบก ฯลฯ ส่วนพชื พน้ื ลา่ งประกอบดว้ ย ลกู ไม้ของไมช้ นั้ บน มะเมา่ ไผ่ หญา้ คา ไม้เถา เปน็ ต้น
5
สตั วป์ า่
สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในอุทยานแห่งชาติภูพานพบมากกว่า 162 ชนิด ประกอบด้วย ช้างป่า กวางป่า
เก้งธรรมดา หมูป่า ค่างแว่นถ่ินเหนือ หมีหมา ชะมดแผงสันหางดา ลิงกัง อ้นเล็ก นากใหญ่ขนเรียบ กระจ้อน
ค้างคาวขอบหูขาวกลาง นกยางไฟ เหยี่ยวรุ้ง นกกระทาทุ่ง นกกระปูดใหญ่ นกตะขาบทุ่ง นกปรอดสวน
นกแซงแซวสีเทา นกเด้าดินทุ่ง ไก่ป่า คางคกบ้าน เขียดจะนา กบอ่อง อ่ึงอ่างบ้าน จ้ิงจกหางหนาม ตุ๊กแกบ้าน
กิ้งก่าหัวแดง แย้ จ้ิงเหลนหลากหลาย งูเขียวดอกหมาก งูสายม่านธรรมดา งูปล้องฉนวนลาว เป็นต้น และในบริเวณ
แหลง่ นา้ พบปลานา้ จืดหลายชนิด เช่น ปลาซิว ปลาตะเพียนทราย ปลาสร้อยนกเขา ปลากระสูบจุด ปลาก้าง ปลา
ดกุ ด้าน และปลากรมิ เปน็ ต้น (ทม่ี า : แผนการจัดการเบอ้ื งต้น ปี 2558-2562)
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design)
ในการสารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ ช้วธิ ีการสุม่ ตวั อย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) โดยวาง
แปลงตัวอย่าง (Sample plot) แบบวงกลมขนาด 0.1 เฮคแตร์ ระยะ 2.5 x 2.5 กิโลเมตร ท่ัวท้ังพื้นที่ โดยเริ่ม
จากการสุ่มแปลงตัวอย่างแรกลง ณ จุดตัดของเส้นกริด (Grid) บนแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ซึ่งเป็น
พ้ืนทท่ี ภ่ี าพถ่ายดาวเทียมแปลวา่ มีสภาพเป็นปา่ ลักษณะของแปลงตวั อยา่ งแสดงดังภาพท่ี 1
ภาพท่ี 1 รูปแบบและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง
6
รปู แบบและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design)
แปลงตวั อย่าง (Sample Plot) ประกอบการเก็บข้อมูลมี 2 ลักษณะด้วยกัน คือ
1. แบบวงกลม (Circular Plot)
1.1 แบบวงกลมท่ีมจี ุดศูนย์กลางร่วมกนั จานวน 3 วง รัศมี 3.99, 12.62 และ 17.84 เมตรตามลาดับ
1.2 แบบวงกลม รัศมี 0.631 เมตร โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี
3.99 เมตร ตามทิศหลักท้ัง 4 ทศิ
2. แบบเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาว 17.84 เมตร โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน
ณ จุดศูนยก์ ลางแปลงตัวอยา่ งทามมุ ฉากซง่ึ กนั และกนั ซง่ึ คา่ มมุ Azimuth ของเส้นท่ี 1 ได้จากการส่มุ ตวั อยา่ ง
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมูลท่ที าการสารวจ
ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมูลที่ทาการสารวจ แสดงรายละเอียดไว้ในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมูลทด่ี าเนินการสารวจ
รัศมีของวงกลม หรือ จานวน พื้นท่ี/ความยาว ขอ้ มลู ทท่ี าการสารวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮคแตร์ กล้าไม้ (Seedling)
0.631 1 วง 0.005 เฮคแตร์ ลกู ไม้ (Sapling) และการปกคลุมพนื้ ท่ี
3.99 ของกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling)
0.05 เฮคแตร์
12.62 1 วง 0.1 เฮคแตร์ ไผ่ หวายท่ยี งั ไม่เลื้อย และตอไม้
17.84 เมตร ตน้ ไมแ้ ละตรวจสอบปัจจัยทีร่ บกวนพน้ื ที่ปา่
17.84 1 วง
17.84 (เส้นตรง) 2 เส้น Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลือ้ ย
และไมเ้ ถาว์ท่ีพาดผ่าน
7
1. การคานวณเน้ือท่ปี ่าและปริมาณไม้ทงั้ หมด
1.1 ใช้ขอ้ มลู พืน้ ที่อนุรกั ษ์จากแผนท่แี นบท้ายกฤษฎีกา
1.2 พื้นที่ชนิดป่าได้จากสัดส่วนของชนิดป่าที่สารวจพบจากแปลงตัวอย่าง เปรียบเทียบกับจานวน
แปลงตวั อย่างทงั้ หมดในพื้นที่
1.3 ในกรณีท่ีไม่สามารถเข้าถึงแปลงตัวอย่างได้ ให้ประเมินสภาพพ้ืนท่ีของแปลงตัวอย่างน้ันๆ จาก
ภาพถ่ายดาวเทยี มหรอื ภาพถา่ ยทางอากาศ แลว้ นารวมกนั บสภาพพื้นท่เี ดียวกันเพือ่ คานวณเป็นเนอ้ื ที่ป่าแตล่ ะชนิด
1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพ้ืนท่ี เป็นการประมาณโดยประเมินจากสัดส่วนพื้นท่ีป่าท่ีสารวจพบและ
ขอ้ มูลพืน้ ท่ีจากแผนทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎกี า
2. การคานวณปรมิ าตรไม้
ในการคานวณหาปรมิ าตรไม้โดยใช้สมการปริมาตรไม้ที่ใช้ในการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพ้ืนท่ี
ปา่ ไม้ ของ ธัญนรินทร์ (2535) โดยแบง่ กลุ่มของชนดิ ไมเ้ ป็นจานวน 7 กลุ่ม ดงั นี้
สนสองใบ กลุ่มที่ 1 ไดแ้ ก่ ยาง เตง็ รงั เหยี ง พลวง กระบาก เคีย่ ม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม จันทน์กะพ้อ
ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กระพ้ีจ่ัน กระพ้ีเขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน
กระพี้ ถอ่ น แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื
ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอ้าย กระบก ตะคร้า ตะคร้อ
ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เล่ียน มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ต้ิว สะแกแสง ปู่เจ้า
และไม้สกลุ สา้ น เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
8
กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ และสกุล
ขเ้ี หล็ก
ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
กลมุ่ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เตมิ
ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
กลุม่ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สัก ตีนนก ผา่ เสีย้ น หมากเลก็ หมากนอ้ ย ไขเ่ นา่ กระจบั เขา กาสามปีก สวอง
ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
กลุม่ ที่ 7 ไดแ้ ก่ ไมช้ นดิ อ่นื ๆ เชน่ กุ๊ก ขวา้ ว ง้ิวป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน แสมสาร และ
ไม้ในสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เป็นตน้
ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คอื ปรมิ าตรส่วนลาตน้ เมือ่ ตัดโคน่ ทีค่ วามสงู เหนือพน้ื ดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร
ถึงกิ่งแรกท่ีทาเปน็ สนิ ค้าได้ มีหน่วยเปน็ ลูกบาศก์เมตร
DBH มหี นว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลท่วั ไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นาไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีตั้ง ตาแหน่ง ช่วงเวลาท่ีเก็บข้อมูล ผู้ที่ทาการเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับน้าทะเล และสภาพป่า เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้ประกอบในการวิเคราะห์และประเมินผล
ร่วมกับขอ้ มูลด้านอน่ื ๆ เพ่อื ตดิ ตามความเปลี่ยนแปลงของพ้นื ท่ีและทรัพยากรปา่ ไม้ในการสารวจครัง้ ต่อไป
4. การวเิ คราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมไู่ ม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร
4.3 ขอ้ มลู ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling)
4.4 ขอ้ มูลชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling)
9
5. การวเิ คราะหข์ ้อมูลชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
5.1 ความหนาแน่นของไม้ไผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
5.2 ความหนาแน่นของหวายเสน้ ต้งั (จานวนตน้ )
6. การวเิ คราะห์ข้อมูลสงั คมพชื
การวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในด้านความถ่ี (Frequency) ความหนาแน่น (Density) ความเด่น
(Dominance) และความสาคัญทางนิเวศวิทยา (Important Value Index, IVI) โดยมีรายละเอียดการวิเคราะห์
ข้อมลู ดงั น้ี
6.1) ความหนาแนน่ ของพรรณพืช (Density: D) คอื จานวนตน้ ทงั้ หมดของไม้แต่ละชนิด ท่ีพบใน
6.2) ความถี่ (Frequency: F) คือ อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบพันธุ์ไม้ชนิดน้ันต่อ
จานวนแปลงท้ังหมดท่ที าการสารวจ
Da = จำนวนต้นทงั้ หมดของไม้ชนดิ นั้น .
.
พ้นื ทแี่ ปลงตวั อยำ่ งทัง้ หมดทท่ี ำกำรสำรวจ
Fa = จำนวนแปลงตัวอย่ำงท่ีพบไม้ชนดิ ท่กี ำหนด X 100
จำนวนแปลงตวั อยำ่ งทั้งหมดทีท่ ำกำรสำรวจ
6.3) ความเด่น (Dominance: Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นที่หน้าตัด (Basal Area: BA) หมายถึง
พ้นื ท่หี นา้ ตดั ของตน้ ไมท้ ี่ระดบั 1.30 เมตร ตอ่ พนื้ ที่ทที่ าการสารวจ
Do = พ้ืนที่หน้ำตดั ทง้ั หมดของไมช้ นิดทกี่ ำหนด X 100
พืน้ ท่แี ปลงตัวอย่ำงทท่ี ำกำรสำรวจ
6.4) คา่ ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density: RD) คือ ค่าความสมั พัทธข์ องความหนาแน่นของ
ไมแ้ ต่ละชนิดต่อค่าความหนาแน่นของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ
RDa = ความหนาแนน่ ของไมช้ นิดนัน้ X 100
ความหนาแนน่ รวมของไม้ทุกชนิด
6.5) ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถ่ีของแต่ละชนิด
ไมต้ อ่ ค่าความถีท่ ้งั หมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ
RFa = ควำมถขี่ องไม้ชนดิ นั้น X 100
ควำมถร่ี วมของไม้ทุกชนิด
10
6.6) ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นในรูป
พ้ืนที่หน้าตัดของไมแ้ ตล่ ะชนิดต่อความเด่นรวมของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คดิ เปน็ ร้อยละ
RDoa = ควำมเด่นของไม้ชนดิ น้นั X 100
ควำมเด่นรวมของไม้ทุกชนิด
6.7) ค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index: IVI) คือ ผลรวมของค่าความ
สัมพัทธ์ต่างๆ ของชนิดไม้ในสังคมพืช ประกอบด้วย ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้าน
ความถ่ี และค่าความสมั พัทธด์ า้ นความเดน่
IVI = RD + RF + RDo
7. วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยทาการวเิ คราะหค์ ่าตา่ งๆ ดงั น้ี
7.1) ความหลากหลายของชนิดพนั ธุ์ (Species Diversity)
จากจานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏในสังคมและจานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความ
หลากหลายของ Shannon-Wiener Index of Diversity ตามวิธีการของ Kreb (1972) ซึ่งมีสูตรการคานวณ
ดังตอ่ ไปนี้
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คอื ค่าดัชนีความหลากชนิดของชนดิ พันธ์ุไม้
pi คอื สัดส่วนระหวา่ งจานวนตน้ ไม้ชนิดท่ี i ต่อจานวนตน้ ไมท้ ัง้ หมด
S คอื จานวนชนิดพันธไุ์ มท้ ง้ั หมด
7.2) ความร่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจานวนชนิดกับ
จานวนตน้ ทั้งหมดท่ีทาการสารวจ ซ่ึงจะเพมิ่ ขึ้นเมอ่ื เพิ่มพ้นื ท่ีแปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ารวยที่นิยมใช้กัน คือ
วิธีของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคานวณ
ดงั น้ี
(1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)
ln (n)
(2) Menhinick Index (R2)
R2 = S
√
11
เมอ่ื S คอื จานวนชนดิ ทั้งหมดในสงั คม
n คอื จานวนตน้ ท้ังหมดที่สารวจพบ
7.3) ความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า
ดชั นีความสม่าเสมอจะมีค่ามากที่สุดเมื่อทุกชนิดในสังคมมีจานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซ่ึงวิธีการที่นิยมใช้กันมากใน
หม่นู กั นิเวศวทิ ยา คอื วิธขี อง Pielou (1975) ซึ่งมีสูตรการคานวณดังนี้
E = H/ ln (S) = ln (N1)/ln (N0)
เม่อื H คือ ค่าดัชนคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จานวนชนิดทงั้ หมด (N0)
N1 คอื eH
1. แปลงตัวอยา่ ง
ทาการวางแปลงตวั อยา่ งแบบวงกลม ขนาด 0.1 เฮคแตร์ ระยะห่าง 2.5x2.5 กโิ ลเมตร กระจาย
ครอบคลุมพืน้ ท่ีอุทยานฯ (415,439 ไร่ หรอื 664.70 ตารางกิโลเมตร) จานวนท้งั ส้นิ 117 แปลง
ภาพที่ 2 พกิ ัดตาแหนง่ แปลงตัวอย่างของสานักบริหารพื้นทอ่ี นรุ ักษ์ท่ี 8 (ขอนแกน่ ) จานวน 17 แปลง
12
ภาพที่ 3 พกิ ัดตาแหนง่ แปลงตวั ของสานกั บรหิ ารพื้นท่ีอนุรักษท์ ่ี 10 (ขอนแกน่ ) จานวน 100 แปลง
ภาพท่ี 4 แปลงตวั อยา่ งทีไ่ ดด้ าเนนิ การสารวจในอุทยานแหง่ ชาตภิ พู า
13
2. ลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ
จากผลการสารวจ สามารถจาแนกลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ได้ 7 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่า
เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สวนยางพารา พื้นท่ีเกษตรกรรม หมู่บ้าน และแหล่งน้า แสดงดังภาพท่ี 5 โดยป่าเบญจพรรณพบ
มากทส่ี ุด มีพน้ื ที่ 278.04 ตารางกิโลเมตร (173,774.83 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 42.11 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมาคือ ป่า
เต็งรัง มีพื้นท่ี 208.53 ตารางกิโลเมตร (130,331.12 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 31.58 ของพื้นท่ีทั้งหมด พ้ืนที่
เกษตรกรรม มีพ้ืนท่ี 86.89 ตารางกิโลเมตร (54,304.63 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 13.16 ของพ้ืนที่ทั้งหมด ป่าดิบแล้ง
มีพ้ืนท่ี 69.51 ตารางกิโลเมตร (43,443.71 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 10.53 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด สวนยางพารา มีพื้นท่ี
11.58 ตารางกิโลเมตร (7,240.62 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 1.75 ของพื้นที่ท้ังหมด หมู่บ้านมีพ้ืนท่ี 5.79 ตารางกิโลเมตร
(3,620.31 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 0.88 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด และแหล่งน้าธรรมชาติมีพ้ืนที่ 4.36 ตารางกิโลเมตร
(2,723.78 ไร่) คิดเปน็ ร้อยละ 0.66 ของพ้ืนทที่ ้ังหมด แสดงดังตารางที่ 2
ภาพท่ี 5 พน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตภิ ูพานจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ
14
ตารางที่ 2 พื้นที่ปา่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ (Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ตร.กม. พ้ืนท่ี เฮคแตร์ รอ้ ยละ
(Landuse Type)
278.04 ไร่ 27,803.97 ของพืน้ ที่ทง้ั หมด
ปา่ เบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 208.53 20,852.98
ปา่ เต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) 86.89 173,774.83 8,688.74 42.11
พ้ืนทเ่ี กษตรกรรม (Agriculture) 69.51 130,331.12 6,950.99 31.58
ปา่ ดิบแลง้ (Dry Evergreen Forest) 11.58 54,304.63 1,158.50 13.16
สวนยางพารา (Rubber) 43,443.71 10.53
หม่บู า้ น (Village) 5.79 579.25 1.75
แหล่งนา้ ธรรมชาติ (Natural Water Resources) 4.36 7,240.62 435.80 0.88
3,620.31 0.66
รวม 664.70 2,723.78 66,470.24 100.00
415,439.00
หมายเหตุ
- เนอ้ื ทีป่ า่ แตล่ ะชนิด คานวณจากสดั สว่ นของข้อมลู แปลงตวั อยา่ งที่พบจากการสารวจภาคสนามและใชพ้ ้ืนท่แี นบทา้ ยกฤษฎกี าของอุทยานแห่งชาตภิ พู าน
เท่ากบั 664.70 ตารางกิโลเมตร หรอื 415,439 ไร่ ในการคานวณหาพ้นื ทชี่ นดิ ปา่
- พื้นที่แหลง่ น้าไดจ้ ากการ Digityze โดยกลุ่มสารวจฯ
15
ภาพที่ 6 ลกั ษณะของปา่ ดิบแล้งท่สี ารวจพบในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูพาน
16
ภาพที่ 7 ลักษณะของปา่ เบญจพรรณทีส่ ารวจพบในพ้ืนทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูพาน
17
ภาพที่ 8 ลกั ษณะของปา่ เตง็ รังท่สี ารวจพบในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูพาน
18
ภาพที่ 9 ลกั ษณะของพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมท่ีสารวจพบในพ้ืนท่อี ุทยานแหง่ ชาตภิ ูพาน
19
3. ปรมิ าณไม้
ในการประเมินปริมาณ ปริมาตรและความหนาแน่นของหมู่ไม้ในพื้นท่ีอุทยานฯ พบว่า ไม้ยืนต้นที่มี
ความสูงมากกวา่ 1.30 เมตร และมีขนาดเสน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) ต้งั แต่ 15 เซนตเิ มตรขึ้นไป มีจานวนมากกว่า
232 ชนิด รวม 40,938,376 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้ 7,383,794.29 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่นของหมู่ไม้เฉล่ีย
94.86 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉล่ีย 17.01 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ป่าเบญจพรรณเป็นป่าที่มีปริมาณไม้มากที่สุด
21,038,339 ตน้ รองลงมา ได้แก่ ป่าเตง็ รงั มีจานวน 14,799,482 ตน้ สาหรบั ปริมาตรไม้ พบว่า ป่าเบญจพรรณ
มีปริมาตรมากท่ีสุด 4,093,779.16 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา ได้แก่ ป่าเต็งรัง 1,815,621.76 ลูกบาศก์เมตร
แสดงดงั ตารางที่ 3 และ 4 ตามลาดับ
ตารางที่ 3 ปริมาณไม้ท้ังหมดจาแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ (Volume by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ปริมาณไม้ทง้ั หมด
(Landuse Type) จานวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)
ปา่ เต็งรงั (Dry Dipterocarp Forest) 21,038,339 4,093,779.16
ปา่ ดบิ แล้ง (Dry Evergreen Forest) 14,799,482 1,815,621.76
สวนยางพารา (Rubber)
4,764,590 1,459,836.49
รวม (Total) 335,965 14,556.88
40,938,376 7,383,794.29
ภาพที่ 10 ปริมาณไม้ท้ังหมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน
20
ภาพท่ี 11 ปริมาตรไมท้ ั้งหมดจาแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ตารางที่ 4 ความหนาแน่นและปรมิ าตรไม้ต่อหน่วยพนื้ ท่ีจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ิน
(Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความหนาแน่น ปริมาตร
ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮคแตร์
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮคแตร์
33.60 210.02
ปา่ ดิบแล้ง 109.67 685.45
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 121.07 756.67 23.56 147.24
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเตง็ รงั 113.55 709.71 13.93 87.07
(Dry Dipterocarp Forest)
สวนยางพารา 46.40 290.00 2.01 12.57
(Rubber)
94.86 592.87 17.01 106.29
รวม (Total)
21
ภาพท่ี 12 ความหนาแนน่ ต่อหนว่ ยพืน้ ท่ีจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน
ภาพท่ี 13 ปรมิ าตรไม้ต่อหนว่ ยพื้นที่จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในอุทยานแหง่ ชาติภูพาน 22
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไม้ (ตน้ ) ปริมาณไมท้ ง้ั หมด (ตน้ ) ร้อยละ (%)
67.53
15 – 45 ซม. 4,324 27,646,031 27.13
> 45 – 100 ซม. 1,737 11,105,725 5.34
> 100 ซม. 2,186,619 100.00
342
รวม 40,938,375
6,403
ภาพท่ี 14 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในอุทยานแหง่ ชาตภิ พู าน (ตน้ )
ภาพท่ี 15 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูพาน (ร้อยละ)
23
4. ชนิดพันธุไ์ ม้
พันธ์ุไม้จาแนกโดยเจ้าหน้าท่ีที่ทาการสารวจและคนในพื้นที่ท่ีมาช่วยเก็บข้อมูลซึ่ง มีความรู้และรู้จัก
ชนิดพันธุ์ไม้ประจาถิ่น ในกรณีที่ไม่สามารถจาแนกชนิดได้ จะทาการเก็บตัวอย่างชนิดพันธ์ุไม้น้ันๆ แล้วนามาให้
ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นพันธ์ุไม้ของสานกั หอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาตสิ ัตวป์ า่ และพนั ธ์ุพืช ช่วยจาแนกชื่อวิทยาศาสตร์
ท่ีถูกต้องใหต้ ่อไป
4.1 ผลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูพาน พบชนิดพันธ์ุไม้มากกว่า 50 วงศ์
มากกว่า 232 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 40,938,376 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 7,383,794.29 ลูกบาศก์เมตร
หมู่ไม้มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 94.86 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 17.01 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มี
ปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รัง (Shorea
siamensis) เต็ง (Shorea obtuse) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus)
เขลง (Dialium cochinchinense) กระบก (Irvingia malayana) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate)
ต้วิ ขน (Cratoxylum formosum) และ สมพง (Tetrameles nudiflora) แสดงในตารางท่ี 6
- ป่าดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 4,764,590 ต้น มีปริมาตร 1,459,836.49 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความ
หนาแน่นเฉล่ีย 109.67 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 33.60 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรมาก
10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เขลง (Dialium cochinchinense)
สมพง (Tetrameles nudiflora) กระบก (Irvingia malayana) ซ้อ (Gmelina arborea) ตะแบกเกรียบ
(Lagerstroemia balansae) ขว้าว (Haldina cordifolia) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตีนนก
(Vitex pinnata) และสะแกแสง (Cananga brandisiana) แสดงในตารางท่ี 7
- ป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 40,938,376 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 7,383,794.29
ลูกบาศกเ์ มตร มีคา่ ความหนาแนน่ เฉลย่ี 121.07 ตน้ ตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไม้เฉล่ีย 23.56 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มี
ปริมาตรมาก 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตะแบก
(Lagerstroemia cuspidate) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) กระบาก
(Anisoptera costata) มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) ตะเคียนหนู(Anogeissus acuminate) สมอพิเภก
(Terminalia bellirica) กระบก (Irvingia malayana) และสะแกแสง (Cananga brandisiana) แสดงใน
ตารางที่ 8
- ป่าเต็งรัง มีปริมาณไม้รวม 14,799,482 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,815,621.76 ลูกบาศก์เมตร มี
ค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 113.55 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 13.93 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรมาก 10
อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) เต็ง (Shorea obtuse) มะกอก
เกล้ือน (Canarium subulatum) แดง (Xylia xylocarpa) เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) สาธร
(Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) รักใหญ่ (Gluta usitata) และเหมือดโลด
(Polyosma elongate) แสดงในตารางท่ี 9
- สวนยางพารา มีปริมาณไม้รวม 335,965 ต้น คิดเป็นปริมาตรเท่ากับ 14,556.68 ลูกบาศก์เมตร มี
ค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 46.40 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 2.01 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีพบ คือ ยางพารา
(Hevea brasiliensis) เพียงชนดิ เดยี ว
24
- พ้ืนทีเ่ กษตรกรรม หมบู่ ้าน และแหลง่ น้าสารวจไม่พบไม้ต้น
4.2 ผลการสารวจชนิดลูกไม้ (Sapling) ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูพาน พบว่า มีมากกว่า 102 ชนิด
รวมทั้งสิ้น 68,058,843 ต้น มีความหนาแน่นของ 157.33 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ที่มีปริมาณมาก 10 อันดับแรก
ได้แก่ มะเกลือ (Diospyros mollis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) แดง (Xylia xylocarpa)
เส้ียวป่า (Bauhinia saccocalyx) ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii)
ติ้วขน (Cratoxylum formosum) เหมือดโลด (Polyosma elongate) มะนาวผี (Atalantia monophylla)
และหมกั มอ่ (Rothmannia wittii) แสดงดงั ตารางท่ี 10
4.3 ผลการสารวจชนิดของกลา้ ไม้ (Seedling) ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูพาน พบว่า มีมากกว่า 65
ชนิด รวมทั้งสิ้น 438,105,506 ต้น มีความหนาแน่น 1,028.15 ต้นต่อไร่ กล้าไม้ที่มีปริมาณมาก 10 อันดับ
แรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtuse) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia leucantha) รักใหญ่ (Gluta usitata)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) นมน้อย
(Polyalthia evecta) กระมอบ (Gardenia obtusifolia) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) และข่อย
(Streblus asper) แสดงในตารางที่ 11
4.4 ผลการสารวจชนิดไผ่ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูพานมี 5 ชนิด ได้แก่ ไผ่ซาง (Debdocalamus
strictus) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ป่า (Bambusa bambos)
และไผ่ซางดอย (Dendrocalamus membranaceus) มีปริมาณไม้ไผ่จานวน 1,149,488 กอ รวมทั้งสิ้น
14,674,319 ลา แสดงในตารางท่ี 12
4.5 ผลการสารวจตอไม้ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูพาน สารวจพบ 17 ชนิด รวมทั้งสิ้น 1,217,017 ตอ
มีความหนาแน่น 2.87 ตอต่อไร่ ชนิดตอไม้ที่พบมาก 3 อันดับแรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) แดง (Xylia
xylocarpa) และรัง (Shorea siamensis) ตามลาดับ แสดงในตารางท่ี 13
25
ตารางที่ 6 ปรมิ าณไม้ทัง้ หมดของอทุ ยานแห่งชาติภพู าน (30 ชนดิ แรกทีม่ ปี ริมาตรไม้สูงสดุ )
ลาดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณทงั้ หมด ปรมิ าตรทัง้ หมด ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 1,900,451 730,468.95 4.34
1,500,402 395,026.08 3.61 1.66
2 รัง Shorea siamensis 1,894,876 277,838.78 4.56 0.95
751,431 264,989.15 1.73 0.66
3 เตง็ Shorea obtusa 1,165,314 260,510.59 2.81 0.60
476,454 242,628.08 1.08 0.63
4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 412,157 222,110.38 0.96 0.56
66,200 221,022.09 0.15 0.51
5 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 1,966,359 210,147.87 4.46 0.49
57,173 174,283.28 0.13 0.48
6 เขลง Dialium cochinchinense 45,251 173,907.02 0.10 0.40
757,441 157,826.21 1.76 0.39
7 กระบก Irvingia malayana 1,793,983 143,512.46 4.22 0.37
593,472 132,363.41 1.36 0.33
8 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 973,458 130,742.67 2.27 0.31
452,186 129,211.67 1.04 0.30
9 ตว้ิ ขน Cratoxylum formosum 283,385 128,009.70 0.64 0.29
686,762 122,609.39 1.56 0.29
10 สมพง Tetrameles nudiflora 305,883 110,376.49 0.70 0.28
203,414 108,138.05 0.46 0.25
11 กระบาก Anisoptera costata 104,716 95,578.28 0.24 0.24
582,559 92,163.50 1.32 0.21
12 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum 1,839,455 83,746.82 4.19 0.21
748,927 82,811.12 1.70 0.19
13 แดง Xylia xylocarpa 930,888 72,072.91 2.10 0.19
12,753 68,668.97 0.03 0.16
14 ตีนนก Vitex pinnata 31,595 67,530.45 0.07 0.15
6,319 65,078.07 0.01 0.16
15 สาธร Millettia leucantha 236,328 63,820.89 0.53 0.15
324,442 62,220.16 0.74 0.15
16 สะแกแสง Cananga brandisiana 19,834,341 2,294,381 45.96 0.15
7,383,794.29 94.86 5.28
17 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 40,938,376 17.01
18 ขวา้ ว Haldina cordifolia
19 ขอี้ า้ ย Terminalia triptera
20 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata
21 สมอพิเภก Terminalia bellirica
22 คอแลน Nephelium hypoleucum
23 หมักมอ่ Rothmannia wittii
24 กระทมุ่ เนนิ Mitragyna rotundifolia
25 โมกมนั Wrightia arborea
26 ไทร Ficus annulata
27 ซ้อ Gmelina arborea
28 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae
29 ตะเคยี นทอง Hopea odorata
30 ง้วิ ป่า Bombax anceps
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : พนั ธ์ุไมท้ สี่ ารวจพบมากกวา่ 232 ชนดิ
26
ตารางที่ 7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดิบแลง้ ของอุทยานแหง่ ชาติภพู าน (30 ชนิดแรกท่ีมีปรมิ าตรไมส้ ูงสุด)
ลาดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 189,573 199,176.40 4.36
132,701 187,122.28 3.05 4.58
2 เขลง Dialium cochinchinense 50,553 106,106.25 1.16 4.31
94,786 103,852.32 2.18 2.44
3 สมพง Tetrameles nudiflora 31,595 67,530.45 0.73 2.39
6,319 65,078.07 0.15 1.55
4 กระบก Irvingia malayana 113,744 43,687.50 2.62 1.50
139,020 38,451.40 3.20 1.01
5 ซ้อ Gmelina arborea 132,701 37,186.54 3.05 0.89
82,148 34,639.42 1.89 0.86
6 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 714,057 28,936.68 16.44 0.80
31,595 27,842.77 0.73 0.67
7 ขว้าว Haldina cordifolia 6,319 27,362.90 0.15 0.64
18,957 22,044.62 0.44 0.63
8 คอแลน Nephelium hypoleucum 50,553 21,049.37 1.16 0.51
69,510 19,942.38 1.60 0.48
9 ตนี นก Vitex pinnata 25,276 18,628.57 0.58 0.46
69,510 17,708.12 1.60 0.43
10 สะแกแสง Cananga brandisiana 50,553 16,025.81 1.16 0.41
37,915 12,248.86 0.87 0.37
11 หมกั ม่อ Rothmannia wittii 44,234 12,108.44 1.02 0.28
113,744 11,450.95 2.62 0.28
12 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 31,595 10,958.30 0.73 0.26
44,234 10,865.76 1.02 0.25
13 ซาด Erythrophleum succirubrum 25,276 9,506.89 0.58 0.25
37,915 9,292.28 0.87 0.22
14 ยมหนิ Chukrasia tabularis 6,319 8,967.16 0.15 0.21
25,276 8,214.87 0.58 0.21
15 สาธร Millettia leucantha 69,510 7,962.37 1.60 0.19
6,319 7,693.83 0.15 0.18
16 ข้อี ้าย Terminalia triptera 2,312,785 268,194.92 53.24 0.18
1,459,836 109.67 6.17
17 มังตาน Schima wallichii 4,764,590 33.60
18 โมกมัน Wrightia arborea
19 ต้วิ ขน Cratoxylum formosum
20 พลับพลา Microcos tomentosa
21 แจง Maerua siamensis
22 อแี ปะ Vitex quinata
23 สม้ กบ Hymenodictyon orixense
24 ปอแกน่ เทา Grewia eriocarpa
25 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus
26 ค้างคาว Aglaia edulis
27 มะมอื Choerospondias axillaris
28 งิว้ ป่า Bombax anceps
29 ขอ่ ย Streblus asper
30 งวิ้ ป่า Bombax anceps
31 อนื่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : พันธไ์ุ มท้ ี่สารวจพบมากกว่า 125 ชนดิ
27
ตารางที่ 8 ปริมาณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอุทยานแห่งชาตภิ ูพาน (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาตรไม้สงู สุด)
ลาดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 1,330,619 501,445.45 7.66
66,200 221,022.09 0.38 2.89
2 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 450,160 216,586.25 2.59 1.27
1,615,278 173,881.20 9.30 1.25
3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 26,480 170,516.46 0.15 1.00
264,800 118,113.74 1.52 0.98
4 ติ้วขน Cratoxylum formosum 165,500 106,791.23 0.95 0.68
79,440 92,406.70 0.46 0.61
5 กระบาก Anisoptera costata 145,640 91,382.57 0.84 0.53
278,040 88,781.69 1.60 0.53
6 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa 211,840 85,853.89 1.22 0.51
357,480 79,347.19 2.06 0.49
7 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 536,219 77,257.47 3.09 0.46
615,659 73,742.03 3.54 0.44
8 สมอพิเภก Terminalia bellirica 6,620 68,177.03 0.04 0.42
6,620 68,177.03 0.04 0.39
9 กระบก Irvingia malayana 344,240 66,528.79 1.98 0.39
456,780 63,915.05 2.63 0.38
10 สะแกแสง Cananga brandisiana 562,699 59,325.51 3.24 0.37
337,620 55,288.67 1.94 0.34
11 ขอ้ี ้าย Terminalia triptera 1,125,399 54,810.14 6.48 0.32
443,540 53,712.10 2.55 0.32
12 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum 787,779 52,330.69 4.53 0.31
165,500 49,127.47 0.95 0.30
13 ขวา้ ว Haldina cordifolia 79,440 48,272.24 0.46 0.28
483,260 43,455.63 2.78 0.28
14 แดง Xylia xylocarpa 66,200 40,346.78 0.38 0.25
430,300 37,918.10 2.48 0.23
15 ไทร Ficus annulata 172,120 36,907.53 0.99 0.22
79,440 35,575.82 0.46 0.21
16 สมพง Tetrameles nudiflora 9,347,431 1,162,782.63 53.79 0.20
4,093,779.16 121.07 6.69
17 ตนี นก Vitex pinnata 21,038,339 23.56
18 สาธร Millettia leucantha
19 กระทมุ่ เนิน Mitragyna rotundifolia
20 เขลง Dialium cochinchinense
21 หมกั มอ่ Rothmannia wittii
22 คอแลน Nephelium hypoleucum
23 โมกมนั Wrightia arborea
24 มะค่าแต้ Sindora siamensis
25 เต็ง Shorea obtusa
26 กะหนาย Pterospermum littorale
27 มะกอก Spondias pinnata
28 พลับพลา Microcos tomentosa
29 อะราง Peltophorum dasyrachis
30 ฉนวน Dalbergia nigrescens
31 อื่นๆ Others
รวม
หมายเหตุ : พนั ธไ์ุ มท้ ส่ี ารวจพบมากกวา่ 186 ชนิด
28
ตารางท่ี 9 ปริมาณไม้ในป่าเตง็ รงั ของอุทยานแห่งชาตภิ พู าน (30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาตรไมส้ งู สุด)
ลาดบั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 รัง Shorea siamensis 1,447,442 377,920.42 11.11
1,165,314 260,510.59 8.94 2.90
2 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 1,815,436 229,566.54 13.93 2.00
355,727 76,301.07 2.73 1.76
3 เต็ง Shorea obtusa 1,153,047 67,899.27 8.85 0.59
435,459 62,080.07 3.34 0.52
4 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 466,125 45,778.25 3.58 0.48
275,995 38,896.00 2.12 0.35
5 แดง Xylia xylocarpa 141,064 38,298.98 1.08 0.30
637,856 33,549.48 4.89 0.29
6 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 67,466 31,370.35 0.52 0.26
398,660 30,984.88 3.06 0.24
7 สาธร Millettia leucantha 380,260 29,847.10 2.92 0.24
355,727 28,889.94 2.73 0.23
8 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 116,531 28,648.07 0.89 0.22
171,730 26,875.50 1.32 0.22
9 รกั ใหญ่ Gluta usitata 263,729 21,974.05 2.02 0.21
294,395 20,948.89 2.26 0.17
10 เหมือดโลด Polyosma elongata 116,531 20,499.96 0.89 0.16
300,528 20,240.86 2.31 0.16
11 ง้วิ ปา่ Bombax anceps 110,398 18,550.08 0.85 0.16
36,799 18,377.66 0.28 0.14
12 ต้ิวเกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 331,194 16,341.68 2.54 0.14
49,066 15,762.93 0.38 0.13
13 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 122,665 15,301.78 0.94 0.12
79,732 13,656.82 0.61 0.12
14 แครกฟา้ Heterophragma sulfureum 159,464 11,734.82 1.22 0.10
91,998 10,945.61 0.71 0.09
15 ตนี นก Vitex pinnata 171,730 1.32 0.08
239,196 9,437.99 1.84 0.07
16 กระบก Irvingia malayana 3,048,215 8,946.40 23.39 0.07
185,485.71 113.55 1.42
17 ยอป่า Morinda coreia 14,799,482 1,815,622.76 13.93
18 โลด Aporosa villosa
19 มะพอก Parinari anamense
20 ติ้วขน Cratoxylum formosum
21 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia
22 ส้มกบ Hymenodictyon orixense
23 พลองขไ้ี ต้ Memecylon pauciflorum
24 ตะครอ้ Schleichera oleosa
25 กุ๊ก Lannea coromandelica
26 กระทงลอย Crypteronia paniculata
27 แสลงใจ Strychnos nux-vomica
28 หวา้ Syzygium cumini
29 มะเคด็ Catunaregam tomentosa
30 ก่อหยมุ Castanopsis argyrophylla
31 อน่ื ๆ
Others
รวม
หมายเหตุ : พนั ธุ์ไมท้ ี่สารวจพบมากกวา่ 118 ชนดิ
29
ตารางท่ี 10 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ในอทุ ยานแหง่ ชาติภูพาน (30 ชนดิ แรกที่มีปริมาณมากสดุ )
ลาดับ ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณลกู ไมท้ งั้ หมด
จานวน (ต้น) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร)่
1 มะเกลอื Diospyros mollis 3,965,978 8.89
2 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 3,339,026 7.70
3 แดง Xylia xylocarpa 3,041,303 7.11
4 เสี้ยวป่า Bauhinia saccocalyx 3,045,197 6.81
5 ติว้ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense 2,359,833 5.63
6 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 2,365,143 5.33
7 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 2,124,239 5.04
8 คอแลน Nephelium hypoleucum 1,685,089 3.85
9 มะนาวผี Atalantia monophylla 1,721,198 3.85
10 หมกั มอ่ Rothmannia wittii 1,697,126 3.85
11 เหมอื ดโลด Polyosma elongata 1,614,110 3.85
12 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 1,359,046 3.26
13 ขา้ วหลามดง Goniothalamus laoticus 1,304,528 2.96
14 พลองขไี้ ต้ Memecylon pauciflorum 1,226,646 2.96
15 กอ่ หยมุ Castanopsis argyrophylla 1,103,981 2.67
16 กะหนาย Pterospermum littorale 1,161,508 2.67
17 ข่อย Streblus asper 1,137,435 2.67
18 จันดา Diospyros venosa 1,163,809 2.67
19 เตง็ Shorea obtusa 1,103,981 2.67
20 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei 1,172,128 2.67
21 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 1,191,599 2.67
22 ยอปา่ Morinda coreia 1,103,981 2.67
23 ขว้าว Haldina cordifolia 1,010,523 2.37
24 พลบั พลา Microcos tomentosa 1,033,710 2.37
25 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 1,059,199 2.37
26 ชะมวง Garcinia cowa 914,763 2.07
27 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 907,329 2.07
28 เข็มปา่ Ixora cibdela 758,290 1.78
29 ตะโกพนม Diospyros castanea 794,399 1.78
30 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 794,399 1.78
31 อืน่ ๆ Others 20,799,347 48.30
รวม 68,058,843 157.33
หมายเหตุ : พนั ธ์ุไม้ทส่ี ารวจพบมากกวา่ 102 ชนิด
30
ตารางท่ี 11 ชนิดและปริมาณของกลา้ ไม้ (Seedling) ในอทุ ยานแห่งชาติภูพาน (30 ชนดิ แรกทม่ี ีปริมาณมากสุด)
ลาดับ ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณกลา้ ไมท้ ง้ั หมด
1 เตง็ Shorea obtusa จานวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร่)
2 แดง Xylia xylocarpa
3 สาธร Millettia leucantha 46,612,542 112.59
4 รักใหญ่ Gluta usitata
5 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 29,186,383 68.15
6 ติว้ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense
7 นมนอ้ ย Polyalthia evecta 26,441,033 62.22
8 กระมอบ Gardenia obtusifolia
9 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 23,306,271 56.30
10 ขอ่ ย Streblus asper
11 ติ้วขาว Cratoxylum formosum 20,883,070 47.41
12 เขม็ ปา่ Ixora cibdela
13 หมกั ม่อ Rothmannia wittii 17,270,395 41.48
14 โมกมัน Wrightia arborea
15 จันดา Diospyros venosa 16,020,738 38.52
16 พลบั พลา Microcos tomentosa
17 มะเค็ด Catunaregam tomentosa 15,946,396 38.52
18 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
19 มะห้า Syzygium albiflorum 15,946,396 38.52
20 เสี้ยวป่า Bauhinia saccocalyx
21 มะเกลือ Diospyros mollis 15,165,803 35.56
22 มะนาวผี Atalantia monophylla
23 สะแกแสง Cananga brandisiana 12,266,459 29.63
24 ข้าวหลามดง Goniothalamus laoticus
25 ต้วิ ขน Cratoxylum formosum 11,915,988 26.67
26 กาสามปกี Vitex peduncularis
27 ตนี นก Vitex pinnata 11,915,988 26.67
28 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum
29 โมกใหญ่ Holarrhena pubescens 10,591,990 23.70
30 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa
31 อ่ืนๆ Others 10,531,808 23.70
รวม 10,411,444 23.70
6,522,641 14.81
6,327,935 14.81
6,133,229 14.81
6,133,229 14.81
5,295,995 11.85
5,295,995 11.85
5,295,995 11.85
5,003,936 11.85
4,906,583 11.85
3,717,109 8.89
3,679,938 8.89
3,679,938 8.89
3,679,938 8.89
3,679,938 8.89
74,340,403 171.85
438,105,506 1,028.15
หมายเหตุ : พนั ธุ์ไมท้ สี่ ารวจพบมากกวา่ 65 ชนิด
31
ตารางที่ 12 ชนดิ และปริมาณไมไ้ ผ่ (Bamboo) ในอทุ ยานแหง่ ชาติภูพาน
ลาดบั ชนิดไผ่ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไมไ้ ผ่ทงั้ หมด
1 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata จานวนกอ จานวนลา
2 ไผ่ป่า Bambusa bambos
3 ไผซ่ างดอย Dendrocalamus membranaceus 819,316 10,724,481
4 ซาง Dendrocalamus strictus
5 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 183,429 2,702,520
รวม 97,829 904,916
36,686 269,029
12,229 73,372
1,149,488 14,674,319
ตารางที่ 13 ชนิดและปริมาณของตอไม้ (Stump) ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ พู าน
ลาดบั ชนิดตอไม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณ ความหนาแน่น
(ตอ) (ตอ/ไร)่
1 เต็ง Shorea obtusa 0.80
2 แดง Xylia xylocarpa 331,194 0.62
3 รงั Shorea siamensis 267,473 0.41
4 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 171,730 0.24
5 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 98,132 0.12
6 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 51,013 0.09
7 อแี ปะ Vitex scabra 39,720 0.09
8 ปอเลียงฝา้ ย Eriolaena candollei 39,118 0.09
9 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 38,746 0.09
10 ตวิ้ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense 36,799 0.06
11 โมกมัน Wrightia arborea 26,480 0.06
12 ขว้าว Haldina cordifolia 26,480 0.06
13 ซาด Erythrophleum succirubrum 25,506 0.03
14 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotundifolia 13,240 0.03
15 มะกอก Spondias pinnata 13,240 0.03
16 ตะเคียนหิน Hopea ferrea 13,240 0.03
17 เมา่ ไขป่ ลา Antidesma ghaesembilla 12,638 0.03
รวม 12,266 2.87
1,217,017
32
5. สังคมพืช
ผลการสารวจสังคมพืชในอทุ ยานแหง่ ชาติภูพาน พบว่า มีสังคมพืช 3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่า
เบญจพรรณ และป่าเต็งรัง โดยมีผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชค่าความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และ
ดัชนีความสาคญั ของพรรณไม้ (IVI) ดงั นี้
5.1 ในอุทยานแห่งชาติภูพาน ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รัง (Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa) ติ้ว
ขน (Cratoxylum formosum) แดง (Xylia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) หมักม่อ
(Rothmannia wittii) พลวง (Dipterocarpus tuberculatusa) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) และสาธร
(Millettia leucantha) ตามลาดับ แสดงในตารางที่ 14
5.2 ป่าดิบแล้ง ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ หมักม่อ
(Rothmannia wittii) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เขลง (Dialium cochinchinense)
กระบก (Irvingia malayana) คอแลน (Nephelium hypoleucum) ตีนนก (Vitex pinnata) ขว้าว (Haldina
cordifolia) สมพง (Tetrameles nudiflora) อีแปะ (Vitex quinata) และเหมือดคนตัวผู้ (Helicia nilagirica)
ตามลาดบั แสดงในตารางท่ี 15
5.3 ป่าเบญจพรรณ ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) หมักม่อ (Rothmannia wittii) กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) โมกมัน (Wrightia arborea)
ขว้าว (Haldina cordifolia) แดง (Xylia xylocarpa) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) และมะกอกเกลื้อน (Canarium
subulatum) ตามลาดบั แสดงในตารางที่ 16
5.4 ป่าเต็งรัง ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus tuberculatusa) แดง (Xylia xylocarpa)
มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) เหมือดโลด (Polyosma elongata) สาธร (Millettia leucantha)
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และยอป่า (Morinda coreia)
ตามลาดับ แสดงในตารางท่ี 17
ตารางท่ี 14 ดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ในอุทยานแหง่ ชาติภพู าน (20 อนั ดับแรก)
33
ตารางที่ 15 ดชั นคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดิบแลง้ ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ พู าน (20 อนั ดับแรก)
34
ตารางที่ 16 ดชั นคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณในอทุ ยานแห่งชาตภิ พู าน (20 อนั ดับแรก)
35
ตารางที่ 17 ดชั นคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เตง็ รงั ในอทุ ยานแหง่ ชาติภพู าน (20 อนั ดับแรก)
36
37
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ
จากการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าเบญจพรรณมีค่าความหลากหลาย
ของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) และค่าความมากมาย (Species Richness) มากท่ีสุด ป่าดิบแล้งมีค่าความ
สม่าเสมอ (Species Evenness) มากท่ีสุด แสดงดังตารางที่ 18
ตารางที่ 18 ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธ์ุไม้อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูพาน
ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ ิน ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
(Landuse Type) ความหลากหลาย ความสมา่ เสมอ ความมากมาย
(Diversity) (Evenness) (Richness)
ปา่ ดิบแล้ง 4.09 0.85 18.66
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 4.26 0.81 22.85
(Mixed Deciduous Forest)
ป่าเต็งรัง 3.66 0.77 14.94
(Dry Dipterocarp Forest)
อุทยานแหง่ ชาติภูพาน 4.42 0.81 26.36
38
ในการสารวจไดท้ าการวางแปลงตัวอย่างถาวรจานวน 108 แปลง ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภูพานซึ่ง
มีเน้ือท่ีตามแผนที่แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาเท่ากับ 415,439 ไร่ หรือประมาณ 664.70 ตารางกิโลเมตรเพ่ือ
ประเมินสถานภาพและศักยภาพของพ้ืนที่ ได้แก่ เนื้อท่ีป่าแต่ละชนิด ชนิดไม้ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่
ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติของหมู่ไม้ โดยทาการวิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้
โปรแกรมระบบสารสนเทศการสารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สรุปผลได้
ดงั น้ี
1. ชนิดป่า
สารวจพบชนิดป่า 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ชนิดป่าท่ีพบมาก
ที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ 41.03 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าเต็งรัง คิดเป็นร้อยละ 30.77
และปา่ ดบิ แล้ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.26 ตามลาดบั
2. ชนดิ พนั ธุ์ไม้และความหนาแน่นตอ่ ไร่
พันธุ์ไม้ที่พบในแปลงสารวจ มีจานวน 52 วงศ์ มากกว่า 232 ชนิด และพบว่าชนิดป่าที่มีความ
หนาแน่นมากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ เท่ากับ 121.07 ต้นต่อไร่ คิดเป็นปริมาตร 23.56 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
รองลงมา ได้แก่ ป่าเต็งรัง เท่ากับ 113.55 ต้นต่อไร่ คิดเป็นปริมาตร 13.93 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ป่าดิบแล้ง
เทา่ กบั 109.67 ตน้ ต่อไร่ คิดเปน็ ปรมิ าตร 33.60 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ตามลาดับ
กล่าวได้ว่า ในอทุ ยานแห่งชาติภูพาน พบหมู่ไม้มีความหนาแนน่ โดยเฉล่ยี เทา่ กับ 94.86 ตน้ ต่อไร่ คิด
เป็นปรมิ าตรเฉลีย่ เท่ากับ 17.01 ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ชนดิ ไมท้ ่ีพบมาก 10 ลาดบั แรก ไดแ้ ก่ ต้วิ ขน (Cratoxylum
formosum) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เต็ง (Shorea obtusa) หมักม่อ (Rothmannia
wittii) แดง (Xylia xylocarpa) รัง (Shorea siamensis) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) สาธร (Millettia
leucantha) โมกมนั (Wrightia arborea) และเปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ตามลาดบั และชนิดไม้ท่ีมี
ปรมิ าตรมาก 10 ลาดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รัง (Shorea siamensis) เตง็
Shorea obtusa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) เขลง (Dialium
cochinchinense) กระบก (Irvingia malayana) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidate) ต้วิ ขน (Cratoxylum
formosum) และสมพง (Tetrameles nudiflora) ตามลาดบั
หมู่ไม้แบ่งตามขนาดความโตของเส้นรอบวง (GBH) ดังนี้ ไม้ท่ีมีขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร
มากกว่า 45-100 เซนติเมตรและมากกว่า 100 เซนติเมตร มีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 67.53, 27.13 และ 5.34
ตามลาดับ
ในการสารวจชนดิ ของลูกไม้ (Sapling) พบมากกว่า 102 ชนิด มีความหนาแน่นเฉล่ียเท่ากับ 157.33
ตน้ ตอ่ ไร่ โดยพบมากทีส่ ุดในปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าเตง็ รัง และป่าดบิ แลง้ ตามลาดบั
39
ในการสารวจชนิดของกล้าไม้ (Seedling) พบกล้าไม้มากกว่า 65 ชนิด มีความหนาแน่นเฉล่ียเท่ากับ
1,031.11 ต้นต่อไร่ โดยพบกล้าไม้มากทีส่ ุดในป่าเต็งรงั รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ และปา่ ดบิ แลง้ ตามลาดับ
ในการสารวจชนดิ ของไผ่ (Bamboo) พบในป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง มีจานวน 5 ชนิด ได้แก่ ไผ่
ซาง (Debdocalamus strictus) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่ป่า
(Bambusa bambos) และไผ่ซางดอย (Dendrocalamus membranaceus)
ชนดิ ของตอไม้ (Tree Stump) ที่สารวจพบมี 17 ชนิด ค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของตอไม้เท่ากับ 2.87
ตอตอ่ ไร่ โดยพบจานวนตอมากที่สุดในปา่ เต็งรัง รองลงมา ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ตามลาดบั
3. การประเมินสถานภาพของทรพั ยากรป่าไม้
ในการประเมนิ ทรัพยากรปา่ ไมใ้ นอุทยานแห่งชาติภูพาน พบว่า มีปริมาณไม้ท้ังสิ้น 40,938,376 ต้น คิด
เป็นปริมาตรไม้ท้ังสิ้น 7,383,794.29 ลูกบาศก์เมตร มีลูกไม้ (Sapling) จานวน 68,058,834 ต้น กล้าไม้ (Seedling)
จานวน 438,105,506 ต้น มีไผ่ (Bamboo) รวม 1,149,488 กอ รวมท้ังส้ิน 14,674,319 ลา และมีตอไม้
ประมาณ 1,217,017 ตอ
4. คา่ ดัชนีความสาคัญทางนิเวศวทิ ยา
จากการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถี่ (Frequency) มากที่สุด คือ ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) รองลงมา ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และ
มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) ชนิดไม้ที่มีควาหนาแน่นของพืชพรรณ (Density) มากที่สุด คือ เต็ง
(Shorea obtusa) รองลงมา คือ ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) ชนิดไม้ท่ีทีความเด่น (Dominance) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
รองลงมา คือ รัง (Shorea siamensis) และเต็ง (Shorea obtusa) ชนิดไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency)
มากที่สุด คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ชนิดไม้ที่มี
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สุด คือ เต็ง (Shorea obtusa) รองลงมา คือ ต้ิวขน
(Cratoxylum formosum) และตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ชนิดไม้ที่มีความเด่นสัมพัทธ์
(Relative Dominance) มากท่ีสุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คือ รัง
(Shorea siamensis) และเต็ง (Shorea obtusa)
จากการวเิ คราะห์ข้อมลู ค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สรุปไดด้ งั นี้
ในพ้ืนท่ีป่าของอุทยานแห่งชาติภูพาน ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญทางนิเวศวิทยา (IVI) มากท่ีสุด คือ
ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คอื รงั (Shorea siamensis) และเตง็ (Shorea obtusa)
ในพ้ืนที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ หมักม่อ
(Rothmannia wittii) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เขลง (Dialium cochinchinense)
กระบก (Irvingia malayana) และคอแลน (Nephelium hypoleucum)
40
ในพ้ืนท่ีป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ต้ิวขน (Cratoxylum formosum) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) หมักม่อ (Rothmannia wittii) และกระทมุ่ เนนิ (Mitragyna rotundifolia)
ในพื้นที่ป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa) พลวง (Dipterocarpus tuberculatusa) แดง (Xylia xylocarpa)
และมะกอกเกลือ้ น (Canarium subulatum)
5.ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายของชนิดพันธไ์ุ ม้ (Species Diversity) มากท่สี ดุ คือ ป่าเบญจพรรณ มีคา่ 4.26
รองลงมา คือ ป่าดบิ แล้ง มีคา่ 4.09 ความมากมายของชนิดพนั ธไ์ุ ม้ (Species Richness) มากทส่ี ุด คอื
ป่าเบญจพรรณ มคี ่า 22.85 รองลงมา คอื ป่าดิบแลง้ มีค่า 18.66 และค่าสมา่ เสมอของชนดิ พันธไ์ุ ม้ (Species
Evenness) มากทส่ี ุด คือ ปา่ ดิบแลง้ มคี ่า 0.85 รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ มีค่า 0.81
6. ขนาดความโตของตน้ ไมใ้ นปา่
โครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่า มีไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวง
เพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร มีจานวน 27,646,031 ต้น คิดเป็นร้อยละ 67.53 ของไม้ท้ังหมดไม้
ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจานวน 11,105,725 ต้น คิดเป็นร้อย
ละ 27.13 ของไม้ทั้งหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตรขึ้นไป มีจานวน
2,186,619 ตน้ คดิ เป็น รอ้ ยละ 5.34 ของไม้ทง้ั หมด
7. ปจั จยั ทม่ี ีผลกระทบต่อพืน้ ท่ีปา่
จากการสารวจผลกระทบที่เกิดขึ้นในแปลงตัวอย่าง พบว่า พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูพานมีปัญหาการ
บุกรุกพ้ืนท่ีป่า เพ่ือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินเป็นประเภทอ่ืนๆ ตามแนวเขตอุทยานฯ อีกท้ังยังพบ
รอ่ งรอยการกระทาผดิ เก่ยี วกบั การลกั ลอบล่าสัตว์ และเกบ็ หาของป่าในพ้นื ที่
41
1. ช่วงฤดูกาลที่เก็บข้อมูลภาคสนาม มีผลต่อปริมาณกล้าไม้ (Seedling) เช่น ในฤดูฝนมีโอกาสที่
จะพบกลา้ ไม้ (Seedling) มากกวา่ ในฤดูแล้ง ดงั นนั้ ขอ้ มลู กล้าไมจ้ ะมีความผนั แปรค่อนขา้ งสูงตามฤดูกาล อย่างไร
กต็ าม ควรให้ความสาคญั เกย่ี วกบั ปรมิ าณของกลา้ ไม้ เนอ่ื งจากเป็นตัวชวี้ ัดชนดิ หนึ่งในการบ่งบอกถึงชนิดพันธ์ุไม้ใน
ปา่ รวมถงึ แนวโน้มการสบื ต่อพนั ธใ์ุ นอนาคตของหม่ไู ม้
2. จากการศึกษาการกระจายของหมู่ไม้ พบว่า ร้อยละ 67.53 เป็นไม้ขนาดเล็กมีขนาดเส้นรอบวง
เพียงอก (GBH) เท่ากับ 15-45 เซนติเมตร และร้อยละ 27.13 เป็นไม้ขนาดกลางที่มีเส้นรอบวงเพียงอก
(GBH) > 45-100 เซนติเมตร และไม้ท่ีมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตร มีเพียงร้อยละ 5.34
แสดงว่าโครงสรา้ งของหมไู่ มส้ ่วนใหญ่เป็นไม้หน่มุ ซึ่งคาดวา่ ความเพ่ิมพูนรายปขี องป่าคอ่ นขา้ งสูงและโครงสร้างของ
ป่าจะเติบโตและพัฒนาเป็นป่าที่มีความสมบูรณ์ต่อไป ท้ังนี้ จะต้องคานึงถึงปัจจัยผลกระทบจากสภาพแวดล้อม
ประกอบดว้ ย
3. การคานวณปริมาณไม้ เน่ืองจากยังไม่มีพื้นที่ของแต่ละชนิดป่า จึงต้องใช้สัดส่วนของแปลงตัวอย่างท่ี
สารวจพบ เทียบกับพื้นท่ีแนบท้ายพระราชกฤษฎีกา แล้วนามาคูณกับความหนาแน่นเฉลี่ยของชนิดป่า ดังนั้น ใน
การนาข้อมูลไปใชอ้ ้างองิ ผใู้ ชต้ ้องทาความเขา้ ใจเกย่ี วกับความคลาดเคลอ่ื นท่ีเกิดขน้ึ ให้ถกู ต้องก่อน
42
ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน
1. การจาแนกชนดิ ไม้ต้นและไม้พืน้ ล่างในภาคสนาม ส่วนใหญ่อาศัยจากความรู้และประสบการณ์ของ
คนในพน้ื ที่ ซ่ึงเปน็ ชอ่ื ท้องถ่นิ จึงอาจเกดิ ปญั หาการไมส่ ามารถระบุชนิดพรรณไมไ้ ด้
2. ในการเดินทางเขา้ ไปยงั แปลงสารวจบางจุดพบสตั ว์ป่าขนาดใหญ่ เช่น ช้างกาลังหาอาหาร ทาให้
การทางานเกิดความลา่ ชา้ และอาจกอ่ ให้เกิดอนั ตรายได้
เพ่ือให้การดาเนินงานสารวจทรัพยากรป่าไม้ในโอกาสต่อไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน จึงมี
ข้อเสนอแนะดังนี้
1. ในการเข้าสารวจภาคสนาม ควรประสานแจ้งเจ้าหน้าที่ของอุทยานให้ทราบก่อน เพื่อจะได้วาง
แผนการเข้าถงึ จุดสารวจไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2. เพื่อให้การปฏิบัติงานภาคสนามเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะสารวจภาคสนามควรมีเจ้าหน้าท่ีท่ี
ชานาญเส้นทางและมคี วามรู้เกย่ี วกับพรรณไมใ้ นพ้ืนทด่ี ว้ ย
3. ควรวางแผนการสารวจภาคสนามใหเ้ สรจ็ ก่อนเข้าฤดูฝน เนือ่ งจากฤดูฝนเป็นอุปสรรคต่อการเข้าสู่
พืน้ ท่แี ละเกบ็ ข้อมูลสารวจ
4. ควรบันทึกภาพลักษณะเด่นของพันธุ์ไม้และเก็บตัวอย่างไม้ที่ไม่ทราบชนิด เพื่อส่งให้นักพฤกษศาสตร์
จาแนกชนดิ ต่อไป