รายงานการสารวจทรพั ยากรป่าไม้
อทุ ยานแห่งชาติภูเวียง
กลมุ่ งานวชิ าการ สานกั บรหิ ารพื้นทอี่ นุรกั ษ์ ที่ 8 (ขอนแกน่ )
สว่ นสารวจและวเิ คราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สานกั ฟืน้ ฟแู ละพฒั นาพน้ื ทีอ่ นุรักษ์
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธพ์ุ ืช
พ.ศ. 2560
บทสรปุ สาหรบั ผ้บู รหิ าร
กลุม่ งานวิชาการ สานักบริหารพน้ื ท่ีอนรุ ักษท์ ี่ 8 (ขอนแก่น) ไดด้ าเนนิ การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
ภาคสนามในบรเิ วณพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติภเู วยี ง ซึง่ ต้งั อยใู่ นเขตอาเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแกน่ ครอบคลุมพ้ืนที่
325 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 203,125 ไร่ ซึง่ ลักษณะภมู ิประเทศเปน็ เทอื กเขาสงู ภเู วียงมลี กั ษณะเป็นภเู ขารปู แอ่ง
คลา้ ยปล่องภูเขาไฟหรอื กระทะควา่ ลอ้ มรอบไปดว้ ยภเู ขารูปวงแหวน 2 ชั้น มีที่ราบลุ่มตอนกลาง บริเวณตีนเขา
บางแหง่ เปน็ หนา้ ผาสงู ชัน บนยอดเขาสามารถมองเห็นทวิ ทัศน์เบ้ืองล่างสวยงาม โดยทาการวางแปลงตวั อย่าง
ถาวร (Permanent Sample Plot) ทมี่ ขี นาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84
เมตร ตามลาดบั และมีวงกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตามทศิ หลักทงั้ 4 ทิศ จานวนท้งั สิน้ 51 แปลง
ผลการสารวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า อุทยานแห่งชาติภูเวียงมีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชน์ที่ดินอยู่ 5 ประเภท ไดแ้ ก่ ปา่ ดิบแล้ง ปา่ เบญจพรรณ ป่าเตง็ รงั ทงุ่ หญา้ ธรรมชาติ และแหล่งน้า
โดยปา่ ดิบแลง้ พบมากสดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 41.18 ของพื้นท่ีท้ังหมด รองลงมาเปน็ ป่าเบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ
35.29 ของพนื้ ทีท่ ง้ั หมด ปา่ เตง็ รัง คดิ เป็นร้อยละ 15.69 ของพน้ื ทที่ ้งั หมด ทุ่งหญ้าธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 5.88
ของพื้นที่ทัง้ หมด และลาดบั สดุ ทา้ ย แหลง่ นา้ คิดเปน็ ร้อยละ 1.96 ของพ้ืนท่ที ั้งหมด
สาหรบั พรรณไมร้ วมทกุ ชนิดป่าพบทง้ั สน้ิ 60 วงศ์ มมี ากกว่า 190 ชนดิ 25,063,235 ต้น คดิ เปน็
ปริมาตรไม้รวมทัง้ หมด 3,069,946.17 ลูกบาศก์เมตร มคี วามหนาแนน่ ของต้นไมเ้ ฉลี่ย 123.39 ต้นต่อไร่ ซึ่งเมอ่ื
เรียงลาดับจากจานวนต้นที่พบมากทสี่ ุดไปหานอ้ ยที่สดุ 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia
duperreana) ตะเคยี นหนิ (Hopea ferrea) หวา้ หนิ (Syzygium claviflorum) กระเบากลกั (Hydnocarpus
ilicifoli) กระเบาใหญ่ (Hydnocarpus anthelminthicus) พลองเหมอื ด (Memecylon edule) แดงคลอง
(Syzygium syzygioides) พลับพลา (Microcos tomentosa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
และเขลง (Dialium cochinchinense) โดยปริมาณไม้พบมากสดุ ในปา่ ดบิ แลง้ รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ
กล้าไม้ (Seedling) ที่สารวจพบมีมากกว่า 53 ชนิด จานวนรวมทั้งส้ิน 387,633,053 ต้น
มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 1,913.47 ต้นต่อไร่ โดยกล้าไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สาธร (Mallotus
philippensis) หว้าหิน (Syzygium claviflorum) ปอพราน (Syzygium claviflorum) กรวยป่า (Horsfieldia
macrocoma) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx) อะราง (Peltophorum
dasyrachis) และตะโกพนม (Diospyros castanea) โดยพบกล้าไมม้ ากที่สุดในป่าดิบแล้ง รองลงมา คือ ป่า
เตง็ รัง
ลกู ไม้ (Sapling) ท่ีสารวจพบมีมากกว่า 94 ชนดิ รวมทัง้ สิ้น 26,480,886 ต้น มีความหนาแน่น
ของลูกไม้ 129.96 ต้นต่อไร่ ชนิดลกู ไม้ทม่ี ปี ริมาณมากท่สี ดุ 10 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ ตะเคยี นหนิ (Hopea ferrea)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สาธร (Millettia leucantha) เสี้ยวป่า (Bauhinia saccocalyx)
พลองเหมือด (Memecylon edule) แดง (Xylia xylocarpa) ตะโกพนม (Diospyros castanea) พลบั พลา (Microcos
tomentosa) แดงคลอง (Syzygium syzygioides) และกระเบากลกั (Hydnocarpus ilicifoli) โดยสารวจพบ
จานวนลกู ไมม้ ากท่ีสดุ ในป่าดิบแล้ง รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
ไผ่ (Bamboo) ท่ีพบในแปลงสารวจมี 3 ชนดิ คือ ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) โจด
(Vietnamosasa ciliata) ไผซ่ างนวล (Dendrocalamus membranaceus) ปรมิ าณไม้ไผ่จานวน 2,740,196 กอ
รวมท้งั สน้ิ จานวน 55,393,852 ลา โดยพบในป่าเบญจพรรณและป่าเตง็ รัง
ตอไม้ (Stump) ที่สารวจพบ มมี ากกว่า 12 ชนดิ จานวน 675,490 ตอ เปน็ ตอใหม่ 1 ตอ มีความ
หนาแนน่ ของตอไม้เฉลยี่ 3.33 ตอตอ่ ไร่ โดยชนดิ ไม้ท่มี ีปรมิ าณตอมากท่ีสดุ 10 อนั ดับแรก ได้แก่ ตะเคียนหิน
(Hopea ferrea) แดง (Xylia xylocarpa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) รัง (Shorea siamensis) ตะแบกเปลือกบาง
(Lagerstroemia duperreana) เต็ง (Shorea obtusa) แสมสาร (Senna garrettiana) พะยงู (Dalbergia
cochinchinensis) ตนี นก (Vitex pinnata) และกระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) ชนิดป่าที่สารวจพบ
ตอไมม้ ากที่สุด คือ ปา่ ดบิ แลง้ มีจานวน 331,373 ตอ รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ มีจานวน 203,922 ตอ
ป่าเตง็ รงั มจี านวน 127,451 ตอ และท่งุ หญา้ ธรรมชาติ 12,745 ตอ
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลสังคมพืช พบว่าชนิดพันธ์ุไม้ที่มีความถ่ี (Frequency) มากทสี่ ุด คือ ตะแบกเปลอื กบาง
(Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คอื พลบั พลา (Microcos tomentosa) ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ที่มคี วามหนาแนน่
ของพืชพรรณ (Density) มากทีส่ ดุ คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คอื ตะเคยี นหิน
(Hopea ferrea) ชนดิ พันธุ์ไม้ทมี่ ีความเดน่ (Dominance) มากทีส่ ดุ คอื ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) รองลงมา คือ ตะเคยี นหิน (Hopea ferrea) ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ทีม่ ีความถสี่ มั พทั ธ์ (Relative Frequency)
มากท่สี ดุ คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ชนดิ พันธุ์ไม้ทมี่ คี วามหนาแนน่ สมั พทั ธ์
(Relative Density) มากที่สดุ คอื ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และชนดิ พนั ธ์ุไม้ทมี่ ีความ
เด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากทส่ี ุด คือ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana)
ชนดิ พันธ์ุไม้ที่มดี ชั นีความสาคญั ทางนเิ วศวิทยา (Importance Value Index : IVI) มากทสี่ ดุ คอื
ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คอื ตะเคียนหนิ (Hopea ferrea) โดยในพน้ื ที่
ปา่ ดบิ แลง้ ชนดิ ไม้ที่มคี า่ ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (IVI) มากทส่ี ุด คอื ตะเคยี นหนิ (Hopea ferrea) รองลงมา
คือ กระเบากลกั (Hydnocar pusilicifoli) ในพื้นทีป่ ่าเบญจพรรณ ชนิดไม้ทมี่ ีค่าดชั นีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI)
มากทีส่ ุด คือ ตะแบกเปลอื กบาง (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คอื กาสามปกี (Vitex peduncularis)
ในพน้ื ท่ีปา่ เตง็ รงั ชนดิ ไมท้ ีม่ ีค่าดชั นคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (IVI) มากท่ีสุด คอื รงั (Shorea siamensis) รองลงมา
คอื ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) และในพื้นทท่ี ุง่ หญา้ ธรรมชาติ ชนดิ ไม้ทมี่ คี ่าดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้
(IVI) มากท่สี ดุ คือ แดงคลอง (Syzygium syzygioides) รองลงมา คือ หว้าหนิ (Syzygium claviflorum)
การวเิ คราะห์ข้อมูลเกยี่ วกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ พบวา่ ชนดิ ป่าหรอื ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์
ทีด่ ินทม่ี คี วามหลากหลายของชนิดพนั ธุไ์ ม้ (Species Diversity) มากทส่ี ดุ คอื ป่าดบิ แลง้ รองลงมา คอื ปา่ เบญจพรรณ
ชนดิ ปา่ หรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินท่ีมคี วามมากมายของชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ (Species Richness) มากทสี่ ุด คือ
ปา่ ดิบแลง้ รองลงมา คอื ป่าเบญจพรรณ และชนิดปา่ หรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินที่มีความสมา่ เสมอของ
ชนิดพนั ธ์ุไม้ (Species Evenness) มากทสี่ ุด คอื ทุ่งหญา้ ธรรมชาติ รองลงมา คือ ป่าเต็งรงั
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู โครงสรา้ งปา่ ในทกุ ชนิดป่าหรอื ทกุ ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ พบวา่ มีไมย้ นื ต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนตเิ มตร จานวน 18,340,196 ต้น คิดเป็นรอ้ ยละ 73.18 ของไม้
ทง้ั หมด ไม้ยนื ต้นขนาดเสน้ รอบวงเพยี งอก (GBH) อยูร่ ะหว่าง >45-100 เซนติเมตร มจี านวน 5,926,471 ต้น
คิดเป็นรอ้ ยละ 23.65 ของไมท้ ั้งหมด และไม้ยนื ตน้ ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกวา่ 100 เซนติเมตรขึ้นไป
จานวน 796,569 ต้น คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.18 ของไม้ทั้งหมด
จากผลการดาเนนิ งานดงั กลา่ ว ทาให้ทราบขอ้ มลู พนื้ ฐานเกย่ี วกบั ทรพั ยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาลงั ผลติ และความหลากหลายของพันธพ์ุ ืชในพนื้ ทต่ี า่ งๆ ของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู วยี ง อกี ทงั้ ยงั เปน็ แนวทางใน
การสารวจทรัพยากรปา่ ไมเ้ ก่ียวกบั รปู แบบ วิธีการสารวจ และการวเิ คราะหข์ อ้ มลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผนเพอ่ื
เป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรปา่ ไมใ้ นพื้นที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี งต่อไป
สารบญั i
สารบญั หน้า
สารบญั ตาราง i
สารบญั ภาพ iii
คานา iv
วตั ถุประสงค์ 1
เปา้ หมายดาเนินการ 2
ข้อมูลทัว่ ไปอทุ ยานแหง่ ชาติภูเวียง 2
3
ประวัติความเป็นมา 3
ทตี่ ้งั และอาณาเขต 4
ลักษณะภูมปิ ระเทศ 4
ลักษณะภูมอิ ากาศ 5
ลกั ษณะทางธรณีวิทยา 5
ลักษณะทางนิเวศวิทยา 6
จดุ ทน่ี ่าสนใจในอุทยานแหง่ ชาตภิ เู วียง 6
รูปแบบและวิธกี ารสารวจทรพั ยากรป่าไม้ 9
การส่มุ ตัวอย่าง (Sampling Design) 9
รูปร่างและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ท่ีทาการสารวจ 10
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้ 10
1. การคานวณเน้ือท่ีปา่ และปริมาณไม้ทัง้ หมดของแต่ละพนื้ ทอ่ี นุรกั ษ์ 11
2. การคานวณปรมิ าตรไม้ 11
3. การวเิ คราะห์ข้อมูลท่ัวไป 11
4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู องคป์ ระกอบของหมไู่ ม้ 12
5. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 12
6. การวเิ คราะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย 12
7. การวเิ คราะหข์ ้อมลู สงั คมพืช 12
8. การวิเคราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ 12
9. การศึกษาคุณคา่ ทางนิเวศวิทยา 13
10. การประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ 14
ผลการสารวจและวเิ คราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 15
1. การวางแปลงตัวอย่าง 16
2. พ้นื ท่ีป่าไม้ 16
3. ปริมาณไม้ 17
4. ชนดิ พนั ธุ์ไม้ 23
27
สารบญั (ต่อ) ii
5. สงั คมพืช หน้า
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 36
สรปุ ผลการสารวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู ทรัพยากรป่าไม้ 43
ปัญหาและอปุ สรรค 44
ข้อเสนอแนะ 48
เอกสารอ้างอิง 48
ภาคผนวก 49
50
iii
สารบญั ตาราง
ตารางที่ ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ท่ดี าเนินการสารวจ หน้า
1 พื้นท่ีปา่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ในอุทยานแหง่ ชาตภิ เู วยี ง (Area by Landuse Type) 10
2 ปรมิ าณไมท้ ้ังหมดจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี ง 18
3 (Volume by Landuse Type) 23
ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไมต้ ่อหน่วยพืน้ ท่จี าแนกตามชนิดป่าในอุทยานแหง่ ชาติภเู วยี ง
4 (Density and Volume per Area by Landuse Type) 25
การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาติภเู วยี ง
5 ปริมาณไม้ทง้ั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี ง (30 ชนิดแรกท่ีมีปริมาตรไมส้ ูงสดุ ) 26
6 ปริมาณไม้ในป่าดิบแล้งของอุทยานแห่งชาตภิ ูเวียง (30 ชนดิ แรกท่ีมีปริมาตรไมส้ ูงสุด) 29
7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอทุ ยานแหง่ ชาติภเู วยี ง (30 ชนิดแรกท่มี ปี ริมาตรไม้สงู สดุ ) 30
8 ปริมาณไมใ้ นป่าเต็งรังของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ งู สดุ ) 31
9 ปริมาณไม้ในทุ่งหญา้ ธรรมชาตขิ องอุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี ง 32
10 ชนิดและปรมิ าณไมไ้ ผ่ของอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวยี ง 33
11 ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ (Seedling) ทีพ่ บในอทุ ยานแห่งชาตภิ เู วยี ง (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาณสูงสดุ ) 33
12 ชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ทพี่ บในอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวียง 34
13 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอทุ ยานแห่งชาติภเู วยี ง 35
14 ดัชนีความสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ท้งั หมด 36
15 ในอุทยานแหง่ ชาติภูเวยี ง (20 อนั ดบั แรก) 38
ดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแลง้
16 ในอทุ ยานแหง่ ชาติภูเวียง (20 อนั ดับแรก) 39
ดัชนคี วามสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ
17 ในอุทยานแหง่ ชาติภูเวยี ง (20 อันดับแรก) 40
ดัชนีความสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เต็งรัง
18 ในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง (20 อันดับแรก) 41
ดชั นีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของทุง่ หญ้าธรรมชาติ
19 ในอทุ ยานแหง่ ชาติภเู วยี ง (20 อันดบั แรก) 42
ความหลากหลายทางชีวภาพของชนดิ พนั ธุ์ไม้อุทยานแหง่ ชาติภูเวียง
20 43
สารบญั ภาพ iv
ภาพที่ หน้า
1 หลุมขุดค้นกระดูกไดโนเสาร์ 7
2 น้าตกตาดฟ้า 7
3 น้าตกทับพญาเสือ 8
4 ถ้าฝา่ มือแดง 8
5 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง 9
6 แผนที่แสดงขอบเขตและลักษณะภมู ิประเทศของอทุ ยานแหง่ ชาติภเู วียง 16
7 แปลงตวั อย่างท่ีไดด้ าเนินการสารวจภาคสนามในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู วียง 17
8 พ้ืนที่ปา่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ในพน้ื ที่อุทยานแห่งชาติภเู วียง 18
9 ลกั ษณะทว่ั ไปของป่าดิบแลง้ ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูเวยี ง 19
10 ลักษณะทัว่ ไปของป่าเบญจพรรณในพื้นทีอ่ ุทยานแห่งชาติภเู วียง 20
11 ลักษณะทั่วไปของป่าเตง็ รงั ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูเวยี ง 21
12 ลักษณะทวั่ ไปของทุ่งหญ้าธรรมชาติในพ้นื ที่อุทยานแห่งชาติภเู วียง 22
13 ลกั ษณะทั่วไปของแหล่งน้าในพื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตภิ เู วียง 23
14 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดทพี่ บในพนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาติภเู วยี ง 24
15 ปริมาตรไม้ทงั้ หมดที่พบในพืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติภเู วียง 24
16 ความหนาแน่นต้นไม้ (ต้น/ไร่) ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติภเู วียง 25
17 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพน้ื ทแ่ี ต่ละประเภทในพืน้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาติภูเวียง 26
18 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาติภูเวียง 26
1
คานา
ปัจจบุ ันประเทศไทยมพี ้ืนทปี่ า่ ไม้เหลอื อยู่ 102,240,981.84 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณร้อยละ
31.60 ของพน้ื ทปี่ ระเทศไทย (ท่มี า : หนังสือขอ้ มลู สถติ ิอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธพุ์ ชื , 2560) ทงั้ นเ้ี พ่อื ให้การ
ดาเนินงานของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธพ์ุ ชื ทจ่ี ะตอ้ งดาเนินการอนรุ กั ษส์ งวนและฟน้ื ฟูความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ มกี ารพัฒนาการใชท้ รัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยนื จงึ จาเป็นทจี่ ะตอ้ งทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของ
ทรพั ยากร โดยเฉพาะทรพั ยากรปา่ ไม้ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพทม่ี อี ยใู่ นพน้ื ทป่ี า่ ไม้ ตลอดจนปจั จยั ทาง
เศรษฐกจิ และสังคมท่มี ผี ลตอ่ การบุกรุกทาลายปา่ เพ่ือนามาใช้ในการดาเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ส่วน
สารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สานกั ฟนื้ ฟแู ละพฒั นาพื้นท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
จึงไดด้ าเนนิ การสารวจพ้นื ทปี่ า่ ของจงั หวดั ต่างๆ ทวั่ ประเทศ เพือ่ รวบรวมเปน็ ฐานข้อมลู ในการดาเนนิ งานในกจิ กรรม
ที่มคี วามเกยี่ วข้องกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้งั ใชใ้ นการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้
และทรัพยากรอนื่ ๆ ที่เก่ียวข้อง เพอื่ นาไปพฒั นาการอนุรกั ษห์ รอื ใช้เปน็ ต้นแบบในการดาเนินการในพืน้ ท่ีอน่ื ๆ ตอ่ ไป
การสารวจทรัพยากรป่าไม้พื้นที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากรป่าไม้ และเพื่อติดตั้งระบบติดตามความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งทรัพยากรอื่น
ท่ีเกี่ยวข้อง ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณในการดาเนินงานและกาหนดจุดสารวจเป้าหมาย โดยส่วนสารวจและ
วิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักพื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ซึ่งดาเนินงานดังกล่าวสอดคล้องกับภารกิจของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่จะต้องดาเนินการ
อนรุ ักษ์ สงวนและฟนื้ ฟคู วามหลากหลายทางชวี ภาพ ใหม้ ีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อทราบขอ้ มลู พน้ื ฐานเกี่ยวกบั ทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะดา้ นกาลังผลิตและความหลากหลายของ
พืชพันธุ์ในพื้นท่ีต่างๆ ของประเทศไทย สาหรับรูปแบบและวิธีการสารวจแบบแปลงตัวอย่าง (Plot) และวิธีสุ่ม
ตัวอยา่ งแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ภาพถ่ายดาวเทียมที่แปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละ
แปลงตัวอยา่ งมีระยะห่างเทา่ ๆ กัน บนเส้นกริดแผนที่ (Grid) ได้แก่ 10x10 กิโลเมตร, 5x5 กโิ ลเมตร, 3x3 กโิ ลเมตร
, และ 2.5x2.5 กิโลเมตร แตกตา่ งกันไปตามปีงบประมาณ และพ้นื ทที่ ไี่ ด้รับการสุ่มโดยระบบ Datum ของแผนที่
สารวจ ส่วนใหญ่จะเป็น Indian Thailand 1975 ส่วนปีงบประมาณท่ีใช้ระบบ Datum เป็น WGS 84 คือ ตั้งแต่
ปีงบประมาณ 2555 เปน็ ต้นไป
2
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้ ปริมาณและกาลังผลิตของไม้ในพ้ืนที่
รวมถงึ ความหลากหลายของชนดิ พนั ธพุ์ ืชหรอื การสืบพันธ์ตุ ามธรรมชาตขิ องหมู่ไมใ้ นพื้นที่
2. เพอ่ื นาข้อมลู ที่ไดไ้ ปใช้ในการประเมินมลู คา่ ทรพั ยากรปา่ ไม้ และมูลค่าความเสยี หายหรอื สญู เสยี กรณีที่
มกี ารดาเนินงานหรือโครงการต่างๆ ซ่ึงอาจสง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรในพน้ื ทีอ่ นรุ ักษ์
3. เพ่ือตดิ ตั้งแปลงตวั อยา่ งและเปน็ แนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ ในพื้นท่ี
อุทยานแหง่ ชาติภูเวียง
4. เพื่อใหท้ ราบขอ้ มูลเกีย่ วกับแมไ่ ม้ (Plus Tree) ในกรณตี ้องการเมลด็ หรือกล้าไมส้ าหรับนามาเพาะชาเพ่ือ
แจกจา่ ยและทาการปลกู เสรมิ ในพนื้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาติภูเวยี งต่อไป
เปา้ หมายการดาเนนิ งาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 สว่ นสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพื้นท่ีสารวจ
เปา้ หมายในพื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง ในท้องที่ตาบลในเมือง อาเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น ซึ่งอยู่ในความ
ดแู ลรับผิดชอบของสานักบริหารพนื้ ท่อี นรุ กั ษท์ ี่ 8 (ขอนแกน่ ) รวมท้งั สิ้น 51 แปลง
การสารวจใชก้ ารวางแปลงตวั อย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วงซ้อน
กัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตรตามลาดบั และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักทั้ง
4 ทศิ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทง้ั 4 ทศิ จะอยบู่ นเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร จานวนทั้งส้ิน 51 แปลง
และทาการเก็บข้อมูลการสารวจทรพั ยากรป่าไม้ตา่ งๆ อาทิ เช่น ชนดิ ไม้ ขนาดความโต ความสูง จานวนกล้าไม้
และลกู ไม้ ชนิดปา่ ลักษณะตา่ งๆ ของพนื้ ท่ที ตี่ น้ ไมข้ ึ้นอยู่ ข้อมลู ลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสงู ความลาด
ชัน เปน็ ต้น ตลอดจนการเกบ็ ข้อมลู องคป์ ระกอบรว่ มของป่า เช่น ไมไ้ ผ่ หวาย ไม้พมุ่ เถาวัลย์ และพืชชนั้ ลา่ ง แลว้
นามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้
กาลงั ผลติ ของป่า ตลอดจนการสบื พนั ธุ์ตามธรรมชาตขิ องหมูไ่ ม้ในปา่ นั้น
3
ขอ้ มลู ทั่วไปอุทยานแห่งชาตภิ ูเวียง
ประวตั ิความเป็นมา
คาวา่ “ภูเวียง” เป็นท้องท่ีอาเภอที่เก่าแก่ของจังหวัดขอนแก่นอาเภอหน่ึง และยังเป็นช่ือเรียกของ
เทอื กเขา ซึ่งปจั จุบันได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดพื้นท่ีป่าภูเวียงให้เป็นอุทยานแห่งชาติ อยู่ในท้องท่ีอาเภอภูเวียง
อาเภอสีชมพู อาเภอชุมแพ อาเภอเวียงเก่า และอาเภอหนองนาคา จังหวัดขอนแก่น มีหลักฐานว่าป่าภูเวียงเคย
เปน็ แหล่งชุมชนโบราณท่ีมีอารยธรรมเม่ือหลายพันปีล่วงมาแล้ว มีการขุดพบกระดูกมนุษย์โบราณ เคร่ืองมือ
เครอ่ื งใช้ โลหะสาริด พระนอนสมยั ทวารวดี รวมทั้งภาพเขียนสสี มัยกอ่ นประวัติศาสตรท์ ี่ถ้า (หลบื เงนิ ) บนเทือกเขาภู
เวียง นอกจากน้นั เมอื่ ประมาณปี พ.ศ. 2519 มกี ารคน้ พบรอยเท้าและซากกระดูกไดโนเสาร์ และสัตว์โลกดึก
ดาบรรพอ์ ายเุ กอื บ 200 ล้านปี ซึง่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยและเสด็จ
ทอดพระเนตร เม่ือวนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2532
ปา่ ภูเวียงได้ประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 64 พ.ศ. 2508 ลงวันที่ 24 มิถุนายน
2508 และไดเ้ ปดิ การทาไม้ในพนื้ ท่ดี งั กลา่ วตามเงือ่ นไขของรฐั บาล โดยมีบริษัทขอนแก่นทาไม้เป็นผู้รับสัมปทาน
จากการท่ีพลเอกหาญ ลนี านนท์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เดินทางไปตรวจราชการและทา
การบินตรวจสภาพปา่ ทางอากาศ เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2530 พบว่า สภาพป่าบางส่วนมีสภาพสมบูรณ์ดี จึง
ดารใิ หส้ งวนปา่ ท่ีสมบูรณ์ไว้เป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ และใหจ้ ัดเจ้าหนา้ ท่อี อกตรวจสอบและติดตามผลการทาไม้ตาม
เง่ือนไขสัมปทาน ในส่วนที่ได้ผ่านการทาไม้แล้วและท่ีกาลังดาเนินการทาไม้อยู่ ผลการตรวจสอบโดยคณะ
เจ้าหน้าที่จาก กอ.รมน.ภาค 2 และเจ้าหน้าที่ป่าไม้จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2530 ปรากฏว่า
การทาไม้ในป่าสัมปทานโครงการภเู วยี ง (ขก. 2) ตอน 7 แปลง 21 โดยบริษัทขอนแก่นป่าไม้ ได้ดาเนินการทาไม้
ตามระเบยี บ นโยบาย และเงอ่ื นไขสัมปทาน และได้เหลือไม้ท่ีสงวนไว้พอประมาณ ตามหนังสือรายงานของจังหวัด
ขอนแก่นท่ี ขก 0009/21641 ลงวันที่ 3 มิถุนายน 2530 ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มี
บนั ทึกสงั่ การลงวันท่ี 16 มถิ ุนายน 2530 กรมป่าไม้พิจารณาจดั ตงั้ เป็นอทุ ยานแห่งชาติภูเวียง
กองอุทยานแห่งชาติได้มีหนังสือ ที่ กษ 0713/713 ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2530 เสนอกรมป่าไม้มี
คาสั่งท่ี 1162/2530 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2530 ให้นายอุดม ยกฉวี เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 ไปทาการสารวจ
เบื้องต้นปา่ ภูเวียง และบรเิ วณปา่ ใกล้เคียงเปน็ อุทยานแห่งชาติ และได้รับรายงานตามหนังสือท่ี กษ 0713/พเิ ศษ ลง
วนั ที่ 11 กันยายน 2530 วา่ พ้ืนท่ปี ่าดังกล่าวและบรเิ วณใกล้เคยี งมแี หลง่ ท่องเท่ยี วและจดุ เด่นทางธรรมชาติหลาย
แห่งและมีหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ เหมาะสมท่ีจะดาเนินการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติจึงได้มี
หนังสือที่ กษ 0713/1064 ลงวันท่ี 7 ตุลาคม 2530 เสนอกรมป่าไม้ได้มีคาส่ังที่ 1643/2530 ลงวันที่ 8 ตุลาคม
2530 ใหน้ ายอดุ มศักดิ์ สพุ รรณพงศ์ เจ้าพนักงานป่าไม้ 4 ไปดาเนินการจัดตั้งพ้ืนท่ีบริเวณป่าภูเวียงและพื้นที่ป่า
บรเิ วณใกล้เคยี ง ในท้องท่ีอาเภอภเู วยี ง อาเภอสชี มพู จงั หวดั ขอนแกน่ เป็นอุทยานแห่งชาติ ซ่ึงอุทยานแห่งชาติภู
เวยี งไดม้ ีหนังสือ ท่ี กษ 0713 (ภว.)/40 ลงวนั ท่ี 2 เมษายน 2531 รายงานผลการสารวจ เพื่อกาหนดพ้ืนที่ในการ
จดั ตงั้ อุทยานแห่งชาติ ใหก้ องอุทยานแห่งชาติพจิ ารณาดาเนนิ การ
4
กรมป่าไม้ไดน้ าเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้มีมติคราวประชุมครั้งที่ 3/2532 เม่ือวันที่ 3
ตลุ าคม 2532 เหน็ ชอบให้กาหนดพ้ืนทด่ี งั กลา่ วเปน็ อทุ ยานแห่งชาติได้ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดบริเวณท่ีดิน
ป่าภูเวียง ในทอ้ งทต่ี าบลกดุ ธาตุ ตาบลในเมอื ง ตาบลบ้านโคก ตาบลเขาน้อย ตาบลขนวน ตาบลบ้านเรือ ตาบล
เมืองเก่าพัฒนา ตาบลสงเปือย ตาบลนาชุมแสง อาเภอภูเวียง ตาบลวังเพิ่ม ตาบลศรีสุข ตาบลนาจาน อาเภอสี
ชมพู และตาบลวังหนิ ลาด ตาบลหนองเสาเล้า ตาบลหนองไผ่ และตาบลขัวเรียง อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
พนื้ ทปี่ ระมาณ 203,125 ไร่ หรือ 325 ตารางกโิ ลเมตร เป็นอุทยานแห่งชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม
108 ตอนท่ี 215 ลงวันท่ี 8 ธันวาคม 2534 นบั เปน็ อุทยานแหง่ ชาติลาดบั ที่ 71 ของประเทศ
ท่ีตง้ั และอาณาเขต
อุทยานแห่งชาติภูเวียง ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ลาดับท่ี 71 ของประเทศไทย เมื่อ
วันท่ี 8 ธันวาคม 2534 ต้ังอยู่ในท้องท่ีตาบลในเมือง อาเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น ครอบคลุมพื้นที่ 325
ตารางกิโลเมตร (203,125 ไร่) ลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง มีลักษณะเป็นภูเขารูปแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
หรือกระทะควา่ ลอ้ มรอบไปด้วยภเู ขารปู วงแหวน 2 ชั้น มีทรี่ าบล่มุ ตอนกลาง บรเิ วณตนี เขาบางแห่งเป็นหน้าผาสูง
ชนั บนยอดเขาสามารถมองเหน็ ทิวทัศนเ์ บ้ืองล่างสวยงาม
หน่วยงานในพื้นที่
- หนว่ ยพิทักษ์อทุ ยานแหง่ ชาติภเู วียง ที่ 1 (ปากช่อง)
- หนว่ ยพิทักษอ์ ทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวยี ง ท่ี 2 (หวั ภชู น)
- หนว่ ยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาตภิ เู วยี ง ท่ี 3 (ภูนกยงู )
- หนว่ ยพิทักษอ์ ุทยานแห่งชาตภิ เู วยี ง ท่ี 4 (ปากหว้ ยฝาง)
- ดา่ นตรวจตาดฟ้า
- สถานยี ่อยควบคมุ ไฟปา่ ขอนแก่น อาเภอชมุ แพ จงั หวัดขอนแกน่
- หนว่ ยปอ้ งกันรกั ษาปา่ ที่ ขก. 2 (ภูเวยี ง)
- หน่วยจดั การต้นนา้ ภเู วยี ง
- สถานวี จิ ยั ล่มุ นา้ ชี
- หนว่ ยป้องกนั รกั ษาป่า ท่ี ขก. 7 (หว้ ยทรายขาว)
ลกั ษณะภูมิประเทศ
อุทยานแห่งชาตภิ เู วียง มีลักษณะภมู ปิ ระเทศโดยทวั่ ไปเปน็ เทอื กเขาลอ้ มเป็นวงอยู่ 2 ชัน้ ตรงกลางเปน็
แอง่ ขนาดใหญค่ ลา้ ยแอ่งกระทะซง่ึ เปน็ ท่รี าบและลอนลาด สว่ นพืน้ ทโี่ ดยรอบแอง่ มลี ักษณะเปน็ เทอื กเขาซ่งึ มีมุมเท
เขา้ หาใจกลางแอ่ง ประกอบดว้ ยเทอื กเขาท่ีมีความลาดชันปานกลางถึงลาดชันสูง เทือกเขาช้ันนอกสุดมียอดเขา
สงู สดุ 844 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง บริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพ้ืนท่ี และเทือกเขาช้ันในมียอดเขา
สูงสุด 470 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง บริเวณทิศเหนือของพ้ืนที่เทือกเขาช้ันในน่ีเอง ท่ีเป็นแหล่งฟอสซิล
ไดโนเสาร์ ส่วนระดบั ต่าสดุ ของเชิงเขาอยูร่ ะดับ 210 เมตรจากระดบั นา้ ทะเลปานกลาง
5
อุทยานแห่งชาติภูเวียงต้ังอยู่บนที่ราบสูงโคราช มีลักษณะเป็นหินชั้นซึ่งเกิดจากการสะสมตัวของ
ตะกอนบนแผน่ ดินหนากว่า 4,000 เมตร ชั้นของหินตะกอนมักมีสีแดงเกือบท้ังหมด เรียกว่าหินชั้นตะกอนแดง
หรอื กลมุ่ หินโคราช ประกอบดว้ ย หน่วยหนิ เขาพระวิหาร หินเสาขัว หินภพู าน และหินโคกกรวด หินดังกล่าวถูก
ปกคลุมดว้ ยตะกอนรว่ นและดินยคุ ควอเทอรน์ ารแี่ ละยคุ ปัจจบุ ัน ซ่ึงในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูเวียงน้ัน ยังมีการ
สารวจสายแร่ยเู รเนียมในพ้นื ทอ่ี กี ดว้ ย อทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวยี งเปน็ แหล่งตน้ นา้ ลาธารของหว้ ยทรายขาวซึ่งจะไหลลง
ลาน้าพอง หว้ ยบัง้ ท้ิง หว้ ยน้าไหล ซ่งึ จะไหลลงลานา้ เชิญ หว้ ยเรอื หว้ ยขมุ ปูน หว้ ยนา้ บอง และหว้ ยมะนาว ซึ่งจะไหล
ลงหว้ ยบอง ท้งั ลานา้ พอง หว้ ยบอง และลานา้ เชิญ ไหลลงอ่างเก็บน้าอุบลรัตน์
ลกั ษณะภมู ิอากาศ
อทุ ยานแหง่ ชาติภเู วยี ง ได้รับอิทธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงใต้ จงึ แบ่งออกเป็น 3 ฤดู ดังน้ี ฤดูร้อน
ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในเดือนเมษายน 36.5 องศาเซลเซียส ฤดูฝนระหว่างเดือน
พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ปริมาณนา้ ฝนเฉลีย่ รายปี 1,199 มิลลเิ มตร ฤดูหนาวระหวา่ งเดอื นพฤศจิกายนถึงเดือน
กุมภาพนั ธ์ อุณหภมู เิ ฉลี่ยต่าสุดในเดอื นธันวาคม 16.6 องศาเซลเซียส
ลักษณะทางธรณีวทิ ยา
ภูเวยี งมลี กั ษณะเปน็ สนั เขาสงู ซ่ึงมบี างสว่ นหนาและบางสว่ นบาง เช่ือมต่อกันเปน็ วงกลมโอบลอ้ มแอ่ง ที่
ราบไว้ภายใน สันเขาส่วนหนาจะอย่ทู างทิศเหนือ ทศิ ตะวนั ตกและทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ โดยเฉพาะทางด้านทิศเหนือ และ
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ สันเขาส่วนน้ีจะมีพ้ืนที่บางส่วนยื่นออกไปลักษณะเป็นปีกรูปกลม มองโดยรวมคล้ายหัว
การต์ ูนมิกกี้เมา้ ส์ สนั เขาส่วนหนานี้จะค่อยๆ บางลงจนขาดจากกัน เปิดเป็นช่องแคบๆ ทางด้านทิศตะวันออก ซึ่ง
เป็นชอ่ งทางเข้าส่แู อ่งท่ีราบภายในเพยี งแหง่ เดยี ว ทางน้าซง่ึ มีต้นกาเนดิ จากขอบสนั เขาภายในไหลผ่านออกไปทาง
ช่องเปิดน้ี แอ่งทร่ี าบภายในภเู วยี งเป็นทอ่ี ยู่อาศัยของประชาชนอาเภอภเู วียงหลายหมูบ่ ้าน
ภูเวียงครอบคลุมพ้นื ทกี่ วา่ 400 ตารางกิโลเมตร มีความสูงตั้งแต่ระดับ 250-750 เมตร จากระดับ
น้าทะเลปานกลาง ประกอบด้วยหมวดหินเรียงลาดับจากอายุแก่ที่สุดไปหาอายุอ่อนท่ีสุด คือ หมวดหินภูกระดึง
(Jpk) หมวดหินพระวิหาร (Jpw) หมวดหินเสาขัว (Jsk) หมวดหินภูพาน (Kpp) หมวดหินโคกกรวด (Kkk) และ
ตะกอนควอเทอรน์ ารี (Qa) หินในหมวดหินต่างๆ เหล่านี้ โผล่ให้เห็นเป็นวง โดยมีหมวดหินภูกระดึงอยู่วงรอบ
นอกสุดและมีตะกอนควอเทอร์นารีอยู่รอบในสุด
ช้นั หนิ ท้งั หมดซึ่งเรยี งตัวตอ่ เน่ืองกันเป็นลาดับ มอี ายุอย่ใู นช่วงเวลาประมาณ 200-65 ล้านปี และมี
ลกั ษณะโครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยาเป็นรูปกระทะหงาย ชน้ั ท่พี บกระดูกไดโนเสาร์ พบกระจดั กระจายอยู่ในหมวดหินเสา
ขวั ท่รี ะดับความสงู ในชว่ ง 250-420 เมตร (หลมุ ขุดค้นหมายเลข 1-7, 9) ส่วนหลุมที่ 8 ซ่ึงอยู่ทางด้านทิศเหนือ
เป็นร่องรอยเท้าไดโนเสาร์พบอยู่ในหมวดหินพระวิหาร และอยู่ท่ีระดับความสูงประมาณ 640 เมตร จาก
ระดบั น้าทะเลปานกลาง
6
ลักษณะทางนเิ วศวิทยา
สัตวป์ ่าทอ่ี าศัยอยู่ในผืนป่าภูเวียงประกอบด้วย หมูป่า สุนัขจิ้งจอก ลิงวอก อีเห็นข้างลาย กระต่ายป่า
กระรอกหลากสี กระจ้อน กระรอกบินเล็กแก้มขาว กระแตเหนือ กระรอกบิน ค้างคาวปากย่น หนูท้องขาว
หนจู ๊ดิ นกเปด็ ผีเลก็ เปด็ แดง เหย่ยี วขาว เหยี่ยวนกเขาชิครา ไกป่ า่ นกกระทาทุง่ นกค่มุ อกลาย นกกวัก นก
กระแตแต้แวด้ นกเขาเปลา้ ธรรมดา นกพริ าบป่า นกเขาไฟ นกแขกเตา้ นกบ้ังรอกใหญ่ นกกระปูดใหญ่ นกฮูก
นกเค้าแมว นกตะขาบทุง่ นกโพระดกธรรมดา นกแอน่ ตาล นกนางแอน่ บา้ น นกปรอดเหลอื งหวั จุก นกแซงแซว
หางปลา นกกินแมลงอกเหลือง นกกระจิบหญ้าอกเทา นกกางเขนบ้าน นกเอี้ยงสาริกา นกกินปลีอกเหลือง จ้ิงจกหาง
แบน ต๊กุ แกบา้ น กง้ิ กา่ หวั แดง แย้ จงิ้ เหลนหลากหลาย จิ้งเหลนบ้าน งูจงอาง คางคกบ้าน เขียดจะนา กบบัว กบ
อ่อง กบนา กบหนอง ปาดบา้ น องึ่ อ่างก้นขดี อึ่งอา่ งบา้ น อึ่งนา้ เต้า ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีปลาน้าจืดอีกหลายชนิด
อาศัยอย่ใู นแหลง่ นา้ ธรรมชาติของอทุ ยานแห่งชาติภูเวียง เช่น ปลาช่อน ปลาดุกด้าน ปลาหมอไทย ปลาหลด ปลา
ไหล ปลาอดี ปลาหมอช้างเหยียบ ปลาซิวหนวดยาว ปลาบู่ทราย ปลาแขยงใบข้าว และปลากดขาว เปน็ ต้น
สภาพปา่ บริเวณอุทยานแหง่ ชาตภิ เู วียง แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ซ่ึงมีพ้ืนที่มากที่สุด
รองลงมา ไดแ้ ก่ ปา่ เบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ป่าดบิ แล้ง ส่วนใหญ่กระจายตัวอยู่ทางตอนเหนือของเขตอุทยาน
แห่งชาติและบริเวณลาธาร พันธุ์ไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ตะเคียนหิน ชิงชัน พะยูง สมพง กระบก มะค่าโมง เขลง
คอแลน ปอแดง สะแกแสง ฯลฯ พืชพ้ืนล่างและพืชอิงอาศัย ได้แก่ เอื้องหมายนา จันผา ขม้ินโคก กระเจียวขาว
ชายผ้าสีดา เอ้ืองแปรงสีฟัน เอื้องเขาแกละ นางอั้ว และกล้วยไม้ดง เป็นต้น ป่าเต็งรัง ขึ้นปกคลุมตามเชิงเขา
บริเวณต่ากว่าป่าดิบแล้ง กระจายตัวอยู่บริเวณภูประตูตีหมา และแนวภูเขาต่อเน่ืองรอบในของเทือกเขาภูเวียง
และกระจายตัวอยู่เชิงเขารอบนอกเทือกเขาภูเวียง พันธ์ุไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ยางกราด เหียง พลวง เต็ง รัง ยอป่า
มะเกลือกา สมอ ตีนนก ฯลฯ พืชพืน้ ล่าง ได้แก่ เอื้องหมายนา หญ้าเพก็ มะลิป่า เปราะ กระเจียว เฟิร์นแผงและ
เฟิรน์ ก้านดา เป็นต้น ป่าเบญจพรรณ อยู่ระหวา่ งรอยต่อของป่าดิบแล้งและป่าเต็งรัง และปะปนอยู่ในป่าเต็งรัง
บ้าง กระจายตัวในพื้นท่บี างสว่ นบรเิ วณภปู ระตูตีหมาและเชิงเขารอบนอกเทือกเขาภูเวียง พันธุ์ไม้ที่สาคัญ ได้แก่
ประดู่ เสลา ตะแบกใหญ่ รัก รกฟา้ ทองหลางปา่ แคทราย และตีนนก ฯลฯ
จดุ สนใจในอุทยานแห่งชาติภูเวียง
หลมุ ขดุ ค้น (อทุ ยานแหง่ ชาติภูเวยี ง) นบั ต้ังแต่ท่มี กี ารค้นพบกระดูกไดโนเสารช์ นิ้ แรกของประเทศไทย ที่
ห้วยประตูตีหมา เชิงภูประตูตีหมา อาเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น ในปี พ.ศ. 2519 กรมทรัพยากรธรณีโดย
โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-ฝร่ังเศส ได้ทาการสารวจขุดค้นอย่างจริงจัง ต่อมาแหล่งขุดค้นไดโนเสาร์
จานวน 4 แหล่ง ได้แก่ หลุม 1 หลุม 2 หลุม 3 และหลุม 9 ได้รับการพัฒนาโดยการก่อสร้างอาคารคุมหลุม ให้เป็น
แหลง่ ท่องเทีย่ วเพอื่ ให้นักทอ่ งเท่ยี วสามารถเข้ามาเย่ียมชมไดอ้ ย่างสะดวกสบาย
7
ภาพที่ 1 หลุมขุดคน้ กระดกู ไดโนเสาร์
น้าตกตาดฟ้า เป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของอุทยานแห่งชาติภูเวียง เป็นน้าตก
ขนาดกลางอยูท่ างทศิ เหนือของเทือกเขาภเู วียง มเี สน้ ทางเดนิ เทา้ ข้ึนเขาระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร จากด่าน
ตรวจโคกสูง มีความสูงประมาณ 15 เมตร สภาพป่าเป็นป่าดิบท่ีอุดมสมบูรณ์ ทางอุทยานแห่งชาติภูเวียงได้จัด
สถานท่ีกางเตน็ ทไ์ ว้ให้สาหรบั ผู้ประสงค์จะพกั แรม
ภาพท่ี 2 น้าตกตาดฟา้
8
นา้ ตกทบั พญาเสอื ตง้ั อยูใ่ นเขตอุทยานแหง่ ชาตภิ เู วียงทางดา้ นทศิ ใต้ของเทอื กเขาภเู วียง มเี สน้ ทางเดินเทา้ ระยะทาง
ประมาณ 5 กโิ ลเมตร จากดา่ นตรวจหินรอ่ ง เปน็ นา้ ตกท่ลี าดยาวประมาณ 400 เมตร มนี า้ ตก 2 ช้ัน ช้นั แรกเป็น
น้าตกขนาดกลาง สูงประมาณ 8 เมตร มีธรรมชาติท่งี ดงาม ช้นั ที่สองเป็นนา้ ตกขนาดใหญ่ มีน้าไหลลาดตามลา
หว้ ย ยาวประมาณ 100 เมตร ธรรมชาติสองขา้ งทางรม่ รน่ื สวยงาม โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน เหมาะสาหรบั การ
พกั ผ่อนหย่อนใจและชมดงจนั ผาในยคุ ไดโนเสาร์
ภาพที่ 3 นา้ ตกทับพญาเสือ
ถ้าฝ่ามือแดง ตั้งอยู่ใกล้บ้านหินร่อง ตาบลเมืองเก่า อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นแหล่ง
โบราณคดีกอ่ นประวัตศิ าสตร์ ลกั ษณะเปน็ กอ้ นหนิ ทรายขนาดใหญ่ หลืบหินลึกประมาณ 7 เมตร สงู 3 เมตร ยาว
50 เมตร ผนงั มภี าพลายมือหันหน้าไปทางทศิ ตะวนั ออกเป็นภาพมือขนาดใหญ่ 7 มือขนาดเล็ก 2 มือ โดยวิธีเอา
มอื ทาบกับผนงั หินและพน่ สีแดงเร่อื ๆ สารวจพบโดยกรมศิลปากร เม่ือวันที่ 8 พฤษภาคม 2507 แต่ยังไม่มีการขึ้น
ทะเบยี นเปน็ โบราณสถาน
ภาพท่ี 4 ถ้าฝา่ มอื แดง
9
รปู แบบและวิธกี ารสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้ในประเทศไทยนน้ั ไดด้ าเนนิ การโดยกลุ่มสารวจทรพั ยากรป่าไม้ ส่วนสารวจและ
วิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ และสานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ต่างๆ ในสังกัด
กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุ์พืช
การสุ่มตัวอยา่ ง (Sampling Design)
การสารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนท่ีท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample Plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน โดย
กาหนดให้แปลงตวั อย่างแตล่ ะแปลงห่างกัน 2.5 กโิ ลเมตร เริ่มจากการสมุ่ กาหนดแปลงตวั อย่างแรกบนเสน้ กรดิ แผน
ท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนที่ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดทั้งแนวต้ังและ
แนวนอนเทา่ กับ 2.5 กโิ ลเมตร คือ ระยะชอ่ งกริดในแผนท่เี ทา่ กบั 10 ชอ่ ง จุดตดั ของเส้นกริดทั้งสองแนวก็จะเป็น
ตาแหน่งท่ีต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทราบจานวนหน่วยตัวอย่างและ
ตาแหนง่ ทีต่ ั้งของหนว่ ยตัวอย่าง โดยลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่างดังภาพท่ี 5
ภาพที่ 5 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง
10
รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design)
แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ทใ่ี ชใ้ นการสารวจท้ังแปลงตัวอย่างถาวร และแปลงตัวอย่างชั่วคราว
เป็นแปลงทมี่ ีขนาดคงท่ี (Fixed - Area Plot) และมรี ปู รา่ ง 2 ลกั ษณะด้วยกัน คือ
1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดับ
1.2 รูปวงกลมทม่ี รี ศั มเี ท่ากนั จดุ ศนู ย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากันโดยจุด
ศนู ย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตรตามทิศหลักทั้ง 4 ทศิ
2. ลักษณะแบบแนวเสน้ ตรง (Intersect Line) จานวน 2 เสน้ ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมี
จดุ เริ่มต้นรว่ มกนั ณ จดุ ศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซึ่งกันและกันซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1 ได้จาก
การสุม่ ตัวอย่าง
ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มูลทีท่ าการสารวจ
ขนาดของแปลงตัวอยา่ ง และขอ้ มูลทท่ี าการสารวจแสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มลู ทด่ี าเนนิ การสารวจ
รศั มขี องวงกลม หรอื จานวน พ้นื ที่ หรือ ความยาว ขอ้ มูลทส่ี ารวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮคแตร์ กล้าไม้
0.631 1 วง 0.0050 เฮคแตร์ ลกู ไม้
1 วง 0.0500 เฮคแตร์ ไม้ไผ่ หวายท่ยี งั ไมเ่ ลื้อย และตอไม้
3.99 1 วง 0.1000 เฮคแตร์ ต้นไมแ้ ละตรวจสอบปัจจยั ท่ีรบกวนพื้นที่ปา่
2 เส้น Coarse Woody Debris (CWD)
12.62 17.84 เมตร หวายเลอื้ ย และไมเ้ ถาทีพ่ าดผ่าน
17.84
17.84 (เสน้ ตรง)
11
การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสารวจทรพั ยากรป่าไม้
1. การคานวณเน้ือที่ปา่ และปรมิ าณไมท้ ้งั หมดของแตล่ ะพนื้ ท่อี นุรกั ษ์
1.1 ใชข้ ้อมลู พืน้ ทีอ่ นุรักษ์จากแผนที่แนบท้ายกฤษฎกี าของแตล่ ะพื้นท่อี นุรกั ษ์
1.2 พ้ืนที่ชนิดป่าได้จากสัดส่วนของชนิดป่าท่ีสารวจพบจากแปลงตัวอย่าง เปรียบเทียบกับจานวน
แปลงตัวอย่างทง้ั หมดในพน้ื ท่ี
1.3 ในกรณที ี่ไม่สามารถเข้าถึงแปลงตัวอย่างได้ ให้ประเมินสภาพพ้ืนที่ของแปลงตัวอย่างจากภาพถ่าย
ดาวเทียมหรือภาพถา่ ยทางอากาศ แลว้ นามารวมกนั เพ่อื คานวณเปน็ เนื้อทป่ี า่ แตล่ ่ะชนดิ
1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพื้นที่ เป็นการประมาณโดยประเมินจากสัดส่วนพื้นที่ป่าที่สารวจพบ
และขอ้ มูลพน้ื ท่จี ากแผนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎีกา
2. การคานวณปริมาตรไม้
สมการปริมาตรไม้ที่ใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพื้นที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume
Based Approach โดยแบ่งกลุ่มของชนดิ ไม้เปน็ จานวน 7 กลุ่ม ดังนี้
2.1 กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม
จันทน์กะพ้อ สนสองใบ
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2= 0.94, sample size = 188
2.2 กลมุ่ ท่ี 2 ไดแ้ ก่ กระพ้จี ัน่ กระพี้เขาควาย เก็ดดา เกด็ แดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน
กระพี้ ถ่อน แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2= 0.91, sample size = 135
2.3 กลุ่มท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะคร้า
ตะคร้อ ตาเสือ คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหนิ กระท้อน เลี่ยน มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ติ้วสะแกแสง ปู่
เจ้า และไม้สกลุ ส้าน เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการท่ไี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2= 0.89, sample size = 186
2.4 กลมุ่ ที่ 4 ไดแ้ ก่ กางขมี้ อด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอและ
สกุลข้เี หลก็
สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2= 0.90, sample size = 36
12
2.5 กลุม่ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกุลประดู่ เตมิ
สมการทไี่ ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2= 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ที่ 6 ได้แก่ สกั ตนี นก ผา่ เสี้ยน หมากเลก็ หมากน้อย ไข่เน่า กระจับเขา กาสามปีก สวอง
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2= 0.94, sample size = 186
2.7 กลุ่มที่ 7 ได้แก่ ไม้ชนิดอื่นๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว ง้ิวป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน แสมสาร
และไมใ้ นสกุลปอ กอ่ เปลา้ เป็นตน้
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2= 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คือ ปริมาตรสว่ นลาต้นเมอ่ื ตัดโค่นทค่ี วามสูงเหนือดิน (โคน) 10 เซนติเมตรถึงก่ิงแรกที่ทา
เป็นสินคา้ ได้ มหี นว่ ยเป็นลูกบาศกเ์ มตร
DBH มหี นว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. การวิเคราะหข์ อ้ มูลท่วั ไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นาไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตาแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ท่ีทาการเก็บ
ขอ้ มูล ความสูงจากระดบั น้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้ประกอบใน
การวิเคราะหป์ ระเมินผลรว่ มกบั ขอ้ มูลดา้ นอนื่ ๆ เพอ่ื ติดตามความเปลย่ี นแปลงของพื้นท่ีในการสารวจทรพั ยากรปา่
ไมค้ รั้งต่อไป
4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู องค์ประกอบของหมไู่ ม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปริมาตร
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seedling)
6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไมไ้ ผ่ (จานวนกอและจานวนลา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ตง้ั (จานวนต้น)
7. การวิเคราะหข์ อ้ มลู สงั คมพืช โดยมรี ายละเอยี ดการวิเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธุ์ท่ีศึกษาที่
ปรากฏในแปลงตวั อย่างตอ่ หนว่ ยพ้นื ทีท่ ี่ทาการสารวจ
D = จานวนต้อนของพืชชนิดนนั้ ท้ังหมด .
พืน้ ทีท่ ัง้ หมดของแปลงตวั อย่างทีท่ าการสารวจ
13
7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คอื อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดนั้นต่อ
จานวนแปลงทที่ าการสารวจ
F = จานวนแปลงตัวอย่างทพ่ี บชนิดทีก่ าหนด X 100
จานวนแปลงตัวอย่างท้ังหมดทีส่ ารวจ
7.3 ความเดน่ (Dominance: Do) ใชค้ วามเดน่ ดา้ นพื้นทหี่ น้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง พ้ืนที่ หน้า
ตัดของลาตน้ ของต้นไมท้ ี่วดั ระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพนื้ ทีท่ ที่ าการสารวจ
Do = พื้นท่หี น้าตัดทัง้ หมดของพชื ชนดิ ทีก่ าหนด X 100
พ้ืนทีท่ ง้ั หมดของแปลงตวั อย่างทสี่ ารวจ
7.4 ค่าความหนาแน่นสมั พทั ธ์ (Relative Density: RD) คอื คา่ ความสัมพทั ธข์ องความหนาแน่นของไม้ท่ี
ต้องการตอ่ คา่ ความหนาแน่นของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ
RDA = ความหนาแน่นของพืชชนิดนน้ั X 100
ความหนาแนน่ รวมของพชื ทุกชนดิ
7.5 ค่าความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency: RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิดไม้ที่
ตอ้ งการตอ่ ค่าความถ่ีท้งั หมดของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ
RFA = ความถ่ีของพชื ชนิดนนั้ X 100
ความถี่รวมของพชื ทุกชนดิ
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance: RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่น ในรูป
พนื้ ท่ีหนา้ ตดั ของไมช้ นดิ ที่กาหนดต่อความเดน่ รวมของไมท้ กุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ
RDoA = ความเดน่ ของพืชชนิดน้นั X 100
ความเดน่ รวมของพชื ทุกชนิด
7.7 ค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า ความสัมพัทธ์
ต่างๆ ของชนิดไม้ในสังคม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแนน่ คา่ ความสัมพทั ธ์ดา้ นความถี่ และค่าความ
สมั พทั ธด์ า้ นความเด่น
IVI = RDA + RFA + RDoA
8. วเิ คราะห์ข้อมูลความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยทาการวเิ คราะหค์ า่ ตา่ งๆดงั น้ี
8.1 ความหลากหลายของชนดิ พนั ธุ์ (Species Diversity) วดั จากจานวนชนดิ พนั ธทุ์ ีป่ รากฏในสังคมและ
จานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of Diversity ตาม
วิธกี ารของ Kreb (1972) ซ่ึงมสี ูตรการคานวณดงั ตอ่ ไปน้ี
∑
โดย H คือ คา่ ดัชนีความหลากชนดิ ของชนิดพนั ธ์ุไม้
Pi คอื สดั ส่วนระหว่างจานวนตน้ ไม้ชนิดที่ i ตอ่ จานวนต้นไม้ท้ังหมด
S คอื จานวนชนิดพันธุ์ไม้ทั้งหมด
14
8.2 ความร่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจานวนชนิดกับ
จานวนต้นทัง้ หมดทท่ี าการสารวจ ซงึ่ จะเพ่มิ ขน้ึ เมอื่ เพิ่มพ้ืนที่แปลงตวั อย่าง และดัชนคี วามร่ารวย ที่นยิ มใช้กัน คือ
วิธีของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคานวณ
ดังน้ี
1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick Index (R2)
R2 = S/√n
เมอ่ื S คอื จานวนชนดิ ทั้งหมดในสังคม
n คือ จานวนต้นทง้ั หมดทส่ี ารวจพบ
8.3 ความสม่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสมา่ เสมอจะมีค่ามากทีส่ ดุ เม่ือทุกชนดิ ในสังคมมีจานวนตน้ เท่ากนั ท้ังหมด ซงึ่ วิธีการทีน่ ยิ มใชก้ ันมากในหมู่นัก
นิเวศวทิ ยา คอื วธิ ีของ Pielou (1975) ซง่ึ มสี ูตรการคานวณดงั นี้
E = H/ ln(S) =ln (N1)/ln (N0)
เมื่อ H คอื คา่ ดัชนคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จานวนชนดิ ท้งั หมด (N0)
N1 คอื
9. การศกึ ษาคุณคา่ ทางนิเวศวทิ ยา เป็นคณุ ค่าทีป่ ่ามีองคป์ ระกอบ และหนา้ ท่ตี ามสภาพธรรม ชาติ ปราศจากการ
รบกวนหรอื มกี ารรบกวนโดยเฉพาะจากมนษุ ย์น้อยไม่ทาให้องค์ประกอบและหน้าท่ีเปลี่ยนไปจากเดิมหรือเลวลง
กวา่ เดิม ซึ่งการประเมินคณุ คา่ ทางนเิ วศวทิ ยารวมทงั้ พจิ ารณาจากปา่ ในพนื้ ท่ที ศ่ี ึกษา แบง่ การพิจารณา ดงั นี้
9.1 องคป์ ระกอบของป่า (Structure) โดยพิจารณาจาก 4 ประเดน็ ดงั นี้
1) ชนิด หมายถึง จานวนชนิดของป่า และชนิดของไม้ที่พบในบริเวณพ้ืนท่ีศึกษา โดย อุทิศ กุฏ
อินทร์ (2536) กล่าวว่า พ้ืนท่ีใดก็ตาม ที่มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์และความมากมายของจานวนของ
สง่ิ มีชวี ติ ถอื วา่ พน้ื ทนี่ น้ั มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง และถือไดว้ า่ เป็นพื้นทท่ี ม่ี คี ุณค่าทางนเิ วศสูงด้วย
2) ปรมิ าณ หมายถงึ ความมากมายในด้านจานวนของต้นไม้
3) สัดส่วน หมายถึง สัดส่วนของต้นไม้ขนาดต่างๆ ท่ีกระจายอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งในสภาพ
ปกติสัดสว่ นของไมข้ นาดใหญ่มีน้อยกว่าไม้ขนาดเล็ก ซ่ึงทาให้การทดแทนของป่าเป็นไปอย่างต่อเน่ืองและรักษา
สมดลุ ของป่าใหค้ งอยตู่ ลอดไป
4) การกระจาย หมายถงึ การขยายหรอื แพร่พันธ์ุของชนิดปา่ และชนดิ ไมใ้ นบรเิ วณพน้ื ท่ีศกึ ษา
9.2 หน้าทข่ี องป่า (Function) หน้าทข่ี องป่าไม้ท่ีสาคัญ คือ การเป็นผู้ผลิต (Producer) ในระบบนิเวศ
โดยเป็นตัวกลางในการหมุนเวียนธาตุอาหาร และถ่ายทอดพลังงานไปสู่ผู้บริโภคในระดับต่างๆ ป่าที่มีกระบวนการ
หมุนเวยี นธาตุอาหารและถ่ายทอดพลังงานอยตู่ ลอดเวลา ถอื วา่ เปน็ ปา่ ท่ีมคี ณุ คา่ ทางนเิ วศสงู
15
9.3 กิจกรรมของมนุษย์ กิจกรรมของมนุษย์ที่มีผลกระทบต่อป่าประกอบไปด้วยกิจกรรมที่ช่วย
สง่ เสรมิ ความย่งั ยนื ของป่า เช่น การฟน้ื ฟูสภาพป่า การป้องกันรักษาป่า การปลูกป่าทดแทน เป็นต้น กิจกรรมใดๆท่ี
ช่วยส่งเสริมความยง่ั ยืนให้กบั ปา่ ถือว่าพน้ื ทนี่ น้ั มคี ณุ ค่าทางนเิ วศสงู ส่วนกิจกรรมทีท่ าลายความย่ังยนื ของป่า เช่น
การบกุ รุกพืน้ ทปี่ า่ การตัดไม้ทาลายป่า เป็นตน้
9.4 คุณค่าของป่าในด้านการเปน็ พ้ืนท่อี นุรกั ษ์ คุณคา่ ด้านการเปน็ พ้ืนท่ีอนุรักษ์ของพ้ืนที่ลุ่มน้า.เป็น
พ้ืนที่รวมและอนรุ กั ษ์พนั ธส์ุ ัตวป์ า่ และพนั ธุ์ไมป้ ่าทห่ี ายาก เป็นพนื้ ทต่ี ้นน้าลาธารที่ใช้อุปโภคและบริโภคของชุมชน
ในพนื้ ทีแ่ ละบรเิ วณขา้ งเคยี ง อกี ท้งั ยังเปน็ แหล่งท่องเท่ยี วทางธรรมชาตทิ ส่ี วยงาม
10. การประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ผู้เชี่ยวชาญได้แบ่งสถานภาพของระบบสิ่งแวดล้อมออกเป็น 4
สถานภาพ ซ่งึ แต่ละสถานภาพมลี ักษณะดงั นี้
10.1 ระดับสมดุลธรรมชาติ (Nature) หมายถึง ทรัพยากรป่าไม้ไม่ถูกรบกวนจากปัจจัยต่างๆ มี
องค์ประกอบหลากหลาย ทัง้ ชนิดและปริมาณในอัตราส่วนทเี่ หมาะสม ซ่ึงสามารถทาหน้าทีไ่ ดป้ กตติ ามธรรมชาติ
10.2 ระดบั เตอื นภัย (Warning) หมายถงึ โครงสรา้ งและองค์ประกอบบางสว่ นของทรัพยากรป่าไม้ถกู
รบกวนทาให้การทาหนา้ ทีข่ องระบบไมส่ มบรู ณ์ แตส่ ามารถกลับตัวฟืน้ สู่สภาพเดิมได้ในเวลาไมน่ าน
10.3 ระดบั เส่ยี งภัย (Risky) หมายถึง มีการรบกวนโครงสร้าง และองค์ประกอบของทรัพยากรป่าไม้ ทา
ให้บางสว่ นมจี านวนลดลง และมีชนดิ อ่ืนเข้ามาทดแทน หรือมบี างอย่างมีจานวนมากเกินไป ทาให้การทางานของ
ระบบนิเวศในทรพั ยากรป่าไม้เปลีย่ นไปจากเดิม ตอ้ งใชเ้ วลานานมากกว่าจะกลบั คืนสู่สภาพเดิม
10.4 ระดับวกิ ฤติ (Crisis) หมายถงึ ทรพั ยากรป่าไม้ ถูกรบกวนทาใหโ้ ครงสร้างและองคป์ ระกอบบาง
ชนดิ เหลอื น้อย หรือสญู พันธไุ์ ปจากระบบหรือไม่ทาหนา้ ที่ของตนเอง ทาให้การทางานของระบบนเิ วศไม่ครบวงจร
หรือมีประสิทธิภาพลดลงแตส่ ามารถฟื้นกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติได้ โดยต้องใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยจึงจะกลับคืน
สสู่ ภาพเดมิ ได้
16
ผลการสารวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรัพยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตัวอย่าง
จากผลการดาเนินการวางแปลงสารวจเพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยา กรป่าไม้ใน
พน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี ง โดยแบง่ พนื้ ทด่ี าเนนิ การวางแปลงสารวจตามพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักบริหารพื้นท่ี
อนุรักษท์ ่ี 8 (ขอนแก่น) ซงึ่ รับผิดชอบดาเนินการสารวจพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง อาเภอภูเวียงเก่า จังหวัด
ขอนแกน่ จานวนทง้ั สน้ิ 51 แปลง ผลการสารวจปรากฏดังภาพที่ 6 และ 7 ตามลาดบั
ภาพท่ี 6 แผนทีแ่ สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของอุทยานแห่งชาติภเู วยี ง
17
ภาพท่ี 7 แปลงตวั อย่างทีไ่ ดด้ าเนนิ การสารวจภาคสนามในอทุ ยานแห่งชาติภเู วียง
2. พน้ื ท่ีป่าไม้
จากการสารวจ พบว่า มีพน้ื ทปี่ า่ ไม้จาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ ได้ 5 ประเภท ได้แก่ ป่า
ดบิ แล้ง ปา่ เบญจพรรณ ป่าเต็งรงั ทุ่งหญ้าธรรมชาติ และแหล่งน้า โดยปา่ ดิบแล้ง มีมากสุด จานวน 21 แปลง คิด
เป็นพ้ืนที่ 13,382.35 เฮคแตร์ (83,639.71 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 41.18 ของพ้ืนท่ีท้ังหมดในอุทยานแห่งชาติภูเวียง
รองลงมา ไดแ้ ก่ ป่าเบญจพรรณ พบจานวน 18 แปลง คดิ เปน็ พนื้ ที่ 11,470.59 เฮคแตร์ (71,691.18 ไร่) คิดเป็น
ร้อยละ 35.29 ป่าเต็งรัง พบจานวน 8 แปลง คิดเป็นพื้นท่ี 5,098.04 เฮคแตร์ (31,862.75 ไร่) คิดเป็นร้อยละ
15.69 ของพืน้ ทีท่ ้งั หมดในอทุ ยานแหง่ ชาติภูเวียง รายละเอียดดังตารางท่ี 2
18
ตารางที่ 2 พนื้ ท่ีปา่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ินในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง
(Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ พ้นื ท่ี เฮคแตร์ รอ้ ยละ
(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ ของพืน้ ทีท่ งั้ หมด
13,382.35
ป่าดิบแลง้ (Dry Evergreen Forest) 133.82 83,639.71 11,470.59 41.18
5,098.04
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 114.71 71,691.18 1,911.76 35.29
ปา่ เต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) 50.98 31,862.75 15.69
637.25
ท่งุ หญา้ ธรรมชาติ (Grassland) 19.12 11,948.53 32,500.00 5.88
แหลง่ น้า (Water Body) 6.37 3,982.84 1.96
รวม (Total) 325.00 203,125.00 100.00
หมายเหตุ :
- การคานวณพ้ืนทปี่ า่ ไมข้ องชนดิ ป่าแต่ละชนิดใชส้ ดั สว่ นของข้อมลู ทพ่ี บจากการสารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพื้นทส่ี ารวจคานวณจากข้อมลู แปลงทสี่ ารวจพบ ซึง่ มีพื้นทดี่ งั ตารางท่ี 2
- ร้อยละของพืน้ ทีท่ งั้ หมดคานวณจากพื้นทแ่ี นบท้ายกฤษฎีกาของอุทยานแห่งชาติภเู วียง ซ่งึ มีพน้ื ทเี่ ทา่ กับ 325 ตารางกโิ ลเมตร หรือ203,125ไร่
- สารวจข้อมลู ปี 2557
ภาพท่ี 8 พนื้ ทปี่ า่ ไมจ้ าแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ ินในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี ง
19
ภาพที่ 9 ลกั ษณะท่ัวไปของปา่ ดบิ แลง้ ในพ้นื ท่ีอทุ ยานแห่งชาติภูเวยี ง
20
ภาพที่ 10 ลกั ษณะท่ัวไปของปา่ เบญจพรรณในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติภเู วยี ง
21
ภาพที่ 11 ลักษณะทวั่ ไปของป่าเตง็ รงั ในพ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาติภเู วยี ง
22
ภาพที่ 12 ลักษณะทวั่ ไปของทุ่งหญ้าธรรมชาติในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติภูเวยี ง
23
ภาพท่ี 13 ลักษณะทว่ั ไปของแหล่งนา้ ในพืน้ ที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง
3. ปริมาณไม้
จากการวเิ คราะหเ์ กยี่ วกบั ชนดิ ไม้ ปริมาณ ปรมิ าตรและความหนาแน่นของตน้ ไม้ท่ีสารวจพบในพ้ืนที่
อุทยานแห่งชาติภูเวยี ง โดยจาแนกพ้นื ทปี่ ่าไม้ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่สารวจพบ 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบ
แลง้ ป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรัง ทุ่งหญา้ ธรรมชาติและแหล่งน้า พบไม้ยืนต้นท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมี
ขนาดเส้นรอบวงเพยี งอก (GBH) มากกว่าหรอื เท่ากบั 15 เซนตเิ มตรขึ้นไป มากกว่า 190 ชนิด 25,063,235 ต้น ปริมาตร
ไม้รวมทงั้ หมด 3,069,946.17 ลูกบาศกเ์ มตร มีความหนาแน่นของตน้ ไมเ้ ฉล่ีย 123.39 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้มากสุดใน
ปา่ ดิบแล้ง มีจานวน 14,975,490 ต้น รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ มีจานวน 6,073,039 ต้น สาหรับปริมาตรไม้
พบมากท่ีสดุ ในป่าดบิ แล้ง มีปรมิ าตรรวม 1,767,195.34 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ มีปริมาตรรวม
884,896.37 ลกู บาศก์เมตร รายละเอยี ดดังตารางท่ี 3 และ 4 ตามลาดบั
ตารางที่ 3 ปรมิ าณไมท้ ้งั หมดจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดินในอุทยานแหง่ ชาติภูเวยี ง
(Volume by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ปรมิ าณไม้ทัง้ หมด
(Landuse Type)
จานวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.)
ป่าดบิ แล้ง (Dry Evergreen Forest)
14,975,490 1,767,195.34
ปา่ เบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)
6,073,039 884,896.37
ปา่ เต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest)
ทุ่งหญ้าธรรมชาติ (Grassland) 3,906,373 402,698.61
แหลง่ น้า (Water Body) 108,333 15,155.85
รวม (Total)
0 0.00
25,063,235 3,069,946.17
24
ภาพที่ 14 ปรมิ าณไม้ทง้ั หมดที่พบในพืน้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง
ภาพท่ี 15 ปริมาตรไม้ทั้งหมดท่พี บในพ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี ง
25
ตารางที่ 4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ อ่ หน่วยพ้ืนท่ีจาแนกตามชนดิ ปา่ ในอุทยานแห่งชาตภิ ูเวยี ง
(Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(Landuse Type) ตน้ /ไร่ ตน้ /เฮคแตร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮคแตร์
ป่าดิบแลง้ (Dry Evergreen Forest) 179.05 1,119.05 21.13 132.05
ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 12.34 77.14
ปา่ เต็งรงั (Dry Dipterocarp Forest) 84.71 529.44 12.64 78.99
ทุง่ หญ้าธรรมชาติ (Grassland) 1.27 7.93
แหล่งน้า (Water Body) 122.60 766.25 0.00 0.00
เฉลี่ย 9.07 56.67 15.11 94.46
0.00 0.00
123.39 771.18
ภาพที่ 16 ความหนาแนน่ ต้นไม้ (ต้น/ไร่) ในพ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาติภูเวยี ง
26
ภาพท่ี 17 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพ้นื ทแี่ ต่ละประเภทในพื้นท่อี ุทยานแหง่ ชาติภูเวยี ง
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ งั้ หมดในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู วยี ง
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ัง้ หมด (ตน้ ) รอ้ ยละ (%)
15 - 45 ซม. 18,340,196
> 45 - 100 ซม. 5,926,471 73.18
> 100 ซม. 796,569 23.65
25,063,235 3.18
รวม (Total) 100.00
ภาพที่ 18 การกระจายขนาดความโตของไม้ทั้งหมดในพ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาติภเู วียง
27
4. ชนดิ พันธไุ์ ม้
ชนิดพันธุ์ไม้ท่ีสารวจพบในภาคสนาม จาแนกโดยเจ้าหน้าที่ผู้เช่ียวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ช่วยจาแนก
ชนดิ พนั ธุไ์ มท้ ถี่ ูกตอ้ ง และบางคร้งั จาเปน็ ตอ้ งใชร้ าษฎรในพ้ืนท่ีซ่ึงมีความร้ใู นชนิดพันธ์ุไม้ประจาถ่ินช่วยในการเก็บ
ข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ เพ่ือนามาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธ์ุไม้ในสานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 8 (ขอนแก่น)
เจ้าหน้าท่ีจากส่วนกลาง และสานกั หอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุพชื ช่วยจาแนกชื่อทางการและ
ชื่อวิทยาศาสตรท์ ี่ถูกต้องอกี คร้ังหนง่ึ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้สว่ นใหญท่ ่พี บมกั จะเป็นพันธุ์ไม้ท่ีรจู้ ักและคนุ้ เคยสาหรบั เจา้ หน้าที่
ที่ทาการสารวจอยแู่ ลว้ โดยชนิดพันธุ์ไม้ท่ีพบท้ังหมดในแปลงสารวจ มีมากกว่า 60 วงศ์ มากกว่า 190 ชนิด ปริมาณไม้
รวมประมาณ 25,063,235 ตน้ คดิ เป็นปรมิ าตรไมร้ วมประมาณ 3,069,946.17 ลกู บาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่น
เฉล่ีย 123.39 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 15.11 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณ ไม้มากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) หว้าหิน
(Syzygium claviflorum) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) กระเบาใหญ่ (Hydnocarpus anthelminthicus)
พลองเหมือด (Memecylon edule) แดงคลอง (Syzygium syzygioides) พลับพลา (Microcos tomentosa) ประดู่
(Pterocarpus macrocarpus) เขลง (Dialium cochinchinense) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 6
ป่าดิบแล้ง มีชนิดพันธุ์ไม้มากกว่า 129 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 14,975,490 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้
รวมประมาณ 1,767,195.34 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 179.05 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 21.13
ลกู บาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) หว้าหิน
(Syzygium claviflorum) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) กระเบาใหญ่ (Hydnocarpus anthelminthicus)
พลองเหมือด (Memecylon edule) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) แดงคลอง (Syzygium
syzygioides) เขลง (Dialium cochinchinense) มะชมพู่ป่า (Syzygium aqueum) อีแปะ (Vitex quinata)
รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 7
ปา่ เบญจพรรณ มีชนิดพันธ์ุไม้มากกว่า 97 ชนิด มีปริมาณไม้รวมประมาณ 6,073,039 ต้น คิดเป็น
ปริมาตรไม้รวมประมาณ 884,896.37 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 84.71 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย
12.34 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) พลับพลา (Microcos tomentosa) สะแกแสง (Cananga latifolia) สาธร (Millettia leucantha)
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) กาสามปีก (Vitex peduncularis)
มะเกลอื เลอื ด (Terminalia mucronata) กุ๊ก (Lannea coromandelica) แดง (Xylia xylocarpa) รายละเอียดดัง
ตารางที่ 8
ปา่ เต็งรัง มชี นดิ พันธ์ุไม้มากกวา่ 66 ชนิด มีปริมาณไม้รวมประมาณ 3,906,373 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม
ประมาณ 402,698.61 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 122.60 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 12.64
ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia leucantha) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) เตง็
(Shorea obtusa) ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) รักใหญ่ (Gluta usitata) ตีนนก (Vitex
pinnata) ขว้าว (Haldina cordifolia) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 9
28
พื้นท่ที งุ่ หญ้าธรรมชาติ มีชนิดพันธ์ุไม้จานวน 12 ชนิด มีปริมาณไมร้ วมประมาณ 108,333 ต้น คิด
เปน็ ปรมิ าตรไมร้ วมประมาณ 15,155.85 ลูกบาศกเ์ มตร มคี า่ ความหนาแน่นเฉล่ีย 3.40 ตน้ ต่อไร่ มปี รมิ าตรไม้เฉล่ีย
0.48 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนดิ ไมท้ ่มี ปี รมิ าณมากที่สดุ 10 ชนิดแรก ได้แก่ แดงคลอง (Syzygium syzygioides) หว้าหิน
(Syzygium claviflorum) ก่อตลับ (Quercus ramsbottomii) พลองเหมือด (Memecylon edule) ยางบง
(Persea kurzii) กระเบากลกั (Hydnocarpus ilicifoli) จาปีดง (Magnolia henryi) เขลง (Dialium
cochinchinense) เหมอื ดคนตัวผู้ (Helicia nilagirica) ขอ่ ย (Streblus asper) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 10
ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ ทพ่ี บในอุทยานแห่งชาตภิ เู วยี ง มมี ากกว่า 53 ชนดิ รวมทั้งส้นิ ประมาณ
387,633,053 ต้น มีความหนาแน่นของกลา้ ไม้ 1,913.47 ต้นตอ่ ไร่ โดยชนดิ ไมท้ ่ีมปี ริมาณมากทสี่ ดุ 10 อนั ดบั แรก
ไดแ้ ก่ ตะเคยี นหิน (Hopea ferrea) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สาธร (Mallotus
philippensis) หว้าหนิ (Syzygium claviflorum) ปอพราน (Syzygium claviflorum) กรวยปา่ (Horsfieldia
macrocoma) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) เส้ยี วปา่ (Bauhinia saccocalyx) อะราง (Peltophorum
dasyrachis) ตะโกพนม (Diospyros castanea) รายละเอยี ดดังตารางที่ 12
ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู วียง มมี ากกวา่ 94 ชนิด รวมทง้ั สน้ิ ประมาณ
26,480,886 ตน้ มคี วามหนาแน่นของลกู ไม้ 129.96 ต้นตอ่ ไร่ โดยชนิดไมท้ ี่มีปรมิ าณมากทสี่ ุด 10 อนั ดับแรก
ได้แก่ ตะเคยี นหิน (Hopea ferrea) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) สาธร (Millettia
leucantha) เสี้ยวปา่ (Bauhinia saccocalyx) พลองเหมอื ด (Memecylon edule) แดง (Xylia xylocarpa)
ตะโกพนม (Diospyros castanea) พลับพลา (Microcos tomentosa) แดงคลอง (Syzygium syzygioides)
กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) รายละเอียดดังตารางท่ี 13
ชนิดและปริมาณของตอไม้ ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง มมี ากกวา่ 12 ชนดิ รวมทงั้ สิ้นประมาณ
675,490 ตอ มคี วามหนาแน่นของตอไม้ 3.33 ตอตอ่ ไร่ โดยชนดิ ตอไม้ไมท้ พี่ บ ได้แก่ ตะเคยี นหนิ (Hopea ferrea)
แดง (Xylia xylocarpa) มะค่าแต้ (Sindora siamensis) รัง (Shorea siamensis) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia
duperreana) เตง็ (Shorea obtusa) แสมสาร (Senna garrettiana) ตีนนก (Vitex pinnata) พะยงู (Dalbergia
cochinchinensis) และกระเบากลกั (Hydnocarpus ilicifoli) รายละเอียดดังตารางท่ี 14
29
ตารางที่ 6 ปรมิ าณไม้ทัง้ หมดของอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวยี ง (30 ชนิดแรกทม่ี ปี รมิ าตรไม้สงู สุด)
ลาดบั ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตรไม้
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 2,179,412 296,427.68 10.73
1,739,706 222,729.18 8.56 1.46
2 ตะเคียนหนิ Hopea ferrea 924,020 101,325.67 4.55 1.10
382,353 95,100.01 1.88 0.50
3 พลองเหมือด Memecylon edule 579,902 92,834.73 2.85 0.47
1,153,431 90,433.40 5.68 0.46
4 กาสามปกี Vitex peduncularis 624,510 86,015.79 3.07 0.45
516,176 80,129.16 2.54 0.42
5 เขลง Dialium cochinchinense 1,300,000 76,792.68 6.40 0.39
1,108,824 73,662.06 5.46 0.38
6 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifoli 70,098 72,525.52 0.35 0.36
146,569 71,317.03 0.72 0.36
7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 318,627 64,635.93 1.57 0.35
809,314 63,136.99 3.98 0.32
8 รัง Shorea siamensis 395,098 56,560.69 1.95 0.31
248,529 50,336.65 1.22 0.28
9 หวา้ หนิ Syzygium claviflorum 70,098 49,770.53 0.35 0.25
433,333 48,311.92 2.13 0.25
10 กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus 541,667 46,735.02 2.67 0.24
12,745 46,323.24 0.06 0.23
11 กระบก Irvingia malayana 337,745 44,765.23 1.66 0.23
713,725 44,676.03 3.51 0.22
12 หวา้ Syzygium cumini 382,353 43,776.44 1.88 0.22
152,941 42,180.66 0.75 0.22
13 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 197,549 40,198.43 0.97 0.21
248,529 39,531.04 1.22 0.20
14 แดงคลอง Syzygium syzygioides 133,824 36,110.19 0.66 0.19
159,314 34,425.46 0.78 0.18
15 อีแปะ Vitex quinata 242,157 33,716.67 1.19 0.17
280,392 33,432.90 1.38 0.17
16 มะเกลอื เลือด Terminalia mucronata 8,660,294 892,029.21 42.64 0.16
123.39 4.39
17 สมอพิเภก Terminalia bellirica 25,063,235 3,069,946.17 15.11
18 สะแกแสง Cananga latifolia
19 สาธร Millettia leucantha
20 สมพง Tetrameles nudiflora
21 กะอวม Acronychia pedunculata
22 พลบั พลา Microcos tomentosa
23 ติ้วเกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense
24 กางขีม้ อด Albizia odoratissima
25 ตะโกพนม Diospyros castanea
26 ยมหิน Chukrasia tabularis
27 ขวา้ ว Haldina cordifolia
28 ขี้อ้าย Terminalia triptera
29 ตนี นก Vitex pinnata
30 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
31 อื่นๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุ์ไม้ที่สารวจพบท้ังหมด 190 ชนิด
30
ตารางที่ 7 ปริมาณไมใ้ นป่าดิบแลง้ ของอุทยานแห่งชาตภิ เู วียง (30 ชนิดแรกทมี่ ีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ )
ลาดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตรไม้
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะเคียนหิน Hopea ferrea 1,739,706 222,729.18 20.80
853,922 144,465.41 10.21 2.66
2 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 898,529 98,749.42 10.74 1.73
1,134,314 87,436.95 13.56 1.18
3 พลองเหมอื ด Memecylon edule 1,210,784 74,895.00 14.48 1.05
1,108,824 73,662.06 13.26 0.90
4 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifoli 0.88
471,569 72,436.76 5.64
5 หวา้ หิน Syzygium claviflorum 146,569 71,317.03 1.75 0.87
783,824 58,416.69 9.37 0.85
6 กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus 38,235 52,958.01 0.46 0.70
70,098 49,770.53 0.84 0.63
7 เขลง Dialium cochinchinense 12,745 46,323.24 0.15 0.60
8 หว้า Syzygium cumini 356,863 46,204.57 4.27 0.55
337,745 44,765.23 4.04 0.55
9 แดงคลอง Syzygium syzygioides 242,157 39,314.77 2.90 0.54
0.47
10 กระบก Irvingia malayana 101,961 34,118.40 1.22
6,373 31,792.20 0.08 0.41
11 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 76,471 29,159.72 0.91 0.38
26,162.62 3.81 0.35
12 สมพง Tetrameles nudiflora 318,627 20,942.47 0.38 0.31
31,863 19,270.68 5.56 0.25
13 อแี ปะ Vitex quinata 465,196 17,995.65 2.97 0.23
248,529 17,782.09 1.98 0.22
14 กะอวม Acronychia pedunculata 165,686 17,210.48 2.44 0.21
203,922 0.21
15 ยมหนิ Chukrasia tabularis 17,022.22 1.52
127,451 15,139.21 0.23 0.20
16 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 19,118 14,259.06 1.37 0.18
17 ยมหอม Toona ciliata 114,706 13,073.80 1.52 0.17
127,451 12952.4813 0.30 0.16
18 สตั บรรณ Alstonia scholaris 25,490 12526.3698 0.46 0.15
38,235 284,343.03 41.83 0.15
19 พลบั พลา Microcos tomentosa 3,498,529 1,767,195.34 179.05 3.40
14,975,490 21.13
20 กระถนิ ณรงค์ Acacia auriculaeformis
21 มะชมพ่ปู ่า Syzygium aqueum
22 กระถิน Leucaena leucocephala
23 อะราง Peltophorum dasyrachis
24 กรวยปา่ Horsfieldia macrocoma
25 ต้วิ เกลย้ี ง Cratoxylum cochinchinense
26 ขว้าว Haldina cordifolia
27 ตะโกพนม Diospyros castanea
28 โลด Aporosa villosa
29 สารภปี า่ Anneslea fragrans
30 ยางโอน Polyalthia viridis
31 อื่นๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุไ์ มท้ ่สี ารวจพบทั้งหมด 129 ชนิด
31
ตารางท่ี 8 ปริมาณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอทุ ยานแห่งชาตภิ ูเวยี ง (30 ชนดิ แรกทมี่ ีปรมิ าตรไมส้ ูงสุด)
ลาดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตรไม้
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 1,280,882 150,534.21 17.87
197,549 71,911.96 2.76 2.10
2 กาสามปีก Vitex peduncularis 223,039 44,839.70 3.11 1.00
159,314 39,630.95 2.22 0.63
3 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 356,863 36,497.45 4.98 0.55
280,392 32,869.62 3.91 0.51
4 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 101,961 31,624.62 1.42 0.46
12,745 31,403.60 0.18 0.44
5 สะแกแสง Cananga latifolia 203,922 30,037.55 2.84 0.44
57,353 29,761.56 0.80 0.42
6 สาธร Millettia leucantha 76,471 29,061.48 1.07 0.42
82,843 26,219.72 1.16 0.41
7 ข้ีอ้าย Terminalia triptera 101,961 19,970.39 1.42 0.37
95,588 18,411.94 1.33 0.28
8 ปรู Alangium salviifolium 375,980 18,322.28 5.24 0.26
108,333 16,620.99 1.51 0.26
9 มะคา่ แต้ Sindora siamensis 19,118 15,441.74 0.27 0.23
108,333 15,137.42 1.51 0.22
10 ฉนวน Dalbergia nigrescens 44,608 14,971.08 0.62 0.21
6,373 14,774.17 0.09 0.21
11 กางขีม้ อด Albizia odoratissima 101,961 12,139.79 1.42 0.21
31,863 11,434.11 0.44 0.17
12 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa 140,196 11,011.31 1.96 0.16
38,235 10,356.12 0.53 0.15
13 เขลง Dialium cochinchinense 19,118 9,776.87 0.27 0.14
152,941 9,179.02 2.13 0.14
14 ตีนนก Vitex pinnata 38,235 7,562.00 0.53 0.13
38,235 7,266.45 0.53 0.11
15 พลบั พลา Microcos tomentosa 12,745 7,007.53 0.18 0.10
12,745 6,393.61 0.18 0.10
16 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 1,593,137 104,727.14 22.22 0.09
884,896.37 84.71 1.46
17 กระบก Irvingia malayana 6,073,039 12.34
18 กระทุ่มเนิน Mitragyna rotumdifolia
19 ตะโกพนม Diospyros castanea
20 ผา่ เส้ียน Vitex canescens
21 งิว้ ป่า Bombax anceps
22 มะกอก Spondias pinnata
23 แดง Xylia xylocarpa
24 อีแปะ Vitex quinata
25 ขว้าว Haldina cordifolia
26 กุก๊ Lannea coromandelica
27 กระพี้จ่นั Millettia brandisiana
28 รัง Shorea siamensis
29 ลูกด่งิ Parkia sumatrana
30 กระโดน Careya sphaerica
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธุไ์ ม้ท่สี ารวจพบทั้งหมด 96 ชนดิ
32
ตารางที่ 9 ปริมาณไมใ้ นป่าเตง็ รังของอุทยานแห่งชาตภิ เู วียง (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี รมิ าตรไมส้ ูงสดุ )
ลาดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตรไม้
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 รงั Shorea siamensis 477,941 72,862.70 15.00
2 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 395,098 40,876.10 12.40 2.29
133,824 20,867.43 4.20 1.28
3 ติ้วเกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense 38,235 18,063.45 1.20 0.65
4 ก่อแพะ Quercus kerrii 140,196 17,176.59 4.40 0.57
5 เต็ง Shorea obtusa 388,725 16,282.13 12.20 0.54
6 แดง Xylia xylocarpa 89,216 16,121.79 2.80 0.51
7 งิ้วปา่ Bombax anceps 127,451 14,405.50 4.00 0.51
8 ตีนนก Vitex pinnata 146,569 14,376.09 4.60 0.45
261,275 13,865.40 8.20 0.45
9 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 76,471 13,119.19 2.40 0.44
95,588 11,194.10 3.00 0.41
10 สาธร Millettia leucantha 38,235 10,968.29 1.20 0.35
95,588 10,820.64 3.00 0.34
11 กางข้มี อด Albizia odoratissima 89,216 10,705.71 2.80 0.34
82,843 8,961.93 2.60 0.34
12 ขว้าว Haldina cordifolia 63,725 8,152.85 2.00 0.28
133,824 7,780.21 4.20 0.26
13 ตะโกพนม Diospyros castanea 82,843 7,756.86 2.60 0.24
57,353 7,037.41 1.80 0.24
14 กาสามปีก Vitex peduncularis 12,745 5,906.64 0.40 0.22
70,098 5,084.80 2.20 0.19
15 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 6,373 3,975.00 0.20 0.16
50,980 3,179.08 1.60 0.12
16 กระทุ่มเนนิ Mitragyna rotumdifolia 44,608 2,953.43 1.40 0.10
31,863 2,800.92 1.00 0.09
17 ตะคร้อ Schleichera oleosa 50,980 1.60 0.09
25,490 2626.31 0.80 0.08
18 รักใหญ่ Gluta usitata 12,745 2599.15 0.40 0.08
57,353 2283.87 1.80 0.07
19 กุ๊ก Lannea coromandelica 528,922 2025.09 16.60 0.06
3,906,373 27,869.96 122.60 0.87
20 รกฟา้ Terminalia alata 402,698.61 12.64
21 พฤกษ์ Albizia lebbeck
22 สนนุ่ Salix tetrasperma
23 กระบก Irvingia malayana
24 ยอปา่ Morinda coreia
25 แคทราย Stereospermum neuranthum
26 แสมสาร Senna garrettiana
27 ขีอ้ า้ ย Terminalia triptera
28 ก้านเหลอื ง Nauclea orientalis
29 เกด็ แดง Dalbergia dongnaiensis
30 ผา่ เส้ียน Vitex canescens
31 อ่ืนๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นิดพันธไุ์ ม้ทส่ี ารวจพบทั้งหมด 65 ชนดิ
33
ตารางที่ 10 ปริมาณไม้ในทงุ่ หญา้ ธรรมชาติของอุทยานแห่งชาติภูเวียง
ลาดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตรไม้
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 แดงคลอง Syzygium syzygioides 19,118 0.60
6,373 4,632.20 0.20 0.15
2 ยางบง Persea kurzii 12,745 3,578.32 0.40 0.11
6,373 1,742.45 0.20 0.05
3 ก่อตลับ Quercus ramsbottomii 6,373 1,418.98 0.20 0.04
19,118 1,202.51 0.60 0.04
4 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifoli 12,745 1,115.35 0.40 0.04
6,373 0.20 0.01
5 จาปีดง Magnolia henryi 6,373 455.56 0.20 0.01
6,373 427.59 0.20 0.01
6 หว้าหิน Syzygium claviflorum 6,373 216.92 0.20 0.01
0 215.20 0.00 0.00
7 พลองเหมอื ด Memecylon edule 150.76 0.00
108,333 3.40
8 เขลง Dialium cochinchinense 0.00 0.48
9 เหมือดคนตัวผู้ Helicia nilagirica 15,155.85
10 ขอ่ ย Streblus asper
11 กระบก Irvingia malayana
12 F.FAGACEAE F.FAGACEAE
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ทีส่ ารวจพบ 12 ชนิด เปน็ ต้นตาย 1 ชนิด
ตารางที่ 11 ชนดิ และปรมิ าณไมไ้ ผ่ของอทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเวียง
ลาดบั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไมไ้ ผ่ทัง้ หมด
1 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis จานวนกอ จานวนลา
2 โจด Vietnamosasa ciliata
3 ไผซ่ างนวล Dendrocalamus membranaceus 3,073,663 48,516,320
รวม
322,650 4,398,224
254,723 2,479,308
3,651,036 55,393,852
34
ตารางท่ี 12 ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทพี่ บในอทุ ยานแห่งชาติภเู วียง
(30 ชนดิ แรกทีม่ ีปรมิ าณสูงสดุ )
ลาดบั ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณกลา้ ไม้ทงั้ หมด (ตน้ ) ความหนาแน่น (ต้น/ไร)่
1 ตะเคยี นหิน Hopea ferrea 54,803,922 280.82
2 สาธร Millettia leucantha 33,072,994 150.20
3 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 32,676,718 156.73
4 หว้าหนิ Syzygium claviflorum 19,117,647 97.96
5 ปอพราน Colona auriculata 16,568,627 84.90
6 กรวยปา่ Horsfieldia macrocoma 15,294,118 78.37
7 กระเบากลัก Hydnocarpus ilicifoli 15,294,118 78.37
8 เส้ยี วปา่ Bauhinia saccocalyx 12,573,735 58.78
9 อะราง Peltophorum dasyrachis 11,470,588 58.78
10 ตะโกพนม Diospyros castanea 10,495,963 52.24
11 แดงคลอง Syzygium syzygioides 10,271,050 52.24
12 ติ้วขน Cratoxylum formosum 10,196,078 45.71
13 พลบั พลา Microcos tomentosa 9,553,468 45.71
14 อแี ปะ Vitex quinata 8,921,569 45.71
15 แดง Xylia xylocarpa 8,525,292 39.18
16 ตนี นก Vitex pinnata 8,311,089 39.18
17 พลองเหมอื ด Memecylon edule 7,797,001 39.18
18 พุงแก Capparis siamensis 7,647,059 39.18
19 ขห้ี นู Diospyros ferrea 7,647,059 39.18
20 หสั คุณ Micromelum minutum 6,447,520 32.65
21 เขลง Dialium cochinchinense 6,372,549 32.65
22 เขม็ ป่า Ixora cibdela 6,372,549 32.65
23 มะไฟ Baccaurea ramiflora 5,098,039 26.12
24 หาด Artocarpus lacucha 4,048,443 19.59
25 สะแกแสง Cananga latifolia 4,048,443 19.59
26 มะหา้ Syzygium albiflorum 3,973,472 19.59
27 เส้ยี วใหญ่ Bauhinia malabarica 2,913,165 13.06
28 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 2,913,165 13.06
29 เต็ง Shorea obtusa 2,913,165 13.06
30 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 2,698,961.94 13.06
31 อื่นๆ Others 39,595,485.25 195.92
รวม 387,633,053.22 1,913.47
หมายเหตุ : มีชนิดของกลา้ ไม้ที่สารวจพบ 53 ชนิด
35
ตารางที่ 13 ชนดิ และปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ที่พบในอุทยานแหง่ ชาตภิ เู วียง
ลาดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณลูกไมท้ ง้ั หมด (ตน้ ) ความหนาแน่น (ตน้ /ไร่)
1 ตะเคยี นหนิ Hopea ferrea 1,401,961 7.18
2 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 1,355,907 6.53
3 สาธร Millettia leucantha 1,122,425 5.22
4 เสี้ยวปา่ Bauhinia saccocalyx 966,057 4.57
5 พลองเหมือด 899,654 4.57
6 แดง Memecylon edule 841,819 3.92
7 ตะโกพนม Xylia xylocarpa 779,700 3.92
8 พลับพลา Diospyros castanea 670,456 3.27
9 แดงคลอง Microcos tomentosa 644,752 3.27
10 กระเบากลัก Syzygium syzygioides 637,255 3.27
11 ติ้วเกล้ยี ง Hydnocarpus ilicifoli 543,005 2.61
12 เขลง Cratoxylum cochinchinense 509,804 2.61
13 กระเบาใหญ่ Dialium cochinchinense 509,804 2.61
14 ขหี้ นู Hydnocarpus anthelminthicus 509,804 2.61
15 มะเกลือเลอื ด Diospyros ferrea 436,975 1.96
16 เส้ียวใหญ่ Terminalia mucronata 415,554 1.96
17 สะแกแสง Bauhinia malabarica 415,554 1.96
18 ตีนนก Cananga latifolia 408,057 1.96
19 งิ้วป่า Vitex pinnata 404,844 1.96
20 มะคา่ แต้ Bombax anceps 397,347 1.96
21 มะไฟ 382,353 1.96
22 หวา้ หิน Sindora siamensis 382,353 1.96
23 ประดู่ Baccaurea ramiflora 291,317 1.31
24 มะกา Syzygium claviflorum 273,109 1.31
25 ต้ิวขน Pterocarpus macrocarpus 273,109 1.31
26 มะห้า Bridelia ovata 262,399 1.31
27 มะป่วน Cratoxylum formosum 262,399 1.31
28 หสั คณุ 262,399 1.31
29 คา้ งคาว Syzygium albiflorum 254,902 1.31
30 เฉียงพร้านางแอ Mitrephora vandaeflora
31 อื่นๆ Micromelum minutum 254,902 1.31
Aglaia edulis 9,710,908 47.67
26,480,886 129.96
Carallia brachiata
Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดของลกู ไม้ทีส่ ารวจพบ 94 ชนดิ
36
ตารางที่ 14 ชนิดและปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอุทยานแห่งชาตภิ ูเวียง
ลาดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณตอไมท้ งั้ หมดจานวน (ตอ) ความหนาแนน่ (ตอ/ไร)่
1 ตะเคยี นหิน Hopea ferrea 254,902 1.25
2 แดง Xylia xylocarpa 127,451 0.63
3 มะค่าแต้ Sindora siamensis 25,490 0.13
76,471 0.38
4 รงั Shorea siamensis 50,980 0.25
38,235 0.19
5 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 25,490 0.13
6 เต็ง Shorea obtusa 12,745 0.06
25,490 0.13
7 แสมสาร Senna garrettiana 12,745 0.06
12,745 0.06
8 ตีนนก Vitex pinnata 12,745 0.06
9 พะยูง Dalbergia cochinchinensis 675,490 3.33
10 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifoli
11 ติว้ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense
12 Unknown Unknown
รวม
5. สังคมพชื
จากผลการสารวจเกบ็ และวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติภูเวียง พบว่า มีสังคมพืช 5
ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ปา่ เตง็ รงั ทุ่งหญ้าธรรมชาติ และแหลง่ น้า จากวิเคราะห์ขอ้ มูลสังคมพืชพบ
ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถี่ (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสาคัญของ
พรรณไม้ (IVI) ในพ้นื ที่อทุ ยานแห่งชาติภเู วยี ง ชนิดไม้ทม่ี คี ่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตะเคียนหนิ (Hopea ferrea) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli)
หว้าหิน (Syzygium claviflorum) กระเบาใหญ่ (Hydnocarpus anthelminthicus) พลองเหมือด
(Memecylon edule) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) เขลง (Dialium cochinchinense) แดงคลอง
(Syzygium syzygioides) และพลบั พลา (Microcos tomentosa) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 15
ในพื้นท่ีป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) หว้าหิน (Syzygium claviflorum)
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) กระเบาใหญ่ (Hydnocarpus anthelminthicus) พลองเหมือด
(Memecylon edule) แดงคลอง (Syzygium syzygioides) เขลง (Dialium cochinchinense) พลับพลา
(Microcos tomentosa) และมะชมพู่ปา่ (Syzygium aqueum) ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 16
37
ในพ้นื ทีป่ ่าเบญจพรรณ มชี นดิ ไมท้ ่มี ีค่าดชั นีความสาคญั ของชนิดไม้ (IVI) สงู สุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) กาสามปีก (Vitex peduncularis) สะแกแสง (Cananga
latifolia) สาธร (Millettia leucantha) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) พลับพลา (Microcos tomentosa)
มะค่าแต้ (Sindora siamensis) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) ขี้อ้าย (Terminalia triptera)
และง้ิวปา่ (Bombax anceps) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 17
ในพื้นท่ีป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) แดง (Xylia xylocarpa) สาธร (Millettia
leucantha) ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) เต็ง (Shorea
obtusa) ง้ิวป่า (Bombax anceps) กาสามปีก (Vitex peduncularis) และขว้าว (Haldina cordifolia) ดัง
รายละเอยี ดในตารางท่ี 18
ในพ้ืนท่ีทุ่งหญ้าธรรมชาติ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ไดแ้ ก่ แดงคลอง (Syzygium syzygioides) หวา้ หิน (Syzygium claviflorum) ยางบง (Persea kurzii) ก่อตลับ
(Quercus ramsbottomii) พลองเหมอื ด (Memecylon edule) กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifoli) จาปีดง
(Magnolia henryi) เขลง (Dialium cochinchinense) เหมือดคนตัวผู้ (Helicia nilagirica) และข่อย (Streblus
asper) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 19
ตารางท่ี 15 ดัชนคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ท้งั หมดในอุทยานแห่งชาติภเู วยี ง (20 อนั ดับแรก)
38
ตารางที่ 16 ดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดิบแลง้ ในอทุ ยานแหง่ ชาติภเู วยี ง (20 อันดับแรก)
39
ตารางที่ 17 ดชั นคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เบญจพรรณในอทุ ยานแหง่ ชาติภเู วยี ง (20 อันดับแรก)
40
ตารางที่ 18 ดชั นคี วามสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เต็งรงั ในอุทยานแหง่ ชาติภเู วยี ง (20 อันดับแรก)
41