The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chantarat Somkane, 2020-11-22 22:03:53

อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

คำนำ

สถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นท่ีป่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพ้ืนท่ีประเทศ ซ่ึงพื้นท่ี
ดงั กลา่ วส่วนใหญ่อยูใ่ นความรบั ผิดชอบของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุ์พชื จะตอ้ งดาเนนิ การอนุรักษ์สงวนและฟ้ืนฟู
ทรัพยากรป่าไม้ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างย่ังยืน จึงจาเป็นที่จะต้องทราบถึง
สถานภาพและศกั ยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรพั ยากรป่าไม้ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพื้นท่ีป่าไม้
เพื่อนาข้อมูลมาใช้ประกอบการพิจารณาในการดาเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ดังนั้นส่วนสารวจและวิเคราะห์
ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนุรักษ์ จึงมอบหมายให้สานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 4 (สุราษฏร์ธานี)
ดาเนินการสารวจพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในความผิดชอบจานวน 1 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง เพ่ือเป็นการเก็บรวบรวม
ข้อมูลพ้ืนฐานด้านทรัพยากรป่าไม้ ในพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ซ่ึงข้อมูลที่ได้สามารถนาไปใช้ในการประเมินมูลค่า ทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจและสง่ิ แวดลอ้ ม ในการดาเนนิ การในกจิ กรรมท่ีมีความเก่ียวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังใช้ใน
การประเมินสถานภาพและศักยภาพของป่าทรัพยากรป่าไม้ และทรัพยากรอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ
ดาเนินการในภารกจิ ต่างๆ ของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุพ์ ืช ตอ่ ไป

คณะทางานสารวจทรัพยากรป่าไมฯ้
สานกั บรหิ ารพื้นที่อนรุ กั ษ์ท่ี 4 (สรุ าษฏรธ์ านี)

วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ใหท้ ราบข้อมลู พ้นื ฐานเกย่ี วกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิตและความหลากหลายของ
พชื พนั ธุใ์ นพืน้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ตา่ งๆ ของประเทศไทย

2. เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ เก่ียวกับรูปแบบ วธิ ีการสารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูล
อย่างเป็นระบบและแบบแผน

3. เพอ่ื เป็นแนวทางในการวางระบบติดตามการเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรปา่ ไม้ในพน้ื ท่ี
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชากล้าไม้เพื่อ
ปลกู เสรมิ ป่าในแต่ละพ้ืนที่

เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนา พ้นื ท่ี
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพื้นท่ีสารวจ
เป้าหมายในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง ในท้องที่ตาบลคันธุลี ตาบลคลองพา ตาบลสมอทอง ตาบลประสงค์
อาเภอท่าชนะ ตาบลปากหมาก อาเภอไชยา ตาบลปากฉลุย อาเภอท่าฉาง และตาบลตะกุกเหนือ อาเภอวิภาวดี
(เดมิ เปน็ อาเภอคีรีรัฐนิคม) จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ซึง่ อยใู่ นความดูแลรับผิดชอบของสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 4 (สุ
ราษฎร์ธานี) จานวน 70 แปลง

การสารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3
วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่
ตามทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
จานวนทั้งสิ้น 70 แปลง และทาการเก็บข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต
ความสูง จานวนกล้าไม้และลูกไม้ ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ลักษณะต่างๆ ของพ้ืนท่ีท่ีต้นไม้ขึ้นอยู่ ข้อมูล
ลักษณะภูมปิ ระเทศ เชน่ ระดบั ความสูง ความลาดชัน เปน็ ตน้ ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น
ไมไ้ ผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนามาวิเคราะห์และประมวลผล เพ่ือให้ทราบเน้ือท่ีป่าไม้ ลักษณะ
การใช้ประโยชน์ท่ีดิน ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาตขิ องหมู่ไม้ในป่าน้ัน

ขอ้ มูลท่ัวไปอุทยำนแห่งชำติแกง่ กรงุ

ประวตั ิควำมเปน็ มำ

สืบเนื่องมาจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้มีโครงการสร้างเข่ือนแก่งกรุง บริเวณพ้ืนท่ีป่าท่าชนะ
เป็นเหตุให้เกิดปัญหาการบุกรุกพ้ืนที่รอบอ่างเก็บน้า และกรมป่าไม้ได้มีคาส่ังท่ี 1169/2532 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม
พ.ศ. 2532 ให้นายเดชาวธุ เศรษฐพรรค์ นกั วิชาการปา่ ไม้ 5 ไปสารวจพื้นทีเ่ พอื่ เก็บขอ้ มลู เบ้อื งต้นบริเวณพื้นที่อ่างเก็บ
น้าแก่งกรุงและพื้นท่ีป่าในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าท่าชนะ และป่าเตรียมการสงวนคลองสก-คลองแสง-คลองยัน ในท้องท่ี
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปรากฏว่าบริเวณดังกล่าวเป็นป่าดิบช้ืนที่อุดมสมบูรณ์มาก ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มีค่าหลายชนิดข้ึนอยู่
อยา่ งหนาแน่น มีสัตว์ป่าชุกชุม และนกนานาชนิด นอกจากน้ียังมีจุดเด่นทางธรรมชาติที่สวยงามและสาคัญย่ิง ป่าส่วนนี้
เปน็ แหลง่ ตน้ นา้ ลาธารทหี่ ล่อเล้ียงชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดชุมพร ต่อมากรมป่าไม้ได้มีคาสั่งท่ี 892/2532 ลง
วนั ท่ี 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ให้นายเดชาวุธ เศรษฐพรรค์ ไปดาเนินการสารวจข้อมูลเพ่ิมเติม เพื่อจัดตั้งพ้ืนที่ป่าสงวน
แห่งชาตปิ ่าท่าชนะ และป่าเตรียมการสงวน คลองสก-คลองแสง-คลองยัน ท้องท่จี งั หวัดสุราษฎร์ธานี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ
กองอทุ ยานแห่งชาติ (กรมป่าไม)้ ได้รับรายงานจาก นายเดชาวธุ เศรษฐพรรค์ ตามหนังสอื ที่ กษ 0713/พิเศษ ลงวันที่
26 ธนั วาคม 2532 เหน็ สมควรใชช้ ือ่ อุทยานแห่งชาติแห่งนี้ว่า “อุทยานแห่งชาติคลองยัน” เน่ืองจากเป็นคลองสาคัญ และ
เป็นจุดเด่นในพื้นที่ แต่กองอุทยานแห่งชาติ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เน่ืองจากพ้ืนที่ดังกล่าวรัฐบาลมีโครงการสร้างเขื่อนแก่ง
กรงุ ประกอบกบั ชื่อแกง่ กรุงเป็นทร่ี ้จู ักกนั แพรห่ ลาย จงึ เหน็ สมควรใชช้ ่ืออทุ ยานแห่งชาติน้วี า่ “อุทยานแหง่ ชาตแิ ก่งกรุง” กรม
ปา่ ไม้ จึงไดเ้ สนอคณะกรรมการอุทยานแหงชาติ ครงั้ ท่ี 1/2533 เห็นสมควรให้ดาเนินการตราพระราชกฤษฎีกา กาหนดพ้ืนที่
ป่าท่าชนะ ในท้องที่ ตาบลคันธุลี ตาบลคลองพา ตาบลสมอทอง ตาบลประสงค์ อาเภอท่าชนะ ตาบลปากหมาก
อาเภอไชยา ตาบลปากฉลุย อาเภอท่าฉาง และตาบลตะกุกเหนอื ก่งิ อาเภอวภิ าวดี (เดิมเป็นอาเภอคีรีรัฐนิคม) จังหวัด
สุราษฎร์ธานี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ เม่อื วันที่ 4 ธนั วาคม 2534 ไดล้ งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 108 ตอน
ที่ 211 เป็นอุทยานแห่งชาติลาดับท่ี 69 ของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 338,125 ไร่ หรือประมาณ 541 ตาราง
กิโลเมตร

ท่ตี ัง้ และอำณำเขต

อทุ ยานแห่งชาตแิ กง่ กรงุ ตั้งอยบู่ ริเวณพกิ ดั บรเิ วณพิกดั 47P 0483046E 1036120N ชุด L 7017 โดยมี
อาณาเขต

ทศิ เหนอื จดเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ป่าควนแมย่ ายหมอ่ น
ทิศใต้ จดเขตรักษาพันธส์ุ ตั วป์ ่าคลองยนั
ทศิ ตะวนั ออก จดปา่ สงวนแห่งชาตปิ า่ ท่าชนะ
ทศิ ตะวนั ตก จดเขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ ่าคลองยัน และเขตรกั ษาพันธ์สุ ตั วป์ ่าควนแม่ยายหม่อน

ภำพที่ 1 แสดงทตี่ ัง้ และอำณำเขตอทุ ยำนแหง่ ชำติแกง่ กรุง

กำรเดินทำงและเสน้ ทำงคมนำคม
เดินทางโดยรถยนตจ์ ากกรงุ เทพฯ-สุราษฎร์ธานี ระยะทางประมาณ 600 กิโลเมตร ถึงทางแยกเข้า

อาเภอวิภาวดี เดินทางผ่านอาเภอวิภาวดี ผ่านหมู่บ้านท่านหญิง ลัดเลาะสู่ท่ีทาการอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
ระยะทางประมาณ 54 กิโลเมตร โดยมีทางลูกรงั อีกประมาณ 5 กิโลเมตร
ลกั ษณะภูมิประเทศ

อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง ประกอบด้วยพ้ืนที่ภูเขาสลับซับซ้อนในแนวเหนือ–ใต้ ด้านตะวันตกของ
พื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีติดต่อพื้นที่จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง เทือกเขาในตอนกลางของอุทยานแห่งชาติ
แกง่ กรุงเป็นต้นน้าแมน่ ้าหลังสวนดา้ นทิศเหนอื และคลองยนั ทางทิศใต้ มียอดเขาสูงที่สาคัญ 4 แห่งด้วยกัน คือ ยอด
เขาแดน ยอดเขายายหม่อน ยอดเขานมสาวและยอดเขาไผ่ ซึ่งยอดเขาท่ีสูงที่สุด คือ ยอดเขาแดนสูงประมาณ 913
เมตรจากระดับน้าทะเล ส่วนใหญพ่ ื้นทีม่ ีลกั ษณะเป็นเขาดนิ แร่สาคัญทีม่ ีอยใู่ นบรเิ วณน้ี คอื แร่ดบี ุก

ลกั ษณะภมู ิอำกำศ
เนื่องจากสภาพพ้ืนที่โดยท่ัวไปยังเป็นป่าดิบชื้น ทาให้มีฝนตกเกือบตลอดปี และมีอากาศค่อนข้างเย็น

เนื่องจากต้ังอยู่ในบริเวณพื้นท่ีภาคใต้ตอนบน ซ่ึงได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ทาให้ฝนตกเกือบตลอดปีและมีฤดูกาลเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือน
เมษายน ฤดฝู นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมกราคม โดยฤดูฝนแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกเดือนพฤษภาคมถึง
ตุลาคม อยู่ในอทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ และชว่ งท่ีสองระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงมกราคม อยู่ในอิทธิพล
ของลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือท่พี ัดผา่ นอ่าวไทย

ภำพที่ 2 สภำพภูมอิ ำกำศอทุ ยำนแหง่ ชำตแิ กง่ กรุง
ลักษณะทำงธรณวี ิทยำ

ชั้นหินในจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ทางทิศเหนือฝั่งอ่าวไทยเป็นช้ันหินตะกอนน้าพาปนกับตะกอน ตะพักลุ่มน้า
เชน่ กรวด ทราย ทรายแปง้ ดิน ทรายชายหาด ดินแลงและคราบหินปูน อายุอยู่ในช่วง ควาเทอร์นารี (Quaternary) และทิศ
ตะวนั ออกส่วนมากเปน็ ชนั้ หินโคลนปนกรวด สีเทาถงึ สเี ทาแกมน้าตาล เม็ดกรวดประกอบด้วยหินควอร์ตไซต์ หินแกรนติ และ
หนิ ปูน หินดินดานสลับกับหินทราย หินดินดานและหินทรายสีขาว เม็ดขนาดปานกลาง เป็นช้ันชัดเจน ชุดตะนาวศรี
อายุเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอรัส (Permain-Carboniferous) และหินอัคนี หินไปโอไทต์มัสไวต์แกรนิต หินฮอร์นแบลน
แกรนติ และพนังหนิ เพกมาไทต์ ทางตอนใตต้ ดิ กับจังหวดั นครศรีธรรมราชจะเปน็ หินทรายและหินดินดานสีน้าตาลแกมแดงถึง
สนี ้าตาล หนิ ทรายปนกรวดมน หินกรวดมนและหนิ ปูนปนโดโลไมต์ มชี นั้ เฉียงระดบั และรอยร้ิวคลื่น และหินกรวดมนรอง
พื้น บางบริเวณเป็นดนิ ดานท่ีมีซากดกึ ดาบรรพ์ ดนิ มาร์ล หินทราย หินทรายแป้ง หินปูนและยิปซั่ม มีซากแกสโทรพอด
และซากใบไม้ เปน็ ชุดโคราช (Korat) อายคุ รีเทเชียส-ไทรแอสซกิ (Caetaceous-Triassic)

จุดเด่นทน่ี ่ำสนใจ
อุทยานแห่งชาติแก่งกรุงมจี ดุ เด่นทนี่ ่าสนใจในพืน้ ที่และพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง ดงั นี้
1. น้ำตกบำงจำ ตั้งอยู่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง ท่ี กก.5 (บางจา) เป็นน้าตกธรรมชาติ

สูงประมาณ 20 เมตร เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจของนักท่องเท่ียว มีสถานที่สาหรับกางเต็นท์และเส้นทางศึกษา
ธรรมชาติ

ภำพที่ 3 นำ้ ตกบำงจำ
2. ผำหนุมำน เปน็ แนวภเู ขาสงู ประมาณ 50 เมตร อยทู่ างทศิ เหนอื ของหมู่บา้ นบางจาระยะทางประมาณ 3–
4 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดินทางประมาณ 1–2 ชว่ั โมง

ภำพท่ี 4 จดุ ชมวิวผำหนุมำน

3. บอ่ นำ้ รอ้ น อยทู่ างทศิ เหนอื ของหมู่บ้านบางจา ตอ้ งเดินลัดเลาะผ่านแนวป่า ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร
ใช้เวลาเดนิ ทางประมาณ 5–6 ชวั่ โมง เป็นบ่อนา้ รอ้ นอยทู่ ่ามกลางปา่ ใหญ่ เน้ือที่ประมาณ 50 ตารางวา ประกอบด้วยบ่อเล็กๆ
2 บ่อ มีน้าร้อนผุดขึ้นมา อุณหภูมิประมาณ 70–80 องศาเซลเซียส ในตอนเช้าอากาศเย็นกระทบกับความร้อน ทาให้เกิด
เป็นไอระเหยกลายเป็นหมอกปกคลุมไปทั่วบริเวณ และกระแสน้าร้อนจากบ่อ จะไหล่ไปบรรจบกับธารน้าเย็นในบริเวณ
ใกล้เคียง แล้วไหลลงสู่คลองยัน ตลอดเส้นทางไปบ่อน้าร้อน มีพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าต่างๆ ท่ีหายากมากมาย รวมท้ังไผ่
ยกั ษห์ รือไผ่เฉยี งรนุ

ภำพที่ 5 บอ่ น้ำรอ้ น
4. ลำนำ้ คลองยัน เป็นลาน้าหลักในพน้ื ท่ี เป็นต้นกาเนิดท่ีเกิดจากเทือกเขาตอนกลางของพ้ืนที่มีความยาว
ประมาณ 70 กโิ ลเมตร มีนา้ ไหลเชีย่ ว บางช่วงเปน็ แก่ง มีต้นไม้ขึ้นตระหง่านอยู่สองฝ่ังคลองมองดูลึกลับ ตอนเหนือบริเวณต้น
น้าคลองยันมีบรเิ วณทเ่ี รยี กว่าหนิ ลมหินลาด ประกอบด้วยหน้าผาท่ีสูงชันริมฝั่งคลองมีหินลาดบริเวณกว้าง คลองยันไหล
ผา่ นตอนกลางของหนิ ลาด ทาให้เกิดสภาพธรรมชาติทสี่ วยงามมาก เหมาะสม แกก่ ารลอ่ งแก่ง

ภำพที่ 6 ลำน้ำคลองยัน

5. นำ้ ตกคลองพำ ตงั้ อยู่ในพน้ื ที่หนว่ ยพิทกั ษอ์ ุทยานแหง่ ชาติแก่งกรงุ ที่ กก. 4 (คลองพา) เปน็ น้าตกขนาดกลาง สงู
ประมาณ 50 เมตร มที ้งั หมด 7 ชั้น

ภำพที่ 7 น้ำตกคลองพำ

รูปแบบและวิธกี ำรสำรวจทรพั ยำกรป่ำไม้

การสารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นแต่ละจงั หวัดท่ัวประเทศไทย ดาเนนิ การโดยกลุม่ สารวจทรพั ยากรป่าไม้ ส่วน
สารวจและวเิ คราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สานักฟนื้ ฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ และสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ ในสังกัด
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธพ์ุ ชื
กำรสมุ่ ตวั อย่ำง (Sampling Design)

การสารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพ้ืนที่ท่ีภาพถ่าย
ดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเปน็ ป่า โดยใหแ้ ตล่ ะแปลงตวั อย่าง (Sample plot) มรี ะยะหา่ งเทา่ ๆ กัน โดยกาหนดให้แต่ละ
แปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริม่ จากการสุ่มกาหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ี
ประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มรี ะยะห่างระหว่างเสน้ กรดิ ทง้ั แนวตั้งและแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ
ระยะช่องกริดในแผนที่เท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดทั้งสองแนว ก็จะเป็นตาแหน่งท่ีตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละ
แปลง เมอ่ื ดาเนนิ การเสร็จสิ้นแล้ว จะทราบจานวนหน่วยตัวอย่าง และตาแหน่งที่ต้ังของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของ
แปลงตวั อย่างดังภาพท่ี 1 และรูปแบบของการวางแปลงตวั อยา่ งดังภาพท่ี 2 ตามลาดับ

ภำพที่ 8 ลกั ษณะและขนำดของแปลงตวั อยำ่ ง

รูปรำ่ งและขนำดของแปลงตัวอยำ่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ที่ใช้ในการสารวจมีทั้งแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่างชั่วคราว เป็น
แปลงทมี่ ีขนาดคงท่ี (Fixed–Area Plot) และมรี ูปร่าง 2 ลกั ษณะด้วยกัน คือ

1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมท่ีมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62

และ 17.84 เมตร ตามลาดับ
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดยจุด

ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยบู่ นเสน้ รอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทศิ หลกั ท้ัง 4 ทิศ

2. ลกั ษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมี
จุดเร่มิ ต้นรว่ มกนั ณ จดุ ศูนยก์ ลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1 ได้จากการ
สมุ่ ตวั อยา่ ง

ขนำดของแปลงตวั อย่ำงและขอ้ มูลท่ีทำกำรสำรวจ

ขนาดของแปลงตัวอย่าง และข้อมูลท่ที าการสารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางที่ 1

ตำรำงที่ 1 ขนำดของแปลงตวั อย่ำงและข้อมลู ทีท่ ำกำรสำรวจ

รัศมีของวงกลม หรือ จำนวน พ้ืนท่หี รอื ควำมยำว ข้อมลู ที่สำรวจ
ควำมยำว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กล้าไม้
0.631 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลกู ไมแ้ ละการปกคลมุ พน้ื ทข่ี องกลา้ ไม้ และลูกไม้
3.99 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายที่ยงั ไม่เล้อื ย และตอไม้
12.62 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ต้นไม้ และตรวจสอบปัจจัยท่ีรบกวนพนื้ ท่ีปา่
17.84 2 เสน้ Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลอ้ื ย
17.84 (เส้นตรง) 17.84 เมตร และไมเ้ ถา ทีพ่ าดผา่ น

กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูลกำรสำรวจทรพั ยำกรปำ่ ไม้

1. กำรคำนวณเนือ้ ทป่ี ่ำและปรมิ ำณไมท้ ัง้ หมดของแตล่ ะพืน้ ที่อนรุ กั ษ์

1.1 ใช้ขอ้ มูลพื้นทอี่ นรุ ักษ์จากแผนที่แนบท้ายกฤษฎกี าของแตล่ ะพน้ื ทอี่ นรุ ักษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบในแต่ละลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เปรียบเทียบกับจานวน
แปลงตัวอย่างที่วางแปลงท้ังหมดในแต่ละพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ท่ีอาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่าย
ดาวเทียมหรือภาพถ่ายทางอากาศ มาคานวณเป็นเนื้อท่ีป่าแต่ละชนิดโดยนาแปลงตัวอย่างที่วางแผนไว้มาคานวณทุก
แปลง
1.3 แปลงตัวอย่างที่ไม่สามารถดาเนินการได้ ก็ต้องนามาคานวณด้วย โดยทาการประเมินลักษณะพื้นที่ว่า
เป็น หน้าผา น้าตก หรอื พน้ื ท่ีอื่นๆ เพือ่ ประกอบลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ
1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพื้นที่อนุรักษ์ เป็นการคานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อท่ีอนุรักษ์จากแผนท่ีแนบท้าย
กฤษฎีกาของแต่ละพ้ืนที่อนุรักษ์ ซ่ึงบางพ้ืนที่อนุรักษ์มีข้อมูลเน้ือท่ีคลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริง และส่งผลต่อการ
คานวณปรมิ าณไม้ท้ังหมด ทาใหก้ ารคานวณปรมิ าณไม้เป็นการประมาณเบอ้ื งต้น

2. กำรคำนวณปริมำตรไม้

สมการปริมาตรไม้ท่ีใช้ในการประเมินการกักเก็บธาตุคาร์บอนในพ้ืนท่ีป่าไม้ แบบวิธี Volume based
approach โดยแบ่งกล่มุ ของชนดิ ไม้เป็นจานวน 7 กลมุ่ ดงั นี้

2.1 กลมุ่ ท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รงั เหยี ง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว พะยอม จันทน์กะพ้อ
สนสองใบ

สมกำรท่ีได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลมุ่ ที่ 2 ไดแ้ ก่ กระพีจ้ ั่น กระพีเ้ ขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวลั ย์เปรยี ง พะยงู ชงิ ชัน กระพี้
ถ่อน แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกุลมะเกลอื

สมกำรท่ีได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หกู วาง หกู ระจง ตีนนก ข้อี ้าย กระบก ตะคร้า ตะคร้อ
ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เล่ยี น มะฮอกกานี ขีอ้ า้ ย ตะบนู ตะบนั รัก ต้ิว สะแกแสง ปูเ่ จ้า และ
ไมส้ กุลส้าน เสลา อนิ ทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

สมกำรทไ่ี ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

2.4 กลุ่มท่ี 4 ไดแ้ ก่ กางข้ีมอด คนู พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถนิ พิมาน มะขามป่า หลุมพอ และสกลุ ขีเ้ หล็ก

สมกำรทไี่ ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กลุม่ ท่ี 5 ไดแ้ ก่ สกลุ ประดู่ เติม

สมกำรทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กลมุ่ ที่ 6 ไดแ้ ก่ สกั ตนี นก ผ่าเสย้ี น หมากเลก็ หมากน้อย ไขเ่ น่า กระจบั เขา กาสามปกี สวอง

สมกำรทไี่ ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลุ่มท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนดิ อืน่ ๆ เช่น ก๊กุ ขว้าว งว้ิ ป่า ทองหลางปา่ มะม่วงป่า ซ้อ โมกมนั แสมสาร และ
ไม้ในสกลุ ปอ กอ่ เปล้า เป็นต้น

สมกำรที่ได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยที่ V คอื ปริมาตรส่วนลาต้นเมือ่ ตัดโคน่ ท่ีความสงู เหนือดิน (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถงึ กง่ิ แรกที่ทาเป็นสนิ ค้าได้ มีหน่วยเป็นลูกบาศกเ์ มตร

DBH มีหนว่ ยเปน็ เซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm

3. ข้อมูลทว่ั ไป

ข้อมลู ทวั่ ไปทนี่ าไปใช้ในการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ ท่ีต้ัง ตาแหน่ง ชว่ งเวลาทเี่ ก็บขอ้ มลู ผู้ท่ที าการเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับน้าทะเล และลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ิน เปน็ ตน้ โดยขอ้ มลู เหล่านจ้ี ะใช้ประกอบในการวิเคราะห์
ประเมนิ ผลร่วมกบั ข้อมูลด้านอ่นื ๆ เพอ่ื ตดิ ตามความเปลยี่ นแปลงของพนื้ ทใี่ นการสารวจทรพั ยากรปา่ ไมค้ รงั้ ตอ่ ไป

4. กำรวิเครำะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้

4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปรมิ าตร

5. กำรวิเครำะห์ข้อมลู ชนิดและปรมิ ำณของลกู ไม้ (Sapling) และกลำ้ ไม้ (Seeding)

6. กำรวิเครำะห์ข้อมูลชนดิ และปริมำณของไม้ไผ่ หวำย

6.1 ความหนาแนน่ ของไม้ไผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเสน้ ตง้ั (จานวนต้น)

7. กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู สังคมพืช

โดยมีรายละเอยี ดการวิเคราะหข์ ้อมูลดังนี้

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธุ์ที่ศึกษา ที่
ปรากฏในแปลงตวั อย่างต่อหนว่ ยพืน้ ท่ีที่ทาการสารวจ

D= .

7.2 ความถี่ (Frequency : F) คือ อตั ราร้อยละของจานวนแปลงตวั อย่างทปี่ รากฏพนั ธ์ไุ มช้ นิดนั้น
ตอ่ จานวนแปลงทท่ี าการสารวจ

F = จานวนแปลงตัวอย่างท่ีพบไมช้ นดิ ท่กี าหนด X 100
จานวนแปลงตวั อย่างท้งั หมดท่ที าการสารวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พนื้ ท่ีหนา้ ตัดของลาต้นของต้นไม้ทีว่ ัดระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพนื้ ท่ีทีท่ าการสารวจ

Do = X 100

7.4 คา่ ความหนาแนน่ สมั พัทธ์ (Relative Density : RD) คอื ค่าความสัมพทั ธ์ของความหนาแน่น
ของไมท้ ต่ี ้องการตอ่ ค่าความหนาแนน่ ของไมท้ กุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ

RD = ค X 100
ค ุ

7.5 คา่ ความถีส่ มั พัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ คา่ ความสมั พทั ธข์ องความถ่ีของชนิดไม้ ที่ต้องการ
ต่อคา่ ความถที่ งั้ หมดของไมท้ กุ ชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ

RF = ค X 100
ค ุ

7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นในรูป
พ้นื ที่หน้าตัดของไม้ชนดิ ทก่ี าหนดต่อความเด่นรวมของไมท้ ุกชนิดในแปลงตัวอย่าง คดิ เปน็ รอ้ ยละ

RDo = ค เ X 100
คเ ุ

7.7 ค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสมั พทั ธต์ า่ งๆ ของชนิดไม้ในสังคม ไดแ้ ก่ คา่ ความสมั พทั ธด์ ้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ด้านความถ่ี และค่า
ความสัมพทั ธด์ า้ นความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเครำะห์ขอ้ มูลควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ

โดยทาการวิเคราะห์ค่าต่างๆ ดงั นี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) วัดจากจานวนชนิดพันธุ์ท่ีปรากฏในสังคมและ
จานวนต้นที่มีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity ตามวิธีการ
ของ Kreb (1972) ซึ่งมีสูตรการคานวณดังต่อไปน้ี

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คอื ค่าดชั นีความหลากชนดิ ของชนิดพนั ธุ์ไม้
pi คอื สดั สว่ นระหวา่ งจานวนตน้ ไมช้ นดิ ที่ i ต่อจานวนตน้ ไม้ทั้งหมด
S คือ จานวนชนิดพนั ธ์ไุ มท้ ้ังหมด

8.2 ความรา่ รวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจานวนชนิดกับจานวนต้น
ทั้งหมดที่ทาการสารวจ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเม่ือเพิ่มพ้ืนที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ารวย ท่ีนิยมใช้กัน คื อ วิธีของ
Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมสี ตู ร การคานวณดังน้ี

1) Margalef Index (R1)

R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick Index (R2)

R2 = S/√n

เมอื่ S คือ จานวนชนดิ ท้ังหมดในสังคม
n คอื จานวนต้นทัง้ หมดทีส่ ารวจพบ

8.3 ความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนีความ
สม่าเสมอจะมีค่ามากท่ีสุดเม่ือทุกชนิดในสังคมมีจานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่นั ก
นิเวศวทิ ยา คือ วธิ ีของ Pielou (1975) ซึ่งมสี ูตรการคานวณดังน้ี

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)

เมอ่ื H คือ ค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จานวนชนิดทงั้ หมด (N0)
N1 คือ eH

ผลกำรสำรวจและวเิ ครำะห์ขอ้ มลู ทรพั ยำกรป่ำไม้

1. กำรวำงแปลงตวั อย่ำง
จากผลการดาเนินการวางแปลงสารวจเพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้

ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง ดาเนินการสารวจตามพื้นที่รับผิดชอบของสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 4
(สุราษฎร์ธานี) รวมท้ังส้ินจานวน 70 แปลง (จากจานวนท้ังหมด 78 แปลง) ดงั ภาพท่ี 9-10

ภำพท่ี 9 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของอทุ ยำนแห่งชำติแก่งกรุง

ภำพที่ 10 แปลงตวั อย่ำงที่ไดด้ ำเนนิ กำรสำรวจภำคสนำมในอุทยำนแห่งชำติแกง่ กรุง

2. พื้นทีป่ ำ่ ไม้

จากการสารวจ พบวา่ มีพื้นท่ีป่าไม้จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ได้ 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบ
ช้ืน ป่าฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ ไร่ร้าง และแหล่งน้าธรรมชาติ (รวมอ่างเก็บน้า) โดยป่าดิบชื้นพบมากสุด มีพ้ืนท่ี
501.22 ตารางกิโลเมตร (313,262.87 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 92.65 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด รองลงมา คือ ป่าฟื้นฟูตาม
ธรรมชาติ มพี น้ื ที่ 23.87 ตารางกิโลเมตร (14,917.28 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 4.41 ของพ้ืนท่ีท้ังหมดไร่ร้าง มีพ้ืนท่ี 7.96
ตารางกิโลเมตร (4,972.43 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 1.47 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด และแหล่งน้าธรรมชาติ (รวมอ่างเก็บน้า) มีพ้ืนที่
7.96 ตารางกิโลเมตร (4,972.43 ไร่) คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.47 ของพนื้ ท่ที ั้งหมด รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 3

ตำรำงที่ 2 พืน้ ทป่ี ่ำไม้จำแนกตำมลักษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินในอุทยำนแหง่ ชำตแิ ก่งกรงุ
(Area by Forest Type)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ตร.กม. พืน้ ท่ี เฮกตำร์ รอ้ ยละ
(Landuse Type) 501.22 ไร่ 50,122.06 ของพ้ืนทที่ ้งั หมด
313,262.87
ป่าดิบชนื้ 92.65
(Tropical Evergreen Forest)
ปา่ ฟน้ื ฟูตามธรรมชาติ 23.87 14,917.28 2,386.76 4.41
(Regrowth Forest)
ไร่รา้ ง 7.96 4,972.43 795.59 1.47
(Old Clearing)
แหล่งนา้ ธรรมชาติ (รวมอ่างเกบ็ นา้ ) 7.96 4,972.43 795.59 1.47
(Natural water resources)
541.00 338,125.00 54,100.00 100.00
รวม

หมายเหตุ : - การคานวณพนื้ ท่ีป่าไม้ในแตล่ ะลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ โดยใชส้ ดั สว่ นของข้อมลู ท่พี บจากการสารวจภาคสนาม
- ร้อยละของพ้นื ทส่ี ารวจคานวณจากข้อมลู แปลงท่สี ารวจพบ ซึ่งมพี ืน้ ทีด่ ังตารางที่ 1
- รอ้ ยละของพ้นื ที่ทั้งหมดคานวณจากพ้ืนทแี่ นบทา้ ยกฤษฎกี าของอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
ซึง่ มีพ้นื ทเ่ี ท่ากับ 541 ตารางกิโลเมตร หรือ 338,125 ไร่

ภำพท่ี 11 พน้ื ทปี่ ำ่ ไมจ้ ำแนกตำมลักษณะกำรใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ในพน้ื ทอี่ ุทยำนแห่งชำติแกง่ กรุง

ภำพท่ี 12 ลกั ษณะทั่วไปของป่ำดบิ ชื้นในพื้นทอ่ี ทุ ยำนแหง่ ชำติแกง่ กรงุ

ภำพที่ 13 ลักษณะท่วั ไปของปำ่ ฟื้นฟตู ำมธรรมชำตใิ นพื้นทอ่ี ทุ ยำนแหง่ ชำติแกง่ กรุง

ภำพท่ี 14 ลกั ษณะทั่วไปของไร่รำ้ งในพ้นื ที่อทุ ยำนแหง่ ชำตแิ กง่ กรงุ

ภำพที่ 15 ลักษณะทั่วไปของแหล่งนำ้ ธรรมชำติ (รวมอำ่ งเก็บนำ้ ) ในพื้นท่ีอุทยำนแหง่ ชำตแิ ก่งกรงุ

3. ปริมำณไม้

จากการวเิ คราะห์เกย่ี วกบั ชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตรและความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการสารวจ
ทรัพยากรป่าไม้ ในแปลงตัวอย่างถาวรในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง จานวนทั้งสิ้น 70 แปลง (ไม่
สามารถดาเนนิ การได้ชัว่ คราว จานวน 2 แปลง) พบวา่ ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีสารวจมี 4 ประเภท ได้แก่ ป่า
ดิบช้ืน ป่าฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ ไร่ร้างและแหล่งน้าธรรมชาติ (รวมอ่างเก็บน้า) พบไม้ยืนต้น ท่ีมีความสูงมากกว่า 1.30
เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มีจานวน 333 ชนิด รวมทั้งหมด
24,504,118 ต้น ปริมาตรไม้รวมทั้งหมด 9,577,299.95 ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉล่ีย 28.32 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มี
ความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย 72.47 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้มากสุดในป่าดิบชื้น จานวน 23,979,029 ต้น รองลงมา
ในป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ พบจานวน 477,353 ต้น สาหรับปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าดิบชื้น จานวน
9,392,603.15 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ จานวน 108,035.40 ลูกบาศก์เมตร รายละเอียด
ดงั ตารางที่ 4 และ 5 ตามลาดับ

ตำรำงท่ี 3 ปริมำณไมท้ ้ังหมดจำแนกตำมลักษณะกำรใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ในอทุ ยำนแห่งชำติแก่งกรุง
(Volume by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน ปริมำณไม้ท้ังหมด
(Landuse Type)
จำนวน (ต้น) ปริมำตร (ลบ.ม.)
ป่าดิบชื้น
(Tropical Evergreen Forest) 23,979,029 9,392,603.15
ป่าฟืน้ ฟตู ามธรรมชาติ
(Regrowth Forest) 477,353 180,035.40
ไร่รา้ ง
(Old Clearing) 47,735 4,661.40
แหลง่ น้าธรรมชาติ (รวมอา่ งเก็บน้า)
(Natural water resources) --

รวม 24,504,118 9,577,299.95

ภำพท่ี 16 ปริมำณไมท้ ั้งหมดทพี่ บในพื้นทอ่ี ุทยำนแห่งชำตแิ ก่งกรงุ
ภำพที่ 17 ปริมำตรไม้ท้งั หมดที่พบในพน้ื ที่อุทยำนแห่งชำติแกง่ กรงุ

ตำรำงท่ี 4 ควำมหนำแน่นและปรมิ ำตรไม้ตอ่ หน่วยพน้ื ทีจ่ ำแนกตำมลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ
ในอทุ ยำนแหง่ ชำตแิ ก่งกรงุ (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ควำมหนำแน่น ปรมิ ำตร
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ต้น/เฮกตำร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตำร์

ป่าดิบชนื้ 76.55 478.41 29.98 187.39
(Tropical Evergreen Forest)
ป่าฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ 32.00 200.00 12.07 75.43
(Regrowth Forest)
ไร่รา้ ง 9.60 60.00 0.94 5.86
(Old Clearing)
แหลง่ น้าธรรมชาติ (รวมอา่ งเกบ็ น้า) - -- -
(Natural water resources)
72.47 452.94 28.32 177.03
เฉลี่ย

ภำพที่ 18 ควำมหนำแนน่ ตน้ ไม้ (ต้น/ไร)่ ในพน้ื ท่ีอทุ ยำนแหง่ ชำตแิ กง่ กรุง

ภำพท่ี 19 ปริมำตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ในพืน้ ท่ีอทุ ยำนแห่งชำติแก่งกรงุ
ตำรำงที่ 5 กำรกระจำยขนำดควำมโตของไมท้ ้ังหมดในอุทยำนแหง่ ชำตแิ กง่ กรุง

ขนำดควำมโต (GBH) ปรมิ ำณไมท้ ง้ั หมด (ต้น) รอ้ ยละ (%)
15 - 45 ซม. 14,758,162 60.23
>45 - 100 ซม. 7,001,176 28.57
>100 ซม. 2,744,779 11.20
24,504,118 100.00
รวม

ภำพท่ี 20 กำรกระจำยขนำดควำมโตของไม้ทั้งหมดในพ้ืนท่ีอุทยำนแหง่ ชำติแกง่ กรุง

4. ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้

ชนิดพันธุ์ไม้ที่สารวจพบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง จานวนแปลงตัวอย่าง 70 แปลง (ไม่
สามารถดาเนินการได้ช่ัวคราว จานวน 2 แปลง) พบชนิดพันธุ์ไม้ 66 วงศ์ จานวน 333 ชนิด มีปริมาณไม้รวม
24,504,118 ต้น คิดเปน็ ปริมาตรไมร้ วม 9,577,299.95 ลูกบาศก์เมตร มีคา่ ความหนาแน่นเฉล่ีย 72.47 ต้นต่อไร่
มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 28.32 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว
(Parashorea stellata) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ช้าม่วง (Anisoptera scaphula) หว้า (Syzygium cumini)
ยางปาย (Dipterocarpus costatus) พนอง (Shorea hypochra) แลนบาน (Canarium denticulatum) ไทร (Ficus
annulata) ก่อเกรยี ม (Lithocarpus wrayi) และยางขน (Dipterocarpus baudii) รายละเอยี ดดังตารางที่ 6

ในปา่ ดิบช้นื มีปรมิ าณไม้รวม 23,979,029 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 9,329,603.15 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลยี่ 76.55 ต้นต่อไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉลยี่ 29.98 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนดิ ไมท้ ม่ี ีปริมาณไม้มากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว (Parashorea stellata) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ช้าม่วง (Anisoptera
scaphula) หว้า (Syzygium cumini) ยางปาย (Dipterocarpus costatus) พนอง (Shorea hypochra) แลนบาน
(Canarium denticulatum) ไทร (Ficus annulata) ก่อเกรียม (Lithocarpus wrayi) และยางขน (Dipterocarpus
baudii) รายละเอียดดังตารางที่ 7

ในปา่ ฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ มปี ริมาณไมร้ วม 477,353 ต้น คดิ เป็นปรมิ าตรไมร้ วม 180,035.40 ลูกบาศก์
เมตร มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 32.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 12.07 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ จาปา (Michelia champaca) ทุเรียนผี (Neesia altissima) หล่อง่าม (Macaranga
triloba) โพบาย (Balakata baccata) พังแหร (Trema angustifolia) ข่าต้น (Cinnamomum ilicioides) เปล้านา
(Croton wallichii) จันเขา (Diospyros insidiosa) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) และเปล้าใหญ่ (Mallotus
macrostachyus) รายละเอียดดังตารางท่ี 8

ในไร่ร้างมีปริมาณไม้รวม 47,735 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 4,661.40 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความ
หนาแน่นเฉลี่ย 9.60 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 0.94 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากท่ีสุด ได้แก่ ยาง
ปาย (Dipterocarpus costatus) รองลงมา ได้แก่ มะเกลือดง (Diospyros fulvopilosa) หล่อง่าม (Macaranga
triloba) และก่อตลับ (Quercus ramsbottomii) รายละเอียดดังตารางท่ี 9

สาหรับไม้ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุงพบว่ามีไม้ไผ่ 9 ชนิด ได้แก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa
hasskarliana) ไผ่เลื้อย (Maclurochloa montana) ไผ่ลามะลอก (Bambusa longispiculata) ไผ่เกรียบ (Melocanna
humilis) ไผ่ด้ามพร้า (Gigantochloa ligulata) ไผ่เมี่ยงไฟ (Schizostachyum zollingeri) ไผ่ไร่ (Gigantochloa
albociliata) ไผ่คายดา (Gigantochloa compressa) และ Bambusa sp. มีปริมาณไม้ไผ่จานวน 3,834,735 กอ
รวมท้งั สนิ้ 73,862,412 ลา รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 10

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง มีจานวน 172 ชนิด รวมทั้งส้ิน
1,327,041,176 ตน้ มีความหนาแนน่ ของกลา้ ไม้ 3,924.71 ต้นตอ่ ไร่ โดยชนิดไมท้ ี่มีปริมาณมากท่สี ุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ส้มไฟดิน (Baccaurea ptychopyxis) เข็มทอง (Ixora javanica) ดันหมี
ก้านเหลือง (Gonocaryum lobbianum) ช้าเงาะผี (Mallotus subpeltatus) ตะเคียนราก (Shorea foxworthyi)
ไข่เขียว (Parashorea stellata) ราม (Ardisia lanceolata) คันแหลม (Spathiostemon moniliformis) และคอเห้ีย
(Xerospermum noronhianum) รายละเอียดดังตารางท่ี 11

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง มีจานวน 210 ชนิด รวมทั้งสิ้น
163,891,176 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 484.71 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก
ได้แก่ สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) กระเบา (Hydnocarpus curtisii) ส้มไฟดิน (Baccaurea ptychopyxis) ช้า
เงาะผี (Mallotus subpeltatus) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) เขม็ ทอง (Ixora javanica) ไข่เขยี ว
(Parashorea stellata) กะตังใบ (Leea indica) พลับกล้วย (Diospyros frutescens) และคันแหลม (Spathiostemon
moniliformis) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 12

ชนิดและปริมาณของตอไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง มีจานวน 2 ชนิด รวมท้ังสิ้น 31,824 ตอ มี
ความหนาแน่นของตอไม้ 0.09 ตอต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณตอมากที่สุด ได้แก่ ไข่เขียว (Parashorea
stellata) รองลงมา ไดแ้ ก่ Unknown รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 13

ตำรำงท่ี 6 ปริมำณไมท้ ั้งหมดของอทุ ยำนแหง่ ชำติแกง่ กรุง (30 ชนดิ แรกที่มีปรมิ ำตรไม้สูงสุด)

ลำดบั ชนิดพันธุ์ไม้ ชอ่ื วทิ ยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปรมิ ำตรไม้ ควำมหนำแนน่ ปริมำตร
(ลบ.ม./ไร)่
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่)
5.34
1 ไข่เขยี ว Parashorea stellata 938,794 1,807,091.25 2.78 0.86
0.83
2 สงั เครยี ดกลอ้ ง Aglaia argentea 1,447,971 291,584.61 4.28 0.82
63,647 279,938.04 0.19 0.82
3 ชา้ ม่วง Anisoptera scaphula 0.79
0.70
4 หว้า Syzygium cumini 469,397 277,603.76 1.39 0.64
0.62
5 ยางปาย Dipterocarpus costatus 79,559 276,255.50 0.24 0.61
0.57
6 พนอง Shorea hypochra 23,868 268,658.39 0.07 0.56
0.50
7 แลนบาน Canarium denticulatum 214,809 237,963.84 0.64 0.49
0.47
8 ไทร Ficus annulata 7,956 215,806.09 0.02 0.44
0.39
9 ก่อเกรยี ม Lithocarpus wrayi 310,279 208,025.29 0.92 0.32
0.29
10 ยางขน Dipterocarpus baudii 254,588 205,089.33 0.75 0.27
0.25
11 กระท้อน Sandoricum koetjape 23,868 193,872.06 0.07 0.25
0.24
12 ยางเสยี น Dipterocarpus gracilis 198,897 187,898.82 0.59 0.24
0.22
13 ทุเรยี นผี Neesia altissima 318,235 168,983.65 0.94 0.22
0.22
14 ตะเคียนราก Shorea foxworthyi 334,147 164,146.94 0.99 0.21
0.21
15 ตะเคยี นแก้ว Hopea sangal 47,735 157,978.36 0.14 0.19
9.77
16 จาปา Michelia champaca 55,691 148,639.69 0.16 28.32

17 นากบดุ Mesua nervosa 461,441 130,249.91 1.36
18 โพบาย Balakata baccata 87,515 107,715.49 0.26

19 กาแซะ Callerya atropurpurea 103,426 97,345.13 0.31

20 สมพง Tetrameles nudiflora 31,824 90,208.79 0.09

21 ทา้ ยเภาขาว Scaphium linearicarpum 63,647 85,419.13 0.19

22 มะคะ Cynometra ramiflora 95,471 83,296.20 0.28

23 ชาเรียน Durio lowianus 103,426 81,047.30 0.31

24 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii 214,809 80,395.64 0.64

25 เงาะ Nephelium lappaceum 254,588 75,283.44 0.75

26 พิกลุ ป่า Adinandra integerrima 230,721 73,549.73 0.68
27 ตะพง Endospermum diadenum 47,735 72,915.76 0.14

28 กอ่ ตลับ Quercus ramsbottomii 246,632 72,068.53 0.73

29 คอเห้ยี Xerospermum noronhianum 469,397 69,908.22 1.39

30 อบเชย Cinnamomum bejolghota 151,162 64,089.79 0.45

31 อ่นื ๆ Others 17,152,882 3,304,271.26 50.73

รวม 24,504,118 9,577,299.95 72.47

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธ์ุไม้ท่ีสารวจพบท้งั หมด 333 ชนดิ

ตำรำงที่ 7 ปริมำณไมใ้ นปำ่ ดบิ ชื้นของอุทยำนแห่งชำตแิ ก่งกรุง (30 ชนิดแรกทมี่ ปี ริมำตรไมส้ ูงสุด)

ลำดับ ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชอื่ วทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำมหนำแน่น ปรมิ ำตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
1 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata 938,794 1,807,091.25 3.00
1,447,971 291,584.61 4.62 5.77
2 สงั เครียดกล้อง Aglaia argentea 63,647 279,938.04 0.20 0.93
469,397 277,603.76 1.50 0.89
3 ช้ามว่ ง Anisoptera scaphula 71,603 273,642.32 0.23 0.89
23,868 268,658.39 0.08 0.87
4 หว้า Syzygium cumini 214,809 237,963.84 0.69 0.86
7,956 215,806.09 0.03 0.76
5 ยางปาย Dipterocarpus costatus 310,279 208,025.29 0.99 0.69
246,632 204,747.23 0.79 0.66
6 พนอง Shorea hypochra 23,868 193,872.06 0.08 0.65
198,897 187,898.82 0.63 0.62
7 แลนบาน Canarium denticulatum 334,147 164,146.94 1.07 0.60
47,735 157,978.36 0.15 0.52
8 ไทร Ficus annulata 461,441 130,249.91 1.47 0.50
47,735 104,634.98 0.15 0.42
9 ก่อเกรียม Lithocarpus wrayi 302,324 102,970.72 0.97 0.33
103,426 97,345.13 0.33 0.33
10 ยางขน Dipterocarpus baudii 31,824 90,208.79 0.10 0.31
63,647 85,419.13 0.20 0.29
11 กระท้อน Sandoricum koetjape 95,471 83,296.20 0.30 0.27
103,426 81,047.30 0.33 0.27
12 ยางเสยี น Dipterocarpus gracilis 214,809 80,395.64 0.69 0.26
254,588 75,283.44 0.81 0.26
13 ตะเคยี นราก Shorea foxworthyi 230,721 73,549.73 0.74 0.24
47,735 72,915.76 0.15 0.23
14 ตะเคยี นแก้ว Hopea sangal 238,676 71,808.32 0.76 0.23
469,397 69,908.22 1.50 0.23
15 นากบดุ Mesua nervosa 151,162 64,089.79 0.48 0.22
23,868 62,681.48 0.08 0.20
16 โพบาย Balakata baccata 3,277,841.61 53.43 0.20
16,739,176 9,392,603.15 76.55 10.46
17 ทเุ รียนผี Neesia altissima 23,979,029 29.98

18 กาแซะ Callerya atropurpurea

19 สมพง Tetrameles nudiflora

20 ทา้ ยเภาขาว Scaphium linearicarpum

21 มะคะ Cynometra ramiflora

22 ชาเรียน Durio lowianus

23 ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii

24 เงาะ Nephelium lappaceum

25 พกิ ุลปา่ Adinandra integerrima

26 ตะพง Endospermum diadenum

27 ก่อตลับ Quercus ramsbottomii

28 คอเห้ีย Xerospermum noronhianum

29 อบเชย Cinnamomum bejolghota

30 จาปีดง Magnolia henryi

31 อ่นื ๆ Others

รวม

หมายเหตุ : มชี นิดพันธ์ุไมท้ สี่ ารวจพบทงั้ หมด 166 ชนดิ

ตำรำงที่ 8 ปริมำณไม้ในพ้ืนทปี่ ่ำฟนื้ ฟูของอุทยำนแห่งชำติแกง่ กรุง

ลำดับ ชนิดพนั ธ์ุไม้ ช่อื วิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปรมิ ำตรไม้ ควำมหนำแน่น ปรมิ ำตร
(ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
(ตน้ ) 92,014.41 0.53
66,012.92 1.07 6.17
1 จาปา Michelia champaca 7,956 6,760.30 12.27 4.43
3,080.51 2.67 0.45
2 ทุเรียนผี Neesia altissima 15,912 2,736.16 0.53 0.21
1,987.01 1.07 0.18
3 หล่อง่าม Macaranga triloba 182,985 1,221.81 3.20 0.13
1,056.39 0.53 0.08
4 โพบาย Balakata baccata 39,779 2.13 0.07
897.58 1.07 0.06
5 พังแหร Trema angustifolia 7,956 845.87 0.53 0.06
572.91 0.53 0.04
6 ข่าต้น Cinnamomum ilicioides 15,912 484.21 0.53 0.03
431.74 0.53 0.03
7 เปลา้ นา Croton wallichii 47,735 412.29 0.53 0.03
342.11 0.53 0.02
8 จันเขา Diospyros insidiosa 7,956 260.22 0.53 0.02
158.02 0.53 0.01
9 ปอฝ้าย Firmiana colorata 31,824 158.02 0.53 0.01
109.99 0.53 0.01
10 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 15,912 100.15 0.53 0.01
93.12 1.07 0.01
11 เต้าหลวง Macaranga gigantea 7,956 299.67 32.00 0.02
180,035.40 12.07
12 มะชมพู่ป่า Syzygium aqeum 7,956

13 คนั แหลม Spathiostemon moniliformis 7,956

14 ยางป่มุ Polyalthia clavigera 7,956

15 ยางขน Dipterocarpus baudii 7,956

16 กฤษณา Aquilaria crassna 7,956

17 อา้ ยบ่าว Stemonurus malaccensis 7,956

18 ยายกล้งั Justicia lignostachya 7,956

19 มะเดือ่ ปลอ้ ง Ficus hispida 7,956

20 เลอ่ื มเขา Canarium littorale 7,956

21 สงั เครียดลงั สาด Aglaia tomentosa 7,956

22 Unknown Unknown 15,912

รวม 477,353

หมายเหตุ : มีชนิดพันธุไ์ มท้ ี่สารวจพบทง้ั หมด 22 ชนิด

ตำรำงท่ี 9 ปรมิ ำณไม้ในพ้นื ทไ่ี ร่ร้ำงของอุทยำนแห่งชำตแิ กง่ กรงุ

ลำดับ ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ปรมิ ำตรไม้ ควำมหนำแน่น ปรมิ ำตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
1 ยางปาย Dipterocarpus costatus 7,956 2,613.18 1.60
7,956 1,278.03 1.60 0.53
2 มะเกลือดง Diospyros fulvopilosa 23,868 4.80 0.26
7,956 509.98 1.60 0.10
3 หล่องา่ ม Macaranga triloba 47,735 260.22 9.60 0.05
4,661.40 0.94
4 ก่อตลับ Quercus ramsbottomii

รวม

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธ์ไุ มท้ ส่ี ารวจพบท้ังหมด 4 ชนิด

ตำรำงท่ี 10 ชนิดและปริมำณลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในอทุ ยำนแห่งชำตแิ กง่ กรุง (30 ชนิดแรกที่มปี ริมำณสงู สดุ )

ลำดับ ชนิดพนั ธุ์ไม้ ชือ่ วทิ ยำศำสตร์ ปริมำณไม้ ควำมหนำแนน่
(ตน้ ) (ต้น/ไร่)

1 สังเครียดกลอ้ ง Aglaia argentea 12,092,941 35.76

2 กระเบา Hydnocarpus curtisii 7,319,412 21.65

3 ส้มไฟดิน Baccaurea ptychopyxis 6,682,941 19.76

4 ช้าเงาะผี Mallotus subpeltatus 5,728,235 16.94

5 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 5,091,765 15.06

6 เขม็ ทอง Ixora javanica 4,455,294 13.18

7 ไข่เขียว Parashorea stellata 3,818,824 11.29

8 กะตังใบ Leea indica 3,341,471 9.88

9 พลับกล้วย Diospyros frutescens 3,182,353 9.41

10 คันแหลม Spathiostemon moniliformis 2,705,000 8.00

11 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 2,705,000 8.00

12 ส่ังทา Diospyros buxifolia 2,705,000 8.00

13 สงั หยู Polyalthia jenkensii 2,545,882 7.53

14 ตะเคียนราก Shorea foxworthyi 1,909,412 5.65

15 นากบดุ Mesua nervosa 1,909,412 5.65

16 มะคะ Cynometra ramiflora 1,909,412 5.65

17 หล่อง่าม Macaranga triloba 1,909,412 5.65

18 มะปริง Bouea oppositifolia 1,750,294 5.18

19 มะไฟ Baccaurea ramiflora 1,750,294 5.18

20 เหลียง Tournefortia ovata 1,750,294 5.18

21 แดงเขา Syzygium attenuatum 1,591,176 4.71

22 ปอฝ้าย Firmiana colorata 1,591,176 4.71

23 รม่ เข้า Actinodaphne angustifolia 1,591,176 4.71

24 สลอดป่า Microdesmis caseariifolia 1,591,176 4.71

25 กาแร้งหิน Koilodepas longifolium 1,432,059 4.24

26 ชมพู่นา้ ดอกไม้ Syzygium jambos 1,432,059 4.24

27 พลองหาง Memecylon dichotomum 1,432,059 4.24

28 ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii 1,432,059 4.24

29 เหมอื ดแขง Aporosa nervosa 1,432,059 4.24

30 อบเชย Cinnamomum bejolghota 1,432,059 4.24

31 อืน่ ๆ Others 73,671,471 217.88

รวม 163,891,176 484.71

หมายเหตุ : มีชนิดพันธ์ุลกู ไม้ท่สี ารวจพบทัง้ หมด 210 ชนดิ

ตำรำงที่ 11 ชนดิ และปรมิ ำณกลำ้ ไม้ (Seedling) ทพี่ บในอทุ ยำนแห่งชำตแิ กง่ กรงุ (30 ชนดิ แรกทีม่ ีปริมำณสงู สดุ )

ลำดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ควำมหนำแน่น
(ตน้ ) (ตน้ /ไร)่
1 สงั เครียดกลอ้ ง Aglaia argentea 159,117,647 75.29
63,647,059 70.59
2 ส้มไฟดนิ Baccaurea ptychopyxis 52,508,824 70.59
44,552,941 70.59
3 เขม็ ทอง Ixora javanica 36,597,059 65.88
33,414,706 61.18
4 ดันหมกี า้ นเหลือง Gonocaryum lobbianum 30,232,353 61.18
30,232,353 51.76
5 ช้าเงาะผี Mallotus subpeltatus 28,641,176 51.76
25,458,824 51.76
6 ตะเคยี นราก Shorea foxworthyi 23,867,647 47.06
23,867,647 47.06
7 ไข่เขียว Parashorea stellata 23,867,647 47.06
22,276,471 42.35
8 ราม Ardisia lanceolata 20,685,294 42.35
20,685,294 37.65
9 คนั แหลม Spathiostemon moniliformis 17,502,941 37.65
17,502,941 37.65
10 คอเห้ีย Xerospermum noronhianum 17,502,941 37.65
15,911,765 32.94
11 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 15,911,765 32.94
15,911,765 32.94
12 มะปรงิ Bouea oppositifolia 14,320,588 75.29
14,320,588 70.59
13 สั่งทา Diospyros buxifolia 12,729,412 70.59
12,729,412 70.59
14 มะเกลอื ดง Diospyros fulvopilosa 12,729,412 65.88
12,729,412 61.18
15 นากบุด Mesua nervosa 11,138,235 61.18
11,138,235 51.76
16 ปัดขนแดง Lasianthus densifolius 485,308,824 51.76
1,327,041,176 3,924.71
17 แดงเขา Syzygium attenuatum

18 พลองหาง Memecylon dichotomum

19 มะไฟ Baccaurea ramiflora

20 กะตังใบ Leea indica

21 ปอฝ้าย Firmiana colorata

22 พกิ ลุ ปา่ Adinandra integerrima

23 แลนบาน Canarium denticulatum

24 หวา้ Syzygium cumini

25 แดงนา้ Pometia pinnata

26 ประยงค์ปา่ Aglaia odoratissima

27 พลบั กลว้ ย Diospyros frutescens

28 พาโหมหิน Psychotria rhinocerotis

29 กระดงั งาดง Cyathocalyx sumatrana

30 กาแซะ Callerya atropurpurea

31 อ่นื ๆ Others

รวม

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธกุ์ ล้าไมท้ ่ีสารวจพบทง้ั หมด 172 ชนิด

ตำรำงที่ 12 ชนิดและปริมำณไมไ้ ผ่ หวำย และไม้กอ ท่พี บในอุทยำนแหง่ ชำติแก่งกรุง

ลำดับ ชนิดพนั ธุ์ไผ่ หวำย และไม้กอ ชอ่ื วิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ไผท่ ้ังหมด

จำนวนกอ จำนวนลำ

ไผ่

1 ไผผ่ ากมัน Gigantochloa hasskarliana 1,018,353 22,578,794

2 ไผเ่ ล้อื ย Maclurochloa montana 1,066,088 15,386,676

3 ไผ่ลามะลอก Bambusa longispiculata 477,353 11,138,235

4 ไผเ่ กรียบ Melocanna humilis 381,882 7,080,735

5 ไผด่ ้ามพร้า Gigantochloa ligulata 159,118 7,048,912

6 ไผเ่ มีย่ งไฟ Schizostachyum zollingeri 270,500 4,137,059

7 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata 206,853 1,511,618

8 ไผค่ ายดา Gigantochloa compressa 31,824 604,647

9 Bambusa sp. Bambusa sp. 222,765 4,375,735

รวม 3,834,735 73,862,412

ตำรำงท่ี 13 ชนดิ และปริมำณของตอไม้ (Stump) ทพ่ี บในอุทยำนแห่งชำติแกง่ กรงุ

ลำดับ ชนิดพันธ์ุไม้ ชือ่ วทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณตอไม้ทง้ั หมด

จำนวน (ตอ) ควำมหนำแน่น (ตอ/ไร่)

1 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata 15,912 0.05

2 Unknown Unknown 15,912 0.05

รวม 31,824 0.09

หมายเหตุ : มีชนดิ ตอไม้ท่ีสารวจพบทั้งหมด 2 ชนดิ

5. สงั คมพืช

จากผลการสารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง พบว่ามีสังคมพืช 3
ประเภท คอื ป่าดิบช้นื ปา่ ฟื้นฟูตามธรรมชาตแิ ละไรร่ ้าง และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่นของพรรณ
พืช (Density) ความถี่ (frequency) ความเดน่ (Dominance) และค่าดชั นีความสาคัญของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้

ในพื้นท่ีป่าดิบช้ืน ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว
(Parashorea stellata) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) หว้า (Syzygium cumini) พลับกล้วย (Diospyros
frutescens) ก่อเกรียม (Lithocarpus wrayi) ตะขบนก (Aporosa penangensis) คอเห้ีย(Xerospermum
noronhianum) นากบุด (Mesua nervosa) ยางขน (Dipterocarpus baudii) และกระเบา (Hydnocarpus
curtisii) ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 14

ในพน้ื ทีป่ า่ ฟน้ื ฟตู ามธรรมชาติ มีชนิดไมท้ มี่ ีค่าดชั นีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หล่อง่าม (Macaranga triloba) จาปา (Michelia champaca) ทุเรียนผี (Neesia altissima) โพบาย (Balakata
baccata) เปล้านา (Croton wallichii) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) ข่าต้น (Cinnamomum ilicioides) เปล้า
ใหญ่ (Mallotus macrostachyus) พังแหร (Trema angustifolia) และ จันเขา (Diospyros insidiosa) ดัง
รายละเอียดในตารางที่ 15

ในพ้ืนที่ไรร่ ้าง มีชนดิ ไมท้ ีม่ ีคา่ ดชั นีความสาคญั ของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ ยางปาย (Dipterocarpus
costatus) รองลงมา ไดแ้ ก่ หลอ่ งา่ ม (Macaranga triloba) มะเกลือดง (Diospyros fulvopilosa) และกอ่ ตลบั
(Quercus ramsbottomii) ดงั รายละเอียดในตารางท่ี 1

ตำรำงท่ี 14 ดชั นีควำมสำคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่ำดบิ ชนื้ ในอุทยำนแ

ลำดับ ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชอื่ วิทยำศำสตร์ จำนวน ควำมหนำแนน่ แปลงพบ

(ตน้ ) (ตน้ /เฮกตำร)์

1 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata 118 18.73 36

2 สังเครียดกลอ้ ง Aglaia argentea 182 28.89 49

3 หว้า Syzygium cumini 59 9.37 23

4 พลับกลว้ ย Diospyros frutescens 77 12.22 30

5 ก่อเกรียม Lithocarpus wrayi 39 6.19 18

6 ตะขบนก Aporosa penangensis 69 10.95 26

7 คอเหี้ย Xerospermum noronhianum 59 9.37 27

8 นากบุด Mesua nervosa 58 9.21 16

9 ยางขน Dipterocarpus baudii 31 4.92 19

10 กระเบา Hydnocarpus curtisii 56 8.89 24

11 ทเุ รยี นผี Neesia altissima 38 6.03 23

12 แลนบาน Canarium denticulatum 27 4.29 11

13 ตะเคยี นราก Shorea foxworthyi 42 6.67 8

14 ยางเสยี น Dipterocarpus gracilis 25 3.97 10

15 เงาะ Nephelium lappaceum 32 5.08 18

16 ยางปาย Dipterocarpus costatus 9 1.43 7

17 เหมือดแขง Aporosa nervosa 46 7.30 16

18 มะเกลือดง Diospyros fulvopilosa 38 6.03 18

19 เปล้านา Croton wallichii 37 5.87 18

20 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 37 5.87 15

21 อ่ืนๆ Others 1,935 307.14 53

รวม 3,014 478.41 63

แหง่ ชำตแิ กง่ กรุง (20 อนั ดบั แรก)

ควำมถ่ี พืน้ ทีห่ นำ้ ตดั ควำมเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI

(ตร.ม.) 3.92 2.32 14.23 20.46
6.04 3.16 3.82 13.02
57.14 18.41 0.14 1.96 1.48 2.98 6.42
2.56 1.93 0.73 5.21
77.78 4.94 0.04 1.29 1.16 2.39 4.85
2.29 1.68 0.79 4.76
36.51 3.86 0.03 1.96 1.74 1.02 4.71
1.92 1.03 1.53 4.48
47.62 0.94 0.01 1.03 1.22 2.16 4.41
1.86 1.55 0.65 4.06
28.57 3.10 0.02 1.26 1.48 1.14 3.89
0.90 0.71 2.26 3.87
41.27 1.03 0.01 1.39 0.52 1.86 3.77
0.83 0.64 1.84 3.31
42.86 1.31 0.01 1.06 1.16 0.94 3.16
0.30 0.45 2.33 3.08
25.40 1.97 0.02 1.53 1.03 0.47 3.02
1.26 1.16 0.55 2.97
30.16 2.79 0.02 1.23 1.16 0.55 2.94
1.23 0.97 0.71 2.90
38.10 0.84 0.01 64.20 73.45 57.06 194.72
100.00 100.00 100.00 300.00
36.51 1.48 0.01

17.46 2.93 0.02

12.70 2.40 0.02

15.87 2.38 0.02

28.57 1.21 0.01

11.11 3.02 0.02

25.40 0.60 0.01

28.57 0.71 0.01

28.57 0.72 0.01

23.81 0.92 0.01

1,809.52 73.81 0.57

2,463.49 129.36 1.00

ตำรำงที่ 15 ดชั นคี วำมสำคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปำ่ ฟ้นื ฟูตำมธ

ลำดบั ชนิดพันธ์ุ ชื่อวทิ ยำศำสตร์ จำนวน ควำม แปลง คว

ไม้ (ตน้ ) หนำแน่น พบ

(ต้น/ฮกตำร์)

1 หล่องา่ ม Macaranga triloba 23 76.67 3 10

2 จาปา Michelia champaca 1 3.33 1 3

3 ทุเรยี นผี Neesia altissima 2 6.67 1 3

4 โพบาย Balakata baccata 5 16.67 3 10

5 เปล้านา Croton wallichii 6 20.00 2 6

6 ปอฝ้าย Firmiana colorata 4 13.33 2 6

7 ข่าตน้ Cinnamomum ilicioides 2 6.67 1 3

8 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 2 6.67 1 3

9 พงั แหร Trema angustifolia 1 3.33 1 3

10 จันเขา Diospyros insidiosa 1 3.33 1 3

11 เตา้ หลวง Macaranga gigantea 1 3.33 1 3

12 มะชมพ่ปู ่า Syzygium aqeum 1 3.33 1 3

Spathiostemon

13 คันแหลม moniliformis 1 3.33 1 3

14 ยางปมุ่ Polyalthia clavigera 1 3.33 1 3

15 ยางขน Dipterocarpus baudii 1 3.33 1 3

16 กฤษณา Aquilaria crassna 1 3.33 1 3

17 ยายกลง้ั Justicia lignostachya 1 3.33 1 3

18 อ้ายบ่าว Stemonurus malaccensis 1 3.33 1 3

มะเดือ่

19 ปลอ้ ง Ficus hispida 1 3.33 1 3

20 เลื่อมเขา Canarium littorale 1 3.33 1 3

21 อน่ื ๆ Others 3 10.00 2 10

รวม 60 200.00 3 96

มธรรมชำตใิ นอทุ ยำนแหง่ ชำติแก่งกรุง (20 อนั ดับแรก) IVI

วำมถี่ พื้นทห่ี น้ำตัด ควำมเด่น RDensity RFrequency RDominance
(ตร.ม.)

00.00 0.18 0.08 38.33 10.35 8.23 56.91
42.79 47.90
33.33 0.93 0.43 1.67 3.45 32.60 39.38
3.16 21.84
33.33 0.71 0.33 3.33 3.45 1.55 18.45
1.16 14.73
00.00 0.07 0.03 8.33 10.35 1.92 8.70
0.98 7.76
66.67 0.03 0.02 10.00 6.90 2.33 7.44
1.06 6.17
66.67 0.03 0.01 6.67 6.90 0.64 5.75
0.55 5.67
33.33 0.04 0.02 3.33 3.45

33.33 0.02 0.01 3.33 3.45

33.33 0.05 0.02 1.67 3.45

33.33 0.02 0.01 1.67 3.45

33.33 0.01 0.01 1.67 3.45

33.33 0.01 0.01 1.67 3.45

33.33 0.01 0.01 1.67 3.45 0.50 5.62
3.45 0.49 5.60
33.33 0.01 0.01 1.67 3.45 0.42 5.53
3.45 0.33 5.45
33.33 0.01 0.00 1.67 3.45 0.22 5.33
3.45 0.22 5.33
33.33 0.01 0.00 1.67

33.33 0.01 0.00 1.67

33.33 0.01 0.00 1.67

33.33 0.00 0.00 1.67 3.45 0.16 5.28

33.33 0.00 0.00 1.67 3.45 0.15 5.27

00.00 0.01 0.01 5.00 10.35 0.56 15.90

66.67 2.16 1.00 100.00 100.00 100.00 300.00

ตำรำงท่ี 16 ดชั นีควำมสำคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ขอ

ลำดบั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ ช่อื วทิ ยำศำสตร์ จำนวน ควำม แปล
(ตน้ ) หนำแนน่ พบ
(ต้น/ฮกตำร์)
1 ยางปาย Dipterocarpus costatus 1
3 10.00
2 หลอ่ ง่าม Macaranga triloba 1 30.00
1 10.00
3 มะเกลือดง Diospyros fulvopilosa 6 10.00
60.00
4 ก่อตลบั Quercus ramsbottomii

รวม

องไร่ร้ำงในอทุ ยำนแห่งชำตแิ กง่ กรงุ

ลง ควำมถี่ พ้นื ทห่ี น้ำตัด ควำมเดน่ RDensity RFrequency RDorminance IVI
บ (ตร.ม.)

1 100.00 0.05 0.50 16.67 25.00 49.70 91.37
1 100.00 0.02 0.16 50.00 25.00 15.47 90.47
1 100.00 0.03 0.28 16.67 25.00 27.48 69.15
1 100.00 0.01 0.07 16.67 25.00 7.35 49.02
1 400.00 0.10 1.00 100.00 100.00 100.00 300.00

6. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ

จากผลการสารวจและวิเคราะห์หาคา่ ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ปา่ ดบิ ชน้ื มีค่าความหลากหลายของ
ชนิดพันธุ์ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ 4.79 ส่วนไร่ร้าง มีค่าความสม่าเสมอ (Species Evenness) มากท่ีสุด คือ
0.83 และปา่ ดบิ ชน้ื มีค่าความมากมาย (Species Richness) มากที่สดุ คอื 41.00 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 17

ตำรำงที่ 17 ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพของชนดิ พนั ธุ์ไม้เขตรกั ษำแกง่ กรุง

ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ (Biodiversity)

(Landuse Type) ควำมหลำกหลำย ควำมสมำ่ เสมอ ควำมมำกมำย

(Diversity) (Evenness) (Richness)

ป่าดิบชืน้ 4.79 0.83 41.00

(Tropical Evergreen Forest)

ปา่ ฟื้นฟูตามธรรมชาติ 2.37 0.77 5.11

(Regrowth Forest)

ไรร่ ้าง 1.15 0.83 1.54

(Old Clearing)

แหล่งนา้ ธรรมชาติ (รวมอ่างเกบ็ นา้ ) - NaN NaN

(Natural water resources)

อุทยำนแห่งชำตแิ ก่งกรุง 4.80 0.83 41.39

สรปุ ผลกำรสำรวจและวิเครำะห์ข้อมลู ทรพั ยำกรป่ำไม้

จากการวางแปลงตวั อยา่ งถาวรเพอื่ เกบ็ ขอ้ มลู และสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
ซ่ึงมเี นอ้ื ที่ 338,125 ไร่ หรือประมาณ 541 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่ตาบลคันธุลี ตาบลคลองพาตาบลสมอทอง
ตาบลประสงค์ อาเภอท่าชนะ ตาบลปากหมาก อาเภอไชยา ตาบลปากฉลุย อาเภอท่าฉาง และตาบลตะกุกเหนือ
อาเภอวภิ าวดี จังหวดั สุราษฎร์ธานี ซึ่งอยใู่ นความรบั ผิดชอบของสานกั บริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) จานวน 70
แปลง (ไม่สามารถดาเนินการได้ชั่วคราว 2 แปลง) โดยการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ท่ีมี
ขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี
0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักท้ัง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ อยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี
3.99 เมตร และทาการเก็บข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จานวน
กลา้ ไมแ้ ละลกู ไม้ ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม ไม้เถา
เถาวลั ย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพือ่ ประเมนิ สถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ทั้งน้ีเพ่ือให้ทราบเนื้อที่ป่า
ไม้ ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ชนิดไม้ ปริมาณและความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการ
สบื พนั ธ์ตุ ามธรรมชาติของไม้ โดยใช้โปรแกรมประมวลผลข้อมูลระบบสารสนเทศการสารวจทรัพยากรป่าไม้ ของ
สว่ นสารวจและวเิ คราะห์ทรพั ยากรป่าไม้ สานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุ
พชื สรปุ ผลได้ดังน้ี

1. ลกั ษณะกำรใช้ประโยชน์ทด่ี ิน

พืน้ ทด่ี าเนนิ การสารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นพ้นื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติแก่งกรุง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลคันธุลี ตาบล
คลองพา ตาบลสมอทอง ตาบลประสงค์ อาเภอท่าชนะ ตาบลปากหมาก อาเภอไชยา และตาบลตะกุกเหนือ อาเภอ
วภิ าวดี จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ซึง่ อยู่ในความรับผิดชอบของสานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) จานวน 70 แปลง (ไม่
สามารถดาเนินการได้ชว่ั คราว 2 แปลง) รวมเน้ือท่ี 338,125 ไร่ หรอื ประมาณ 541 ตารางกิโลเมตร

พบลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดินอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบชนื้ ปา่ ฟื้นฟตู ามธรรมชาติ ไร่ร้าง และแหล่ง
น้าธรรมชาติ (รวมอ่างเก็บน้า) โดยป่าดบิ ช้ืนพบมากสุด มีพ้ืนที่ 501.22 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 92.65 ของพ้ืนท่ี
ทง้ั หมด รองลงมา คือ ป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ มีพ้ืนท่ี 23.87 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 4.41 ของพื้นท่ีท้ังหมด
ไร่รา้ ง มีพ้นื ที่ 7.96 ตารางกโิ ลเมตร คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.47 ของพื้นท่ีท้ังหมด และแหล่งน้าธรรมชาติ (รวมอ่างเก็บน้า) มี
พื้นท่ี 7.96 ตารางกโิ ลเมตร คิดเป็นร้อยละ 1.47 ของพ้ืนท่ีทงั้ หมด

2. ชนิดพันธุแ์ ละปรมิ ำณไมย้ ืนตน้ (Trees)

จากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ ในแปลงตัวอย่าง
ถาวร พนื้ ที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง จานวน 70 แปลง (ไม่สามารถดาเนินการได้ช่ัวคราว 2 แปลง) พบว่า ไม้ยืนต้นที่มี
ความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีจานวนทั้งหมด
24,504,118 ต้น โดยเป็นไม้ที่มีความโต 15-45 เซนติเมตร จานวน 14,758,162 ต้น คิดเป็นร้อยละ 60.23 ของไม้
ทั้งหมด ไม้ที่มขี นาดความโต >45-100 เซนติเมตร จานวน 7,001,176 ต้น คิดเป็นร้อยละ 28.57 ของไม้ทั้งหมด และ
ไมท้ ี่มขี นาดความโตมากกวา่ 100 เซนตเิ มตร จานวน 2,744,779 ตน้ คิดเป็นรอ้ ยละ 11.20 ของไมท้ ั้งหมด

สาหรับชนิดพันธ์ุไม้ที่พบในแปลงสารวจ มี 66 วงศ์ จานวน 333 ชนิด โดยเรียงลาดับจากจานวนต้นท่ีพบ
มากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ไข่เขียว (Parashorea stellata) พลับกล้วย
(Diospyros frutescens) ตะขบนก (Aporosa penangensis) หว้า (Syzygium cumini) คอเห้ีย (Xerospermum
noronhianum) นากบุด (Mesua nervosa) กระเบา (Hydnocarpus curtisii) เหมือดแขง (Aporosa nervosa)
และเปล้านา (Croton wallichii) ตามลาดับ แต่เม่ือเรียงลาดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก
คือ ไข่เขียว (Parashorea stellata) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ช้าม่วง (Anisoptera scaphula) หว้า
(Syzygium cumini) ยางปาย (Dipterocarpus costatus) พนอง (Shorea hypochra) แลนบาน (Canarium
denticulatum) ไทร (Ficus annulata) ก่อเกรียม (Lithocarpus wrayi) และยางขน (Dipterocarpus baudii)
ตามลาดับ

3. ชนิดพันธแ์ุ ละปริมำณกล้ำไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling)

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับกล้าไม้ (Seedling) และลูกไม้ (Sapling) ซึ่งเป็นกาลังผลิตที่สาคัญที่จะ
ขึน้ มาทดแทนสังคมพชื ไม้ยนื ตน้ ตอ่ ไปในอนาคตรวมทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่ได้ทาการสารวจ พบว่า มีชนิด
ของกล้าไม้ (Seeding) มีจานวน 172 ชนิด รวมทั้งส้ิน 1,327,041,176 ต้น โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ส้มไฟดิน (Baccaurea ptychopyxis) เข็มทอง (Ixora javanica)
ดันหมีก้านเหลือง (Gonocaryum lobbianum) ช้าเงาะผี (Mallotus subpeltatus) ตะเคียนราก (Shorea
foxworthyi) ไข่เขียว (Parashorea stellata) ราม (Ardisia lanceolata) คันแหลม (Spathiostemon
moniliformis) และคอเห้ีย (Xerospermum noronhianum) ตามลาดับ โดยสารวจพบจานวนกล้าไม้มากที่สุดในป่า
ดิบชน้ื รองลงมา คือ ปา่ ฟืน้ ฟูตามธรรมชาติ

การวเิ คราะหข์ ้อมลู เกย่ี วกบั ลูกไม้ (Sapling) ทีพ่ บในแปลงสารวจ มีจานวน 210 ชนิด รวมทั้งส้ิน

163,891,176 ตน้ มีความหนาแน่นของลูกไม้ 484.71 ต้นต่อไร่ โดยชนดิ ไม้ท่ีมปี ริมาณมากท่ีสุด 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่

สงั เครยี ดกล้อง (Aglaia argentea) กระเบา (Hydnocarpus curtisii) ส้มไฟดนิ (Baccaurea ptychopyxis) ช้าเงาะผี

(Mallotus subpeltatus) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) เขม็ ทอง (Ixora javanica) ไข่เขยี ว (Parashorea

stellata) กะตงั ใบ (Leea indica) พลบั กล้วย (Diospyros frutescens) และคนั แหลม (Spathiostemon

moniliformis) ตามลาดบั โดยสารวจพบจานวนลกู ไมม้ ากท่สี ดุ ในป่าดิบชืน้ รองลงมา คือ ปา่ ฟน้ื ฟูตามธรรมชาติ

4. ชนิดพนั ธุแ์ ละปรมิ ำณของไม้ไผ่ หวำย และไมก้ อ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับปริมาณของไม้ไผ่ในแต่ละชนิดและแต่ละกอรวมทุกลักษณะการ ใช้
ประโยชน์ที่ดิน พบไมไ้ ผ่ในแปลงสารวจ จานวน 9 ชนิด มีจานวน 3,834,735 กอ รวมท้ังส้ิน 73,862,412 ลา ได้แก่ ไผ่
ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ไผ่เลื้อย (Maclurochloa montana) ไผ่ลามะลอก (Bambusa longispiculata)
ไผ่เกรียบ (Melocanna humilis) ไผ่ด้ามพร้า (Gigantochloa ligulata) ไผ่เมี่ยงไฟ (Schizostachyum zollingeri) ไผ่ไร่
(Gigantochloa albociliata) ไผ่คายดา (Gigantochloa compressa) และ Bambusa sp. ซึ่งพบได้ป่าดิบชื้นและป่า
ฟืน้ ฟตู ามธรรมชาติ

การสารวจปริมาณหวายในป่า พบเพียงในป่าดิบชื้นและป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ โดยสารวจพบ หวาย
(ต้น) จานวน 14 ชนิด คอื หวายกุ้ง หวายกาพด หวายกาพวน หวายขี้เหร่ หวายข้ีเสียน หวายข้อดา หวายงวย หวาย
เดาหนู หวายเดาใหญ่ หวายตาปลา หวายนา้ หวายพนขนหนอน หวายเล็ก และหวายหอม ส่วนตอไม้ท่ีสารวจพบ มี
จานวน 2 ชนิด รวมท้ังสิ้น 31,824 ตอ มีความหนาแน่นของตอไม้ 0.09 ตอต่อไร่ โดยพบตอไม้เฉพาะในป่าดิบช้ืน
เทา่ นั้น

5. คำ่ ดัชนีควำมสำคญั ทำงนเิ วศวิทยำ

จากผลการสารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง พบว่ามีสังคมพืช 3
ประเภท คอื ปา่ ดิบชืน้ ป่าฟื้นฟตู ามธรรมชาติ และไร่รา้ ง และจากวิเคราะหข์ ้อมลู สงั คมพืช สรปุ ได้ดงั น้ี

ในพื้นท่ีป่าดิบชื้น มีชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว
(Parashorea stellata) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) หว้า (Syzygium cumini) พลับกล้วย (Diospyros
frutescens) ก่อเกรียม (Lithocarpus wrayi) ตะขบนก (Aporosa penangensis) คอเหี้ย (Xerospermum
noronhianum) นากบุด (Mesua nervosa) ยางขน (Dipterocarpus baudii) และกระเบา (Hydnocarpus curtisii)

ในพ้ืนที่ป่าฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
หล่อง่าม (Macaranga triloba) จาปา (Michelia champaca) ทุเรียนผี (Neesia altissima) โพบาย (Balakata
baccata) เปล้านา (Croton wallichii) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) ข่าต้น (Cinnamomum ilicioides) เปล้า
ใหญ่ (Mallotus macrostachyus) พังแหร (Trema angustifolia) และจันเขา (Diospyros insidiosa)

ในพ้ืนท่ีไร่ร้าง มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ ยางปาย (Dipterocarpus
costatus) รองลงมา ได้แก่ หล่อง่าม (Macaranga triloba) มะเกลือดง (Diospyros fulvopilosa) และก่อตลับ
(Quercus ramsbottomii)

6. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ

ข้อมลู เกย่ี วกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความหลากหลายของ
ชนิดพันธุ์ไม้ (Species Diversity) มากท่ีสุด คือ ป่าดิบชื้น รองลงมา คือ ป่าฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ ลักษณะการใช้
ประโยชน์ท่ีดินที่มีความสม่าเสมอของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness) มากที่สุด คือ ป่าดิบช้ืน รองลงมา คือไร่ร้าง
และลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีความมากมายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Richness) มากท่ีสุด คือ ไร่ร้าง
รองลงมา คอื ป่าดิบชน้ื

7. ขนำดควำมโตของต้นไมใ้ นป่ำ

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู โครงสร้างป่าในแต่ละลักษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน พบวา่ มีไม้ยนื ต้นขนาดเส้นรอ
บวงเพยี งอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จานวน 14,758,162 ต้น คิดเป็นร้อยละ 60.23 ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืน
ต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยูร่ ะหวา่ ง >45-100 เซนตเิ มตร มจี านวน 7,001,176 ตน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 28.57
ของไมท้ ้งั หมด และไมย้ นื ตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100 เซนติเมตรขน้ึ ไป จานวน 2,744,779 ต้น คิด
เป็นร้อยละ 11.20 ของไม้ทง้ั หมด

8. ปัจจยั ท่มี ีผลกระทบต่อพ้นื ทีป่ ำ่

จากการสารวจผลกระทบท่ีเกิดขึ้นในแปลงตัวอย่าง พบว่า โดยรวมแล้วพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง อยู่ใน
ระดบั เตอื นภัย (Warning) เนอื่ งจากพบรอ่ งรอยการกระทาผดิ เกย่ี วกบั การลกั ลอบตัดไม้ การบุกรุกพ้ืนที่ การล่าสัตว์
และการเก็บหาของป่าในพื้นที่

ปญั หำและอปุ สรรค

ปัญหาและอปุ สรรคในการดาเนินงานทีพ่ บ ไดแ้ ก่
1. คณะทางานยังขาดความเชี่ยวชาญในการจาแนกชนิดพันธ์ุไม้ ซึ่งต้องขอความอนุเคราะห์จาก
ผู้เชี่ยวชาญช่วยจาแนกชนิดให้ ทาให้การสรุปข้อมูล มีความล่าช้า ดังนั้นควรมีงบประมาณท่ีต้ังไว้เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายใน
การจ้างผเู้ ชยี่ วชาญในการจาแนกชนดิ
2. พนั ธ์ไุ มท้ ี่สารวจพบ ไม่มรี หัส CODE ในฐานข้อมลู
3. ชว่ งฤดูฝน การเดินทางยากลาบาก เปน็ อปุ สรรคต่อการเขา้ ถงึ พ้นื ที่
4. เจา้ หนา้ ที่ดาเนนิ การสารวจภาคสนามเป็นไขม้ าลาเรยี
5. ในช่วงท่ีดาเนินการสารวจภาคสนามเกิดการปะทะกับพรานป่าบ่อยครั้ง ทาให้เสียเวลาในการ
ปฏิบัติงาน

ข้อเสนอแนะ

เพื่อให้การดาเนินงานสารวจทรัพยากรป่าไม้ในโอกาสต่อไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงมี
ข้อเสนอแนะดงั น้ี

1. กลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนรุ กั ษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุพ์ ืช ควรมกี ารจดั ทาคมู่ ือสาหรับการจาแนกชนิดไม้ในแต่ละพ้ืนท่ีหรือใส่
ภาพประกอบไม้แต่ละชนิดในฐานข้อมูลพรรณไม้ เพ่ือใช้เป็นฐานในการจาแนกชนิดไม้ให้ตรงรหัส CODE พรรณไม้
มากข้นึ

2. ในการปฏิบัติงานภาคสนาม ควรวางแผนการสารวจใหแ้ ลว้ เสรจ็ ก่อนชว่ งฤดูฝน
3. ในการติดตามการเปลย่ี นแปลงพ้ืนทป่ี ่าหรือทรัพยากรป่าไม้ในรอบถัดไปควรหาหมุดเดิม ที่ได้ทาการตอก
ไวต้ รงจุดศูนย์กลางแปลงตวั อยา่ งใหเ้ จอ และเนน้ การสารวจกับต้นไม้ต้นเดมิ ทมี่ ปี า้ ยหมายเลข ตอกติดไว้ เพื่อดู
กาลังผลิตของป่าและความสามารถในการเกบ็ กกั คาร์บอนในพ้ืนท่ีป่าน้ันๆ ว่าเพิ่มข้ึนหรือไม่ อย่างไร หรือถูกรบกวน
มากน้อยแค่ไหน

เอกสำรอำ้ งอิง

กรมป่าไม้. 2544. รำยชื่อพันธ์ุไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม . กรุงเทพฯ :
บรษิ ัทประชาชน จากดั .

ไซมอน การ์ดเนอร์, พินดา สิทธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2543. ต้นไม้เมืองเหนือ : คู่มือศึกษำ
พรรณไม้ยนื ต้นในป่ำภำคหนอื ประเทศไทย. บริษัท อมรนิ ทรบ์ ุ๊คเซ็นเตอร์ จากดั , กรงุ เทพฯ.

www.dnp.go.th


Click to View FlipBook Version