The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chantarat Somkane, 2020-11-17 22:02:03

อุทยานแห่งชาติดอยหลวง

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสํารวจทรพั ยากรป่าไม้

อทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง

กลุม่ งานวิชาการ สาํ นักบริหารพื้นท่อี นุรักษ์ ท่ี 15 (เชยี งราย)
สว่ นสาํ รวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟแู ละพฒั นาพ้นื ท่อี นุรกั ษ์

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธพ์ุ ืช
พ.ศ. 2557

บทสรุปสําหรบั ผ้บู ริหาร

จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พื้นท่ีป่าไม้ในประเทศได้ลดน้อยลงอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบัน
เหลืออยเู่ พียงประมาณร้อยละ 33.56 ของพ้ืนท่ีประเทศ การดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหนึ่ง
ที่ทําให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร ตลอดจนความเกี่ยวข้องของปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการ
บุกรุกทําลายป่า เพ่ือนํามาใช้ในทํากิจกรรมต่างๆ ทดแทนพื้นท่ีป่าเดิมตลอดจนจะได้ใช้เป็นฐานข้อมูลของพื้นที่
ในการดําเนินการตามภาระงานท่ีรับผิดชอบต่อไป ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้ดําเนินการมา
อย่างต่อเนอ่ื ง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556–2557 กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณ
แก่สาํ นักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 15 (เชียงราย) โดยได้กําหนดแผนงานและกาํ หนดจุดสาํ รวจเป้าหมายในพื้นท่ี
อุทยานแห่งชาติดอยหลวง ซึ่งมีเน้ือท่ี 730,927 ไร่ หรือประมาณ 1,169.48 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนท่ี
อําเภองาวและอําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง อําเภอแม่ใจและอําเภอเมือง จังหวัดพะเยาและอําเภอพาน
อําเภอแม่สรวยและอําเภอเวียงป่าเป้าจังหวัดเชียงราย ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสํานักบริหารพื้นที่
อนุรักษ์ที่ 13 (ลําปาง) จาํ นวน 47 แปลง และสาํ นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 15 (เชียงราย) จาํ นวน 135 แปลง
รวมท้ังส้ินจํานวน 182 แปลง สําหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมีขนาดคงท่ี
รูปวงกลม 3 วง ซอ้ นกนั คือ วงกลมรศั มี 3.99,12.62,17.84 เมตร ตามลาํ ดบั และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร
อยู่ตามทศิ หลักท้งั 4 ทศิ

ผลการสํารวจและวิเคราะหข์ ้อมูล พบวา่ ในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวงมลี กั ษณะการใช้ประโยชน์
ที่ดินท่ีสาํ รวจพบท้ัง 7 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา สวนป่า ท่ีอยู่อาศัยและ
พื้นทเ่ี กษตรกรรม โดยพบป่าเบญจพรรณมากทีส่ ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.75 ของพ้นื ที่ท้งั หมด รองลงมา คอื ปา่ ดิบเขา
คิดเป็นร้อยละ 15.38 ของพ้ืนที่ทั้งหมด พ้ืนที่เกษตรกรรมคิดเป็นร้อยละ 15.38 ของพ้ืนที่ทั้งหมด ป่าเต็งรัง
คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.89 ของพื้นทที่ ้งั หมด ปา่ ดิบแล้งคดิ เป็นรอ้ ยละ 3.85 ของพน้ื ที่ทงั้ หมด สวนปา่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.20
ของพ้ืนท่ีทั้งหมดและลาํ ดับสุดท้ายเป็นท่ีอยู่อาศัย คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด สําหรับพรรณไม้รวม
ทุกชนดิ ปา่ พบท้ังสนิ้ 64 วงศ์ มีมากกว่า 341 ชนิด รวมจํานวน 53,133,755 ต้น คิดเป็นปรมิ าตรไมร้ วมท้งั หมด
12,876,145.34 ลูกบาศก์เมตร มีความหนาแน่นของไม้เฉลี่ย 72.72 ต้นต่อไร่ และมีปริมาตรไม้เฉล่ีย 17.61
ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ซง่ึ เม่อื เรยี งลาํ ดบั จากจํานวนตน้ ท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คอื รงั (Shorea
siamensis) มะกอกเกล้ือน (Canariumsubulatum) มะเกลือเลือด (Terminalia mucronata) เหียง
(Dipterocarpus obtusifolius) สกั (Tectona grandis) มงั ตาน (Schima wallichii) เต็ง (Shorea obtusa)
ก่อเดือย (Castanopsis tribuloides) มะแฟน (Protium serratum) และก่อใบเล่ือม (Castanopsis
acuminatissima) ตามลําดับ แต่เม่ือเรียงลําดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ รัง
(Shorea siamensis) มะกอกเกลอ้ื น (Canarium subulatum) มะเกลือเลือด (Lagerstroemia mucronata)
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) สัก (Tectona grandis) มังตาน (Schima wallichii) ก่อใบเลื่อม

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

(Castanopsis acuminatissima) เตง็ (Shorea obtusa) ก่อเดือย (Castanopsis tribuloides) และมะแฟน
(Protium serratum) ตามลําดับ ไมย้ นื ต้นพบมากสุดในป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แลง้

กล้าไม้ (Seedling) ทพ่ี บในแปลงสํารวจมมี ากกว่า 186 ชนิด รวมจํานวนทง้ั หมด 3,212,119,720 ตน้
ซ่ึงเม่ือเรียงลาํ ดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ กระพี้เขาควาย (Dalbergia
cultrata) แข้งกวาง (Wendlandia tinctoria) โลด (Aporosa villosa) สมอไทย (Terminalia chebula)
กอ่ เดือย (Castanopsis acuminatissima) เปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii) กาสามปีก (Vitex peduncularis)
ตว้ิ เกล้ยี ง (Cratoxylum cochinchinense) มะเม่าสาย (Antidesma sootepense) และต้ิวขน (Cratoxylum
formosum) ตามลาํ ดับ ป่าท่ีสาํ รวจพบจํานวนกล้าไม้มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบเขา
และป่าเต็งรงั ตามลําดับ

ลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสาํ รวจมีมากกว่า 137 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 69,663,225 ต้น
ซง่ึ เมอ่ื เรียงลาํ ดับจากจาํ นวนต้นทพ่ี บมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อนั ดับแรก ได้แก่ คางคก (Nyssa javanica) กําพี้
(Dalbergia ovata) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa) สกั (Tectona
grandis) ปลายสาน (Eurya acuminata) ปอตีนเต่า (Colona winitii) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii)
กาสามปีก (Vitex peduncularis) และชิงชนั (Dalbergia oliveri) ตามลาํ ดบั ปา่ ท่ีสํารวจพบจํานวนลูกไม้มาก
ที่สดุ คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ เขา

ไผ่ (Bamboo) ทีพ่ บในแปลงสาํ รวจ มีจาํ นวน 9 ชนดิ รวมท้งั สน้ิ 16,111,428 กอ 189,077,340 ลาํ
ประกอบดว้ ย ไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata) ไผซ่ าง (Dendrocalamus strictus) ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum
virgatum) ไผ่บง (Bambusa nutans) ไผ่หอม (Bambusa polymorpha) ไผ่บงใหญ่ (Dendrocalamus
brandisii) ไผข่ า้ วหลาม (Cephalostachyum pergracile) ไผห่ ก (Dendrocalamus hamiltonii) และไผไ่ ลล่ อ
(Schizostachyum mekongensis) ซ่ึงพบได้ในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าเต็งรัง สวนป่า และ
พน้ื ท่เี กษตรกรรม

กล้วยปา่ ท่พี บในแปลงสาํ รวจ มจี าํ นวน 927,746 กอ รวมทงั้ ส้นิ จาํ นวน 1,006,148 ต้น พบใน
ป่าดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณป่าดิบเขาและปา่ เต็งรัง

ตอไมท้ ีส่ ํารวจพบ มมี ากกวา่ 27 ชนดิ รวมจาํ นวนทั้งสน้ิ 2,354,305 ตอ มคี ่าความหนาแนน่ ของ
ตอไม้เฉล่ีย 3.22 ตอต่อไร่ โดยจาํ นวนตอพบมากท่ีสุดคือ ป่าเบญจพรรณ มีจาํ นวน 1,313,337 ตอ รองลงมา
คอื ปา่ เตง็ รงั มจี าํ นวน 514,059 ตอ และพื้นท่เี กษตรกรรม มีจํานวน 321,287 ตอ สว่ นผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
สังคมพืช พบว่า ชนิดไม้ท่ีมีความถี่ (Frequency) มากที่สุด คือ มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum)
รองลงมาคือ มะแฟน (Protium serratum) และกางขม้ี อด (Albizia odoratissima) ชนิดไมท้ มี่ คี วามหนาแนน่
ของพชื พรรณ (Density) มากท่สี ดุ คือ มะกอกเกลอ้ื น (Canarium subulatum) รองลงมาคือ มะแฟน (Protium
serratum) และกางขม้ี อด (Albizia odoratissima) ชนิดไม้ทมี่ ีความเด่น (Dominance) มากทส่ี ุด คอื มะกอกเกลื้อน
(Canarium subulatum) รองลงมา คือ มะเกลือเลือด (Lagerstroemia duperreana) และมะแฟน (Protium
serratum) ชนิดไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากท่ีสุด คือ มะกอกเกล้ือน (Canarium

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

subulatum) รองลงมา คอื มะแฟน (Protium serratum) และกางขม้ี อด (Albizia odoratissima) ชนดิ ไม้ท่ี
มีความหนาแน่นสมั พัทธ์ (Relative Density) มากทส่ี ุด คือ มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) รองลงมา
คือ มะแฟน (Protium serratum) และเปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ชนดิ ไมท้ ี่มคี วามเด่นสัมพัทธ์ (Relative
Dominance) มากท่ีสุด คือ มะเกลือเลือด (Lagerstroemia duperreana) รองลงมา คือ มะกอกเกล้ือน
(Canarium subulatum) และมะแฟน (Protium serratum) ชนิดไม้ท่ีมีค่าความสําคัญทางนิเวศวิทยา
(Importance Value Index : IVI) มากท่ีสุด คือ รัง (Shorea siamensis) รองลงมา คือ มะกอกเกล้ือน
(Canarium subulatum) และเต็ง (Shorea obtuse)

และข้อมลู เก่ียวกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ พบว่า ชนดิ ป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
ท่ีมีความหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบเขา
และปา่ ดิบแลง้ ซ่งึ ชนิดป่าหรอื ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness)
มากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบเขาและป่าเต็งรัง และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์
ท่ีดินที่มีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Evenness) มากที่สุด คือ ดิบแล้ง รองลงมา คือ เกษตรกรรม
และป่าเบญจพรรณ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า
มีไม้ยืนต้นขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) ระหวา่ ง 15-45 เซนตเิ มตร จํานวน 32,157,155 ตน้ คิดเป็นร้อยละ
60.52 ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มีจํานวน
16,202,661 ตน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.49 ของไม้ทงั้ หมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
100 เซนติเมตรขึน้ ไป จํานวน 4,773,940 ตน้ คิดเปน็ ร้อยละ 8.98 ของไมท้ งั้ หมด

จากผลการดําเนินงานดังกล่าว ทําให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กําลังผลิตและความหลากหลายของพันธ์ุพืชในพื้นที่ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติดอยหลวง อีกท้ังยังเป็นแนวทาง
ในการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ เกี่ยวกบั รูปแบบ วิธีการสาํ รวจ และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผน
เพอื่ เป็นแนวทางในการตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาติดอยหลวงตอ่ ไป

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้นื ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

   i

สารบญั หนา้
I
สารบญั III
สารบัญตาราง IV
สารบญั ภาพ 1
คาํ นาํ 2
วตั ถุประสงค์ 2
เป้าหมายการดาํ เนนิ การ 3
ขอ้ มลู ท่ัวไปอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง 3
3
ประวัตคิ วามเปน็ มา 4
ทตี่ ้งั และอาณาเขต 5
ลักษณะภูมิประเทศ 6
ลักษณะทรัพยากรนา้ํ 8
สภาพทางธรณีวทิ ยา 9
เสน้ ทางคมนาคม
ดา้ นการท่องเที่ยวและนันทนาการ 11
รปู แบบและวธิ ีการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ 11
การสุ่มตวั อย่าง (Sampling Design) 12
รปู ร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 12
ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลท่ที าํ การสาํ รวจ 13
การวิเคราะหข์ อ้ มูลการสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้ 13
1. การคาํ นวณเน้อื ท่ีป่าและปริมาณไมท้ ั้งหมดของแต่ละพืน้ ทีอ่ นรุ ักษ์ 13
2. การคาํ นวณปรมิ าตรไม้ 14
3. ข้อมูลทัว่ ไป 14
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้ 14
5. การวิเคราะห์ข้อมลู ชนดิ และปรมิ าณของลูกไม้ (Sapling) และกล้าไม้ (Seedling) 14
6. การวิเคราะหข์ อ้ มูลชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ 15
7. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สังคมพืช 16
8. วเิ คราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง 

    ii

สารบญั (ต่อ) หน้า
17
ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 17
1. การวางแปลงตวั อยา่ ง 18
2. พืน้ ท่ปี า่ ไม้ 28
3. ปรมิ าณไม้ 32
4. ชนดิ พันธไุ์ ม้ 45
5. สงั คมพืช 52
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ 53
55
สรุปผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทรพั ยากรปา่ ไม้ 55
วิจารณผ์ ลการศึกษา 56
ปัญหาและอุปสรรค 57
ขอ้ เสนอแนะ 58
เอกสารอา้ งอิง
ภาคผนวก

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ท่ีอุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง 

  iii

 

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา้

1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มูลท่ีทําการสํารวจ 12

2 พื้นท่ปี า่ ไมจ้ ําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินในอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง 19

3 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดจําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ินในอุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 28

(Volume by Landuse Type)

4 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ตอ่ หน่วยพืน้ ทจ่ี ําแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน 30

ในอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง (Density and Volume per Area by Landuse Type)

5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง 31

6 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง (30 ชนิดแรกท่ีมีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ ) 35

7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดิบแลง้ ของอุทยานแห่งชาติดอยหลวง (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ ูงสุด) 36

8 ปริมาณไมใ้ นปา่ ดิบเขาของอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง (30 ชนดิ แรกทีม่ ปี ริมาตรไมส้ ูงสุด) 37

9 ปริมาณไมใ้ นปา่ เบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติดอยหลวง (30 ชนิดแรกทม่ี ปี ริมาตรไมส้ งู สดุ ) 38

10 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ เต็งรังของอุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง (30 ชนิดแรกท่ีมปี ริมาตรไมส้ ูงสดุ ) 39

11 ปรมิ าณไมใ้ นสวนป่าของอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง (30 ชนิดแรกที่มปี ริมาตรไมส้ งู สุด) 40

12 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ที่เกษตรกรรมของอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง (30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมาตรไมส้ งู สดุ ) 41

13 ชนิดและปรมิ าณไม้ไผ่ (Seedling) ท่พี บในอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง 41

14 ชนดิ และปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Sapling) ทพี่ บในอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง 42

15 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ท่พี บในอุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 43

16 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ที่พบในอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง 44

17 ดชั นคี วามสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้ง 46

ในอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

18 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ 47

ในอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

19 ดชั นคี วามสําคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ เต็งรัง 48

ในอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง

20 ดัชนีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบเขา 49

ในอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

21 ดัชนคี วามสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของสวนป่า 50

ในอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

22 ดชั นคี วามสําคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพืน้ ท่ีเกษตรกรรม 51

ในอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง

23 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พนั ธุ์ไมใ้ นอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 52

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 

    iv

สารบญั ภาพ หน้า
4
ภาพท่ี 9
1 แสดงทต่ี ง้ั อุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 10
2 บริเวณนา้ํ ตกปูแกง 10
3 บรเิ วณนาํ้ ตกวังแก้ว 11
4 บริเวณจุดชมวิวภูผาแดง 17
5 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 18
6 แผนทแี่ สดงขอบเขตของอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 20
7 แปลงตวั อยา่ งที่ได้ดาํ เนินการสาํ รวจภาคสนามในอุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง 21
8 พนื้ ทป่ี ่าไมจ้ ําแนกตามชนดิ ป่าในพ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง 22
9 ลักษณะทว่ั ไปของปา่ ดบิ แล้งในพืน้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 23
10 ลักษณะทั่วไปของป่าดิบเขาในพนื้ ทอ่ี ุทยานแห่งชาติดอยหลวง 24
11 ลักษณะทว่ั ไปของปา่ เบญจพรรณในพื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง 25
12 ลกั ษณะท่วั ไปของป่าเต็งรังในพื้นทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง 26
13 ลกั ษณะท่ัวไปของสวนป่าในพน้ื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง 27
14 ลกั ษณะทวั่ ไปของพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมในพืน้ ทอี่ ทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง 29
15 ลักษณะทวั่ ไปของพนื้ ทอ่ี ยู่อาศยั ในพ้ืนที่อทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง 29
16 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดทีพ่ บในพืน้ ท่ีอุทยานแห่งชาติดอยหลวง 30
17 ปรมิ าตรไม้ท้งั หมดทีพ่ บในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง 31
18 ความหนาแน่นของไม้ท้งั หมดในพื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง 32
19 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพื้นทแ่ี ตล่ ะประเภทในพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง
20 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้งั หมดในพน้ื ท่ีอุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาติดอยหลวง 

1

คํานํา

อุทยานแห่งชาติดอยหลวงเป็นอุทยานแห่งแรกที่ได้ประกาศจัดตั้งในพื้นที่ของสํานักบริหารพื้นที่
อนุรักษ์ท่ี15 (เชียงราย) นอกจากเป็นแหล่งรวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่แล้ว ยังมีความสําคัญ
ในการเป็นแหล่งต้นนํ้าลําธารท่ีสําคัญของทั้งสามจังหวัดคือ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา รวมท้ังจังหวัดลําปาง
พื้นที่ป่าที่กว้างใหญ่ของอุทยานฯ มีการใช้ประโยชน์ของชุมชนทั้งในพื้นที่อุทยานฯ และชุมชนรายรอบอย่าง
หลากหลาย อาทิ เปน็ แหล่งเลี้ยงสัตว์ในฤดูเพาะปลูก เป็นแหล่งของสมุนไพรและของป่านานาชนิด เช่น หนอน
รถด่วน เห็ด หน่อไม้ ไมไ้ ผ่ ตองกง๋ สาํ หรับทําไมก้ วาด

แตป่ ัจจุบันพบวา่ สภาพปา่ ไดถ้ กู บุกรุกอย่างกว้างขวาง แม้ว่าเจ้าหน้าท่ีในพื้นท่ีได้พยายามป้องกัน
ตามกาํ ลังความสามารถ ดงั นนั้ การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพืน้ ทจ่ี ึงเปน็ เครอื่ งมือทีส่ าํ คัญในการช่วยเหลือเจ้าหนา้ ท่ี
ทั้งในระดับบริหารและระดับพ้ืนที่ในการทราบถึงสภาพที่แท้จริงของการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในพื้นที่ รวมท้ัง
ยังช่วยในการประเมินผลสภาพการใช้ประโยชน์ในพ้ืนที่ จุดเส่ียงในการบุกรุกของชุมชนในพ้ืนที่เพื่อการร่วมมือ
และการชว่ ยเหลือกันในการรกั ษาทรพั ยากรป่าไมใ้ นพ้นื ทใี่ หค้ งอย่เู ปน็ มรดกของลูกหลานสืบไป

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

2

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือใหท้ ราบขอ้ มูลพน้ื ฐานเก่ยี วกับทรัพยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะด้านกาํ ลงั ผลติ และความหลากหลาย
ของพืชพันธุใ์ นพื้นที่อนรุ ักษ์ต่างๆ ของประเทศไทย

2. เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกบั รูปแบบ วธิ ีการสาํ รวจ และการวเิ คราะห์
ขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบและแบบแผน

3. เพื่อเปน็ แนวทางในการวางระบบติดตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้นื ท่ี
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชํากล้าไม้
เพื่อปลกู เสรมิ ปา่ ในแตล่ ะพนื้ ที่

เป้าหมายการดาํ เนินงาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2557 สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและพัฒนา
พ้ืนท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานและกําหนดพื้นที่
สํารวจเปา้ หมายให้กลมุ่ งานวชิ าการ สํานกั บริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ท่ี15 (เชียงราย) ดําเนินการสํารวจทรัพยากรป่าไม้
ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยหลวงในท้องท่ีอาํ เภองาวและอําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง ซึ่งอยู่ในความดูแล
รับผิดชอบของสาํ นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (ลําปาง) จํานวน 47 แปลง และอยู่ในท้องที่อําเภอพาน และ
อําเภอแม่สรวยและอําเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงรายและท้องที่อาํ เภอแม่ใจและอาํ เภอเมือง จังหวัดพะเยา
ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสาํ นักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 15 (เชียงราย) จํานวน 135 แปลง รวมทั้งสิ้น
182 แปลง

การสํารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม
3 วงซ้อนกันคือ วงกลมรัศมี 3.99,12.62,17.84 เมตรตามลําดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จาํ นวนทัง้ ส้ิน 43 แปลง และทําการเก็บขอ้ มลู การสาํ รวจทรัพยากรป่าไมต้ ่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนํามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเน้ือท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ
และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาํ ลงั ผลิตของปา่ ตลอดจนการสืบพนั ธตุ์ ามธรรมชาตขิ องหม่ไู ม้ในป่าน้ัน

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

3

ข้อมูลทว่ั ไปอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

ประวตั ิความเปน็ มา

อทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง เร่ิมสาํ รวจจัดตั้ง ปีพ.ศ. 2529 โดยการรวมวนอุทยานจํานวน 4 แหง่

คอื วนอทุ ยานนาํ้ ตกปแู กง วนอุทยานน้าํ ตกจาํ ปาทอง วนอทุ ยานน้ําตกวังแกว้ และวนอุทยานนํ้าตกผาเกล็ดนาค

เข้าไวด้ ว้ ยกนั

ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติลําดับที่ 61 เมอ่ื วันที่ 16 เมษายน 2533 และเปน็ อทุ ยานฯ แห่งแรก

ในจงั หวัดเชยี งราย พน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบท้ังหมด 731,250 ไร่ หรอื 1,170 ตารางกิโลเมตรครอบคลมุ พืน้ ทบ่ี างส่วนของ

7 อาํ เภอใน 3 จังหวัด คือ

1. อาํ เภอพาน จงั หวดั เชียงราย พน้ื ท่ี 160,625 ไร่ (21.96%) พื้นทีจ่ ังหวดั เชียงราย
2. อาํ เภอแม่สรวย จังหวดั เชียงราย พ้นื ท่ี 164,375 ไร่ (22.48%) รวม 398,125 ไร่
3. อาํ เภอเวยี งปา่ เปา้ จังหวดั เชียงราย พน้ื ที่ 73,125 ไร่ (10.00%) (54.44%)

4. อาํ เภอวังเหนอื จงั หวัดลําปาง พ้นื ท่ี 206,250 ไร่ (28.21%) พนื้ ท่จี ังหวัดลําปาง
5. อําเภองาว จงั หวดั ลําปาง พนื้ ที่ 1,250 ไร่ (0.17%) รวม 207,500 ไร่
6. อําเภอแมใ่ จ จังหวดั พะเยา พ้นื ท่ี 36,875 ไร่ (5.04%)
(28.38%)

พ้ืนท่ี จงั หวัดพะเยา

7. อาํ เภอเมอื ง จังหวัดพะเยา พื้นท่ี 88,750 ไร่ (12.14%) รวม 125,625 ไร่
(17.18%)

ที่ตัง้ และอาณาเขต

อทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง ตั้งอยูท่ างภาคเหนือตอนบน อย่รู ะหว่างเสน้ รุ้งท่ี 19 องศา ถึง 19 องศา 45
ลปิ ดาเหนอื และเสน้ แวงที่ 99 องศา 25 ลปิ ดา ถึง 99 องศา 50 ลิปดาตะวนั ออก มเี น้ือทป่ี ระมาณ 731,250 ไร่
(1,170 ตารางกโิ ลเมตร)

ทิศเหนือ อยู่ในเขตอําเภอพาน จังหวดั เชียงราย
ทศิ ใต้ อยใู่ นเขตอาํ เภอพาน จังหวดั เชียงรายและอาํ เภอแมใ่ จ อําเภอเมือง จงั หวดั พะเยา
ทศิ ตะวันออก อยใู่ นเขตอําเภอวงั เหนือ อาํ เภองาว จงั หวัดลําปาง

(บางสว่ นตดิ กับอุทยานแหง่ ชาตแิ จ้ซอ้ น)
ทศิ ตะวนั ตก อยู่ในเขตอําเภอแม่สรวย อําเภอเวียงป่าเป้า จงั หวดั เชียงราย

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนท่อี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

4

ภาพที่ 1 แสดงทีต่ ้ังอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง
ลักษณะภูมปิ ระเทศ

เปน็ เทือกเขาสงู อย่บู รเิ วณภาคเหนอื ตอนบนระหวา่ งเส้นรุ้งท่ี 19 องศา ถึง 19 องศา 45 ลิปดาเหนือ
และเส้นแวงที่ 99 องศา 25 ลิปดา ถึง 99 องศา 50 ลิปดาตะวันออก บริเวณน้ีเรียกว่า ดอยผีปันน้ํา ความสูงของ
พ้ืนท่ีจากระดับนา้ํ ทะเลปานกลางตั้งแต่ 400 เมตร ถึง 1,600 เมตร มีดอยที่สูงที่สุดชื่อ ดอยหลวง สูงประมาณ
1,694 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์เป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนทอดตัวตาม
แนวเหนือ-ใต้ ซึ่งเป็นแนวปะทะของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ จึงทาํ ให้เกิดความชุ่มชื้นต่อพื้นที่ ประกอบกับ
สภาพดินเป็นประเภท Red yello Podzolic, Reddish brown Lateric, Low Humic Gley และ Gray-
podzolic

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

5

ลักษณะทรัพยากรน้าํ

อทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง เปน็ ผืนป่าตน้ นํ้าลาํ ธารผืนท่สี าํ คญั ในจังหวัดเชียงราย พะเยา และลาํ ปาง
สามารถแบง่ เป็นพน้ื ที่ลุม่ นํ้าดังน้ี

1. พื้นทล่ี ุ่มนํ้าลาว (ไหลลงสแู่ ม่น้าํ ลาว)

- หว้ ยแสนตอ - หว้ ยแม่ก้อ

- ห้วยมว่ ง - หว้ ยแมต่ ะละ

- หว้ ยแม่พรกิ - ห้วยแม่จอม

- ห้วยแม่ตาแมว - หว้ ยเวยี ง

- หว้ ยดนิ ดํา - ห้วยปา่ สัก

2. พื้นท่ีลมุ่ นาํ้ พาน(ไหลลงสแู่ มน่ ้าํ องิ ทางอําเภอปา่ แดด)

- หว้ ยหลวง

- ห้วยแมส่ า้ น

- หว้ ยปูแกง

- ห้วยแมเ่ ยน็

3. พ้ืนทลี่ ุม่ นํา้ วัง(ไหลลงส่แู มน่ าํ้ วัง)

- หว้ ยแมง่ า - หว้ ยแมก่ ึ๊ด

- หว้ ยแม่ฮอ้ ม - หว้ ยแมเ่ ลยี บ

- หว้ ยแมห่ ีด - ห้วยแมเ่ ยน็

4. พื้นทล่ี ุม่ นํ้ากว๊านพะเยา(ไหลลงสูก่ วา๊ นพะเยา)

- หว้ ยแมใ่ จ - หว้ ยแมต่ ๋อม

- ห้วยแมส่ กุ - หว้ ยแม่ตุ่น

- ห้วยแม่เหย่ยี น - หว้ ยแมน่ าเรอื

- ห้วยแมต่ า๊ํ

5. พ้นื ทลี่ มุ่ นํ้างาว(ไหลลงส่แู ม่นา้ํ ยม)

- หว้ ยแมง่ าว

(ข้อมลู : จากร่างสมบูรณแ์ ผนแมบ่ ทอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง)

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

6

สภาพธรณีวทิ ยา

ลกั ษณะของหนิ

ดา้ นตะวันตกเฉยี งเหนือ

บริเวณท่ีลาดเชงิ เขาจนถึงสันเขาในอําเภอแม่สรวย และบางส่วนทางตอนเหนอื ของอําเภอวงั เหนือ
ทอดยาวในแนวเหนือใต้ ครอบคลุมพ้ืนที่ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หินท่พี บจะเป็นหินช้ันและหินแปล อยู่ในวง
หินตะนาวศรี หมวดหนิ กาญจนบุรี หนิ ทีพ่ บส่วนใหญเ่ ปน็ หินตะกอน ประกบด้วย หนิ ดนิ ดาน หนิ ดนิ ดานเนื้อทราย
หนิ ทราย บางแหง่ หนิ เหลา่ นจ้ี ะถกู แปรสภาพเปน็ ฟลิ ไลทค์ วอไซด์ หินชนวน และพบหนิ ปูนปรากฏเป็นแหง่ ๆ ด้วย
ส่วนมากเปน็ หินปูนสีเทา

ตอนกลางของพน้ื ท่ี

บริเวณสนั เขาสงู บรเิ วณดอยหลวง ดอยแมพ่ ริก และดอยหมอกในเขตอาํ เภอแม-่ สรวยและอาํ เภอ
วงั เหนือ พบเป็นแนวแคบๆ บนสนั เขา จะพบหนิ อคั นี (GENEOUS ROCKS) ในยุคคารบ์ อนิเฟอรร์ สั มอี ายุประมาณ
345-280 ลา้ นปี

ด้านตะวนั ออกเฉียงเหนอื

บรเิ วณทีล่ าดเชิงเขาดา้ นลา่ งพบเปน็ บรเิ วณกวา้ งในเขตอาํ เภอพาน ครอบคลมุ พ้นื ท่ปี ระมาณ 10
เปอร์เซ็นต์ หินท่ีพบเป็นหินช้ันและหินแปรในยุคควอเตอร์นารี (QUATERNARY) เป็นหินขุดท่ีมีอายุน้อยท่ีสุด
ในช่วง 1.8 ล้านปี ถึงปัจจุบัน เป็นหินตะกอนดิน ทราย ที่น้ําพัดพามาทับถมในท่ีราบล่มุ ไหล่เขา หุบเขาปนกับ
กรวดในลํานํ้า

ด้านตะวนั ออกเฉียงใต้

บริเวณท่ีราบเชิงเขาด้านล่างสภาพพ้ืนที่เป็นเนินเต้ียๆ ในเขตอาํ เภอแม่ใจ อําเภอเมืองพะเยา
ครอบคลุมพ้ืนท่ีประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ หินที่พบเป็นหินช้ันและหินแปรในยุคไทรแอสสิก(TRIASSIC)
ปวงหนิ ลําปาง (LAMPANG GROUP) หมวดหินทะเล (MARINEFORMATION) ประกอบดว้ ยหนิ ทราย หนิ ดินดาน
และหินกรวดมน นอกจากน้ียังพบหินอัคนีอยู่ทางตอนใต้ของพ้ืนที่ จําพวกหินแกรนิต มีลักษณะเน้ือหินสีแดง
ม่วงอ่อน และยังพบหินในยุคจูราสสิค (JURASSIC) เป็นหินตะกอนประกอบด้วยหินกรวดมน หินทรายและ
หนิ ชนวนวางตัวอยู่บนชัน้ หนิ ยคุ ไทรแอสสคิ (ข้อมลู : จากรา่ งสมบรู ณแ์ ผนแม่บทอุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง)

ด้านตะวันออก (รมิ กว๊านพะเยา)

บรเิ วณท่ีราบลมุ่ แม่นาํ้ วงั ในอาํ เภอวังเหนือ (ตอนใต้ของพนื้ ที่) บรเิ วณทรี่ าบลุ่มอาํ เภอเวยี งปา่ เป้า
(ทางตะวันตกของพื้นท่ี) ตลอดจนบริเวณท่ีราบลุ่มริมแม่นา้ํ ลาว อาํ เภอแม่-สรวย จะพบหินช้ันและหินแปร
ปวงหนิ กระบี่ หมวดหนิ แมเ่ มาะและล้ี เปน็ หนิ กง่ึ แข็ง กึ่งร่วน ทเ่ี กดิ จากการสมานตัวของตะกอนทต่ี กลงมาสะสมใน
แหล่งนํ้าจืด ประกอบด้วยดิน ทราย และลิกไนท์ รวมทั้งสิ่งสะสมบนตะพักทางภาคเหนือ จึงเป็นหินตะกอน
จําพวกหนิ กรวดมน หินทราย และหนิ ดินดาน

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

7

ทรัพยากรดนิ

แบ่งตามลักษณะของดนิ ไดด้ งั น้ี ที่ดนิ บริเวณท่ีราบน้ําทว่ มถึง (floodplain) เปน็ ท่ีดนิ ที่ประกอบดว้ ย
ดนิ ที่เกดิ จากตะกอนใหม่ของลาํ นาํ้ ทพ่ี ดั พามาทับถมพ้นื ทเี่ ปน็ แนวแคบๆ ตามบรเิ วณใกลแ้ มน่ ้ําลาํ ธารและมีนํ้าท่วม
ถงึ อยเู่ สมอๆ ในชว่ งฤดูฝนพบมากตามแนวแมน่ ํ้ากก แม่น้ําสาย แม่นํ้าแมจ่ ัน แมน่ ้าํ คาํ และแมน่ าํ้ ลาว ประกอบด้วย
การจาํ แนกคณุ ภาพดนิ ดังต่อไปนคี้ ือ

หน่วยท่ีดินท่ี 1 สภาพพื้นท่ีค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชันเกิดตามสันดินริมน้ํา มีความลึกต้ืน
ลักษณะของดินคือ เน้ือดินละเอียด การระบายน้ําดีถึงปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง การใช้
ประโยชน์คอื ปลกู ผัก พชื ไร่ และไมผ้ ล

หน่วยที่ดินที่ 2 สภาพพื้นที่ลาดชันเล็กน้อยถึงปานกลาง มีความลึกตื้น ลักษณะของดินคือ
เนื้อดินค่อนข้างหยาบถึงปานกลาง มีการระบายนํ้าดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง การใช้ประโยชน์คือ
ปลกู พืชไร่

หน่วยที่ดินท่ี 3 สภาพพื้นท่ีลาดชันเล็กน้อยถึงสูง มีลักษณะค่อนข้างตื้น ลักษณะของดินมีเศษหิน
กรวดลูกรังปะปนในช้ันดิน การระบายนํ้าดีถึงค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ํา การใช้ประโยชน์พ้ืนท่ี
คือ ไม้พุม่

หนว่ ยท่ีดินที่ 4 สภาพพื้นท่ีค่อนข้างราบอยู่ระหว่างเนิน ลักษณะของดินมีเน้ือดินเป็นทราย มีน้ําขัง
ในฤดูฝน ความอุดมสมบรู ณข์ องดินตา่ํ การใชป้ ระโยชน์พ้ืนทค่ี ือ นาขา้ ว

หน่วยท่ีดินท่ี 5 สภาพพ้ืนท่ีราบถึงค่อนข้างราบ มีลักษณะค่อนข้างลึก เน้ือดินเป็นดินเหนียว
การระบายนํ้าเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง การใช้ประโยชน์พ้ืนท่ี คือ นาข้าว (ข้อมูล: จากร่าง
สมบูรณ์แผนแม่บทอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง)

ทรพั ยากรนํา้

จากสภาพพื้นท่สี ว่ นใหญ่เป็นเทือกเขาสูงสลับซบั ซอ้ นและชุม่ ช้ืน มีป่าที่อุดมสมบรู ณ์ทําให้พื้นทแี่ หง่
นเี้ ปน็ แหลง่ ต้นนํ้าลําธารทีส่ าํ คญั ได้แก่

- แม่นํ้าวัง ซึ่งจะหล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของราษฎรอําเภอวังเหนือและอําเภอแจ้ซ้อน
จังหวดั ลําปาง แลว้ ไหลลงสู่เข่อื นกิ่วลม ซ่ึงเปน็ สว่ นหนง่ึ ของแม่น้าํ เจ้าพระยา

- แม่นาํ้ ลาว ซ่ึงจะหล่อเลี้ยงพ้ืนท่ีเกษตรกรรมในอาํ เภอแม่ใจ อาํ เภอเวียงป่าเป้า อําเภอแม่สรวย
แลว้ ไหลลงสูจ่ ังหวดั เชียงรายลงแม่น้าํ โขงตอ่ ไป

- กว๊านพะเยา จะมีลาํ นา้ํ หลายสายและทุกลํานาํ้ จะมีการสร้างฝายก้ันนาํ้ เพื่อการเกษตรกรรมใน
พนื้ ทใ่ี กลเ้ คียง ลุ่มน้าํ กวา๊ นพะเยาจะช่วยหลอ่ เลย้ี งพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมในเขตอําเภอแม่ใจ อําเภอเมอื งจงั หวดั พะเยา

- ลุ่มน้ําพานจะหล่อเลี้ยงพื้นท่ีเกษตรกรรมในอาํ เภอพานจังหวัดเชียงราย ไหลลงสู่อาํ เภอป่าแดด
แล้วไหลลงสแู่ มน่ ้ําโขง

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง

8

เสน้ ทางคมนาคม
จากทีท่ าํ การอทุ ยานแห่งชาติถึงหน่วยพทิ กั ษ์อุทยานแห่งชาติแตล่ ะหนว่ ย
1. ทที่ ําการอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง เดินทางโดยใชร้ ถยนต์ใชถ้ นนพหลโยธนิ แยกเข้าทต่ี ัง้ ท่ที ําการ

อุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง บริเวณบา้ นปแู กง มรี ะยะทางหา่ งจากจังหวัดเชยี งราย ระยะทางประมาณ 65 กโิ ลเมตร
และหา่ งจากจงั หวดั พะเยาประมาณ 45 กิโลเมตร

2. หน่วยพทิ ักษ์อุทยานแห่งชาติดอยหลวงท่ี 1 (วังแก้ว) เดนิ ทางโดยใชร้ ถยนต์ ไปตามถนนพหลโยธนิ
แยกเข้าถนนสายพะเยา-วังเหนือ-แม่ขะจาน และแยกเข้าที่ตั้งหน่วยพิทักษ์ฯ บริเวณสามแยกหน้าที่ว่าการ
อําเภอวังเหนอื มีระยะทางหา่ งจากทที่ าํ การอุทยานแหง่ ชาติ ประมาณ 145 กิโลเมตร

3. หนว่ ยพทิ ักษ์อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวงที่ 2 (ทา่ น้ํา) เดนิ ทางโดยใชร้ ถยนต์ ไปตามถนนพหลโยธิน
แยกเข้าท่ีตั้งหน่วยพิทักษ์ฯ บริเวณส่ีแยกด้านตรงข้ามทางเข้าที่ว่าการอาํ เภอแม่ใจ อําเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
มรี ะยะทางห่างจากท่ที าํ การอทุ ยานแหง่ ชาติ ประมาณ 30 กโิ ลเมตร

4. หน่วยพทิ กั ษ์อุทยานแห่งชาติดอยหลวงที่ 3 (ห้วยทราย) เดนิ ทางโดยใชร้ ถยนต์ ใชถ้ นนพหลโยธิน
แยกเข้าถนนสายเชียงใหม่-เชียงราย บริเวณบ้านดงมะดะ อาํ เภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย และแยกเข้าท่ีตั้ง
หน่วยพิทักษ์ฯ บริเวณบ้านโป่งเหนือ อําเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย มีระยะทางห่างจากที่ทาํ การอุทยาน
แหง่ ชาตปิ ระมาณ 110 กโิ ลเมตร

5. หนว่ ยพทิ ักษ์อุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวงท่ี 4 (สันกลาง) เดินทางโดยใชร้ ถยนต์ ใชถ้ นนสายพหลโยธิน
แยกเขา้ ถนนสายบ้านแม่คาวโตน-บา้ นใหม่ลีซอ บริเวณบ้านแม่คาวโตน อาํ เภอพาน จังหวัดเชียงราย มีระยะห่าง
จากทีท่ าํ การอทุ ยานแห่งชาติ ประมาณ 35 กิโลเมตร

6. หนว่ ยพทิ กั ษ์อทุ ยานแห่งชาติดอยหลวงท่ี 5 (ปางอ้อย) เดนิ ทางโดยใช้รถยนต์ ใช้ถนนพหลโยธิน
แยกเข้าถนนสายเชยี งใหม่-เชยี งราย บรเิ วณบ้านสันจําปา ตําบลแม่พริก อําเภอแม่สรวย จงั หวัดเชียงราย มีระยะทาง
จากทท่ี าํ การอทุ ยานแหง่ ชาติ ประมาณ 60 กิโลเมตร

7. หน่วยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวงท่ี 6 (จําปาทอง) เดินทางโดยใช้รถยนต์ ใช้ถนนพหลโยธิน
แยกเข้าถนนสายพะเยานํ้าตกจําปาทอง บริเวณด้านตรงข้ามหน้าสถานีตํารวจทางหลวงพะเยา อําเภอเมืองพะเยา
จังหวดั พะเยา มีระยะทางห่างจากท่ีทาํ การอุทยานแห่งชาติ ประมาณ 54 กิโลเมตร

8. หนว่ ยพิทกั ษอ์ ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวงท่ี 7 (ผาวี) เดินทางโดยใช้รถยนต์ จากถนนข้างที่ว่าการ
อําเภอพาน ไปตําบลป่าห่งุ ถึงบ้านทุ่งมะฝาง ใหเ้ ลี้ยวซ้ายไปบ้านผาวี มีระยะทางห่างจากที่ทําการอุทยานแห่งชาติ
ประมาณ 51 กโิ ลเมตร

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ที่อุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

9

ด้านการทอ่ งเทีย่ วและนนั ทนาการ
แหลง่ ท่องเทย่ี วในอุทยานแหง่ ชาติทนี่ ่าสนใจ ในอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง
ประเภทน้าํ ตก ไดแ้ ก่
1. น้าํ ตกปแู กง ทอ้ งที่ตําบลแม่เย็น อาํ เภอพาน จงั หวดั เชยี งราย ความสงู ท้ังหมด 9 ชั้น
2. นํา้ ตกจําปาทอง ทอ้ งที่ตําบลบา้ นต๊ํา อาํ เภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา ความสูงทงั้ หมด 6 ชนั้
3. นํ้าตกแม่เหยย่ี น ทอ้ งท่ตี าํ บลบา้ นใหม่ อาํ เภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา ความสงู 1 ช้นั
4. นา้ํ ตกวังแก้ว ทอ้ งท่ีตาํ บลวงั แก้ว อําเภอวงั เหนอื จังหวัดลําปางความสูงทงั้ หมด 9 ชนั้

ภาพท่ี 2 น้ําตกปูแกง

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

10

ภาพท่ี 3 นา้ํ ตกวังแก้ว

ภาพท่ี 4 บริเวณจุดชมววิ ภผู าแดง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้ืนที่อุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

11

รูปแบบและวิธีการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้

การสํารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นแต่ละจังหวัดท่วั ประเทศไทย ดําเนินการโดยกลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้
สว่ นสํารวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ และสํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ต่างๆ
ในสังกดั กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พชื
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling Design)

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสมํ่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ท่ี
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกําหนดใหแ้ ต่ละแปลงห่างกัน 2.5 x 2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกําหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนท่ี
(Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวตั้งและ
แนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนท่ีเท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้งั สองแนว
ก็จะเป็นตําแหน่งที่ตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เม่ือดําเนินการเสร็จส้ินแล้วจะทราบจํานวนหน่วยตัวอย่าง
และตําแหน่งที่ต้ังของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างและรูปแบบของการวางแปลงตัวอย่าง
ดังภาพที่ 5

ภาพที่ 5 ลกั ษณะและขนาดของแปลงตวั อย่าง

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทอี่ ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

12

รูปรา่ งและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง (Plot Design)

แปลงตวั อยา่ ง (Sample Plot) ท่ใี ชใ้ นการสํารวจมีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างช่ัวคราว
เปน็ แปลงท่ีมีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ปู ร่าง 2 ลกั ษณะด้วยกัน คือ

1. ลักษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จํานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,

12.62 และ 17.84 เมตร ตามลําดบั
1.2 รูปวงกลมท่ีมีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จํานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน

โดยจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทัง้ 4 ทิศ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จํานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทํามุมฉากซ่ึงกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1
ไดจ้ ากการสมุ่ ตวั อย่าง

ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและข้อมลู ท่ที ําการสาํ รวจ

ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง และขอ้ มลู ทท่ี ําการสํารวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและข้อมลู ท่ีทําการสาํ รวจ

รัศมีของวงกลม หรอื จํานวน พืน้ ท่หี รือความยาว ขอ้ มูลที่สาํ รวจ
ความยาว (เมตร)
กลา้ ไม้
0.631 4 วง 0.0005 เฮกตาร์ ลูกไมแ้ ละการปกคลุมพ้ืนที่ของกล้าไม้ และ
ลูกไม้
3.99 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายที่ยังไม่เล้อื ย และตอไม้
ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจัยทีร่ บกวนพ้ืนท่ีป่า
12.62 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD) หวายเล้ือย
17.84 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ และไม้เถาทีพ่ าดผา่ น
17.84 (เสน้ ตรง) 2 เส้น 17.84 เมตร

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทอี่ ุทยานแห่งชาติดอยหลวง

13

การวิเคราะหข์ อ้ มลู การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การคํานวณเนอ้ื ท่ปี า่ และปริมาณไมท้ ง้ั หมดของแตล่ ะพนื้ ทอี่ นรุ ักษ์

1.1 ใช้ขอ้ มลู พนื้ ทอ่ี นุรักษ์จากแผนทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎกี าของแต่ละพน้ื ทอี่ นรุ กั ษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจํานวนแปลงตัวอย่างที่พบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจํานวนแปลงตัวอย่างท่ี
วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ที่อาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคํานวณเป็นเน้อื ทป่ี า่ แต่ละชนิดโดยนําแปลงตวั อย่างท่วี างแผนไว้มาคํานวณทุกแปลง
1.3 แปลงตัวอย่างทไ่ี มส่ ามารถดําเนินการได้ ก็ต้องนาํ มาคํานวณดว้ ย โดยทําการประเมนิ ลกั ษณะ
พื้นทว่ี า่ เป็น หน้าผา นา้ํ ตก หรอื พ้ืนทอ่ี ื่นๆ เพื่อประกอบลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ
1.4 ปริมาณไม้ทงั้ หมดของพืน้ ทอี่ นุรักษ์ เปน็ การคาํ นวณโดยใชข้ อ้ มูลเน้ทื ่ีอนรุ ักษ์จากแผนทแ่ี นบท้าย
กฤษฎกี าของแต่ละพืน้ ท่อี นรุ กั ษ์ ซ่งึ บางพื้นท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือที่คลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและส่งผลต่อการ
คาํ นวณปรมิ าณไมท้ ้ังหมด ทําใหก้ ารคํานวณปริมาณไมเ้ ป็นการประมาณเบื้องต้น

2. การคาํ นวณปริมาตรไม้

สมการปริมาตรไม้ทใี่ ชใ้ นการประเมนิ การกกั เกบ็ ธาตุคาร์บอนในพน้ื ทป่ี ่าไม้ แบบวธิ ี Volume based
approach โดยแบง่ กลมุ่ ของชนิดไมเ้ ปน็ จํานวน 7 กลมุ่ ดงั นี้

2.1 กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม

จันทนก์ ะพอ้ สนสองใบ

สมการท่ีได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลุ่มท่ี 2 ได้แก่ กระพี้จั่น กระพ้ีเขาควาย เก็ดดํา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน

กระพี้ ถ่อน แดง ขะเจา๊ ะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

สมการทีไ่ ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะคร้ํา

ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เลย่ี น มะฮอดกกานี ขี้อ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ต้ิว สะแกแสง

ปู่เจา้ และไม้สกุลสา้ น เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

สมการที่ได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

2.4 กลุ่มท่ี 4 ได้แก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ

และสกุลขี้เหลก็

สมการที่ได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

14

2.5 กลุ่มที่ 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เตมิ
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลมุ่ ท่ี 6 ไดแ้ ก่ สัก ตีนนก ผา่ เสีย้ น หมากเลก็ หมากน้อย ไข่เน่า กระจบั เขา กาสามปกี สวอง
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนดิ อน่ื ๆ เช่น กุ๊ก ขว้าว ง้ิวป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน แสมสาร
และไม้ในสกุลปอ ก่อ เปลา้ เปน็ ต้น
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)

R2 = 0.93, sample size = 138
โดยท่ี V คอื ปริมาตรสว่ นลําตน้ เมือ่ ตัดโคน่ ที่ความสูงเหนอื ดนิ (โคน) 10 เซนติเมตร

ถึงก่งิ แรกทีท่ ําเปน็ สินคา้ ได้ มหี นว่ ยเป็นลูกบาศก์เมตร
DBH มีหน่วยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ข้อมูลท่วั ไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นาํ ไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตาํ แหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ท่ีทาํ การเก็บ
ข้อมูล ความสูงจากระดับนา้ํ ทะเลและลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินเป็นต้นโดยข้อมูลเหล่าน้ีจะใช้ประกอบใน
การวิเคราะหป์ ระเมนิ ผลร่วมกับขอ้ มูลดา้ นอืน่ ๆ เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของพ้ืนทใ่ี นการสาํ รวจทรพั ยากร
ปา่ ไม้คร้ังต่อไป
4. การวิเคราะห์ข้อมลู องคป์ ระกอบของหม่ไู ม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ชนิดและปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding)
6. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ชนดิ และปริมาณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไม้ไผ่ (จํานวนกอ และ จํานวนลาํ )
6.2 ความหนาแน่นของหวายเส้นตัง้ (จาํ นวนต้น)

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นที่อุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

15

7. การวเิ คราะห์ข้อมูลสงั คมพชื

โดยมรี ายละเอยี ดการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั น้ี

7.1 ความหนาแนน่ ของพรรณพชื (Density : D) คือ จํานวนต้นไม้ทัง้ หมดของชนิดพันธ์ุทีศ่ กึ ษาท่ี

ปรากฏในแปลงตัวอยา่ งตอ่ หน่วยพ้ืนท่ที ท่ี าํ การสาํ รวจ

D= จาํ นวนต้นของไม้ชนิดนั้นทงั้ หมด
.

พนื้ ทแี่ ปลงตัวอย่างทงั้ หมดท่ที าํ การสํารวจ

7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจํานวนแปลงตัวอย่างท่ีปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดน้ัน
ตอ่ จํานวนแปลงที่ทาํ การสํารวจ

F = จํานวนแปลงตวั อย่างท่ีพบไม้ชนิดทก่ี ําหนด X 100
จาํ นวนแปลงตวั อย่างทั้งหมดท่ที ําการสํารวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พ้ืนที่หน้าตดั ของลาํ ต้นของตน้ ไม้ท่วี ัดระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพ้ืนท่ที ที่ าํ การสาํ รวจ

Do = พื้นที่หน้าตัดทัง้ หมดของไมช้ นิดทีก่ ําหนด X 100
พืน้ ทีแ่ ปลงตวั อยา่ งทท่ี ําการสาํ รวจ

7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความหนาแน่น
ของไมท้ ีต่ อ้ งการต่อค่าความหนาแนน่ ของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ

RD = ความหนาแนน่ ของไมช้ นดิ น้ัน X 100
ความหนาแน่นรวมของไม้ทกุ ชนิด

7.5 ค่าความถ่ีสมั พัทธ์ (Relative Frequency : RF) คอื ค่าความสัมพทั ธ์ของความถี่ของชนิดไม้ที่
ตอ้ งการตอ่ ค่าความถีท่ ้ังหมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ

RF = ความถ่ีของไม้ชนิดนนั้ X 100
ความถร่ี วมของไมท้ กุ ชนิด

7.6 คา่ ความเด่นสัมพทั ธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื คา่ ความสมั พันธข์ องความเด่นในรูป
พน้ื ท่ีหนา้ ตดั ของไม้ชนิดท่กี าํ หนดต่อความเดน่ รวมของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตัวอย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDo = ความเด่นของไม้ชนดิ น้นั X 100
ความเดน่ รวมของไม้ทกุ ชนิด

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

16

7.7 ค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสัมพัทธต์ า่ งๆ ของชนดิ ไม้ในสงั คม ได้แก่ คา่ ความสัมพัทธด์ า้ นความหนาแน่น คา่ ความสมั พัทธ์ดา้ นความถี่
และคา่ ความสมั พัทธ์ดา้ นความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเคราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ

โดยทาํ การวเิ คราะห์ค่าต่างๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจํานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏในสังคม
และจํานวนต้นทม่ี ใี นแตล่ ะชนดิ พนั ธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity
ตามวธิ ีการของ Kreb (1972) ซึ่งมีสูตรการคาํ นวณดังตอ่ ไปน้ี

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คือ ค่าดัชนีความหลากชนดิ ของชนิดพนั ธุไ์ ม้
pi คือ สดั สว่ นระหวา่ งจาํ นวนตน้ ไม้ชนดิ ท่ี i ตอ่ จํานวนต้นไม้ทั้งหมด
S คือ จาํ นวนชนดิ พันธุ์ไม้ท้ังหมด

8.2 ความราํ่ รวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจาํ นวนชนิดกับ
จํานวนต้นท้ังหมดท่ีทาํ การสาํ รวจ ซ่ึงจะเพ่ิมข้ึนเม่ือเพ่ิมพ้ืนที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ํารวย ท่ีนิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คํานวณดงั นี้

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/

เมอ่ื S คือ จาํ นวนชนดิ ทัง้ หมดในสงั คม
n คือ จาํ นวนต้นท้ังหมดทสี่ ํารวจพบ

8.3 ความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมาํ่ เสมอจะมคี ่ามากท่สี ดุ เม่ือทกุ ชนิดในสังคมมีจํานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่
นักนิเวศวิทยา คอื วิธขี อง Pielou (1975) ซึ่งมสี ตู รการคํานวณดังนี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เมือ่ H คือ ค่าดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คอื จาํ นวนชนดิ ทัง้ หมด (N0)
N1 คอื eH

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

17

ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรัพยากรปา่ ไม้

1. การวางแปลงตัวอยา่ ง
จากผลการดาํ เนนิ การวางแปลงสํารวจเพ่ือประเมนิ สถานภาพและศักยภาพของทรพั ยากรป่าไม้ใน

พื้นที่อุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง โดยแบง่ พ้ืนท่ดี าํ เนินการวางแปลงสํารวจตามพ้ืนทร่ี ับผดิ ชอบของสาํ นักบรหิ าร
พน้ื ทอ่ี นุรักษ์ กลา่ วคือ สํานกั บรหิ ารพน้ื ทอี่ นรุ ักษ์ท่ี 13 (ลาํ ปาง) รบั ผดิ ชอบดําเนินการสาํ รวจพนื้ ทอี่ ุทยานแห่งชาติ
ดอยหลวง ในส่วนของอาํ เภองาว และอาํ เภอวังเหนือ จังหวัดลาํ ปางจาํ นวน 47 แปลง และสํานักบริหารพื้นที่
อนุรักษ์ท่ี 15 (เชียงราย) รับผิดชอบดาํ เนินการสาํ รวจพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติดอยหลวง ในส่วนของอาํ เภอพาน
อาํ เภอแมส่ รวยและอาํ เภอเวียงป่าเป้า จงั หวัดเชยี งรายและในพ้นื ทีอ่ าํ เภอแม่ใจและอาํ เภอเมือง จงั หวัดพะเยา
จาํ นวน 135 แปลง รวมทัง้ สนิ้ จํานวน 182 แปลง ผลการสาํ รวจปรากฏดังภาพที่ 7

ภาพที่ 6 แผนทแ่ี สดงขอบเขตของอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

18

ภาพที่ 7 แปลงตัวอย่างทไ่ี ดด้ ําเนนิ การสาํ รวจภาคสนามในอุทยานแห่งชาติดอยหลวง
2. พื้นทป่ี า่ ไม้

จากการสาํ รวจ พบว่า มีพน้ื ทปี่ ่าไมจ้ ําแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ได้ 7 ประเภท ได้แก่
ปา่ ดบิ แล้ง ปา่ เบญจพรรณ ปา่ เตง็ รงั ปา่ ดิบเขา สวนป่า พ้ืนท่ีเกษตรกรรมและพื้นที่อยู่อาศัย โดยป่าเบญจพรรณ
พบมากสดุ มีพืน้ ท่ี 616.87 ตารางกิโลเมตร (385,543.91 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 52.75 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด รองลงมา
คือ ปา่ ดิบเขา มีพ้ืนท่ี 179.92 ตารางกโิ ลเมตร (112,450.31 ไร)่ คิดเป็นร้อยละ 15.38 ของพนื้ ทท่ี ้ังหมด พื้นที่
เกษตรกรรม มีพ้นื ที่ 179.92 ตารางกิโลเมตร (112,450.31 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 15.38 ของพ้ืนที่ทั้งหมด ป่าเต็งรัง
มีพ้ืนท่ี 115.66 ตารางกโิ ลเมตร (72,289.48 ไร)่ คิดเปน็ ร้อยละ 9.89 ของพ้ืนที่ท้ังหมด ป่าดิบแล้งมีพ้ืนท่ี 44.98
ตารางกโิ ลเมตร (28,112.58 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 3.85 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด สวนป่ามีพ้ืนที่ 25.70 ตารางกิโลเมตร
(16,064.33 ไร)่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.20 ของพื้นท่ีท้ังหมด และที่อยู่อาศัย มีพ้ืนที่ 6.43 ตารางกิโลเมตร (4,016.08 ไร่)
คิดเปน็ ร้อยละ 0.55 ของพืน้ ทท่ี ั้งหมด รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 2

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตดิ อยหลวง

19

ตารางที่ 2 พื้นท่ีปา่ ไม้จาํ แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

(Area by Landuse Type)

ลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ พืน้ ท่ี ร้อยละ

(Landuse Type) ตร.กม. ไร่ เฮกตาร์ ของพน้ื ทีท่ ั้งหมด

ป่าดบิ แลง้ 44.98 28,112.58 4,498.01 3.85

(Dry Evergreen Forest)

ป่าดบิ เขา 179.92 112,450.31 17,992.05 15.38

(Hill Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 616.87 385,543.91 61,687.03 52.75

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าเตง็ รัง 115.66 72,289.48 11,566.32 9.89

(Dry Dipterocarp Forest)

สวนป่า 25.70 16,064.33 2,570.29 2.20

(Forest Plantation)

พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม 179.92 112,450.31 17,992.05 15.38

(Agriculture land)

พนื้ ทีอ่ ยอู่ าศยั 6.43 4,016.08 642.57 0.55

(Urban and built up lannd)

รวม 1,169.48 730,927.00 116,948.32 100.00

หมายเหตุ : - การคาํ นวณพนื้ ท่ีปา่ ไม้ของชนิดป่าแต่ละชนดิ ใชส้ ดั สว่ นของข้อมูลที่พบจากการสํารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพื้นทส่ี ํารวจคาํ นวณจากขอ้ มูลแปลงทส่ี ํารวจพบ ซงึ่ มพี ื้นทดี่ ังตารางท่ี 1
- ร้อยละของพื้นทท่ี งั้ หมดคาํ นวณจากพื้นท่แี นบท้ายกฤษฎกี าของอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวงซ่งึ มีพืน้ ท่เี ท่ากบั
1,169.48 ตารางกิโลเมตร หรือ 730,927 ไร่

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

20

ภาพท่ี 8 พนื้ ทป่ี า่ ไม้จําแนกตามชนิดปา่ ในพนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติดอยหลวง

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้นื ท่อี ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

21

ภาพท่ี 9 ลกั ษณะทั่วไปของป่าดิบแล้งในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

22

ภาพท่ี 10 ลักษณะทว่ั ไปของป่าดิบเขาพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่อี ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

23

ภาพท่ี 11 ลักษณะทว่ั ไปของป่าเบญจพรรณพนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พืน้ ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

24

ภาพที่ 12 ลกั ษณะทัว่ ไปของป่าเตง็ รงั ในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

การสาํ รวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

25

ภาพที่ 13 ลกั ษณะทวั่ ไปของสวนป่าในพน้ื ทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

26

ภาพท่ี 14 ลกั ษณะท่วั ไปของพ้ืนทเ่ี กษตรกรรมในพน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาติดอยหลวง

27

ภาพท่ี 15 ลกั ษณะทัว่ ไปของพ้ืนที่อยอู่ าศยั ในพน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่อี ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

28

3. ปริมาณไม้

จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สํารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นแปลงตวั อยา่ งถาวร ในพ้ืนท่ีเขต จํานวนทั้งส้ิน 182 แปลง พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะ
การใช้ประโยชน์ท่ีดินที่สํารวจพบทั้ง 7 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา สวนป่า
พ้ืนท่ีเกษตรกรรมและที่อยู่อาศัย พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก
(GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มีมากกว่า 341 ชนิด รวมทั้งหมด 53,133,755 ต้น ปริมาตร
ไม้รวมท้ังหมด 12,876,145.34 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉล่ีย 17.61 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่น
ของต้นไมเ้ ฉล่ีย 72.72 ตน้ ต่อไร่ พบปรมิ าณไม้มากสุดในป่าเบญจพรรณ จาํ นวน 27,328,016 ต้น รองลงมา ใน
ป่าเต็งรัง พบจํานวน 13,603,274 ต้น สําหรับปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าเบญจพรรณ จํานวน 6,961,243.32
ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คอื ป่าเต็งรัง จํานวน 1,833,678.48 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียดดังตารางที่ 3 และ 4
ตามลําดับ

ตารางท่ี 3 ปรมิ าณไม้ท้งั หมดจําแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในอุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

(Volume by Landuse Type)

ลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ปริมาณไม้ทง้ั หมด

(Landuse Type) จํานวน (ต้น) ปริมาตร (ลบ.ม.)

ปา่ ดบิ แลง้ 1,542,176 558,123.51

(Dry Evergreen Forest)

ป่าดบิ เขา 9,465,103 3,044,777.91

(Hill Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 27,328,016 6,961,243.32

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าเตง็ รัง 13,603,274 1,833,678.48

(Dry Dipterocarp Forest)

สวนปา่ 906,028 285,114.77

(Forest Plantation)

พ้ืนทีเ่ กษตรกรรม 289,158 193,207.35

(Agriculture land)

พน้ื ทอี่ ยู่อาศยั --

(Urban and built up lannd)

รวม 53,133,755 12,876,145.34

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

29

ภาพที่ 16 ปริมาณไมท้ ัง้ หมดท่ีพบในพนื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

ภาพท่ี 17 ปรมิ าตรไม้ทั้งหมดที่พบในพน้ื ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พน้ื ท่อี ทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

30

ตารางท่ี 4 ความหนาแนน่ และปรมิ าตรไม้ตอ่ หนว่ ยพน้ื ทีจ่ าํ แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน

ในอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ ความหนาแนน่ ปริมาตร

(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์

ป่าดิบแลง้ 54.86 342.86 19.85 124.08

(Dry Evergreen Forest)

ป่าดิบเขา 84.17 526.07 27.08 169.23

(Hill Evergreen Forest)

ป่าเบญจพรรณ 70.88 443.01 18.06 112.85

(Mixed Deciduous Forest)

ป่าเตง็ รงั 188.18 1,176.11 25.37 158.54

(Dry Dipterocarp Forest)

สวนป่า 56.4 352.5 17.75 110.93

(Forest Plantation)

พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม 2.57 16.07 1.72 10.74

(Agriculture land)

พน้ื ทอี่ ยู่อาศัย - -- -

(Urban and built up lannd)

เฉล่ยี 72.72 454.53 17.61 110.06

ภาพท่ี 18 ความหนาแนน่ ตน้ ไมใ้ นพน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนที่อทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

31

ภาพที่ 19 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ในปา่ แตล่ ะประเภทในพนื้ ที่อุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ทัง้ หมดในอุทยานแห่งชาติดอยหลวง

ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไมท้ ้งั หมด (ตน้ ) ร้อยละ (%)
60.52
15–45 ซม. 32,157,155 30.49
8.98
>45–100 ซม. 16,202,661 100.00

>100 ซม. 4,773,940

รวม 53,133,755

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

32

ภาพท่ี 20 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้งั หมดในพ้นื ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง
4. ชนดิ พนั ธไุ์ ม้

จากการสํารวจในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยหลวงพบชนิดพันธุ์ไม้ที่พบทั้งหมดในพื้นที่ 64 วงศ์
มากกว่า 341 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 53,133,755 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 12,876,145.34 ลูกบาศก์เมตร
มีคา่ ความหนาแน่นเฉลีย่ 72.72 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 17.61 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง (Shorea siamensis) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) เต็ง (Shorea
obtusa) เหยี ง (Dipterocarpus obtusifolius) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) โลด (Aporosa villosa)
กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) สกั (Tectona grandis) มะแฟน (Protium serratum) และเปล้าใหญ่
(Croton roxburghii) รายละเอียดดังตารางที่ 6

ในป่าดิบแล้ง มีปริมาณไม้รวม 1,542,176 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 558,123.51 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแนน่ เฉล่ยี 54.86 ต้นต่อไร่ มีปรมิ าตรไมเ้ ฉลี่ย 19.85 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อหรั่ง (Castanopsis armata) ยางปาย (Dipterocarpus costatus) มะกอกเกล้ือน
(Canarium subulatum) โลด (Aporosa villosa) เสยี้ วดอกขาว (Bauhinia variegata) กลว้ ยฤาษี (Diospyros
glandulosa) รัง (Shorea siamensis) กุ๊ก (Lannea coromandelica) กาสามปีก (Vitex peduncularis)
และคาํ มอกหลวง (Gardenia sootepensis) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 7

ในป่าดิบเขามปี รมิ าณไมร้ วม 9,465,103 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 3,044,777.91 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 84.17 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 27.08 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่มี ีปริมาณไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ก่อตาหมู (Castanopsis cerebrina) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata)
ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) เส้ียวดอกขาว (Bauhinia variegata) แข้งกวาง (Wendlandia
tinctoria) ปอเลียงฝ้าย (Eriolaena candollei) โลด (Aporosa villosa) ค่าหด (Engelhardtia spicata)
กอ่ นก (Lithocarpus polystachyus) และ มะกอกเกลอ้ื น (Canarium subulatum) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 8

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

33

ในป่าเบญจพรรณ มีปริมาณไม้รวม 27,328,016 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 6,961,243.32
ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ยี 70.88 ตน้ ต่อไร่ มปี ริมาตรไมเ้ ฉล่ีย 18.06 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้
ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) มะแฟน (Protium
serratum) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) โลด (Aporosa villosa) กางข้ีมอด (Albizia odoratissima)
ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa) สัก (Tectona grandis) กระพี้เขาควาย (Dalbergia cultrata) รัง (Shorea
siamensis) และมะเกลอื เลือด (Terminalia mucronata) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 9

ในปา่ เต็งรังมีปริมาณไม้รวม 13,603,274 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,833,678.48 ลูกบาศก์เมตร
มคี ่าความหนาแน่นเฉลย่ี 188.18 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉล่ีย 25.37 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนดิ ไม้ทมี่ ปี รมิ าณไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ เต็ง (Shorea obtusa) รัง (Shorea siamensis) เหียง (Dipterocarpus
obtusifolius) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) ก่อตาหมู (Castanopsis cerebrina) มะกอกเกลื้อน
(Canarium subulatum) แข้งกวาง (Wendlandia tinctoria) โลด (Aporosa villosa) รักใหญ่ (Gluta usitata)
และก่อนก (Lithocarpus polystachyus) รายละเอยี ดดังตารางที่ 10

ในสวนป่ามีปริมาณไมร้ วม 906,028 ต้น คดิ เป็นปรมิ าตรไม้รวม 285,114.77 ลูกบาศกเ์ มตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ีย 56.40 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 17.75 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ สัก (Tectona grandis) สนสามใบ (Pinus kesiya) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
มะกอกเกลื้อน (Canarium subulatum) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) กุ่มน้ํา (Crateva magna)
กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) สมอพิเภก (Terminalia bellirica) กางข้ีมอด (Albizia odoratissima)
และกระดมุ ผี (Glochidion rubrum) รายละเอียดดังตารางท่ี 11

ในพื้นท่เี กษตรกรรมมีปรมิ าณไม้รวม 289,158 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 193,207.35 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 2.57 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 1.72 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มาก
ที่สุด ได้แก่ สัก (Tectona grandis) รองลงมา ได้แก่ ซ้อ (Gmelina arborea) เหียง (Dipterocarpus
obtusifolius) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) ช้าแป้น (Callicarpa arborea) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) เต็ง (Shorea obtusa) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) งิ้วป่า (Bombax anceps)
หว้า (Syzygium cumini) และทองหลางปา่ (Erythrina subumbrans) ดงั รายละเอยี ดในตารางที่ 12

สาํ หรบั ไม้ไผ่ ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติดอยหลวง พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 9 ชนิด ได้แก่ ไผ่ไร่ (Gigantochloa
albociliata) ไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum virgatum) ไผ่บง (Bambusa
nutans) ไผ่หอม (Bambusa polymorpha) ไผ่บงใหญ่ (Dendrocalamus brandisii) ไผ่ข้าวหลาม
(Cephalostachyum pergracile) ไผ่หก (Dendrocalamus hamiltonii) และไผ่ไล่ลอ (Gigantochloa
nigrociliata) มีปริมาณไมไ้ ผ่จํานวน 16,111,428 กอ รวมทง้ั สิน้ 189,077,340 ลํา ดงั รายละเอียดในตารางที่ 13

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติดอยหลวง มีมากกว่า 186 ชนิด รวมทั้งสิ้น
3,212,119,720 ตน้ มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 4,395.98 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไมท้ ี่มีปริมาณมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) แข้งกวาง (Wendlandia tinctoria) โลด (Aporosa villosa)
สมอไทย (Terminalia chebula) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii)
กาสามปีก (Vitex peduncularis) ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) มะเม่าสาย (Antidesma
sootepense) และติ้วขน (Cratoxylum formosum) รายละเอียดดงั ตารางที่ 14

การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พนื้ ท่อี ทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

34

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติดอยหลวง มีมากกว่า 137 ชนิด รวมท้ังส้ิน
69,663,225 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 95.28 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ คางคก (Nyssa javanica) กาํ พี้ (Dalbergia ovata) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) ยาบใบยาว
(Colona flagrocarpa) สกั (Tectona grandis) ปลายสาน (Eurya acuminata var. acuminata) ปอตนี เต่า
(Colona winitii) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) กาสามปกี (Vitex peduncularis) ชงิ ชนั (Dalbergia oliveri)
รายละเอียดดังตารางที่ 15

ชนิดและปริมาณของตอไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติดอยหลวง มีมากกว่า 27ชนิด รวมทั้งสิ้น
2,354,305 ตอ มีความหนาแน่นของตอไม้ 3.22 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณตอมากที่สุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ สัก (Tectona grandis) เต็ง (Shorea obtusa) ตีนนก (Vitex pinnata) มะกอกเกลื้อน (Canarium
subulatum) ก่อเดือย (Castanopsis acuminatissima) กระพ้ีเขาควาย (Dalbergia cultrata) เหียง
(Dipterocarpus obtusifolius) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) ตะแบกแดง (Lagerstroemia
calyculata) และรกั ใหญ่ (Gluta usitata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 16

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พื้นทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

35

ตารางที่ 6 ปรมิ าณไมท้ งั้ หมดของอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง (30 ชนิดแรกทีม่ ีปรมิ าตรไม้สูงสุด)

ลําดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 รัง Shorea siamensis 2,322,177 576,536.26 3.21 0.79

2 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 2,058,929 365,367.69 2.81 0.50

3 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 663,923 346,850.31 0.90 0.47

4 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 1,750,701 325,927.69 2.43 0.45

5 สัก Tectona grandis 1,048,431 311,700.20 1.43 0.43

6 มงั ตาน Schima wallichii 258,895 292,605.01 0.36 0.41

7 เตง็ Shorea obtusa 188,626 242,179.73 2.74 0.37

8 ก่อเดอื ย Castanopsis 1,975,394 267,730.52 0.80 0.34

acuminatissima

9 มะแฟน Protium serratum 572,927 247,727.45 1.33 0.33

10 ก่อใบเลอื่ ม Castanopsis tribuloides 986,246 247,932.48 0.26 0.33

11 ยางปาย Dipterocarpus costatus 77,109 225,497.64 0.11 0.31

12 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 398,395 222,785.12 0.55 0.30

13 กางขม้ี อด Albizia odoratissima 843,844 203,962.24 1.14 0.28

14 พะยอม Shorea roxburghii 229,046 199,027.64 0.31 0.27

15 โลด Aporosa villosa 1,463,409 194,064.90 2.00 0.26

16 ก่อตาหมู Castanopsis fissa 732,741 179,044.97 1.02 0.25

17 ตะครํ้า Garuga pinnata 250,604 183,241.49 0.34 0.25

18 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata 1,308,155 179,020.19 1.80 0.24

19 โพบาย Balakata baccata 52,650 176,662.99 0.07 0.24

20 กอ่ นก Lithocarpus polystachyus 698,125 173,931.31 0.97 0.24

21 ยางนา Dipterocarpus alatus 84,571 171,100.38 0.12 0.23

22 ก่อแดง Castanopsis hystrix 428,037 168,782.61 0.59 0.23

23 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 811,715 168,874.55 1.11 0.23

24 รักใหญ่ Gluta usitata 483,795 142,321.27 0.67 0.20

25 กระบก Irvingia malayana 143,646 143,180.14 0.20 0.20

26 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 13,059 142,262.88 0.02 0.19

27 เส้ียวดอกขาว Bauhinia variegata 674,702 137,467.93 0.93 0.19

28 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 1,465,689 130,832.03 2.04 0.18

29 งว้ิ ปา่ Bombax anceps 302,839 128,526.66 0.41 0.17

30 มะกอก Spondias pinnata 75,387 128,604.83 0.51 0.17

31 อ่ืนๆ Others 30,469,991 6,252,396.24 31.18 9.05

รวม 53,133,755 12,876,145.34 72.72 17.61

หมายเหตุ : มชี นิดพันธไุ์ ม้ที่สาํ รวจพบทงั้ หมด 341 ชนดิ

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทีอ่ ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

36

ตารางที่ 7 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดบิ แล้งของอทุ ยานแห่งชาติดอยหลวง

ลาํ ดบั ชนิดพนั ธ์ุไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม./ไร)่
(ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่
1.56
1 ยางปาย Dipterocarpus costatus 51,406 43,767.15 1.83 1.52
1.48
2 สารผกั หละ Parkia leiophylla 25,703 42,790.38 0.91 0.97
25,703 41,665.46 0.91 0.97
3 กระบก Irvingia malayana 0.84
0.79
4 โพบาย Balakata baccata 6,426 27,324.29 0.23 0.72
0.69
5 เสีย้ วดอกขาว Bauhinia variegata 44,980 27,150.49 1.60 0.66
0.60
6 พะยอม Shorea roxburghii 19,277 23,673.73 0.69 0.60
0.55
7 มะดกู Siphonodon celastrineus 19,277 22,281.67 0.69 0.51
0.33
8 รงั Shorea siamensis 38,554 20,129.27 1.37 0.32
0.25
9 กางหลวง Albizia chinensis 12,851 19,313.27 0.46
0.24
10 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 51,406 18,692.27 1.83 0.22
11 กาสามปีก Vitex peduncularis 32,129 16,790.42 1.14 0.22
0.21
12 มะกอก Spondias pinnata 12,851 16,774.97 0.46 0.21

13 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 6,426 15,412.27 0.23 0.21
0.20
14 ตะครํา้ Garuga pinnata 6,426 14,426.18 0.23 0.20
0.19
15 คาํ มอกหลวง Gardenia sootepensis 32,129 9,162.54 1.14 0.19
6,426 9,020.83 0.23 0.17
16 ยมหิน Chukrasia tabularis 0.15
0.15
17 ช้างเผอื ก Xanthophyllum 12,851 7,136.17 0.46 3.96
19.85
siamensis

18 มะเขือขื่น Beilschmiedia globularia 6,426 6,692.06 0.23

19 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 44,980 6,156.45 1.60

20 ชิงชนั Dalbergia oliveri 6,426 6,061.11 0.23

21 เตมิ Bischofia javensis 19,277 5,883.14 0.69

22 ประดู่ Pterocarpus 12,851 5,806.92 0.46
macrocarpus

23 ยมหอม Toona ciliata 6,426 5,800.24 0.23

24 มะเกลือเลอื ด Terminalia mucronata 19,277 5,706.07 0.69

25 โลด Aporosa villosa 51,406 5,538.21 1.83

26 กระพน้ี างนวล Dalbergia cana 12,851 5,375.02 0.46

27 ลําพูปา่ Duabanga grandiflora 6,426 5,298.19 0.23

28 เลอื ดกวาง Knema linifolia 12,851 4,656.14 0.46

29 กอมขม Picrasma javanica 25,703 4,242.25 0.91

30 กอ่ ดํา Lithocarpus truncatus 12,851 4,150.18 0.46

31 อ่ืนๆ Others 899,602 111,246.16 32

รวม 1,542,176 558,123.51 54.86

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธไ์ุ ม้ท่สี ํารวจพบทง้ั หมด 94 ชนิด

การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง

37

ตารางท่ี 8 ปรมิ าณไม้ในปา่ ดบิ เขาของอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง (30 ชนดิ แรกทีม่ ปี ริมาตรไม้สงู สุด)

ลําดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 มงั ตาน Schima wallichii 167,069 243,173.72 1.49 2.16

2 ก่อเดอื ย Castanopsis 481,930 199,907.94 4.29 1.78

acuminatissima

3 ยางปาย Dipterocarpus costatus 25,703 181,730.49 0.23 1.62

4 กอ่ ตาหมู Castanopsis fissa 565,464 140,467.71 5.03 1.25

5 ก่อแดง Castanopsis hystrix 289,158 130,605.49 2.57 1.16

6 กอ่ ใบเลอ่ื ม Castanopsis tribuloides 102,812 118,541.82 0.91 1.05

7 โพบาย Balakata baccata 6,426 104,046.21 0.06 0.93

8 เส้ียวดอกขาว Bauhinia variegata 404,821 93,625.30 3.60 0.83

9 กอ่ หยมุ Castanopsis argyrophylla 115,663 79,939.62 1.03 0.71

10 ยางนา Dipterocarpus alatus 44,980 78,403.88 0.40 0.70

11 กอ่ นก Lithocarpus polystachyus 257,029 76,579.21 2.29 0.68

12 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 6,426 66,176.40 0.06 0.59

13 รกั ใหญ่ Gluta usitata 109,237 63,132.36 0.97 0.56

14 หว้าหิน Syzygium claviflorum 77,109 61,525.37 0.69 0.55

15 เหียง Dipterocarpus 64,257 60,099.78 0.57 0.53

obtusifolius

16 กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata 494,781 48,486.33 4.40 0.43

17 ก่อสามเหลีย่ ม Trigonobalanus 70,683 46,365.13 0.63 0.41

doichangensis

18 ตะเคียนหิน Hopea ferrea 12,851 44,331.03 0.11 0.39

19 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 186,346 43,621.29 1.66 0.39

20 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 77,109 42,932.88 0.69 0.38

21 มะมนุ่ Elaeocarpus stipularis 38,554 40,512.84 0.34 0.36

22 มะเขอื ขน่ื Beilschmiedia globularia 44,980 37,670.93 0.40 0.34

23 รงั Shorea siamensis 134,940 33,686.42 1.20 0.30

24 กอ่ แพะ Quercus kerrii 44,980 33,607.91 0.40 0.30

25 พะยอม Shorea roxburghii 44,980 31,833.81 0.40 0.28

26 มะกอกเกลือ้ น Canarium subulatum 244,178 29,899.04 2.17 0.27

27 กา้ ว Tristaniopsis burmanica 83,535 29,898.30 0.74 0.27

28 กอ่ กา้ งดา้ ง Lithocarpus garrettianus 51,406 28,896.31 0.46 0.26

29 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 77,109 26,006.24 0.69 0.23

30 เตง็ Shorea obtusa 77,109 25,924.78 0.69 0.23

31 อืน่ ๆ Others 5,063,477 803,149.38 45.03 7.14

รวม 9,465,103 3,044,777.91 84.17 27.08

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธ์ไุ ม้ทสี่ ํารวจพบทั้งหมด 180 ชนิด

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

38

ตารางท่ี 9 ปริมาณไมใ้ นป่าเบญจพรรณของอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยหลวง (30 ชนิดแรกที่มปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด)

ลําดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่

1 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 477,577 293,318.91 1.24 0.76

2 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 1,319,970 260,398.20 3.42 0.68

3 มะแฟน Protium serratum 921,989 240,586.99 2.39 0.62

4 รงั Shorea siamensis 490,843 201,474.69 1.27 0.52

5 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 205,623 168,445.97 0.53 0.44

6 ตะคร้ํา Garuga pinnata 205,623 165,142.93 0.53 0.43

7 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 683,200 163,861.01 1.77 0.43

8 สัก Tectona grandis 650,035 151,242.23 1.69 0.39

9 โลด Aporosa villosa 769,430 150,311.93 2.00 0.39

10 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 6,633 141,947.33 0.02 0.37

11 แดง Xylia xylocarpa 477,577 125,638.48 1.24 0.33

12 ประดู่ Pterocarpus 477,577 112,373.84 1.24 0.29

macrocarpus

13 ก่อใบเล่ือม Castanopsis tribuloides 72,963 112,163.72 0.19 0.29

14 พะยอม Shorea roxburghii 132,660 111,273.21 0.34 0.29

15 พระเจา้ ห้า Dracontomelon dao 19,899 108,017.20 0.05 0.28

พระองค์

16 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 530,641 100,994.59 1.38 0.26

17 มะกอก Spondias pinnata 291,853 99,534.54 0.76 0.26

18 ส้านใบเลก็ Dillenia ovata 192,357 96,756.45 0.50 0.25

19 งิ้วปา่ Bombax anceps 232,155 96,002.12 0.60 0.25

20 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 384,715 93,285.47 1.00 0.24

21 ยางนา Dipterocarpus alatus 33,165 91,678.48 0.09 0.24

22 กาสามปีก Vitex peduncularis 397,981 88,078.08 1.03 0.23

23 สมอพิเภก Terminalia bellirica 311,752 87,084.13 0.81 0.23

24 กระบก Irvingia malayana 72,963 77,382.72 0.19 0.20

25 กระพน้ี างนวล Dalbergia cana 404,614 74,636.04 1.05 0.19

26 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 656,668 73,878.47 1.70 0.19

27 ตีนนก Vitex pinnata 218,889 71,144.15 0.57 0.18

28 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 179,091 70,378.22 0.46 0.18

29 มะมุ่น Elaeocarpus stipularis 99,495 69,058.45 0.26 0.18

30 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 875,558 68,529.14 2.27 0.18

31 อ่นื ๆ Others 15,534,518 3,196,625.65 40.29 8.29

รวม 27,328,016 6,961,243.32 70.88 18.06

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ มท้ สี่ าํ รวจพบท้งั หมด 289 ชนดิ

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ท่ีอุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง

39

ตารางท่ี 10 ปริมาณไมใ้ นปา่ เตง็ รังของอุทยานแห่งชาตดิ อยหลวง (30 ชนดิ แรกที่มปี ริมาตรไมส้ งู สุด)

ลาํ ดบั ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 รัง Shorea siamensis 1,657,839 321,245.88 22.93 4.44

2 เหยี ง Dipterocarpus obtusifolius 1,561,453 222,382.28 21.60 3.08

3 เต็ง Shorea obtusa 1,792,779 214,126.29 24.80 2.96

4 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 1,426,512 118,713.17 19.73 1.64

5 กอ่ แพะ Quercus kerrii 269,881 64,076.44 3.73 0.89

6 กอ่ นก Lithocarpus polystachyus 308,435 48,957.64 4.27 0.68

7 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata 160,643 47,679.39 2.22 0.66

8 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 391,970 46,150.97 5.42 0.64

9 ก่อตาหมู Castanopsis cerebrina 539,761 44,037.87 7.47 0.61

10 ก่อเดอื ย Castanopsis acuminatissima 57,832 42,297.49 0.80 0.59

11 รกฟ้า Terminalia alata 173,495 36,019.74 2.40 0.50

12 กา้ ว Tristaniopsis burmanica 70,683 35,576.50 0.98 0.49

13 รกั ใหญ่ Gluta usitata 314,861 34,618.67 4.36 0.48

14 ก่อตาหมู Castanopsis fissa 160,643 32,512.06 2.22 0.45

15 พะยอม Shorea roxburghii 32,129 32,246.91 0.44 0.45

16 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 212,049 31,176.63 2.93 0.43

17 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 244,178 25,925.59 3.38 0.36

18 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 167,069 25,507.15 2.31 0.35

19 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri 295,584 24,616.70 4.09 0.34

20 ตวิ้ ขน Cratoxylum formosum 89,960 24,021.02 1.24 0.33

21 มงั ตาน Schima wallichii 19,277 20,796.31 0.27 0.29

22 แข้งกวาง Wendlandia tinctoria 359,841 20,399.77 4.98 0.28

23 โลด Aporosa villosa 340,564 17,120.24 4.71 0.24

24 คํามอกหลวง Gardenia sootepensis 160,643 12,868.64 2.22 0.18

25 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 51,406 11,678.58 0.71 0.16

26 กอ่ ใบเลื่อม Castanopsis tribuloides 12,851 11,474.19 0.18 0.16

27 กาสามปกี Vitex peduncularis 77,109 11,333.60 1.07 0.16

28 ตีนนก Vitex pinnata 70,683 10,011.03 0.98 0.14

29 กกุ๊ Lannea coromandelica 173,495 9,921.43 2.40 0.14

30 กระบก Irvingia malayana 25,703 9,449.99 0.36 0.13

31 อ่นื ๆ Others 2,383,947 226,736.29 32.98 3.14

รวม 13,603,274 1,833,678.48 188.18 25.37

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์ไม้ทสี่ ํารวจพบทง้ั หมด 134 ชนดิ

การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พน้ื ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง

40

ตารางที่ 11 ปรมิ าณไม้ในพืน้ ทส่ี วนป่าของอุทยานแหง่ ชาติดอยหลวง (30 ชนิดแรกทมี่ ีปริมาตรไม้สูงสดุ )

ลําดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 สัก Tectona grandis 321,287 97,148.08 6.05 6.05

2 สนสามใบ Pinus kesiya 154,218 88,890.56 5.53 5.53

3 ขหี้ นอนคาย Celtis tetrandra 6,426 37,900.57 2.36 2.36

4 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 6,426 12,157.92 0.76 0.76

5 กระบก Irvingia malayana 6,426 11,582.79 0.72 0.72

6 มะกอกเกล้อื น Canarium subulatum 38,554 10,106.14 0.63 0.63

7 ทองโหลง Erythrina fusca 6,426 5,935.34 0.37 0.37

8 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 38,554 2,955.72 0.18 0.18

9 กุม่ นาํ้ Crateva magna 32,129 2,859.75 0.18 0.18

10 มงั ตาน Schima wallichii 12,851 1,831.27 0.11 0.11

11 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 25,703 1,799.99 0.11 0.11

12 ประดู่ Pterocarpus 44,980 1,766.22 0.11 0.11

macrocarpus

13 กลั ปพฤกษ์ Cassia bakeriana 6,426 1,625.34 0.10 0.10

14 เสย้ี วดอกขาว Bauhinia variegata 12,851 1,595.85 0.10 0.10

15 กางขมี้ อด Albizia odoratissima 25,703 1,225.74 0.08 0.08

16 ผ่าเสย้ี น Vitex canescens 6,426 1,028.35 0.06 0.06

17 กระดุมผี Glochidion rubrum 19,277 939.80 0.06 0.06

18 กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata 32,129 906.96 0.06 0.06

19 เปล้า Croton hutchinsonianus 12,851 601.98 0.04 0.04

20 เสลาขาว Lagerstroemia 6,426 438.34 0.03 0.03

tomentosa

21 กําพ้ี Dalbergia ovata 6,426 313.41 0.02 0.02

22 ก่อแพะ Quercus kerrii 6,426 264.55 0.02 0.02

23 ลาย Microcos paniculata 6,426 174.87 0.01 0.01

24 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 12,851 170.44 0.01 0.01

25 แคหวั หมู Markhamia stipulata 6,426 158.63 0.01 0.01

26 มะกอก Spondias pinnata 6,426 155.78 0.01 0.01

27 อนิ ทนิลบก Lagerstroemia 6,426 135.59 0.01 0.01

macrocarpa

28 งิ้วปา่ Bombax anceps 6,426 104.94 0.01 0.01

29 ปอมืน Colona floribunda 6,426 101.59 0.01 0.01

30 ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae 6,426 84.81 0.01 0.01

31 อน่ื ๆ Others 19,277 153.46 0.01 0.01

รวม 906,028 285,114.77 56.40 17.75

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธไุ์ มท้ ี่สํารวจพบทั้งหมด 34 ชนดิ

การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทีอ่ ุทยานแห่งชาติดอยหลวง

41

ตารางท่ี 12 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมของอุทยานแห่งชาติดอยหลวง

ลําดบั ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
1 สกั Tectona grandis 44,980 60,836.17 0.40
2 งวิ้ ปา่ Bombax anceps 0.06 0.54
6,426 25,487.90 0.29 0.23
0.06 0.21
3 เหียง Dipterocarpus obtusifolius 32,129 23,891.04 0.06 0.21
4 หวา้ Syzygium cumini 6,426 23,057.62 0.17 0.10
5 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 6,426 10,717.86 0.11 0.09
0.06 0.08
6 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 19,277 10,024.66 0.06 0.07
0.06 0.06
7 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 12,851 9,389.03 0.06 0.04
0.06 0.04
8 ตับเตา่ ต้น Diospyros ehretioides 6,426 8,323.87 0.11 0.01
9 กอ่ แปน้ Castanopsis diversifolia 6,426 6,425.54 0.06 0.01
10 ขนนุ Artocarpus heterophyllus 6,426 4,100.56 0.06 0.01
0.40 0.01
11 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 6,426 4,062.11 0.06 0.01
0.06 0.00
12 แคฝอย Stereospermum cylindricum 6,426 1,434.76 0.17 0.00
0.11 0.00
13 เต็ง Shorea obtusa 12,851 1,414.63 0.06 0.00
14 เตมิ Bischofia javensis 6,426 1,048.87 0.06 0.00
15 ปันแถ Albizia lucidior 6,426 - 0.00
16 ซอ้ Gmelina arborea 44,980 876.45 -
732.33 -
2.57 -
17 เพกา Oroxylum indicum 6,426 413.34
1.72
18 โมกมัน Wrightia arborea 6,426 353.27
19,277 318.93
19 ช้าแปน้ Callicarpa arborea 12,851 121.06
6,426 117.76
20 มะกอกเกลอื้ น Canarium subulatum

21 ค่าหด Engelhardtia spicata

22 มะกอก Spondias pinnata 6,426 59.60

23 ตีนนก Vitex pinnata --

24 Unknown Unknown --

รวม 289,158 193,207.35

ตารางที่ 13 ชนดิ และปริมาณไมไ้ ผ่ ที่พบในอทุ ยานแหง่ ชาติดอยหลวง

ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธ์ไุ ผ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ไผ่ทง้ั หมด
จาํ นวนกอ จํานวนลาํ
1 ไผบ่ ง Bambusa nutans 4,704,067 68,679,371
2 ไผ่หอม Bambusa polymorpha
3 ข้าวหลาม Cephalostachyum pergracile 3,528,050 36,547,983
4 ไผเ่ ฮยี ะ Cephalostachyum virgatum
5 บงใหญ่ Dendrocalamus brandisii 1,790,159 24,892,352
6 หก Dendrocalamus hamiltonii
7 ซาง Dendrocalamus strictus 1,881,627 21,076,831
8 ไผไ่ ร่ Gigantochloa albociliata
9 ไผ่ไลล่ อ Gigantochloa nigrociliata 1,293,618 14,334,336

รวมไผ่ 1,058,415 9,133,729

993,081 6,729,428

731,744 6,311,289

130,669 1,372,019

16,111,428 189,077,340

การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พืน้ ที่อุทยานแห่งชาติดอยหลวง


Click to View FlipBook Version