40
สรปุ ผลการสาํ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มูลทรัพยากรป่าไม้
จากการวางแปลงตัวอย่างถาวร เพ่ือเก็บข้อมูลและสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุ
สตั วป์ า่ ดอยหลวง อย่ใู นทอ้ งท่ี ตาํ บลบ้านกลาง และตาํ บลห้วยหมา้ ย อาํ เภอสอง จังหวัดแพร่ เนื้อที่ประมาณ 97
ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 60,625 ไร่ ซ่ึงอยูใ่ นความดแู ลรบั ผิดชอบของสาํ นักบริหารพ้นื ทอี่ นรุ ักษ์ท่ี 13 (แพร่)
จํานวน 16 แปลง มีระยะห่าง 2.5X2.5 ตารางกิโลเมตร โดยทําการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample
Plot) ท่ีมีขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซอ้ นกนั คอื วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาํ ดบั และมวี งกลม
ขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยูต่ ามทิศหลกั ทง้ั 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลม
ของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร และทาํ การเกบ็ ข้อมลู การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จํานวนกล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ที่ต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ
เช่น ระดบั ความสงู ความลาดชัน เป็นตน้ ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
ไม้เถา เถาวัลย์และพืชชั้นล่าง แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่ือประเมินสถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ทั้งนี้เพ่ือให้ทราบ
เนื้อท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กําลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธ์ุตาม
ธรรมชาติของไม้ โดยใชโ้ ปรแกรมประมวลผลข้อมลู ระบบสารสนเทศการสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสํารวจ
และวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สรปุ ผลได้ดงั น้ี
1. ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ ิน
พบชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ
และป่าเตง็ รัง โดยปา่ เบญจพรรณพบมากทสี่ ุด มเี นอื้ ที่ 67.33 ตารางกิโลเมตร หรือ 42,083.20 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
69 ของพื้นที่ท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง มีเน้ือท่ี 24.48 ตารางกิโลเมตรหรือ 15,302.98 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
25 ของพื้นท่ีท้ังหมด และป่าเต็งรัง มีเน้ือท่ี 6.12 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,825.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6 ของ
พื้นที่ท้ังหมด
2. ชนดิ พนั ธแ์ุ ละปรมิ าณไมย้ นื ต้น (Trees)
ชนิดพันธ์ุไม้ท่ีพบในแปลงตัวอย่างในเขตพื้นท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยหลวง จํานวน 16 แปลง
สามารถแยกได้จํานวน 40 วงศ์ มากกว่า 112 ชนิด โดยพบว่า มีพันธ์ุไม้ท่ีสามารถข้ึนได้ทุกที่และมีปริมาตรไม้
ค่อนข้างสูง ได้แก่ ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia balansae) ยางปาย (Dipterocarpus costatus) แดง
(Xylia xylocarpa) และ ตระคร้อ (Schleichera oleosa) โดยพบว่า ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia balansae)
ปรมิ าณไม้จาํ นวน 103,989 ต้น ปรมิ าตรไม้ 236,001.21 ลกู บาศก์เมตร ยางปาย (Dipterocarpus costatus)
ปริมาณไม้จํานวน 24,480 ต้น ปริมาตรไม้ 141,826 ลูกบาศก์เมตร แดง (Xylia xylocarpa) ปริมาณไม้
จํานวน 214,011 ต้น ปริมาตรไม้ 109,974 ลูกบาศก์เมตร และ ตระคร้อ (Schleichera oleosa) ปริมาณไม้
จาํ นวน 55,011 ตน้ ปริมาตรไม้ 80,119 ลูกบาศกเ์ มตร
การสาํ รวจทรัพยากรปา่ ไม้
พน้ื ท่ีเขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ า่ ดอยหลวง
41
3. ชนิดพนั ธุแ์ ละปรมิ าณกลา้ ไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซ่ึงเป็นกําลังผลิตท่ีสําคัญ
ที่จะขึ้นมาทดแทนสังคมพืชไม้ยืนต้นต่อไปในอนาคตรวมทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้
ทําการสํารวจ พบว่า มีชนิดของกล้าไม้ (Seedling) มากกว่า 41 ชนิด รวมจํานวนทั้งหมด 189,775,676 ต้น
ซ่ึงเมื่อเรียงลําดับจากจํานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับ ได้แก่ ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia
balansae) ปอแดง (Sterculia guttata) ติ้วเกลี้ยง (Cratoxylum cochinchinense) เสี้ยวใหญ่ (Bauhinia
malabarica) แดง (Xylia xylocarpa) ปอตีนเต่า (Colona winitii) ปอยาบใบยาว (Colona flagrocarpa)
มะกอก (Spondias pinnata) โมกมัน (Wrightia arborea ) และ ผ่าเส้ียน (Vitex canescens) โดยสํารวจ
พบจํานวนกล้าไม้มากท่ีสุดในป่าเบญจพรรณ 128,563,732 ต้น รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง 42,848,344 ต้น
และปา่ เตง็ รงั 18,363,600 ต้นตามลําดับ
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกี่ยวกับลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสํารวจมีมากกว่า 15 ชนิด รวมจํานวน
ท้ังหมด 8,079,973 ต้น ซึ่งเม่ือเรียงลําดับจากจํานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง
(Xylia xylocarpa) กุ๊ก (Lannea coromandelica) ต้ิวเกล้ียง (Cratoxylum cochinchinense) มะกอกพราน
(Turpinia pomifera) ตระคร้อ (Schleichera oleosa) ปอตีนเต่า (Colona winitii) เปล้าเงิน (Viburnum
odoratissimum) ลําไยป่า (Paranephelium xestophyllum) หอมไกลดง (Harpullia arborea) และ
กระพ้ีจ่ัน (Millettia brandisiana) โดยสํารวจพบจํานวนลูกไม้มากที่สุดในป่าดิบแล้ง 6,243,615 ต้น รองลงมา
ปา่ เบญจพรรณ 1,713,933 ต้นและป่าเตง็ รัง 122,424 ต้น ตามลําดับ
4. ชนิดพนั ธ์ุและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับปริมาณของไม้ไผ่ในแต่ละชนิดและแต่ละกอรวมทุกชนิดป่า หรือ
ทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบไม้ไผ่ในแปลงสํารวจ จํานวน 6 ชนิด มีจํานวน 3,488,746 กอ รวมทั้งสิ้น
จํานวน 91,018,314 ลํา ได้แก่ ไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum pergracile) ไผ่ซาง (Dendrocalamus
strictus) ไผ่บง (Bambusa nutans) พบได้ในป่าเบญจพรรณ ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) พบได้ใน
ป่าเต็งรัง และไผ่หก (Dendrocalamus hamiltonii) ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum virgatum) พบได้ใน
ป่าดบิ แล้ง และตอไม้ท่ีสํารวจพบ มี 1 ชนิด รวมจํานวนท้ังส้ิน 183,635 ตอ มีค่าความหนาแน่นของตอไม้เฉลี่ย
6.4 ตอต่อไร่ โดยพบจํานวนตอมากที่สุดในป่าเบญจพรรณ มีจํานวน 134,666 ตอ รองลงมาพบในป่าดิบแล้ง
มีจาํ นวน 48,969 ตอ
5. ค่าดัชนคี วามสาํ คัญทางนเิ วศวทิ ยา
จากผลการสํารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าดอยหลวง พบว่ามี
สังคมพืช 3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช สรุปได้
ดงั น้ี
การสาํ รวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทีเ่ ขตรักษาพันธ์ุสัตวป์ า่ ดอยหลวง
42
ในพื้นที่ป่าดิบแล้ง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ยางปาย (Dipterocarpus costatus) ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia balansae) เต็ง (Shorea obtusa)
กระพี้จ่ัน (Millettia brandisiana) มะดูก (Siphonodon celastrineus) กระบก (Irvingia malayana) รัง
(Shorea siamensis) คําแสด (Mallotus philippensis) ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa) และ รกฟ้า
(Terminalia alata)
ในพื้นที่ป่าเบญจพรรณ มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ แดง (Xylia xylocarpa) ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia balansae) ปอตีนเต่า (Colona winitii)
ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ตระคร้อ (Schleichera oleosa) ยาบขี้ไก่ (Grewia laevigata)
ตะแบกเปลือกหนา (Lagerstroemia duperreana) ยาบใบยาว (Colona flagrocarpa) และ มะเดื่อปล้อง
(Ficus hispida)
ในพ้ืนที่ป่าเต็งรัง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ รัง
(Shorea siamensis) เต็ง (Shorea obtusa) ทองหลางป่า (Erythrina subumbrans) ประดู่ (Pterocarpus
macrocarpus) ตะแบกแดง (Lagerstroemia calyculata) ยาบข้ีไก่ (Grewia laevigata) แดง (Xylia
xylocarpa) มะกอกเกล้ือน (Canarium subulatum) โลด (Aporosa villosa) ติ้วเกล้ียง (Cratoxylum
cochinchinense)
6. ความหลากหลายทางชวี ภาพ
ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มี
ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง
ซ่ึงชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness)
มากที่สุด คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความ
สมาํ่ เสมอของชนิดพนั ธ์ไุ ม้ (Species Evenness) มากทส่ี ดุ คือ ป่าดบิ แล้ง รองลงมา คอื ป่าเตง็ รัง
7. ขนาดความโตของต้นไมใ้ นปา่
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน พบว่าในป่า
เตง็ รัง มีไมย้ ืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 67 รองลงมาเป็น
ป่าเบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ 18 ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร
พบในป่าเต็งรัง คิดเป็นร้อยละ 61 รองลงมาพบในป่าเบญจพรรณ ร้อยละ 22 และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวง
เพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตรข้ึนไป พบในป่าเบญจพรรณ คิดเป็นร้อยละ 39 รองลงมาพบในป่าเต็งรัง
ร้อยละ 38 และปา่ ดบิ แลง้ รอ้ ยละ 23 ตามลาํ ดับ
การสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
พ้ืนท่เี ขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ดอยหลวง
43
8. ปจั จัยท่มี ีผลกระทบตอ่ พน้ื ท่ีป่า
จากการสํารวจผลกระทบท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าดอยหลวง พบการเปลี่ยนแปลง
ของขนาดลําห้วย ซึ่งไม่สามารถกักเก็บนํ้าได้ (อาจเกิดจากพันธ์ุไม้บางชนิดไม่มีการกักเก็บนํ้าเพ่ือให้มีน้ําไหล
ตลอดป)ี มกี ารล่าสตั ว์ในพืน้ ที่โดยพบการทาํ แคมป์เพ่ือเป็นท่พี ักหลบเข้าไปในห้วยขนาดเล็ก (ส่วนมากจะเข้ามา
ในช่วงหลังจากเสร็จสิ้นการทําการเกษตร) มีช่องทางการเข้าพ้ืนท่ีหลายช่องทางทําให้ยากแก่การป้องกัน และ
ในอดีตมีการตัดไม้มะค่าโมงขนาดใหญ่ออกจากพ้ืนที่ทําให้พบเห็นไม้มะค่าโมงได้น้อยและการกระกระจายพันธุ์
และขึน้ ทดแทนยังมีน้อย
วิจารณ์ผลการศกึ ษา
สังคมพืชในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าดอยหลวงมีความหลากหลายทางด้านชนิดพันธุ์พืชซึ่งเกิดสภาพ
ภมู ิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศทาํ ให้เกดิ ชนิดป่าและความแตกต่างของพันธ์ุพืชในพ้ืนที่ จากสํารวจพบว่ามีการ
กระจายของพันธ์ุไม้บางชนิดท่ีสามารถกระจายอยู่ได้ทั่วไปในพื้นที่คือ ตะแบกเกรียบ (Lagerstroemia
balansae) สันนิษฐานได้ว่า เมล็ดของตะแบกเกรียบสามารถเจริญเติบโตและเติบโตได้ในสภาพดินท่ีมีอยู่ใน
พ้ืนที่ (จากการสังเกตุสภาพดินโดยทั่วไปพบว่าเป็นดินลูกรังมีความแห้งแล้ง) ท่ีระดับความสูงต้ังแต่ 800-1,000
เมตรจากระดับนํ้าทะเล มีการกระจายตัวของสนสองใบ (Pinus merkusii) สนสามใบ (Pinus kesiya) แข้งกวาง
(Wendlandia tinctoria)และก่อหยุม (Castanopsis argyrophylla ) ซ่ึงจะพบได้เฉพาะแนวสันเขาเท่านั้น
ในบริเวณยอดเขาใกล้เคียงกันก้อไม่พบ ทําให้ทราบได้ว่าการกระจายพันธุ์ของ สนสองใบ (Pinus merkusii)
สนสามใบ (Pinus kesiya) แข้งกวาง (Wendlandia tinctoria) และก่อหยุม (Castanopsis argyrophylla)
กระจายในลักษณะด้านขา้ งและด้านลาด
ในบริเวณริมห้วยจะพบไม้ซ่ึงต้องการความช้ืนสูงจําพวกไม้สมพง (Tetrameles nudiflora) ตะเคียนทอง
(Hopea odorata) ยมหอม (Ailanthus triphysa) และไมว้ งศย์ าง ซ่งึ มคี วามสูงขึ้นอยู่ในบริเวณท่ีมีน้ําไหลหรือกักขัง
ทาํ ใหท้ ราบว่าถ้าพบไม้เหล่าน้อี ย่จู ะเป็นแหลง่ กําเนิดของนํ้าที่จะทําใหล้ ําหว้ ยสายนนั้ ไม่แห้งเหือด
จากการประมวลผลทําให้ทราบว่ามีพันธ์ุไม้อีกหลายชนิดที่มีค่าดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (IVI) น้อย
ซึง่ ในอดีตพันธ์ไุ มเ้ หลา่ นี้มีมาก เกิดจากการสัมปทานและการเกิดทดแทนของลูกไม้ กล้าไม้ ได้ช้า ได้แก่ สัก
(Tectona grandis) มะคา่ โมง (Afzelia xylocarpa) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ซ่งึ เป็นไมเ้ ศรษฐกิจ
ทีส่ าํ คญั แตกตา่ งจาก ตะแบกเกรยี บ (Lagerstroemia balansae) และ แดง (Xylia xylocarpa) ยงั สามารถ
กระจายพันธุ์ได้
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พนื้ ทเ่ี ขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ดอยหลวง
44
ปญั หาและอปุ สรรค
ปญั หาและอุปสรรคในการดําเนนิ งานทีพ่ บ ได้แก่
1. ชนดิ ไมย้ ืนตน้ และไมพ้ ้ืนลา่ งในปา่ ดิบบางพืน้ ที่ในเขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั ว์ป่าดอยหลวง ยากต่อการ
จาํ แนกชนิดไม้ อีกท้งั ช่วงเวลาดาํ เนินงานสํารวจเป็นช่วงท่ตี น้ ไมก้ าํ ลงั ผลัดใบ ทาํ ให้มีต้นไมห้ ลายชนิดท่ียังไม่
ทราบชนดิ
2. ในการดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ภาคสนาม อุปกรณ์เครื่องมือบางช้ินชํารุดทําให้การ
ทาํ งานยากข้นึ เหน็ ควรทาํ การเรยี กอุปกรณเ์ พอื่ ตรวจเชค็ ประจาํ ปี
3. ข้อมูลอ้างอิงสําหรับไม้พื้นล่างซ่ึงเป็นสังคมพืชท่ีจะขึ้นมาทดแทนสังคมป่านั้นๆ ในอนาคต
ข้างหน้ายงั มีอย่นู อ้ ย ทาํ ใหย้ ากต่อการจาํ แนกชนดิ ไม้พ้ืนลา่ ง
4. ในช่วงที่ดําเนินการสํารวจภาคสนามพบร่องรอยการกระทําผิดเก่ียวกับการลักลอบตัดไม้
การล่าสัตว์ป่า ในพื้นท่ีบ่อยมาก ซ่ึงอาจเกิดอันตรายหรือการปะทะกันระหว่างทีมสํารวจกับผู้เข้ามาลักลอบตัด
ไมไ้ ด้
5. การประสานงานและการใหค้ วามร่วมมอื ของเจา้ ของพื้นที่ยังไมด่ พี อยังไม่ใหค้ วามสําคัญกบั
ข้อมูลทจ่ี ะไดร้ บั
6. พ้ืนท่ีดาํ เนินงานอยไู่ กลจากทีต่ ้งั สาํ นักงาน ทําใหต้ อ้ งใช้ระยะเวลาในการเดินทางไกลพอสมควร
และมคี า่ ใช้จา่ ยในการเดินทางค่อนขา้ งมาก
ขอ้ เสนอแนะ
เพ่ือให้การดําเนินงานสํารวจทรัพยากรป่าไม้ในโอกาสต่อไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน จึงมี
ข้อเสนอแนะดงั น้ี
1. กลุ่มสํารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สํานักฟื้นฟูและ
พัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ควรมีการจัดทําคู่มือสําหรับการจําแนกชนิดไม้
ในแต่ละพื้นท่ีหรือใส่ภาพประกอบไม้แต่ละชนิดในฐานข้อมูลพรรณไม้ เพื่อใช้เป็นฐานในการจําแนกชนิดไม้ให้
ตรงรหสั CODE พรรณไมม้ ากข้ึน
2. ในการปฏิบัติงานภาคสนาม ควรชี้แจงและทําความเข้าใจกับชาวบ้านเก่ียวกับภารกิจที่
ปฏิบัติ และในบรเิ วณท่ีมรี ่องห้วยอย่ใู นพนื้ ที่ค่อนขา้ งมาก ควรวางแผนการสํารวจใหแ้ ล้วเสรจ็ ก่อนช่วงฤดนู าํ้ หลาก
3. ขอให้สว่ นสาํ รวจฯ แจง้ พื้นทท่ี ่ีจะทําการสาํ รวจลงในแผนงานประจําปี เปน็ หนังสือถึงสํานัก
บริหารพ้ืนท่ีอนรุ ักษ์นัน้ ๆ (ภายหลังทตี่ กลงแล้วว่าจะสํารวจพนื้ ทใ่ี ด เน่ืองจาก เปน็ ข้อช้ีแจงจากเจ้าหน้าท่ี
ตรวจสอบภายในให้ระบุพื้นทที่ จ่ี ะทําการสํารวจใหช้ ัดเจนก่อนทาํ การลงปฏบิ ตั ิงานสํารวจ)
การสํารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พื้นทเ่ี ขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ป่าดอยหลวง
45
เอกสารอา้ งองิ
ก่องกานดา ชยามฤต. 2541. คมู่ อื การจาํ แนกพรรณไม.้ สว่ นพฤกษศาสตร์ สาํ นักวชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม้,
กรงุ เทพฯ. 235 น.
กรมปา่ ไม้ และองคก์ ารไมเ้ ขตร้อนระหว่างประเทศ (ITTO). 2544. คู่มอื การเก็บขอ้ มูลดา้ นการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้
โครงการศึกษาเพื่อจดั ทาํ ระบบ ติดตาม ตรวจสอบ การจดั การทรัพยากรปา่ ไม้แบบยงั่ ยนื สําหรับประเทศไทย,
สาํ นักวิชาการปา่ ไม้ กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 44 น.
ชวลติ นิยมธรรม. 2545. ทรพั ยากรป่าไมข้ องประเทศไทย. สว่ นพฤกษศาสตร์ สํานักวิชาการปา่ ไม้
กรมป่าไม,้ กรงุ เทพฯ. 10 น.
สามารถ มุขสมบตั ิ และ ธญั นรนิ ทร์ ณ นคร. 2538. การใช้ Spiegel Relaskop เพ่อื จัดสรา้ งตารางปรมิ าตรไม้
บรเิ วณปา่ สาธิตเซคเตอร์แม่แตง อําเภองาว จังหวดั ลาํ ปาง, สาํ นกั วิชาการป่าไม้ กรมป่าไม,้ ก
รุงเทพฯ. 55 น.
วิชาญ ตราช.ู 2548. แนวทางการสาํ รวจทรพั ยากรป่าไม้ในพ้นื ทป่ี ่าอนรุ กั ษ์. ส่วนวเิ คราะหท์ รพั ยากรป่าไม้
สํานักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรงุ เทพฯ. 95 น.
ส่วนพฤกษศาสตร์. 2544. ช่ือพรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เต็ม สมติ นิ นั ท์ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม สํานกั วชิ าการป่าไม้
กรมปา่ ไม,้ กรงุ เทพฯ. 810 น.
การสํารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้นื ที่เขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ ดอยหลวง
46
ภาคผนวก
การสํารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทเ่ี ขตรักษาพันธุส์ ตั วป์ า่ ดอยหลวง
ตารางผนวกที่ 1 ชนิดและปริมาณไมท้ งั้ หมดในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตวป์ ่าดอยหลวง
ลําดับ ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปา่ ดิบแล้ง
จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
1 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 12,125 130,681.57
2 ยางปาย Dipterocarpus costatus 18,188 106,578.02
3 แดง Xylia xylocarpa 18,188 492.49
4 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata --
5 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida 6,063 85.76
6 ตะคร้อ Schleichera oleosa 6,063 5,295.35
7 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana --
8 เต็ง Shorea obtusa 24,250 28,635.64
9 ส้านหง่ิ Dillenia parviflora 6,063 5,295.35
10 รงั Shorea siamensis 30,313 6,554.13
11 ลําไยปา่ Paranephelium xestophyllum 6,063 167.87
12 กระบก Irvingia malayana 6,063 20,343.43
13 ผีเสื้อหลวง Casearia grewiifolia 12,125 318.54
14 ต้วิ เกลยี้ ง Cratoxylum cochinchinense --
15 มะกอกเกลือ้ น Canarium subulatum 18,188 4,996.48
16 มะดกู Siphonodon celastrineus 12,125 22,716.60
17 คอแลน Nephelium hypoleucum --
18 ก่อนก Lithocarpus polystachyus --
19 หวา้ Syzygium cumini --
20 ข้อี า้ ย Terminalia triptera --
21 ยาบข้ไี ก่ Grewia laevigata --
22 กาสามปกี Vitex peduncularis --
ลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ ปา่ เต็งรงั ปริมาณไมท้ ้งั หมด
ป่าเบญจพรรณ
จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จํานวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.)
103,063 106,177.10 - - 115,188 236,858.66
6,063 33,913.03 - - 24,250 140,491.05
181,875 107,923.81 12,125 5,687.35 212,188 114,103.65
84,875 61,803.06 18,188 7,693.35 103,063 69,496.41
36,375 69,013.11 - - 42,438 69,098.87
42,438 62,278.54 6,063 281.68 54,563 67,855.57
36,375 55,560.98 6,063 205.75 42,438 55,766.73
- - 72,750 17,258.94 97,000 45,894.58
12,125 32,755.08 - - 18,188 38,050.44
6,063 2,557.17 42,438 27,482.85 78,813 36,594.16
36,375 32,821.44 6,063 1,708.21 48,500 34,697.51
12,125 13,776.02 - - 18,188 34,119.45
133,375 32,904.84 - - 145,500 33,223.39
30,313 22,905.09 24,250 712.27 54,563 23,617.36
30,313 14,003.20 18,188 3,741.96 66,688 22,741.64
- -- - 12,125 22,716.60
12,125 21,546.99 - - 12,125 21,546.99
12,125 21,454.25 - - 12,125 21,454.25
18,188 21,185.39 - - 18,188 21,185.39
18,188 20,231.83 - - 18,188 20,231.83
97,000 17,734.09 42,438 1,845.20 139,438 19,579.29
6,063 18,804.46 - - 6,063 18,804.46
ตารางผนวกที่ 1 ชนิดและปริมาณไม้ทั้งหมดในเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ดอยหลวง
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปา่ ดบิ แล้ง
จาํ นวน (ต้น) ปริมาตร (ลบ.ม.)
23 กอ่ แพะ Quercus kerrii 6,063 95.85
24 มะกอก Spondias pinnata
25 ทองหลางปา่ Erythrina subumbrans 6,063 9,271.25
26 ซอ้ Gmelina arborea
27 ยมหอม Toona ciliata 12,125 1,390.98
28 สวอง Vitex limonifolia
29 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 6,063 411.66
30 โพบาย Balakata baccata
31 ปอตีนเต่า Colona winitii --
32 กะเจียน Polyalthia cerasoides
33 กระพ้ีจั่น Millettia brandisiana 6,063 1,040.01
34 ตะครํา้ Garuga pinnata
35 เสลาดาํ Lagerstroemia undulata 6,063 1,285.63
36 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta
37 ผ่าเสี้ยน Vitex canescens --
38 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata
39 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii --
40 ติว้ ขน Cratoxylum formosum
41 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 18,188 3,004.49
42 ปอขาว Sterculia pexa
43 มะหอ้ Spondias lakonensis 30,313 6,185.78
44 กางข้ีมอด Derris kerrii
--
--
--
6,063 507.98
12,125 1,601.19
--
--
36,375 1,439.68
6,063 3,733.75
--
--
ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ป่าเตง็ รัง ปริมาณไม้ท้งั หมด
ป่าเบญจพรรณ
จาํ นวน (ต้น) ปริมาตร (ลบ.ม.) จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
36,375 16,427.91 - - 42,438 16,523.76
48,500 6,552.34 - - 54,563 15,823.59
18,188 1,658.31 48,500 11,917.31 78,813 14,966.60
6,063 13,892.57 - - 12,125 14,304.23
24,250 13,864.12 - - 24,250 13,864.12
24,250 11,918.99 12,125 162.43 42,438 13,121.42
24,250 6,966.69 66,688 3,524.39 97,000 11,776.71
12,125 11,514.72 - - 12,125 11,514.72
200,063 11,410.83 - - 200,063 11,410.83
24,250 8,319.71 - - 42,438 11,324.21
18,188 4,445.63 12,125 557.82 60,625 11,189.22
12,125 11,037.75 - - 12,125 11,037.75
6,063 10,878.80 - - 6,063 10,878.80
36,375 10,868.52 - - 36,375 10,868.52
42,438 9,425.86 - - 48,500 9,933.84
12,125 7,978.02 - - 24,250 9,579.21
163,688 8,986.35 - - 163,688 8,986.35
12,125 8,724.81 - - 12,125 8,724.81
84,875 6,257.64 - - 121,250 7,697.32
12,125 3,721.44 - - 18,188 7,455.20
18,188 7,437.35 - - 18,188 7,437.35
18,188 6,963.14 - - 18,188 6,963.14
ตารางผนวกท่ี 1 ชนิดและปรมิ าณไม้ท้ังหมดในเขตรกั ษาพันธุ์สตั วป์ ่าดอยหลวง
ลําดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ป่าดิบแล้ง
จํานวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
45 สัก Tectona grandis 18,188 6,192.90
46 มะกลํา่ ตน้ Adenanthera pavonina
47 รกฟา้ Terminalia alata 12,125 1,824.11
48 คําแสด Mallotus philippensis
49 เลอื ดควายใบใหญ่ Knema furfuracea 24,250 4,451.89
50 ปอเลยี งฝ้าย Eriolaena candollei
51 ขวา้ ว Haldina cordifolia 24,250 4,586.69
52 โลด Aporosa villosa
53 ปอแดง Sterculia guttata 6,063 289.68
54 ง้ิวป่า Bombax anceps
55 พระเจ้าร้อยทา่ Heteropanax fragrans --
56 มะมว่ งปา่ Mangifera caloneura
57 กุ๊ก Lannea coromandelica --
58 หอมไกลดง Harpullia arborea
59 มะกอกดอน Schrebera swietenioides 6,063 283.74
60 ชิงชี่ Capparis micracantha
61 ตองแตบ Macaranga denticulata 6,063 2,395.12
62 ปอตูบ๊ หชู า้ ง Sterculia villosa
63 สะแกแสง Cananga latifolia --
64 ราชพฤกษ์ Cassia fistula
65 โมกมนั Wrightia arborea 12,125 2,427.59
66 เกด็ ขาว Dalbergia glomeriflora
6,063 3,778.45
6,063 346.43
--
--
--
12,125 2,674.17
12,125 398.90
12,125 1,479.37
--
6,063 170.78
--
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ป่าเต็งรงั ปริมาณไม้ท้ังหมด
ปา่ เบญจพรรณ
จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จาํ นวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.) จํานวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.)
- - 12,125 430.37 30,313 6,623.26
6,063 4,486.59 - - 18,188 6,310.70
12,125 1,688.81 6,063 89.11 42,438 6,229.81
24,250 1,540.90 - - 48,500 6,127.58
6,063 4,319.82 - - 12,125 4,609.50
12,125 4,422.13 - - 12,125 4,422.13
36,375 3,671.90 18,188 724.46 54,563 4,396.36
30,313 3,237.47 24,250 826.03 60,625 4,347.24
6,063 1,900.09 - - 12,125 4,295.20
12,125 1,244.94 6,063 3,036.84 18,188 4,281.78
6,063 79.08 6,063 1,354.86 24,250 3,861.53
- -- - 6,063 3,778.45
30,313 3,058.88 - - 36,375 3,405.31
24,250 3,398.52 - - 24,250 3,398.52
6,063 3,044.74 - - 6,063 3,044.74
30,313 2,969.34 - - 30,313 2,969.34
6,063 76.32 - - 18,188 2,750.49
18,188 1,284.71 12,125 962.81 42,438 2,646.42
6,063 1,131.15 - - 18,188 2,610.52
18,188 1,534.05 12,125 817.41 30,313 2,351.46
48,500 2,072.35 - - 54,563 2,243.13
12,125 2,224.75 - - 12,125 2,224.75
ตารางผนวกท่ี 1 ชนดิ และปริมาณไม้ทั้งหมดในเขตรักษาพนั ธุส์ ัตวป์ า่ ดอยหลวง
ลําดับ ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ป่าดบิ แลง้
จํานวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
67 ยางนา Dipterocarpus alatus --
68 หาดหนนุ Artocarpus gomezianus
69 มะขามป้อม Phyllanthus emblica --
70 มะเกลอื เลอื ด Terminalia mucronata
71 เตา้ หลวง Macaranga gigantea 18,188 221.35
72 ยอเถ่ือน Morinda elliptica
73 กระโดน Careya sphaerica --
74 มะยมปา่ Ailanthus triphysa
75 เชียด Cinnamomum iners 12,125 1,633.16
76 มะไฟ Baccaurea ramiflora
77 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla --
78 เพกา Oroxylum indicum
79 มะชมพปู่ า่ Syzygium aqeum 12,125 1,059.84
80 สมอไทย Terminalia chebula
81 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata --
82 ข้าวสารหลวง Maesa ramentacea
83 ดงดํา Alphonsea glabrifolia 6,063 998.38
84 แข้งกวาง Wendlandia tinctoria
85 กาสะลองคํา Radermachera ignea 12,125 949.26
86 มะกกั Spondias bipinnata
87 มะเม่าดง Antidesma bunius --
88 ยอปา่ Morinda coreia
12,125 688.65
6,063 887.08
--
--
--
12,125 543.48
--
30,313 571.72
--
--
--
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน ป่าเตง็ รงั ปรมิ าณไมท้ งั้ หมด
ป่าเบญจพรรณ
จาํ นวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จาํ นวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.) จํานวน (ตน้ ) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
12,125 2,200.27 - - 12,125 2,200.27
6,063 439.10 6,063 1,759.35 12,125 2,198.46
12,125 1,585.59 - - 30,313 1,806.94
6,063 1,680.46 - - 6,063 1,680.46
- -- - 12,125 1,633.16
30,313 1,518.91 - - 30,313 1,518.91
6,063 50.32 - - 18,188 1,110.16
6,063 1,078.33 - - 6,063 1,078.33
- -- - 6,063 998.38
- -- - 12,125 949.26
18,188 289.40 6,063 613.62 24,250 903.03
6,063 201.50 - - 18,188 890.15
- -- - 6,063 887.08
- - 18,188 801.76 18,188 801.76
6,063 162.18 24,250 586.61 30,313 748.79
42,438 671.52 - - 42,438 671.52
6,063 125.23 - - 18,188 668.71
6,063 152.38 18,188 425.44 24,250 577.82
- -- - 30,313 571.72
6,063 429.00 6,063 63.34 12,125 492.35
- - 24,250 477.42 24,250 477.42
12,125 476.80 - - 12,125 476.80
ตารางผนวกท่ี 1 ชนดิ และปรมิ าณไม้ท้ังหมดในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ ดอยหลวง
ลาํ ดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ป่าดิบแลง้
จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
89 หมีเหม็น Litsea glutinosa 6,063 470.23
90 อินทนลิ นํ้า Lagerstroemia speciosa
91 ตาลเหลอื ง Ochna integerrima --
92 แสลงใจ Strychnos nux-vomica
93 กระเชา Holoptelea integrifolia --
94 รักใหญ่ Gluta usitata
95 แคขาว Dolichandrone serrulata 6,063 285.71
96 ชงิ ชัน Dalbergia oliveri
97 คํามอกหลวง Gardenia sootepensis 6,063 235.23
98 ลาํ ไย Dimocarpus longan
99 สม้ กบ Hymenodictyon orixense --
100 สมอพิเภก Terminalia bellirica
101 แหลบกุ Phoebe lanceolata --
102 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium
103 มะกอกพราน Turpinia pomifera --
104 ปรู Alangium salviifolium
105 แคทราย Stereospermum neuranthum --
รวม total 12,125 131.79
--
6,063 123.85
--
--
6,063 77.23
--
6,063 62.75
660,813 402,368.99
ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ปา่ เต็งรัง ปริมาณไม้ท้ังหมด
ป่าเบญจพรรณ
จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.) จาํ นวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.) จาํ นวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
- -- - 6,063 470.23
- - 6,063 449.34 6,063 449.34
6,063 85.76 6,063 291.67 12,125 377.43
- - 6,063 57.77 12,125 343.48
- -- - 6,063 235.23
- - 12,125 230.56 12,125 230.56
12,125 173.64 - - 12,125 173.64
6,063 172.10 - - 6,063 172.10
- - 6,063 162.13 6,063 162.13
- -- - 12,125 131.79
12,125 127.59 - - 12,125 127.59
- -- - 6,063 123.85
6,063 115.70 - - 6,063 115.70
- - 6,063 86.74 6,063 86.74
- -- - 6,063 77.23
6,063 74.50 - - 6,063 74.50
- -- - 6,063 62.75
2,352,250 1,027,797.83 630,500 97,027.16 3,643,563 1,527,193.98
ตารางผนวกท่ี 2 ชนิดและปรมิ าณลกู ไม้ท้ังหมดในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั วป์ ่าดอยหลวง
ลําดับ ชนดิ พันธุไ์ ม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปา่ ดิบแลง้
จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร่) จาํ นว
1 ปอตีนเตา่ Colona winitii - -4
2 หอมไกลดง Harpullia arborea
3 ลาํ ไยปา่ Paranephelium xestophyllum - -2
4 ตะครอ้ Schleichera oleosa
5 เปล้าเงิน Viburnum odoratissimum - -2
6 แดง Xylia xylocarpa
7 หาดหนนุ Artocarpus gomezianus - -1
8 ตว้ิ เกลีย้ ง Cratoxylum cochinchinense
9 ยาบขี้ไก่ Grewia laevigata - -2
10 กกุ๊ Lannea coromandelica
11 กระพจ้ี น่ั Millettia brandisiana 242,500 16.00
12 มะหอ้ Spondias lakonensis
13 มะกอกพราน Turpinia pomifera - -1
14 โมกมนั Wrightia arborea
15 เหมือดจ้ี Memecylon scutellatum 121,250 8.00
Total
รวม Average - -1
เฉล่ีย
121,250 8.00
- -1
- -1
121,250 8.00
- -1
- -1
606,250 2,0
40.00
ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน ป่าเตง็ รัง ปริมาณไมท้ ง้ั หมด
ป่าเบญจพรรณ
วน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่ จํานวน (ต้น) ความหนาแน่น (ตน้ /ไร่) จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแน่น (ต้น/ไร)่
485,000 11.64 - - 485,000 8.00
242,500 5.82 - - 242,500 4.00
242,500 5.82 - - 242,500 4.00
121,250 2.91 121,250 32.00 242,500 4.00
242,500 5.82 - - 242,500 4.00
- -- - 242,500 4.00
121,250 2.91 - - 121,250 2.00
- -- - 121,250 2.00
121,250 2.91 - - 121,250 2.00
- -- - 121,250 2.00
121,250 2.91 - - 121,250 2.00
121,250 2.91 - - 121,250 2.00
- -- - 121,250 2.00
121,250 2.91 - - 121,250 2.00
121,250 2.91 - - 121,250 2.00
061,250 121,250 2,788,750
49.45 32.00 46.00
ตารางผนวกท่ี 3 ชนิดและปรมิ าณกลา้ ไมท้ ง้ั หมดในเขตรักษาพนั ธ์สุ ตั วป์ ่าดอยหลวง
ลัก
ลําดับ ชนิดพันธุไ์ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ป่าดิบแลง้
จํานวน (ตน้ ) ความหนาแน่น (ต้น/ไร่) จํานวน
1 ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae 1,212,500 80.00 8,48
2 ปอแดง Sterculia guttata - - 13,33
3 ต้วิ เกล้ยี ง Cratoxylum cochinchinense - - 8,48
4 เส้ยี วใหญ่ Bauhinia malabarica - - 9,70
5 แดง Xylia xylocarpa 1,212,500 80.00 8,48
6 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 6,062,500 400.00 2,42
7 มะหวด Lepisanthes rubiginosa 2,425,000 160.00 6,06
8 ปอตีนเตา่ Colona winitii - - 8,48
9 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 6,062,500 400.00 1,21
10 มะกอก Spondias pinnata - - 7,27
11 ผ่าเส้ยี น Vitex canescens
12 โมกมนั Wrightia arborea 2,425,000 160.00 4,85
13 เดอ่ื หวา้ Ficus oligodon 1,212,500 80.00 6,06
6,062,500 400.00
14 ขว้าว Haldina cordifolia - - 3,63
15 แข้งกวาง Wendlandia tinctoria - - 6,06
16 เลียงฝา้ ย Kydia calycina 1,212,500 80.00 3,63
17 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus - - 2,42
18 แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 1,212,500 80.00 2,42
19 ตะคร้อ Schleichera oleosa - - 2,42
20 มักล้นิ อาง Sterculia balanghas - - 3,63
21 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata - - 2,42
22 ง้วิ ปา่ Bombax anceps - - 2,42
กษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ป่าเต็งรัง ปริมาณไม้ทัง้ หมด
ป่าเบญจพรรณ
น (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร่) จาํ นวน (ต้น) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร)่ จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร่)
87,500 203.64 8,487,500 2,240.00 18,187,500 2,523.64
37,500 320.00 - - 13,337,500 320.00
87,500 203.64 3,637,500 960.00 12,125,000 1,163.64
00,000 232.73 - - 9,700,000 232.73
87,500 203.64 - - 9,700,000 283.64
25,000 58.18 - - 8,487,500 458.18
62,500 145.45 - - 8,487,500 305.45
87,500 203.64 - - 8,487,500 203.64
12,500 29.09 - - 7,275,000 429.09
75,000 174.55 - - 7,275,000 174.55
50,000 116.36 - - 7,275,000 276.36
62,500 145.45 - - 7,275,000 225.45
- -- - 6,062,500 400.00
37,500 87.27 2,425,000 640.00 6,062,500 727.27
62,500 145.45 - - 6,062,500 145.45
37,500 87.27 - - 4,850,000 167.27
25,000 58.18 2,425,000 640.00 4,850,000 698.18
25,000 58.18 - - 3,637,500 138.18
25,000 58.18 1,212,500 320.00 3,637,500 378.18
37,500 87.27 - - 3,637,500 87.27
25,000 58.18 - - 2,425,000 58.18
25,000 58.18 - - 2,425,000 58.18
ตารางผนวกท่ี 3 ชนิดและปริมาณกลา้ ไม้ทงั้ หมดในเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตว์ปา่ ดอยหลวง
ลาํ ดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ลกั
ป่าดบิ แลง้
23 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum จํานวน (ต้น) ความหนาแนน่ (ตน้ /ไร)่ จํานวน
- - 2,42
24 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri - - 2,42
- - 2,42
25 ปอเลียงฝ้าย Eriolaena candollei
26 มะเม่าดง Antidesma bunius - - 1,21
27 เลยี งมัน Berrya cordifolia 1,212,500 80.00
28 มะเด่ือปลอ้ ง Ficus hispida 1,212,500 80.00
29 ตะครํา้ Garuga pinnata - - 1,21
30 ซอ้ Gmelina arborea 1,212,500 80.00
31 สม้ กบ Hymenodictyon orixense - - 1,21
32 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 1,212,500 80.00
33 กุ๊ก Lannea coromandelica 1,212,500 80.00
34 คอแลน Nephelium hypoleucum
35 เพกา Oroxylum indicum - - 1,21
- - 1,21
36 ลําไยป่า Paranephelium xestophyllum - - 1,21
37 กะเจยี น Polyalthia cerasoides - - 1,21
38 ปอตู๊บหูช้าง Sterculia villosa 1,212,500 80.00
39 สวอง Vitex limonifolia - - 1,21
40 เหมือดจี้ Memecylon scutellatum - - 1,21
41 Unknown Unknown 8,487,500 560.00
รวม 44,862,500 132,16
เฉล่ยี Total
Average 2,960.00
กษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ปริมาณไม้ทง้ั หมด
ป่าเบญจพรรณ ป่าเตง็ รงั
น (ต้น) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร)่ จํานวน (ต้น) ความหนาแน่น (ต้น/ไร่) จาํ นวน (ตน้ ) ความหนาแนน่ (ต้น/ไร่)
25,000 58.18 - - 2,425,000 58.18
25,000 58.18 - - 2,425,000 58.18
25,000 58.18 - - 2,425,000 58.18
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
- -- - 1,212,500 80.00
- -- - 1,212,500 80.00
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
- -- - 1,212,500 80.00
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
- -- - 1,212,500 80.00
- -- - 1,212,500 80.00
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
- -- - 1,212,500 80.00
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
12,500 29.09 - - 1,212,500 29.09
- -- - 8,487,500 560.00
62,500 18,187,500 195,212,500
3,170.91 4,800.00 3,220.00
ตารางผนวกที่ 4 พชื ล้มลุก และไม้อื่นๆ ทพี่ บในเขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ ่าดอยหลวง
ลําดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ลักษณะวิสัย
1 ไผบ่ ง Bambusa nutans B
2 ไผ่เฮียะ Cephalostachyum virgatum B
3 ซาง Dendrocalamus strictus B
4 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata B
5 หนามขี้แรด Acacia megaladena C
6 โมกเครือ Aganosma marginata C
7 ปอเจย๋ี น Bauhinia bracteata C
8 ชงโคขไ้ี ก่ Bauhinia harmsiana C
9 โคคลาน Bauhinia ornata C
10 กํายานเครือ Byttneria pilosa C
11 ต่งิ ตงั่ Getonia floribunda C
12 แหนเครอื Combretum deciduum C
13 กระดูกกบ Hymenopyramis brachiata C
14 หญ้ายายเภา Lygodium flexuosum CF
15 ตดหมตู ดหมา Paederia linearis C
16 กวาวเครอื Pueraria candollei C
17 เลบ็ มอื นาง Quisqualis indica C
18 หนามไข่ปู Rubus rugosus C
19 เถาประสงค์ Streptocaulon juventas C
20 รางจดื Thunbergia laurifolia C
21 เลบ็ เหยย่ี ว Ziziphus oenoplia C
22 กูดผา Polypodium manmeiense EF
23 เฟนิ กา้ นดํา Adiantum capillus-veneris F
24 กับแก้ Selaginella argentea F
25 หญ้าคายหลวง Arundinella hispida G
26 หญา้ ขน Brachiaria mutica ExG
27 หญ้ายงุ Capillipedium assimile G
28 หญ้าดอกขาว Leptochloa chinensis G
29 ผกั กาดเขียว Brassica juncea ExH
30 ถ่ัวกระเปา๋ Canavalia cathartica HC
31 หงอนไกไ่ ทย Celosia argentea H
ตารางผนวกท่ี 4 พืชลม้ ลุก และไม้อ่ืนๆ ทพ่ี บในเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ า่ ดอยหลวง
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุไ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ลกั ษณะวสิ ยั
32 กลอย Dioscorea hispida HC
33 สาบเสือ Chromolaena odoratum ExH
34 หญา้ หนอนตาย Pouzolzia pentandra H
35 ตองขา้ วตม้ Stachyphrynium griffithii H
36 นางลาว Tupistra clarkei H
37 หนามมะเค็ด Canthium parvifolium S
38 ข้ตี ุ่น Helicteres angustifolia S
39 กะตังใบ Leea indica S
40 เปล้าเงิน Viburnum odoratissimum S
ตารางผนวกที่ 5 ดชั นคี วามสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้งในเ
ลาํ ดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ จาํ นวนต้น ความหนาแนน่ แปลงพ
(ต้น/เฮกตาร์)
1 ยางปาย Dipterocarpus costatus 3 7.50
2 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 2 5.00
3 เตง็ Shorea obtusa 4 10.00
4 กระพี้จน่ั Millettia brandisiana 5 12.50
5 มะดูก Siphonodon celastrineus 2 5.00
6 กระบก Irvingia malayana 1 2.50
7 รงั Shorea siamensis 5 12.50
8 คําแสด Mallotus philippensis 4 10.00
9 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 6 15.00
10 กะเจียน Polyalthia cerasoides 3 7.50
11 รกฟ้า Terminalia alata 4 10.00
12 กาสะลองคํา Radermachera ignea 5 12.50
13 สกั Tectona grandis 3 7.50
14 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum 3 7.50
15 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 3 7.50
16 ตองแตบ Macaranga denticulata 2 5.00
17 มะกลา่ํ ต้น Adenanthera pavonina 2 5.00
18 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 2 5.00
19 กระโดน Careya sphaerica 2 5.00
20 มะไฟ Baccaurea ramiflora 2 5.00
21 เพกา Oroxylum indicum 2 5.00
22 ดงดาํ Alphonsea glabrifolia 2 5.00
เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ ดอยหลวง
พบ ความถ่ี พ้นื ทห่ี นา้ ตัด ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 29.00
28.64
2 50.00 1.55 0.23 2.75 2.90 23.35 11.71
9.79
2 50.00 1.59 0.24 1.83 2.90 23.91 9.44
8.53
1 25.00 0.44 0.07 3.67 1.45 6.59 8.41
8.13
2 50.00 0.15 0.02 4.59 2.90 2.30 7.68
6.74
1 25.00 0.41 0.06 1.83 1.45 6.16 6.56
6.37
1 25.00 0.41 0.06 0.92 1.45 6.16 6.29
6.01
1 25.00 0.16 0.02 4.59 1.45 2.37 5.79
5.70
2 50.00 0.10 0.02 3.67 2.90 1.56 5.44
5.34
1 25.00 0.05 0.01 5.50 1.45 0.73 5.19
5.17
2 50.00 0.07 0.01 2.75 2.90 1.09 5.07
5.01
1 25.00 0.10 0.01 3.67 1.45 1.44
1 25.00 0.02 0.00 4.59 1.45 0.34
1 25.00 0.14 0.02 2.75 1.45 2.09
1 25.00 0.12 0.02 2.75 1.45 1.81
2 50.00 0.01 0.00 2.75 2.90 0.14
2 50.00 0.06 0.01 1.83 2.90 0.97
2 50.00 0.05 0.01 1.83 2.90 0.70
2 50.00 0.04 0.01 1.83 2.90 0.61
2 50.00 0.03 0.00 1.83 2.90 0.46
2 50.00 0.03 0.00 1.83 2.90 0.43
2 50.00 0.02 0.00 1.83 2.90 0.34
2 50.00 0.02 0.00 1.83 2.90 0.28
ตารางผนวกที่ 5 ดชั นีความสาํ คญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้งในเ
ลําดบั ชนดิ พันธไุ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ จาํ นวนต้น ความหนาแน่น แปลงพ
(ต้น/เฮกตาร)์
23 มะกอก Spondias pinnata 1 2.50
24 ปอต๊บู หชู ้าง Sterculia villosa 2 5.00
25 แดง Xylia xylocarpa 3 7.50
26 พระเจ้าร้อยทา่ Heteropanax fragrans 2 5.00
27 สา้ นหงิ่ Dillenia parviflora 1 2.50
28 ตะคร้อ Schleichera oleosa 1 2.50
29 เต้าหลวง Macaranga gigantea 2 5.00
30 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 2 5.00
31 สะแกแสง Cananga latifolia 2 5.00
32 มะมว่ งป่า Mangifera caloneura 1 2.50
33 ปอขาว Sterculia pexa 1 2.50
34 ผีเสอ้ื หลวง Casearia grewiifolia 2 5.00
35 ลาํ ไย Dimocarpus longan 2 5.00
36 ปอแดง Sterculia guttata 1 2.50
37 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1 2.50
38 สวอง Vitex limonifolia 1 2.50
39 เชียด Cinnamomum iners 1 2.50
40 มะชมพู่ปา่ Syzygium aqeum 1 2.50
41 หมีเหมน็ Litsea glutinosa 1 2.50
42 ผา่ เส้ียน Vitex canescens 1 2.50
43 ซอ้ Gmelina arborea 1 2.50
44 กุ๊ก Lannea coromandelica 1 2.50
เขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ ดอยหลวง
พบ ความถี่ พน้ื ที่หนา้ ตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 4.97
4.95
1 25.00 0.17 0.03 0.92 1.45 2.61 4.47
4.17
2 50.00 0.01 0.00 1.83 2.90 0.22 4.03
4.03
1 25.00 0.02 0.00 2.75 1.45 0.27 3.97
3.89
1 25.00 0.06 0.01 1.83 1.45 0.88 3.77
3.61
1 25.00 0.11 0.02 0.92 1.45 1.66 3.59
3.46
1 25.00 0.11 0.02 0.92 1.45 1.66 3.37
3.22
1 25.00 0.05 0.01 1.83 1.45 0.68 2.89
2.79
1 25.00 0.04 0.01 1.83 1.45 0.61 2.78
2.74
1 25.00 0.03 0.00 1.83 1.45 0.48 2.59
2.58
1 25.00 0.08 0.01 0.92 1.45 1.24 2.56
2.54
1 25.00 0.08 0.01 0.92 1.45 1.23
1 25.00 0.01 0.00 1.83 1.45 0.18
1 25.00 0.01 0.00 1.83 1.45 0.09
1 25.00 0.06 0.01 0.92 1.45 0.85
1 25.00 0.03 0.01 0.92 1.45 0.52
1 25.00 0.03 0.00 0.92 1.45 0.43
1 25.00 0.03 0.00 0.92 1.45 0.41
1 25.00 0.02 0.00 0.92 1.45 0.37
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.22
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.22
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.20
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.17
ตารางผนวกที่ 5 ดัชนคี วามสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดิบแล้งในเ
ลําดบั ชนิดพันธุไ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวนตน้ ความหนาแน่น แปลงพ
(ตน้ /เฮกตาร์)
45 เลือดควายใบใหญ่ Knema furfuracea 1 2.50
46 แสลงใจ Strychnos nux-vomica 1 2.50
47 โลด Aporosa villosa 1 2.50
48 กระเชา Holoptelea integrifolia 1 2.50
49 โมกมนั Wrightia arborea 1 2.50
50 ลําไยป่า Paranephelium xestophyllum 1 2.50
51 กอ่ แพะ Quercus kerrii 1 2.50
52 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida 1 2.50
53 มะกอกพราน Turpinia pomifera 1 2.50
54 สมอพิเภก Terminalia bellirica 1 2.50
55 แคทราย Stereospermum neuranthum 1 2.50
รวม Total 272.50
เขตรักษาพันธ์สุ ตั วป์ ่าดอยหลวง
พบ ความถ่ี พน้ื ท่หี น้าตัด ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 2.51
2.51
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.15 2.51
2.49
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.15 2.46
2.46
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.15 2.43
2.42
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.12 2.42
2.41
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.10 2.41
300.00
1 25.00 0.01 0.00 0.92 1.45 0.09
1 25.00 0.00 0.00 0.92 1.45 0.06
1 25.00 0.00 0.00 0.92 1.45 0.05
1 25.00 0.00 0.00 0.92 1.45 0.05
1 25.00 0.00 0.00 0.92 1.45 0.04
1 25.00 0.00 0.00 0.92 1.45 0.04
1725.00 6.64 1.00 100.00 100.00 100.00
ตารางผนวกท่ี 6 ดชั นคี วามสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเ
ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวนตน้ ความหนาแนน่ แป
(ตน้ /เฮกตาร์)
1 แดง Xylia xylocarpa
30 27.27
2 ตะแบกเกรยี บ Lagerstroemia balansae 17 15.45
33 30.00
3 ปอตีนเตา่ Colona winitii 27 24.55
4 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii
5 ผเี สอ้ื หลวง Casearia grewiifolia 22 20.00
6 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 14 12.73
7 ตะครอ้ Schleichera oleosa 7 6.36
8 ยาบขีไ้ ก่ Grewia laevigata 16 14.55
9 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 6 5.45
10 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 14 12.73
11 มะเดื่อปลอ้ ง Ficus hispida 6 5.45
12 ลําไยป่า Paranephelium xestophyllum 6 5.45
13 มะกอก Spondias pinnata 8 7.27
14 ต้วิ เกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense 5 4.55
15 ผา่ เสยี้ น Vitex canescens 7 6.36
16 ขวา้ ว Haldina cordifolia 6 5.45
17 กอ่ แพะ Quercus kerrii 6 5.45
18 ส้านห่ิง Dillenia parviflora 2 1.82
19 โมกมนั Wrightia arborea 8 7.27
20 สวอง Vitex limonifolia 4 3.64
21 ข้ีอา้ ย Terminalia triptera 3 2.73
เบญจพรรณในเขตรกั ษาพันธุส์ ัตว์ปา่ ดอยหลวง
ปลงพบ ความถ่ี พนื้ ทีห่ นา้ ตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 23.37
16.48
8 72.73 2.28 0.11 7.73 4.57 11.07 13.59
11.74
5 45.45 1.91 0.09 4.38 2.86 9.24 11.13
10.93
6 54.55 0.34 0.02 8.51 3.43 1.66 10.67
9.73
6 54.55 0.28 0.01 6.96 3.43 1.35 8.20
7.88
3 27.27 0.77 0.04 5.67 1.71 3.75 7.47
6.60
2 18.18 1.27 0.06 3.61 1.14 6.18 6.24
5.14
5 45.45 1.24 0.06 1.80 2.86 6.01 4.59
4.33
6 54.55 0.45 0.02 4.12 3.43 2.17 4.30
4.28
2 18.18 1.14 0.06 1.55 1.14 5.51 4.10
3.97
6 54.55 0.17 0.01 3.61 3.43 0.85 3.93
2 18.18 0.99 0.05 1.55 1.14 4.78
4 36.36 0.57 0.03 1.55 2.29 2.77
6 54.55 0.16 0.01 2.06 3.43 0.75
3 27.27 0.44 0.02 1.29 1.71 2.14
3 27.27 0.22 0.01 1.80 1.71 1.07
4 36.36 0.10 0.00 1.55 2.29 0.50
2 18.18 0.33 0.02 1.55 1.14 1.61
1 9.09 0.66 0.03 0.52 0.57 3.20
3 27.27 0.07 0.00 2.06 1.71 0.32
3 27.27 0.25 0.01 1.03 1.71 1.22
2 18.18 0.41 0.02 0.77 1.14 2.01
ตารางผนวกท่ี 6 ดชั นคี วามสําคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเ
ลาํ ดับ ชนิดพันธุ์ไม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ จํานวนตน้ ความหนาแน่น แป
(ต้น/เฮกตาร์)
22 มะกอกเกล้ือน Canarium subulatum
5 4.55
23 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 6 5.45
7 6.36
24 ขา้ วสารหลวง Maesa ramentacea 4 3.64
25 กะเจยี น Polyalthia cerasoides
26 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 4 3.64
27 ชิงช่ี Capparis micracantha 5 4.55
28 โลด Aporosa villosa 5 4.55
29 ยางปาย Dipterocarpus costatus 1 0.91
30 หวา้ Syzygium cumini 3 2.73
31 ยมหอม Toona ciliata 4 3.64
32 กระบก Irvingia malayana 2 1.82
33 คอแลน Nephelium hypoleucum 2 1.82
34 กกุ๊ Lannea coromandelica 5 4.55
35 ตะคราํ้ Garuga pinnata 2 1.82
36 กางขีม้ อด Derris kerrii 3 2.73
37 มะหอ้ Spondias lakonensis 3 2.73
38 ยอเถื่อน Morinda elliptica 5 4.55
39 ราชพฤกษ์ Cassia fistula 3 2.73
40 ต้ิวขน Cratoxylum formosum 2 1.82
41 กระพ้จี นั่ Millettia brandisiana 3 2.73
42 คําแสด Mallotus philippensis 4 3.64
เบญจพรรณในเขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ ดอยหลวง
ปลงพบ ความถี่ พื้นทีห่ น้าตัด ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 3.85
3.80
2 18.18 0.29 0.01 1.29 1.14 1.42 3.65
3.59
2 18.18 0.23 0.01 1.55 1.14 1.12 3.58
3.42
3 27.27 0.03 0.00 1.80 1.71 0.13 3.40
3.29
3 27.27 0.17 0.01 1.03 1.71 0.84 3.23
3.02
3 27.27 0.17 0.01 1.03 1.71 0.83 3.02
2.94
3 27.27 0.09 0.00 1.29 1.71 0.42 2.86
2.77
3 27.27 0.08 0.00 1.29 1.71 0.40 2.67
2.66
1 9.09 0.51 0.02 0.26 0.57 2.46 2.66
2.66
1 9.09 0.39 0.02 0.77 0.57 1.88 2.50
2.42
1 9.09 0.29 0.01 1.03 0.57 1.41 2.40
2 18.18 0.28 0.01 0.52 1.14 1.36
1 9.09 0.38 0.02 0.52 0.57 1.86
2 18.18 0.09 0.00 1.29 1.14 0.43
2 18.18 0.23 0.01 0.52 1.14 1.11
2 18.18 0.15 0.01 0.77 1.14 0.75
2 18.18 0.15 0.01 0.77 1.14 0.74
2 18.18 0.05 0.00 1.29 1.14 0.23
3 27.27 0.03 0.00 0.77 1.71 0.17
2 18.18 0.17 0.01 0.52 1.14 0.84
2 18.18 0.10 0.01 0.77 1.14 0.51
2 18.18 0.05 0.00 1.03 1.14 0.23
ตารางผนวกท่ี 6 ดชั นีความสาํ คัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเ
ลาํ ดบั ชนิดพันธไุ์ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ จาํ นวนต้น ความหนาแน่น แป
(ตน้ /เฮกตาร)์
43 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata
44 กาสามปีก Vitex peduncularis 2 1.82
45 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 1 0.91
46 ปอเลียงฝา้ ย Eriolaena candollei 2 1.82
2 1.82
47 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 3 2.73
48 โพบาย Balakata baccata 2 1.82
49 ปอขาว Sterculia pexa 2 1.82
50 หอมไกลดง Harpullia arborea 4 3.64
51 ซ้อ Gmelina arborea 1 0.91
52 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 3 2.73
53 เก็ดขาว Dalbergia glomeriflora 2 1.82
54 ง้ิวปา่ Bombax anceps 2 1.82
55 เสลาดํา Lagerstroemia undulata 1 0.91
56 แคขาว Dolichandrone serrulata 2 1.82
57 สม้ กบ Hymenodictyon orixense 2 1.82
58 ปอต๊บู หชู า้ ง Sterculia villosa 3 2.73
59 ยางนา Dipterocarpus alatus 2 1.82
60 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 2 1.82
61 มะกล่ําตน้ Adenanthera pavonina 1 0.91
62 เลอื ดควายใบใหญ่ Knema furfuracea 1 0.91
2 1.82
63 รกฟา้ Terminalia alata
เบญจพรรณในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ดอยหลวง
ปลงพบ ความถี่ พ้นื ท่ีหน้าตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 2.35
2.34
2 18.18 0.14 0.01 0.52 1.14 0.69 2.28
2.15
1 9.09 0.31 0.02 0.26 0.57 1.51 2.14
2.10
0 0.00 0.36 0.02 0.52 0.00 1.77 2.06
2.04
2 18.18 0.10 0.00 0.52 1.14 0.50 2.00
1.97
2 18.18 0.05 0.00 0.77 1.14 0.22 1.94
1.83
1 9.09 0.21 0.01 0.52 0.57 1.01 1.79
1.69
2 18.18 0.08 0.00 0.52 1.14 0.40 1.69
1.54
1 9.09 0.09 0.00 1.03 0.57 0.44 1.34
1.30
1 9.09 0.24 0.01 0.26 0.57 1.17 1.29
1.27
2 18.18 0.01 0.00 0.77 1.14 0.06 1.27
2 18.18 0.06 0.00 0.52 1.14 0.28
2 18.18 0.04 0.00 0.52 1.14 0.17
1 9.09 0.20 0.01 0.26 0.57 0.96
2 18.18 0.01 0.00 0.52 1.14 0.03
2 18.18 0.01 0.00 0.52 1.14 0.03
1 9.09 0.04 0.00 0.77 0.57 0.19
1 9.09 0.05 0.00 0.52 0.57 0.25
1 9.09 0.04 0.00 0.52 0.57 0.21
1 9.09 0.09 0.00 0.26 0.57 0.46
1 9.09 0.09 0.00 0.26 0.57 0.45
1 9.09 0.04 0.00 0.52 0.57 0.18
ตารางผนวกท่ี 6 ดัชนีความสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเ
ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ จาํ นวนต้น ความหนาแนน่ แป
(ตน้ /เฮกตาร์)
64 ยอปา่ Morinda coreia
65 มะกอกดอน Schrebera swietenioides 2 1.82
66 รงั Shorea siamensis 1 0.91
67 ปอแดง Sterculia guttata 1 0.91
1 0.91
68 มะเกลือเลือด Terminalia mucronata 1 0.91
69 มะยมป่า Ailanthus triphysa 1 0.91
70 สะแกแสง Cananga latifolia 1 0.91
71 หาดหนุน Artocarpus gomezianus 1 0.91
72 มะกกั Spondias bipinnata 1 0.91
73 เพกา Oroxylum indicum 1 0.91
74 ชิงชัน Dalbergia oliveri 1 0.91
75 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata 1 0.91
76 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 1 0.91
77 ดงดํา Alphonsea glabrifolia 1 0.91
78 แหลบุก Phoebe lanceolata 1 0.91
79 ตาลเหลือง Ochna integerrima 1 0.91
80 พระเจา้ ร้อยท่า Heteropanax fragrans 1 0.91
81 ตองแตบ Macaranga denticulata 1 0.91
82 ปรู Alangium salviifolium 1 0.91
83 กระโดน Careya sphaerica 1 0.91
รวม Total 352.73
เบญจพรรณในเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ ดอยหลวง
ปลงพบ ความถี่ พ้ืนที่หน้าตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.) 1.17
1.16
1 9.09 0.02 0.00 0.52 0.57 0.08 1.10
1.05
1 9.09 0.07 0.00 0.26 0.57 0.33
1 9.09 0.06 0.00 0.26 0.57 0.27
1 9.09 0.05 0.00 0.26 0.57 0.23
1 9.09 0.04 0.00 0.26 0.57 0.17 1.00
1 9.09 0.03 0.00 0.26 0.57 0.14 0.97
1 9.09 0.02 0.00 0.26 0.57 0.12 0.95
1 9.09 0.01 0.00 0.26 0.57 0.07 0.90
1 9.09 0.01 0.00 0.26 0.57 0.07 0.89
1 9.09 0.01 0.00 0.26 0.57 0.04 0.86
1 9.09 0.01 0.00 0.26 0.57 0.03 0.86
1 9.09 0.01 0.00 0.26 0.57 0.03 0.86
1 9.09 0.01 0.00 0.26 0.57 0.03 0.86
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.02 0.85
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.02 0.85
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.02 0.85
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.02 0.85
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.02 0.84
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.02 0.84
1 9.09 0.00 0.00 0.26 0.57 0.01 0.84
1590.91 20.63 1.00 100.00 100.00 100.00 300.00
ตารางผนวกท่ี 7 ดัชนีความสําคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลาํ ดับ ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ จํานวนตน้ ความหนาแน่น
(ต้น/เฮกตาร)์
1 รงั Shorea siamensis 7 70.00
2 เต็ง Shorea obtusa 12 120.00
3 ทองหลางป่า Erythrina subumbrans 8 80.00
4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 11 110.00
5 ตะแบกแดง Lagerstroemia calyculata 3 30.00
6 ยาบข้ีไก่ Grewia laevigata 7 70.00
7 แดง Xylia xylocarpa 2 20.00
8 มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 3 30.00
9 โลด Aporosa villosa 4 40.00
10 ติ้วเกล้ียง Cratoxylum cochinchinense 4 40.00
11 กระพเ้ี ขาควาย Dalbergia cultrata 4 40.00
12 มะเม่าดง Antidesma bunius 4 40.00
13 งว้ิ ปา่ Bombax anceps 1 10.00
14 ขวา้ ว Haldina cordifolia 3 30.00
15 สมอไทย Terminalia chebula 3 30.00
16 แขง้ กวาง Wendlandia tinctoria 3 30.00
17 ปอต๊บู หูช้าง Sterculia villosa 2 20.00
18 หาดหนุน Artocarpus gomezianus 1 10.00
19 ลาํ ไยปา่ Paranephelium xestophyllum 1 10.00
20 ราชพฤกษ์ Cassia fistula 2 20.00
21 กระพจี้ ่นั Millettia brandisiana 2 20.00
22 พระเจ้ารอ้ ยท่า Heteropanax fragrans 1 10.00
าเตง็ รงั ในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ ดอยหลวง
น แปลงพบ ความถ่ี พ้นื ท่ีหนา้ ตดั ความเดน่ RDensity RFrequency RDominance IVI
) (ตร.ม.)
0 1 100.00 0.52 0.23 6.73 2.86 23.24 32.83
0 1 100.00 0.38 0.17 11.54 2.86 16.79 31.19
0 1 100.00 0.28 0.13 7.69 2.86 12.62 23.16
0 1 100.00 0.11 0.05 10.58 2.86 4.85 18.29
0 1 100.00 0.16 0.07 2.88 2.86 7.24 12.98
0 1 100.00 0.06 0.03 6.73 2.86 2.64 12.23
0 1 100.00 0.13 0.06 1.92 2.86 5.86 10.64
0 1 100.00 0.09 0.04 2.88 2.86 4.16 9.90
0 1 100.00 0.03 0.01 3.85 2.86 1.20 7.90
0 1 100.00 0.03 0.01 3.85 2.86 1.15 7.85
0 1 100.00 0.02 0.01 3.85 2.86 0.96 7.66
0 1 100.00 0.02 0.01 3.85 2.86 0.83 7.54
0 1 100.00 0.07 0.03 0.96 2.86 3.07 6.89
0 1 100.00 0.02 0.01 2.88 2.86 1.10 6.84
0 1 100.00 0.02 0.01 2.88 2.86 0.80 6.54
0 1 100.00 0.02 0.01 2.88 2.86 0.70 6.44
0 1 100.00 0.03 0.01 1.92 2.86 1.30 6.08
0 1 100.00 0.04 0.02 0.96 2.86 1.95 5.77
0 1 100.00 0.04 0.02 0.96 2.86 1.91 5.72
0 1 100.00 0.02 0.01 1.92 2.86 0.84 5.62
0 1 100.00 0.02 0.01 1.92 2.86 0.81 5.59
0 1 100.00 0.04 0.02 0.96 2.86 1.57 5.39
ตารางผนวกท่ี 7 ดัชนคี วามสาํ คญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่
ลาํ ดบั ชนิดพนั ธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ จํานวนตน้ ความหนาแนน่
(ต้น/เฮกตาร์)
23 สัก Tectona grandis 2 20.00
24 รกั ใหญ่ Gluta usitata 2 20.00
25 สวอง Vitex limonifolia 2 20.00
26 แคหางคา่ ง Fernandoa adenophylla 1 10.00
27 อนิ ทนลิ น้าํ Lagerstroemia speciosa 1 10.00
28 ตาลเหลือง Ochna integerrima 1 10.00
29 ตะคร้อ Schleichera oleosa 1 10.00
30 คํามอกหลวง Gardenia sootepensis 1 10.00
31 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 1 10.00
32 หนามมะเคด็ Canthium parvifolium 1 10.00
33 มะกกั Spondias bipinnata 1 10.00
34 แสลงใจ Strychnos nux-vomica 1 10.00
35 รกฟ้า Terminalia alata 1 10.00
36 ปอตีนเต่า Colona winitii 0-
รวม Total 1,040.00
าเต็งรังในเขตรกั ษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ ดอยหลวง
น แปลงพบ ความถี่ พ้ืนทีห่ น้าตดั ความเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
) (ตร.ม.)
0 1 100.00 0.01 0.01 1.92 2.86 0.58 5.36
0 1 100.00 0.01 0.00 1.92 2.86 0.40 5.18
0 1 100.00 0.01 0.00 1.92 2.86 0.30 5.08
0 1 100.00 0.02 0.01 0.96 2.86 0.82 4.63
0 1 100.00 0.01 0.01 0.96 2.86 0.63 4.45
0 1 100.00 0.01 0.00 0.96 2.86 0.44 4.26
0 1 100.00 0.01 0.00 0.96 2.86 0.28 4.10
0 1 100.00 0.01 0.00 0.96 2.86 0.27 4.09
0 1 100.00 0.00 0.00 0.96 2.86 0.21 4.03
0 1 100.00 0.00 0.00 0.96 2.86 0.16 3.98
0 1 100.00 0.00 0.00 0.96 2.86 0.12 3.94
0 1 100.00 0.00 0.00 0.96 2.86 0.12 3.93
0 1 100.00 0.00 0.00 0.96 2.86 0.09 3.91
0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0 3500.00 2.24 1.00 100.00 100.00 100.00 300.00
แผนงานสํารวจทรัพยากรปา่ ไมเ้ พื่อติดต้ังระบบต
ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 สํา
NO CLUSTER ID EASTING NORTHING zone ระว
1 476121662051305 612166 2051305 47 5
2 476146662051305 614666 2051305 47 5
3 476121662048805 612166 2048805 47 5
4 476146662048805 614666 2048805 47 5
5 476121662046305 612166 2046305 47 5
6 476146662046305 614666 2046305 47 5
7 476096662043805 609666 2043805 47 5
8 476121662043805 612166 2043805 47 5
9 476096662041305 609666 2041305 47 5
10 476121662041305 612166 2041305 47 5
11 476071662038805 607166 2038805 47 5
12 476096662038805 609666 2038805 47 5
13 476121662038805 612166 2038805 47 5
14 476071662036305 607166 2036305 47 5
15 476096662036305 609666 2036305 47 5
16 476096662033805 609666 2033805 47 5
ตดิ ตามความเปล่ยี นแปลงของทรพั ยากรปา่ ไมฯ้
านักบรหิ ารพ้นื ทีอ่ นรุ ักษท์ ่ี 13 (แพร)่
วางแผนท่ี จงั หวดั ประเภทพื้นทีอ่ นุรกั ษ์ CLUSTER SIZE
5046III จ.แพร่ เขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ 2.5x2.5
5046III จ.แพร่ เขตรักษาพนั ธส์ุ ัตวป์ ่า 2.5x2.5
5046III จ.แพร่ เขตรกั ษาพันธ์สุ ัตว์ป่า 2.5x2.5
5046III จ.แพร่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ 2.5x2.5
5046III จ.แพร่ เขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ปา่ 2.5x2.5
5046III จ.แพร่ เขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ป่า 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรักษาพนั ธส์ุ ัตว์ป่า 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ ่า 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตว์ปา่ 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ า่ 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตวป์ ่า 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตว์ปา่ 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรักษาพนั ธ์ุสัตวป์ ่า 2.5x2.5
5045IV จ.แพร่ เขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ปา่ 2.5x2.5