The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chantarat Somkane, 2020-10-20 23:26:24

อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง

...

1

คำนำ

ปจั จบุ นั ประเทศไทยมพี ืน้ ท่ปี ่าไมเ้ หลืออยู่ประมาณร้อยละ 31.62 ของพ้ืนท่ี
ประเทศ (ท่ีมา : หนังสือข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2558) เพื่อให้
การดาเนินงานของกรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธพุ์ ชื ทีจ่ ะตอ้ งดาเนินการอนุรักษ์
สงวน และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาการใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่าง
ยั่งยืน จึงจาเป็นที่จะต้องทราบถงึ สถานภาพและศกั ยภาพของทรัพยากร โดยเฉพาะทรพั ยากร
ป่าไม้ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยู่ในพื้นท่ีป่าไม้ ตลอดจนปัจจัยทาง
เศรษฐกจิ และสังคมท่ีมีผลต่อการบุกรุกทาลายป่า เพ่ือนามาใช้ในการดาเนินการตามภาระ
รับผิดชอบต่อไป ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่
อนุรกั ษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้มอบหมายให้หน่วยงานท่ีต้ังอยู่ตาม
ภูมิภาคต่างๆ ออกสารวจทรัพยากรป่าไมใ้ นพื้นท่ีป่าอนุรักษ์ท่ีรับผิดชอบ ซ่ึงสานักบริหารพ้ืนท่ี
อนรุ กั ษท์ ่ี 5 (นครศรธี รรมราช) ไดด้ าเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ
นา้ ตกโยงในปีงบประมาณ 2557 ถงึ ปีงบประมาณ 2558

อทุ ยานแหง่ ชาติน้าตกโยงในปัจจุบัน ยังเป็นผืนป่าขนาดใหญ่ ที่คงความ
อดุ มสมบูรณอ์ ยูม่ าก มีความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นสังคมพืช
หรอื สังคมสัตว์ ซงึ่ อยรู่ ว่ มกนั พ่ึงพาอาศัยกนั ไดเ้ ป็นอย่างดี และยังเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร
ของจังหวัดนครศรีธรรมราชและจงั หวดั ใกล้เคียงอีกด้วย ดงั นั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ เพ่ือใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากร
ปา่ ไม้และทรพั ยากรอน่ื ๆ ที่เก่ียวข้อง และนาไปพัฒนาการอนุรักษ์ หรือใช้เป็นต้นแบบใน
การดาเนนิ การในพื้นทีอ่ นื่ ๆ ตอ่ ไป

การสารวจทรัพยากรป่าไม้เพื่อประเมินสถานภาพและศักยภาพของ
ทรัพยากรปา่ ไม้ และเพื่อติดต้ังระบบติดตามความเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้ง
ทรพั ยากรอื่นท่เี กย่ี วข้อง โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือทราบข้อมูลพืน้ ฐานเกย่ี วกับทรัพยากรป่าไม้
โดยเฉพาะด้านกาลังผลิตและความหลากหลายของพืชพันธุ์ ในพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ สาหรับ
รูปแบบและวิธีการสารวจจะใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot)
โดยวธิ สี มุ่ ตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นท่ีภาพถ่ายดาวเทียมที่มีการ
แปลสภาพวา่ เป็นปา่ โดยให้แต่ละแปลงตวั อย่างมีระยะห่างเท่าๆ กัน บนเส้นกริดแผนท่ี (Grid)
ขนาด 2.5x2.5 กิโลเมตร และพ้ืนที่ท่ีได้รับการสุ่ม โดยใช้ระบบ Datum เป็น WGS 84 คือ
ตงั้ แตป่ ีงบประมาณ 2555 เปน็ ต้นไป

2

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิต และ
ความหลากหลายของพืชพนั ธใุ์ นพ้ืนที่อนรุ ักษต์ ่าง ๆ ของประเทศไทย

2. เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสารวจ และ
การวิเคราะห์ขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบและแบบแผน

3. เพ่ือเป็นแนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ใน
พนื้ ที่

4. เพ่ือพฒั นาระบบฐานข้อมลู ทรัพยากรปา่ ไมใ้ นแตล่ ะพืน้ ท่ี

เปำ้ หมำยกำรดำเนินงำน

สว่ นสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ กรม
อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพื้นที่สารวจ
เปา้ หมายในพื้นท่ีอุทยานแหง่ ชาติน้าตกโยง จานวน 35 แปลง

การสารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาด
คงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลม
ขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทิศหลักท้งั 4 ทศิ โดยจดุ ศนู ย์กลางของวงกลมท้ัง 4 ทิศ จะอยู่บน
เส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร จานวนท้ังสิ้น 35 แปลง และทาการเก็บข้อมูลการ
สารวจทรัพยากรป่าไม้ต่าง ๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จานวนกล้าไม้และลูกไม้
ชนิดป่า ลักษณะต่าง ๆ ของพื้นท่ีท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสูง
ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม
เถาวลั ย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนามาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อให้ทราบเนื้อที่ป่าไม้ ลักษณะการใช้
ประโยชน์ท่ีดิน ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการ
สืบพนั ธ์ตุ ามธรรมชาตขิ องหมูไ่ มใ้ นปา่ นนั้

3

ขอ้ มูลท่ัวไปของอทุ ยำนแหง่ ชำตินำตกโยง

ประวัตคิ วำมเปน็ มำ

ด้วยกรมป่าไม้ได้รับหนังสือของนายบุญส่ง ชานาญกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัด
นครศรีธรรมราช ลงวันที่ 18 มีนาคม 2528 วา่ ได้ไปตรวจเย่ยี มราษฎรและได้รับการร้องเรียนขอให้
ดาเนนิ การปรบั ปรงุ ปอ้ งกนั บริเวณนา้ ตกปลวิ ต้งั อยู่ทตี่ าบลนาหลวงเสน อาเภอทุง่ สง ให้เป็นแหล่ง
ทอ่ งเทีย่ ว เนือ่ งจากบรเิ วณดงั กล่าวมีสภาพปา่ ท่สี มบรู ณแ์ ละมีน้าตกท่ีสวยงาม ราษฎรในทอ้ งถ่ินให้
การสนับสนนุ และประสงคจ์ ะใหม้ กี ารสงวนพืน้ ท่ดี ังกล่าวเป็นอุทยานแหง่ ชาติ ซึ่ง นายจานงค์ โพธิ
สาโร อธิบดกี รมปา่ ไม้ ไดม้ บี นั ทกึ ลงวันท่ี 31 มนี าคม 2528 ให้กองอทุ ยานแหง่ ชาติพิจารณา และ
กองอุทยานแห่งชาติไดม้ หี นงั สอื ท่ี กษ 0713/1663 ลงวันท่ี 6 พฤษภาคม 2528 ให้อทุ ยานแห่งชาติ
เขาหลวงทาการสารวจสภาพพน้ื ท่บี รเิ วณดงั กล่าว

ต่อมา นายสัมพันธ์ ทองสมัคร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีหนังสือ ที่ ศธ 0100/8 ลงวันที่ 15
มกราคม 2529 ถึง นายณรงค์ วงศ์วรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอให้
ประกาศพ้ืนที่ป่าเขาเหมน เป็นอุทยานแห่งชาติโดยเร่งด่วน เนื่องจากป่าเขาเหมนมีความอุดม
สมบูรณ์ มีสัตวป์ ่านานาชนดิ มที ิวทัศน์สวยงามเปน็ แหล่งตน้ น้าลาธารถึง 8 สาย มีธารนา้ ตกหลายชั้น
โดยเฉพาะที่เรียกว่า “หนานปลิว” มีความสวยงามมาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ได้บันทึกส่ังการ ลงวนั ท่ี 20 มกราคม 2529 ถึง นายเถลงิ ธารงนาวาสวสั ด์ิ ปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ให้กองอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ปดาเนินการตรวจสอบ

กองอุทยานแห่งชาติจึงได้มีหนังสือ ที่ กษ 0713/621 ลงวันท่ี 10 กุมภาพันธ์
2529 ใหห้ ัวหนา้ อทุ ยานแห่งชาติเขาหลวงทาการตรวจสอบ เบ้ืองต้น นายถวิล ไพรสณฑ์ นายบุญ
ส่ง ชานาญกิจ และนางสุพัตรา มาศดิตถ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มี
หนังสือ ลงวันท่ี 1 ตุลาคม 2529 ถึง พลเอกหาญ ลีลานนท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เร่งรัดการดาเนินการ ซ่ึง นายสมหวัง เพชรขัณฑ์ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาหลวง ได้
รายงานการตรวจสอบตามหนังสือ ท่ี กษ 0713 (ขล)/11 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2529 ว่า บริเวณ
ดงั กลา่ วมสี ภาพปา่ ทมี่ คี วามสมบรู ณม์ าก มีทวิ ทัศน์ และน้าตกทส่ี วยงามควรอนรุ กั ษไ์ ว้เป็นอุทยาน
แห่งชาติ จึงนาเรื่องเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้มีมติในที่ประชุม
คร้ังท่ี 1/2532 เม่อื วันท่ี 4 พฤษภาคม 2532 เห็นชอบในการจดั ตง้ั เปน็ อุทยานแห่งชาติ

4

ตอ่ มาในปี 2534 ได้มพี ระราชกฤษฎีกากาหนดท่ีดินป่าเขาเหมน ป่าเขาหลวง
ป่าปลายคลองวังหีบ ป่าน้าตกโยงและป่าปลายคลองปากแพรก ในท้องท่ี ตาบลช้างกลาง
อาเภอฉวาง ปัจจุบันเปล่ียนเขตการปกครองเป็นอาเภอช้างกลาง ตาบลเขาแก้ว ตาบลลานสกา
อาเภอลานสกา ตาบลนาบอน อาเภอนาบอน ตาบลนาหลวงเสน ตาบลถ้าใหญ่ อาเภอทุ่งสง
และตาบลหนิ ตก ตาบลร่อนพิบูลย์ อาเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เป็นอุทยาน
แห่งชาติ ซ่ึงประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 108 ตอนท่ี 127 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม
2534 จดั เปน็ อทุ ยานแห่งชาตลิ าดับท่ี 64 ของประเทศไทย

ทตี่ ังและอำณำเขต

อุทยานแห่งชาติน้าตกโยง ต้ังอยู่ที่ บ้านน้าตกโยง หมู่ที่ 7 ตาบลถ้าใหญ่
อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช บริเวณพิกัด UTM 47 P 0582365 E 0903210 N
ละตจิ ูด-ลองตจิ ูด ที่ 08 องศา 10 ลิปดา 12.3 ฟิลิปดา N 099 องศา 44 ลิปดา 42.0 ฟิลิปดา
E โทรศัพท์ : 0 7535 4967 โทรสาร : 0 7535 4967 มีพ้ืนท่ีครอบคลุมพ้ืนที่ป่าในเขตตาบล
ชา้ งกลาง อาเภอฉวาง (ปัจจุบันเปลี่ยนเปน็ อาเภอชา้ งกลาง) ตาบลเขาแก้ว ตาบลลานสกา
อาเภอลานสกา ตาบลนาบอน อาเภอนาบอน ตาบลนาหลวงเสน ตาบลถา้ ใหญ่ อาเภอทุ่งสง
และตาบลหินตก ตาบลร่อนพิบูลย์ อาเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเนื้อท่ี
ประมาณ 128,125 ไร่ หรอื 205 ตารางกโิ ลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอ่ ดังนี้

ทศิ เหนอื จดพน้ื ที่การปกครอง อาเภอลานสกา และอาเภอ
ทิศใต้ ช้างกลาง จงั หวัดนครศรธี รรมราช
ทศิ ตะวนั ออก จดพ้ืนที่การปกครอง อาเภอทุ่งสง
ทิศตะวันตก และอาเภอร่อนพิบูลย์ จังหวดั นครศรธี รรมราช
จดพืน้ ทก่ี ารปกครอง อาเภอร่อนพิบูลย์
และอาเภอลานสกา จงั หวัดนครศรธี รรมราช
จดพ้ืนทกี่ ารปกครอง อาเภอนาบอน
และอาเภอช้างกลาง จงั หวัดนครศรธี รรมราช

5

กำรเดนิ ทำงและเสน้ ทำงคมนำคม

อุทยานแห่งชาติน้าตกโยง อยู่ห่างจากอาเภอทุ่งสง 7.5 กิโลเมตร ห่างจาก
จงั หวัดนครศรีธรรมราช 58 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีประมาณ 120 กิโลเมตร
ห่างจากจงั หวัดตรัง ประมาณ 80 กโิ ลเมตร ห่างจากจังหวัดพทั ลงุ ประมาณ 78 กิโลเมตร และ
หา่ งจากจังหวดั กระบี่ ประมาณ 140 กโิ ลเมตร

กำรเดนิ ทำงโดยรถยนต์

จากกรุงเทพมหานคร ถึงอาเภอทุ่งสง ระยะทางประมาณ 774 กิโลเมตร จาก
อาเภอทงุ่ สงถงึ อทุ ยานแห่งชาติน้าตกโยง ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 แยกซ้ายข้าง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ระยะทางประมาณ 4
กโิ ลเมตร ถึงบริเวณนา้ ตกโยง รวมระยะทางประมาณ 8.5 กิโลเมตร

กำรเดินทำงโดยรถไฟ

จากกรงุ เทพมหานครถึงอาเภอทุ่งสง ระยะทางประมาณ 775 กิโลเมตร ถึงที่ทา
การอทุ ยานแห่งชาติน้าตกโยงระยะทางประมาณ 7.5 กิโลเมตร

ลักษณะภมู ิประเทศ

มีลกั ษณะเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขานครศรีธรรมราช
ท่ีทอดตามแนวยาวเหนอื ใต้ ต่อเนอ่ื งมาทางใตข้ องเทอื กเขาหลวง มีความสูงจากระดับทะเลปาน
กลางตั้งแต่ 80 เมตร ถงึ 1,307 เมตร ยอดเขาทสี่ ูงที่สุด คือ ยอดเขาเหมน เป็นยอดเขาแบ่งเขต
การปกครองระหวา่ งตาบลนาบอน อาเภอนาบอน กบั ตาบลช้างกลาง อาเภอช้างกลาง จังหวัด
นครศรธี รรมราช

ภำพท่ี 2 ลักษณะภูมปิ ระเทศของอุทยำนแห่งชำตินำตกโยง

6
ลกั ษณะภูมอิ ำกำศ

อุทยานแห่งชาตินา้ ตกโยง ตั้งอยู่บนคาบสมุทร ทาให้ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัด
ผ่านทะเล ท้ังสองด้าน ฝนตกเกือบตลอดทั้งปี ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม มีอากาศค่อนข้าง
เย็น และฤดูร้อนจะอยู่ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน อุณหภูมิโดยเฉล่ียประมาณ 26 องศา
เซลเซยี ส

ภำพท่ี 3 ลักษณะภูมอิ ำกำศของพนื ทม่ี คี วำมชืนและอำกำศเยน็

จุดเดน่ ทีน่ ่ำสนใจ
อทุ ยานแหง่ ชาติน้าตกโยงมีจุดเดน่ ที่น่าสนใจในพื้นท่ี ดงั น้ี
1. นำตกโยง เกิดจากเทอื กเขาลาโรม เขาปากแพรกและเขาโยง นา้ ตกสูง 7 ช้นั ชน้ั ที่ 1 สูง 30

เมตร เปน็ นา้ ตกทีม่ ีลกั ษณะเปน็ กระแสนา้ ที่รวมกันเป็นเกลียวเชือกสีขาวเส้นมหึมา ตกจากหน้าผาที่สูงชัน
ส่เู บ้อื งล่างทมี่ ลี ักษณะเป็นแอง่ นา้ ขนาด 20 x 30 เมตร ลึก 10 - 15 เมตร บริเวณที่น้าตกลงมาเป็นกระแส
น้าวนอันตราย มนี า้ ไหลตลอดปี น้าตกอยูห่ า่ งจากทีท่ าการอทุ ยานฯ 300 เมตร

ภำพที่ 4 บรเิ วณแหลง่ ท่องเทย่ี วนำตกโยง

7

2. นำตกคลองจงั ตั้งอยู่หมู่ท่ี 4 ตาบลนาบอน อาเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช
สภาพป่าโดยทั่วไป เป็นป่าดิบช้ืนมีพันธุ์ไม้จาพวกวงศ์ยาง ตะเคียน เป็นจานวนมาก นอกจากนี้ มีป่าไผ่
ข้นึ อยอู่ ยา่ งหนาแนน่ สภาพภมู ิประเทศประกอบไปดว้ ยภูเขาสูง สภาพภมู ิอากาศค่อนขา้ งหนาวเย็น

ลักษณะเด่น มีน้าไหลตลอดท้ังปี มีน้าตกท้ังหมด 3 ช้ัน น้าตกช้ันที่ 1 จะมีหน้าผา
น้าตกกว้าง ซึง่ เปน็ หนา้ ผาหนิ ปนู และโขดหินใหญ่มากมาย แอ่งนา้ ลึก 2 เมตร กว้างประมาณ 10 เมตร
หน้าผาสูงประมาณ 15 เมตร

การเดินทาง เดินทางจากอาเภอทงุ่ สงไปตามทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 41 ระยะทาง
ประมาณ 7 กิโลเมตร แยกเข้าอาเภอนาบอน ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร ถึงบ้านคลองจังระยะทาง
ประมาณ 5 กโิ ลเมตร ถึงบริเวณนา้ ตกคลองจงั

ภำพท่ี 5 บริเวณแหลง่ ท่องเทย่ี วนำตกคลองจัง

3. นำตกคลองปลวิ ตัง้ อยู่หมทู่ ่ี 3 ตาบลถา้ ใหญ่ อาเภอท่งุ สง จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็นน้าตกขนาด
กลาง มีน้าไหลตลอดปี มีน้าตกท้ังหมด 7 ช้ัน แต่ละชั้นมีความสวยงามแตกต่างกัน กาเนิดจากเทือกเขา
โยง น้าไหลลดหลนั่ ลงมาเป็นช้ันๆ ถงึ 8 ชัน้ สวยงามท่สี ดุ แหง่ หนง่ึ แต่ละช้นั มีความกว้างประมาณ 15
- 18 เมตร สูงประมาณ 25 เมตร เนอื่ งจากแต่ละช้ันมีความสูงมากน้ีเองจึงทาให้น้าตกท่ีไหลลงมาจาก
หน้าผาคล้ายลกั ษณะของการปลิว จงึ เรยี กวา่ นา้ ตกปลวิ น้าอุดมสมบรู ณ์ตลอดปี ใชเ้ วลาเดินทางจาก
หน้าบ้านน้ารอบขึน้ ไปจนถึงชั้นบนสุดของน้าตกประมาณ 1 ชวั่ โมง

8

สภาพปา่ เป็นป่าดิบชน้ื ทีม่ ีฝนตกชกุ เกือบตลอดทั้งปี สภาพป่าค่อนข้างสมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้
หลายชนดิ เช่น ยาง รักเขา นอกจากน้ี ยังมีบโิ กเนียหรอื ก้ามกุ้ง พบขึ้นบริเวณบนโขดหินมีความชุม
ชื้นสูง ลาต้นอวบนา้ มีขนใตท้ อ้ งใบคล้ายกามะหยข่ี ึน้ อยู่บรเิ วณนา้ ตกด้วย

ภำพท่ี 6 บริเวณแหล่งทอ่ งเทย่ี วนำตกปลวิ
3. ยอดเขำรำมโรม เป็นยอดเขาท่ีมีสภาพป่า เป็นป่าดิบชื้น และจากความสูงจาก
ระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 700 เมตร มีเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนทาให้เกิดทิวทัศน์ที่สวยงาม
เสน้ ทางสยู่ อดเขารามโรม เป็นเสน้ ทางบนสันเขาจงึ มีมมุ เปิดใหเ้ หน็ ทัศนยี ภาพของผืนป่าในมุม กว้างไกล
หลายจุด ธรรมชาติยงั คงสมบูรณ์และบอบบางมากโดยเฉพาะเสน้ ทางชมกลว้ ยไมป้ ่า
ลักษณะเดน่ เป็นจุดชมทวิ ทศั น์บนยอดเขาสงู และมถี นนพน้ื แข็งถาวรทีร่ ถยนต์เข้าถึงได้
สะดวก สามารถมองเห็นทะเลหมอก พระอาทิตย์ข้ึนในยามเช้า และท่ีสาคัญเป็นยอดเขาที่สามารถ
มองเห็นชายทะเลแหลมตะลุมพุกไปถงึ อาเภอเชียรใหญ่ อาเภอรอ่ นพิบูลย์ อาเภอพระพรหม อาเภอทุ่งสง
จงั หวัดนครศรธี รรมราชและยอดเขาเหมนได้อย่างเดน่ ชัด

9

ภำพที่ 7 บริเวณแหล่งทอ่ งเที่ยวยอดเขำรำมโรม

10

รปู แบบและวธิ กี ำรสำรวจทรพั ยำกรปำ่ ไม้
การสารวจทรัพยากรป่าไม้ในแตล่ ะจังหวดั ท่ัวประเทศไทย ดาเนินการโดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้
สว่ นสารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรป่าไม้ สานกั ฟ้นื ฟแู ละพัฒนาพ้ืนทอ่ี นุรักษ์ และสานักบรหิ ารพนื้ ท่ีอนรุ กั ษ์
ต่างๆ ในสงั กดั กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กำรสุ่มตัวอย่ำง (Sampling Design)

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ใน
พื้นท่ีที่ภาพถา่ ยดาวเทยี มแปลวา่ มีสภาพเปน็ ป่า โดยใหแ้ ตล่ ะแปลงตวั อย่าง (Sample plot) มีระยะห่าง
เท่าๆ กัน โดยกาหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เร่ิมจากการสุ่มกาหนดแปลงตัวอย่างแรก
บนเสน้ กริดแผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนทีป่ ระเทศไทย มาตราสว่ น 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่าง
เส้นกริดทั้งแนวต้ังและแนวนอนเท่ากับ 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่องกริดในแผนที่เท่ากับ 2.5 ช่อง จุดตัด
ของเสน้ กรดิ ท้ังสองแนวก็จะเปน็ ตาแหน่งทตี่ ้งั ของแปลงตวั อย่างแต่ละแปลง เม่ือดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะ
ทราบจานวนหนว่ ยตัวอย่าง และตาแหน่งที่ต้ังของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะของแปลงตัวอย่างดังภาพท่ี
8 และรปู แบบของการวางแปลงตวั อยา่ งดงั ภาพท่ี 9 ตามลาดบั

ภำพที่ 8 ลักษณะและขนำดของแปลงตัวอย่ำง

11

ภำพท่ี 9 ลักษณะรปู แบบของกำรวำงแปลงตวั อยำ่ ง
รปู รำ่ งและขนำดของแปลงตัวอยำ่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ทีใ่ ช้ในการสารวจ มที ั้งแปลงตัวอยา่ งถาวร และแปลง
ตัวอยา่ งช่ัวคราว เปน็ แปลงทีม่ ีขนาดคงที่ (Fixed-Area Plot) และมรี ปู ร่าง 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คือ

1. ลักษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รปู วงกลมทีม่ ีจดุ ศนู ยก์ ลางร่วมกนั รศั มแี ตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลม

รศั มี 3.99, 12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดับ
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631

เมตร เท่ากนั โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทิศหลัก
ทั้ง 4 ทิศ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ
17.84 เมตร โดยมีจุดเร่ิมต้นร่วมกัน ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซ่ึงกันและกัน ซ่ึงตัวมุม
Azimuth ของเสน้ ที่ 1 ได้จากการสุ่มตวั อย่าง

12

ขนำดของแปลงตวั อยำ่ งและขอ้ มลู ที่ทำกำรสำรวจ
ขนาดของแปลงตัวอย่าง และขอ้ มลู ทที่ าการสารวจแสดงรายละเอียดไว้ในตารางที่ 1

ตำรำงท่ี 1 ขนำดของแปลงตวั อยำ่ งและข้อมูลทีด่ ำเนนิ กำรสำรวจ

รศั มีของวงกลม หรอื จำนวน พนื ที่ หรอื ควำมยำว ขอ้ มูลทสี่ ำรวจ
ควำมยำว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮคแตร์ กล้าไม้
0.631 1 วง 0.0050 เฮคแตร์ ลูกไม้และการปกคลุมพนื้ ทข่ี องกลา้ ไม้
3.99 และลูกไม้
1 วง 0.0500 เฮคแตร์ ไม้ไผ่ หวายทยี่ ังไม่เลื้อย และตอไม้
12.62 1 วง 0.1000 เฮคแตร์ ตน้ ไม้ และตรวจสอบปัจจัยทีร่ บกวนพน้ื ทป่ี า่
17.84 2 เสน้ Coarse Woody Debris (CWD) หวาย
17.84 (เส้นตรง) 17.84 เมตร เล้อื ย และไมเ้ ถา ท่พี าดผา่ น

13

กำรวิเครำะห์ข้อมูลกำรสำรวจทรัพยำกรปำ่ ไม้

1. กำรคำนวณเนือท่ีปำ่ และปรมิ ำณไม้ทงั หมดของแต่ละพืนทอ่ี นุรกั ษ์
1.1 ใชข้ อ้ มูลพื้นที่อนุรักษจ์ ากแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาของแตล่ ะพ้นื ทีอ่ นรุ กั ษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจานวนแปลงตัวอย่างที่พบในแต่ละชนิดป่า เปรียบเทียบกับจานวนแปลง

ตัวอย่างที่วางแปลงทั้งหมดในแต่ละพ้ืนท่ีอนุรักษ์ ท่ีอาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจาก
ภาพถ่ายดาวเทียมหรือภาพถ่ายทางอากาศ มาคานวณเป็นเน้ือท่ีป่าแต่ละชนิดโดยนาแปลงตัวอย่างที่
วางแผนไวม้ าคานวณทกุ แปลง

1.3 แปลงตัวอยา่ งทีไ่ มส่ ามารถดาเนินการได้ ก็ต้องนามาคานวณด้วย โดยทาการประเมิน
ลกั ษณะพ้นื ทเี่ ปน็ หนา้ ผา นา้ ตก หรือพ้ืนทีอ่ ืน่ ๆ เพ่อื ประกอบลักษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดิน

1.4 ปริมาณไม้ท้ังหมดของพ้ืนที่อนุรกั ษ์เปน็ การคานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อท่ีอนุรักษ์จากแผน
ท่ีแนบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ซึ่งบางพ้ืนท่ีอนุรักษ์มีข้อมูลเนื้อท่ีคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง
และสง่ ผลตอ่ การคานวณปริมาณไม้ท้งั หมด ทาให้การคานวณปรมิ าณไมเ้ ปน็ การประมาณเบื้องต้น
2. กำรคำนวณปรมิ ำตรไม้

สมการปริมาตรไมท้ ใี่ ช้ในการประเมนิ การกกั เก็บธาตุคารบ์ อนในพื้นที่ป่าไม้ แบบวิธี Volume
Based Approach โดยแบง่ กลุ่มของชนดิ ไม้เปน็ จานวน 7 กล่มุ ดังนี้

2.1 กลมุ่ ท่ี 1 ได้แก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เคี่ยม ตะเคียน สยา ไข่เขียว
พะยอม จันทนก์ ะพ้อ สนสองใบ

สมกำรท่ีได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลุ่มที่ 2 ได้แก่ กระพ้ีจ่ัน กระพี้เขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง
พะยงู ชิงชนั กระพ้ี ถ่อน แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกลุ มะเกลอื

สมกำรทไี่ ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)

R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพิเภก สมอไทย หูกวาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอ้าย กระบก
ตะครา้ ตะครอ้ ตาเสือ คา้ งคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระท้อน เลี่ยน มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน
รัก ต้วิ สะแกแสง ปู่เจา้ และไมส้ กลุ สา้ น เสลา อินทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บุนนาค

สมกำรทีไ่ ด้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

14

2.4 กลุ่มที่ 4 ได้แก่ กางข้ีมอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ และ
สกลุ ข้ีเหล็ก

สมกำรที่ได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

2.5 กล่มุ ที่ 5 ไดแ้ ก่ สกุลประดู่ เตมิ

สมกำรทไ่ี ด้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99

2.6 กลุ่มที่ 6 ไดแ้ ก่ สกั ตนี นก ผา่ เสีย้ น หมากเล็กหมากน้อย ไข่เน่า กระจับเขา กาสามปีก
สวอง

สมกำรท่ีได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186

2.7 กลุ่มท่ี 7 ไดแ้ ก่ ไมช้ นดิ อน่ื ๆ เชน่ กุ๊ก ขว้าว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ
โมกมนั แสมสาร และไม้ในสกุลปอ กอ่ เปล้า เป็นต้น

สมกำรที่ได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138

โดยที่ V คือ ปริมาตรส่วนลาต้นเม่ือตัดโคน่ ท่คี วามสูงเหนอื ดิน (โคน) 10
เซนตเิ มตร

ถงึ ก่งิ แรกทีท่ าเป็นสินคา้ ได้ มีหน่วยเป็นลกู บาศกเ์ มตร
DBH มีหนว่ ยเป็นเซนติเมตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มลู ทั่วไป
ข้อมูลท่ัวไปที่นาไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ท่ีต้ัง ตาแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ที่ทาการ
เกบ็ ข้อมลู ความสงู จากระดับนา้ ทะเล และลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดิน เป็นตน้ โดยขอ้ มูลเหล่านีจ้ ะใช้ประกอบ
ในการวิเคราะห์ประเมินผลร่วมกับข้อมูลด้านอื่น ๆ เพ่ือติดตามความเปลี่ยนแปลงของพื้นท่ีในการสารวจ
ทรัพยากรป่าไม้ครั้งตอ่ ไป
4. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแน่น
4.2 ปริมาตร
5. กำรวิเครำะหข์ อ้ มูลชนิดและปริมำณของลูกไม้ (Sapling) และกลำ้ ไม้ (Seedling)

6. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูลชนดิ และปรมิ ำณของไม้ไผ่ หวำย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแน่นของหวายเส้นตงั้ (จานวนต้น)

15

7. กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู สงั คมพชื

โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะหข์ ้อมูลดังน้ี

7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธ์ุท่ี
ศกึ ษาท่ีปรากฏในแปลงตวั อยา่ งต่อหน่วยพ้ืนทที่ ี่ทาการสารวจ

D= .

7.2 ความถี่ (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างที่ปรากฏพันธุ์ไม้ชนิด
นน้ั ต่อจานวนแปลงทท่ี าการสารวจ

F= X 100

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพ้ืนที่หน้าตัด (Basal Area : BA)
หมายถึง พืน้ ท่หี นา้ ตดั ของลาตน้ ของตน้ ไมท้ ่ีวัดระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพ้นื ท่ที ่ีทาการสารวจ

Do = X 100

7.4 ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความ
หนาแน่นของไมท้ ่ตี ้องการตอ่ คา่ ความหนาแนน่ ของไมท้ ุกชนิดในแปลงตัวอยา่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ

RD = X 100

7.5 ค่าความถ่สี มั พัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ คา่ ความสัมพัทธข์ องความถขี่ องชนดิ ไม้ท่ี
ต้องการตอ่ ค่าความถท่ี ง้ั หมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตัวอยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ

RF = X 100

7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความ
เด่นในรปู พนื้ ท่ีหน้าตัดของไม้ชนดิ ทีก่ าหนดต่อความเด่นรวมของไม้ทุกชนดิ ในแปลงตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RDo = X 100

16

7.7 ค่าดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คอื ผลรวมของค่าความสมั พทั ธต์ ่างๆ
ของชนดิ ไมใ้ นสังคม ได้แก่ ค่าความสมั พัทธด์ ้านความหนาแนน่ ค่าความสัมพัทธด์ า้ นความถี่ และคา่ ความสมั พัทธ์
ดา้ นความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วเิ ครำะห์ขอ้ มูลควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ

โดยทาการวิเคราะหค์ า่ ตา่ งๆ ดงั นี้

8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจานวนชนิดพันธุ์ที่ปรากฏในสังคม
และจานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธ์ุ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of Diversity
ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซง่ึ มสี ูตรการคานวณดังตอ่ ไปนี้

s
H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1
โดย H คือ ค่าดัชนคี วามหลากชนดิ ของชนิดพนั ธุไ์ ม้

pi คอื สดั สว่ นระหว่างจานวนตน้ ไมช้ นิดที่ i ตอ่ จานวนตน้ ไม้ทง้ั หมด
Sคอื จานวนชนดิ พันธุ์ไมท้ ง้ั หมด

8.2 ความร่ารวยของชนิดพนั ธุ์ (Richness Indices) อาศยั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งจานวนชนิดกบั
จานวนต้นท้งั หมดทท่ี าการสารวจ ซง่ึ จะเพ่ิมขึน้ เมอ่ื เพิม่ พืน้ ที่แปลงตวั อยา่ ง และดชั นคี วามรา่ รวยทน่ี ิยมใชก้ ัน คอื วิธีของ
Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสตู รการคานวณดงั น้ี

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/√n

เมื่อ S คือ จานวนชนดิ ทง้ั หมดในสังคม
n คือ จานวนตน้ ทง้ั หมดที่สารวจพบ

8.3 ความสม่าเสมอของชนดิ พันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนที ี่ตัง้ อยู่บนสมมติฐานท่วี ่า ดัชนคี วามสม่าเสมอจะมี
ค่ามากท่ีสุดเม่ือทุกชนิดในสังคมมีจานวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซึ่งวิธีการที่นิยมใช้กันมากในหมู่นักนิเวศวิทยา คือ วิธี
ของ Pielou (1975) ซงึ่ มีสูตรการคานวณดังนี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)

เม่อื H คือ ค่าดชั นคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คอื จานวนชนดิ ทัง้ หมด (N0)
N1 คือ eH

17

ผลกำรสำรวจและวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ทรพั ยำกร
ป่ำไม้

1. กำรวำงแปลงตัวอยำ่ ง
จากผลการดาเนินการวางแปลงสารวจเพอื่ ประเมนิ สถานภาพและศกั ยภาพของทรัพยากรปา่ ไมใ้ นพื้นที่

อุทยานแห่งชาติน้าตกโยง โดยได้ดาเนินการวางแปลงสารวจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และได้ดาเนินการสารวจ
ต่อเนือ่ งในปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 รวมการวางแปลงสารวจในพ้ืนทอ่ี ุทยานแหง่ ชาติน้าตกโยงจานวน 35 แปลง ดัง
ภาพท่ี 10 และ 11

ภำพท่ี 10 แผนท่ภี ำพถ่ำยดำวเทยี มแสดงพนื ท่ขี องอุทยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง

ภำพที่ 11 แปลงตวั อย่ำงท่ดี ำเนนิ กำรสำรวจภำคสนำมในอทุ ยำนแห่งชำตินำตกโยง

18

2. พืนทปี่ ำ่ ไม้

จากการสารวจ พบวา่ มีพืน้ ที่ป่าไมจ้ าแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้ 2 ประเภท ได้แก่
ปา่ ดิบชน้ื และสวนยางพารา โดยป่าดบิ ชน้ื พบมากทีส่ ุด มีพ้ืนท่ี 169.86 ตารางกิโลเมตร (106,160.71 ไร่) คิดเป็นร้อย
ละ 82.86 ของพืน้ ท่ีทัง้ หมด รองลงมา คือ สวนยางพารา มีพ้ืนที่ 35.14 ตารางกิโลเมตร (21,964.29 ไร่) คิดเป็นร้อยละ
17.14 ของพืน้ ทที่ ัง้ หมด รายละเอียดดังตารางท่ี 2
ตำรำงที่ 2 พนื ทปี่ ำ่ ไมจ้ ำแนกตำมลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ที่ดินในอทุ ยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง

(Area by Landuse Type)

ลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ตร.กม. พืนที่ ไร่ รอ้ ยละ
(Landuse Type) 169.86 เฮคแตร์ 106,160.71 ของพืนท่ีทงั หมด

ปา่ ดบิ ชน้ื 35.14 16,985.71 82.86
(Tropical Evergreen Forest)
สวนยางพารา 205.00 3,514.29 21,964.29 17.14
(Rubber)
20,500.00 128,125.00 100.00
รวม (Total)

หมายเหตุ : - การคานวณพ้นื ท่ีปา่ ไมต้ ามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ แต่ละชนดิ ใช้สดั ส่วนของข้อมูลทพี่ บจากการสารวจภาคสนาม
- รอ้ ยละของพน้ื ทสี่ ารวจคานวณจากขอ้ มลู แปลงทสี่ ารวจพบ ซ่งึ มีพ้ืนท่ดี งั ตารางที่ 1
- ร้อยละของพ้ืนทท่ี งั้ หมดคานวณจากพืน้ ทแ่ี นบทา้ ยกฤษฎีกาของอทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าตกโยงซึ่งมีพื้นที่เทา่ กับ 570 ตารางกิโลเมตร
หรอื 356,250 ไร่

ภำพท่ี 12 พืนทีป่ ำ่ ไมจ้ ำแนกตำมลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินในอทุ ยำนแห่งชำตินำตกโยง

19

3. ปรมิ ำณไม้

จากการวิเคราะหเ์ ก่ยี วกบั ชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดย
การสารวจทรัพยากรป่าไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้าตกโยง จานวนทั้งสิ้น 35 แปลง
พบว่า ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สารวจพบมี 2 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบชื้น และสวนยางพารา พบไม้ยืนต้นที่มี
ความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือเท่ากับ 15 เซนติเมตรข้ึนไป มี
มากกว่า 211 ชนิด รวมท้ังหมด 18,977,143 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 5,362,317.61 ลูกบาศก์เมตร
ปรมิ าตรไม้เฉลี่ย 41.85 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย 148.11 ต้นต่อไร่ พบปริมาณไม้
มากสุดในป่าดิบชื้น จานวน 16,687,000 ต้น รองลงมา ในพ้ืนที่สวนยางพารา พบจานวน 2,290,143 ต้น
สาหรบั ปรมิ าตรไม้พบมากสุดในป่าดิบชื้น จานวน 4,944,648.80 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ สวนยางพารา
จานวน 417,668.81 ลกู บาศกเ์ มตร รายละเอียดดังตารางท่ี 3 และ 4 ตามลาดบั

ตำรำงท่ี 3 ปรมิ ำณไมท้ งั หมดจำแนกตำมลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ในอทุ ยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง
(Volume by Landuse Type)

ลกั ษณะกำรใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน ปริมำณไมท้ ังหมด ปริมำตร (ลบ.ม.)
(Landuse Type) จำนวน (ตน้ ) 4,944,648.80
ปา่ ดิบชน้ื 16,687,000
(Tropical Evergreen Forest)
สวนยางพารา 2,290,143 417,668.81
(Rubber)
รวม (Total) 18,977,143 5,362,317.61

20

ภำพที่ 13 ลักษณะทวั่ ไปของปำ่ ดบิ ชนื ในพนื ทอี่ ทุ ยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง

21

ภำพที่ 14 ลักษณะทวั่ ไปของสวนยำงพำรำ

22

ภำพท่ี 15 ปริมำณต้นไมท้ งั หมดทีพ่ บในพืนทีอ่ ทุ ยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง
ภำพที่ 16 ปริมำตรไม้ทงั หมดทพี่ บในพนื ทีอ่ ุทยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง

23

ตำรำงท่ี 4 ควำมหนำแนน่ และปริมำตรไม้ต่อหนว่ ยพืนทจ่ี ำแนกตำมลักษณะกำรใช้ประโยชนท์ ี่ดิน
ในอุทยำนแหง่ ชำตินำตกโยง (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน ควำมหนำแน่น ปริมำตร
(Landuse Type)
ต้น/ไร่ ตน้ /เฮคแตร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮคแตร์
ปา่ ดบิ ชื้น
(Tropical Evergreen Forest) 157.19 982.41 46.58 291.11
สวนยางพารา
(Rubber) 104.27 651.67 19.02 118.85

รวม (Total) 148.11 925.71 41.85 261.58

ภำพที่ 17 ควำมหนำแน่นของตน้ ไม้ในพืนที่อุทยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง

24

ภำพที่ 18 ปริมำตรไม้ต่อหนว่ ยพืนทใ่ี นอทุ ยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง

ตำรำงที่ 5 กำรกระจำยขนำดควำมโตของไมท้ งั หมดในอทุ ยำนแหง่ ชำตินำตกโยง

ขนำดควำมโต (GBH) ปริมำณไมท้ งั หมด (ตน้ ) ร้อยละ (%)
15 – 45 ซม. 12,505,000
> 45 – 100 ซม. 4,791,143 65.90
>100 ซม. 1,681,000 25.25
18,977,143 8.86
รวม 100.00

ภำพท่ี 19 กำรกระจำยขนำดควำมโตของปรมิ ำณไม้ทังหมดในพืนที่อุทยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง

25

ภำพท่ี 20 กำรกระจำยขนำดควำมโตของปริมำณไม้ทังหมด (Live : %) ในพืนที่อทุ ยำนแหง่ ชำตินำตก
โยง

4. ชนิดพันธไ์ุ ม้
ชนิดพันธ์ุไม้ที่สารวจพบในภาคสนามของอุทยานแห่งชาติน้าตกโยง จานวนแปลงตัวอย่าง

35 แปลงตวั อยา่ ง โดยชนิดพันธุ์ไม้ท่ีพบท้ังหมดในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้าตกโยง มี 53 วงศ์ มากกว่า 211
ชนิด มปี ริมาณไม้รวม 18,977,143 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 5,362,317.61 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความหนาแน่น
เฉล่ีย 148.11 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 41.85 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว (Parashorea stellata) เคียนทราย (Shorea gratissima) ขวาด (Syzygium
lineatum) ก่อริ้ว (Castanopsis costata) แดงเขา (Syzygium attenuatum) ยางพารา (Hevea
brasiliensis) เงาะขนสั้น (Nephelium ramboutan-ake) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) หว้าเขา
(Cleistocalyx operculatus) จิกนม (Palaquium gutta) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 6

ในป่าดิบช้ืน มีปริมาณไม้รวม 16,687,000 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 4,944,648.80 ลูกบาศก์
เมตร มคี ่าความหนาแน่นเฉล่ีย 157.19 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 46.58 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมี
ปริมาตรไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว (Parashorea stellata) เคียนทราย (Shorea
gratissima) ขวาด(Syzygium lineatum) กอ่ ร้ิว (Castanopsis costata) แดงเขา (Syzygium attenuatum) เงาะ
ขนสั้น (Nephelium ramboutan-ake) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus)
จกิ นม (Palaquium gutta) ตะพง (Endospermum diadenum) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 7

26

ในสวนยางพารา มีปริมาณไม้รวม 2,290,143 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 417,668.81
ลูกบาศกเ์ มตร มคี ่าความหนาแนน่ เฉล่ีย 104.27 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 19.02 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
ชนิดไม้ท่ีมีปริมาตรไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ยางพารา (Hevea brasiliensis) ไข่เขียว
(Parashorea stellate) มังคุด (Garcinia mangostana) สะตอ (Parkia speciosa) จาปา (Michelia
champaca) ชะเนียง (Archidendron jiringa) เลือดควาย (Lindera oxyphylla) โพบาย
(Balakata baccata) กาแซะ (Callerya atropurpurea) และพระเจ้าห้าพระองค์
(Dracontomelon dao) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 8

ชนิดและปริมาณของกล้าไม้ที่พบในอุทยานแห่งชาติน้าตกโยง มีมากกว่า 71 ชนิด
รวมทั้งสิ้น 6,442,857 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 5,028.57 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมาก
ท่ีสุด 10 อันดับแรกได้แก่ โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) ยายกลั้ง (Justicia lignostachya)
ขวาด (Syzygium lineatum) เมี่ยงหลวง (Gordonia axillaris) ตะเคียนราก (Shorea foxworthyi) เข็ม
ป่า (Ixora cibdela) เข็มขาว (Pavetta humilis) สังเครียดลังสาด (Aglaia tomentosa) เด่ือฉ่ิง (Ficus
botryocarpa) และคลุม้ (Donax grandis) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 9

ในป่าดิบช้ืน มีปริมาณกล้าไม้รวม 535,342,857 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 5,042.76
ต้นต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณกล้าไม้มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ยายกลั้ง (Justicia lignostachya)
ขวาด (Syzygium lineatum) เมีย่ งหลวง (Gordonia axillaris) ตะเคียนราก (Shorea foxworthyi)
เขม็ ป่า (Ixora cibdela)โคลงเคลงขนตอ่ ม (Clidemia hirta) เข็มขาว (Pavetta humilis) สังเครียด
ลังสาด (Aglaia tomentosa) ราชครูดา (Goniothalamus macrophyllus) และตังหน
(Calophyllum calaba) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 10

ในสวนยางพารา มีปริมาณกล้าไม้รวม 108,942,857 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 4,960.00
ต้นต่อไร่ ชนิดของกล้าไม้ท่ีพบมี 10 ชนิด ได้แก่ โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) เดื่อฉิ่ง (Ficus
botryocarpa) คลุ้ม (Donax grandis) พุดเวียน (Tabernaemontana rostrata) จิกเขา (Palaquium
maingayi) โพบาย (Balakata baccata) ชมพู่สาแหรก (Syzygium malaccense) มะไฟกา
(Baccaurea parviflora) พลับดง (Diospyros bejaudii) และ เมี่ยงหลวง (Gordonia axillaris)
รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 11

ชนิดและปริมาณของลูกไม้ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติน้าตกโยงมีจานวนมากกว่า 79 ชนิด
รวมทั้งสิ้น 78,134,286 ต้น มีความหนาแน่นของลูกไม้ 609.83 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมาก
ท่ีสุด 10 อันดับแรก ขวาด (Syzygium lineatum) โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) ยายกล้ัง
(Justicia lignostachya) หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) เข็มป่า (Ixora cibdela) เมี่ยงหลวง
(Gordonia axillaris) แดงเขา (Syzygium attenuatum) กาแซะ (Callerya atropurpurea) ราชครูดา
(Goniothalamus macrophyllus) และ กอ่ ริว้ (Castanopsis costata) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 12

27

ในป่าดิบช้ืน มีปริมาณลูกไม้รวม 72,511,429 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 683.03 ต้น
ต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณลูกไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ได้แก่ ขวาด (Syzygium lineatum) ยา
ยกลั้ง (Justicia lignostachya) หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) เข็มป่า (Ixora cibdela) โคลงเคลง
ขนต่อม (Clidemia hirta) เมี่ยงหลวง (Gordonia axillaris) แดงเขา (Syzygium attenuatum)
ราชครูดา (Goniothalamus macrophyllus) ก่อร้ิว (Castanopsis costata) และ สังหยูขาว
(Polyalthia hypoleuca) รายละเอียดดังตารางท่ี 13

ในสวนยางพารา มีปริมาณลูกไม้รวม 5,622,857 ต้น มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 256.00
ต้นต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณลูกไม้ 10 ชนิด ได้แก่ โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) กาแซะ (Callerya
atropurpurea) เด่ือฉ่ิง (Ficus botryocarpa) มะจ้าก้อง (Ardisia colorata) เนียน (Diospyros
pyrrhocarpa) ยางพารา (Hevea brasiliensis) หล่อง่าม (Macaranga triloba) เปล้าใหญ่ (Mallotus
macrostachyus) หยู าน (Xanthophyllum excelsum) และ Ficus sp. รายละเอียดดังตารางที่ 14

ชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้าตกโยง พบว่ามีไผ่อยู่ 1 ชนิด มี
จานวนรวมทั้งส้ิน 199,143 กอ (4,029,714 ลา) ได้แก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ดัง
รายละเอียด ในตารางท่ี 15

28

ตำรำงท่ี 6 ปริมำณไม้ทงั หมดของอทุ ยำนแห่งชำตินำตกโยง (30 ชนดิ แรกทีม่ ปี รมิ ำตรไม้สงู สดุ )

ลำดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ชอื่ วทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปริมำตรไม้ ควำม ปรมิ ำตร
หนำแน่น

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่

1 ไข่เขียว Parashorea stellata 298,714 516,312.31 2.33 4.03

2 เคียนทราย Shorea gratissima 380,714 359,961.08 2.97 2.81

3 ขวาด Syzygium lineatum 1,476,000 322,011.13 11.52 2.51

4 กอ่ รว้ิ Castanopsis costata 714,571 295,180.60 5.58 2.30

5 แดงเขา Syzygium attenuatum 609,143 275,754.19 4.75 2.15

6 ยางพารา Hevea brasiliensis 1,768,857 213,055.14 13.81 1.66

7 เงาะขนส้นั Nephelium ramboutan-ake 41,000 157,344.22 0.32 1.23

8 แหลชอ่ Dehaasia kurzii 486,143 151,975.81 3.79 1.19

9 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 1,066,000 146,474.89 8.32 1.14
10 จิกนม Palaquium gutta 93,714 135,297.66 0.73 1.06

11 ตะพง Endospermum diadenum 29,286 101,877.05 0.23 0.80

12 สีเสยี ดชอ่ Heritiera sumatrana 82,000 90,431.86 0.64 0.71

13 โพบาย Balakata baccata 87,857 79,170.97 0.69 0.62

14 สัตบรรณ Alstonia scholaris 23,429 66,273.70 0.18 0.52

15 ลาพูป่า Duabanga grandiflora 52,714 64,639.22 0.41 0.50

16 ตับหลาม Glyptopetalum 714,571 60,800.45 5.58 0.47
quadrangulare

17 ทองสกุ Pentace floribunda 99,571 59,653.71 0.78 0.47

18 สะทิบ Phoebe paniculata 169,857 55,633.10 1.33 0.43

19 คอแลน Nephelium melliferum 175,714 54,929.01 1.37 0.43
20 สาย Pometia ridleyi 29,286 54,052.07 0.23 0.42

21 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii 87,857 50,711.80 0.69 0.40

22 สงั เครยี ดลังสาด Aglaia tomentosa 169,857 49,371.48 1.33 0.39

23 นา้ ผึ้ง Microtropis elliptica 123,000 45,939.07 0.96 0.36

24 แลนบาน Canarium denticulatum 5,857 45,814.01 0.05 0.36

25 ก่อหมู Castanopsis nephelioides 123,000 44,839.79 0.96 0.35

26 ตะเคยี นสาม Shorea laevis 70,286 44,674.28 0.55 0.35
พอน

27 ยางเสยี น Dipterocarpus gracilis 87,857 43,776.41 0.69 0.34

28 กาแซะ Callerya atropurea 93,714 42,913.31 0.73 0.33

29 เงาะป่า Nephelium cuspidatum 123,000 39,723.74 0.96 0.31

30 สงั กะโต้ง Aglaia lawii 269,429 39,537.92 2.10 0.31

31 อน่ื ๆ Others 9,424,143 1,654,187.66 73.55 12.91

รวม (Total) 18,977,143 5,362,317.61 148.11 41.85

หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธุไ์ มท้ สี่ ารวจพบท้งั หมด 211 ชนิด

29

ตำรำงท่ี 7 ปรมิ ำณไมใ้ นป่ำดิบชนื ของอทุ ยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง (30 ชนิดแรกทีม่ ปี รมิ ำตรไมส้ ูงสดุ )

ลำดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ชอื่ วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปรมิ ำตรไม้ ควำม ปริมำตร
(ตน้ ) (ลบ.ม.) หนำแนน่

(ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata 292,857 397,388.40 2.76 3.74
2 เคยี นทราย Shorea gratissima 380,714 359,961.26 3.59 3.39
3 ขวาด Syzygium lineatum 1,476,000 322,011.07 13.90 3.03
4 ก่อร้ิว Castanopsis costata 708,714 295,000.86 6.68 2.78
5 แดงเขา Syzygium attenuatum 609,143 275,754.29 5.74 2.60
6 เงาะขนสน้ั Nephelium ramboutan-ake 41,000 157,343.94 0.39 1.48
7 แหลชอ่ Dehaasia kurzii 480,286 151,219.13 4.52 1.42
8 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 1,060,143 145,490.26 9.99 1.37
9 จกิ นม Palaquium gutta 93,714 135,297.66 0.88 1.27
10 ตะพง Endospermum diadenum 29,286 101,876.80 0.28 0.96
11 สเี สยี ดช่อ Heritiera sumatrana 76,143 90,355.21 0.72 0.85

12 โพบาย Balakata baccata 82,000 74,902.90 0.77 0.71

13 สตั บรรณ Alstonia scholaris 23,429 66,273.57 0.22 0.62

14 ลาพปู ่า Duabanga grandiflora 52,714 64,639.43 0.50 0.61

15 ตับหลาม Glyptopetalum 714,571 60,800.66 6.73 0.57
quadrangulare
99,571 59,653.83 0.94 0.56
16 ทองสุก Pentace floribunda 169,857 55,632.90 1.60 0.52
175,714 54,928.87 1.66 0.52
17 สะทิบ Phoebe paniculata 29,286 54,052.06 0.28 0.51
87,857 50,711.73 0.83 0.48
18 คอแลน Nephelium melliferum 169,857 49,371.61 1.60 0.47
123,000 45,939.33 1.16 0.43
19 สาย Pometia ridleyi 45,813.99 0.06 0.43
5,857 44,839.94 1.16 0.42
20 ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii 123,000
44,674.19 0.66 0.42
21 สังเครยี ดลังสาด Aglaia tomentosa 70,286
43,776.29 0.83 0.41
22 นา้ ผึง้ Microtropis elliptica 87,857 39,723.73 1.16 0.37
123,000 39,538.06 2.54 0.37
23 แลนบาน Canarium denticulatum 269,429 38,739.73 0.83 0.36
87,857 37,082.74 1.38 0.35
24 ก่อหมู Castanopsis nephelioides 146,429 1,541,854.20 82.87 14.52
8,797,429
25 ตะเคียนสาม Shorea laevis
พอน

26 ยางเสยี น Dipterocarpus gracilis

27 เงาะปา่ Nephelium cuspidatum

28 สังกะโต้ง Aglaia lawii

29 กาแซะ Callerya atropurea

30 พิกุลดง Palaquium dasyphyllum

31 อ่นื ๆ Others

รวม (Total) 16,687,000 4,944,648.80 157.19 46.58

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธุ์ไม้ทส่ี ารวจพบทงั้ หมด 205 ชนิด

30

ตำรำงที่ 8 ปรมิ ำณไมใ้ นสวนยำงพำรำของอทุ ยำนแห่งชำตินำตกโยง (30 ชนิดแรกที่มีปริมำตรสูงสดุ )

ลำดบั ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ช่อื วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ ปริมำตร ควำม ปริมำตร
(ต้น) (ลบ.ม) หนำแน่น (ลบ.ม./ไร่)
1 ยางพารา Hevea brasiliensis 1,628,286 205,328.00 (ตน้ /ไร่)
5,857 118,924.01 9.35
2 ไข่เขยี ว Parashorea stellata 128,857 16,097.19 74.13 5.41
41,000 14,768.20 0.27 0.73
3 มงั คุด Garcinia mangostana 11,714 14,629.97 5.87 0.67
128,857 13,658.27 1.87 0.67
4 สะตอ Parkia speciosa 5,857 7,494.80 0.53 0.62
5,857 4,268.10 5.87 0.34
5 จาปา Michelia champaca 5,857 4,173.21 0.27 0.19
0.27 0.19
6 ชะเนียง Archidendron jiringa 0.27

7 เลอื ดควาย Lindera oxyphylla

8 โพบาย Balakata baccata

9 กาแซะ Callerya atropurea

10 พระเจ้าห้า Dracontomelon dao 11,714 2,791.51 0.53 0.13
พระองค์

11 ชะมวงเลก็ Garcinia nigrolineata 5,857 2,076.36 0.27 0.09

12 กาลน Elaeocarpus 5,857 1,972.10 0.27 0.09
floribundus

13 ลางสาด Lansium domesticum 105,429 1,930.51 4.80 0.09
11,714 1,915.87 0.53 0.09
14 ทเุ รยี น Durio zibethinus 52,714 1,493.57 2.40 0.07
5,857 1,309.07 0.27 0.06
15 เนยี น Diospyros pyrrhocarpa

16 พงั แหรใหญ่ Trema orientalis

17 หว้าเขา Cleistocalyx 5,857 984.59 0.27 0.04
operculatus

18 แหลช่อ Dehaasia kurzii 5,857 756.74 0.27 0.03
29,286 557.60 1.33 0.03
19 รามใหญ่ Ardisia elliptica

20 เปล้าใหญ่ Mallotus 17,571 453.93 0.80 0.02
macrostachyus

21 พลับพลา Microcos tomentosa 5,857 297.54 0.27 0.01
5,857 258.89 0.27 0.01
22 ตะเคียนราก Shorea foxworthyi 5,857 207.34 0.27 0.01
5,857 194.46 0.27 0.01
23 ลาย Microcos paniculata 5,857 179.23 0.27 0.01
5,857 125.93 0.27 0.01
24 ดนั หมี Horsfieldia wallichii 5,857 123.59 0.27 0.01
5,857 115.39 0.27 0.01
25 ก่อริ้ว Castanopsis costata 5,857 85.51 0.27 0.00
5,857 76.14 0.27 0.00
26 แต้ว Cratoxylum maingayi 11,715 420.54 0.53 0.02
2,290,143 417,668.81 104.27 417,668.81
27 สมัก Syzygium polyanthum

28 เด่ือฉง่ิ Ficus botryocarpa

29 มะคะ Cynometra ramiflora

30 สเี สยี ดช่อ Heritiera sumatrana

31 อนื่ ๆ Others

รวม (Total)

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธไุ์ มท้ ี่สารวจพบทงั้ หมด 32 ชนิด

31

ตำรำงท่ี 9 ชนดิ และปรมิ ำณของกล้ำไม้ (Seedling) ท่พี บในอุทยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง

(30 ชนิดแรกท่ีมปี รมิ ำณสูงสุด)

ลำดับ ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชือ่ วทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ทังหมด ควำมหนำแน่น
(ตน้ /ไร่)
1 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta (ต้น) 594.29
76,142,857 466.29
338.29
2 ยายกล้งั Justicia lignostachya 59,742,857 265.14
201.14
3 ขวาด Syzygium lineatum 43,342,857 192.00
164.57
4 เมีย่ งหลวง Gordonia axillaris 33,971,429 128.00
128.00
5 ตะเคียนราก Shorea foxworthyi 25,771,429 118.86
100.57
6 เข็มป่า Ixora cibdela 24,600,000 91.43
91.43
7 เขม็ ขาว Pavetta humilis 21,085,714 91.43
91.43
8 สงั เครียดลังสาด Aglaia tomentosa 16,400,000 91.43
82.29
9 เดอื่ ฉิ่ง Ficus botryocarpa 16,400,000 82.29
82.29
10 คล้มุ Donax grandis 15,228,571 82.29
64.00
11 ราชครูดา Goniothalamus macrophyllus 12,885,714 64.00
64.00
12 พดุ เวียน Tabernaemontana rostrata 11,714,286 64.00
64.00
13 พลับดง Diospyros bejaudii 11,714,286 64.00
54.86
14 ตังหน Calophyllum calaba 11,714,286 54.86
54.86
15 เชียด Cinnamomum iners 11,714,286 54.86
941.71
16 กอ่ ร้วิ Castanopsis costata 11,714,286 5,028.57

17 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii 10,542,857

18 เตยหนู Pandanus humilis 10,542,857

19 เขม็ ใหญ่ Ixora grandifolia 10,542,857

20 กระดกู ค่าง Aporosa aurea 10,542,857

21 แหลชอ่ Dehaasia kurzii 8,200,000

22 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 8,200,000

23 มะเม่าขน Antidesma montanum 8,200,000

24 ประยงคป์ า่ Aglaia odoratissima 8,200,000

25 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 8,200,000

26 กาลังหนุมาน Dracaena conferta 8,200,000

27 สา่ เหลา้ Friesodielsia desmoides 7,028,571

28 มะไฟกา Baccaurea parviflora 7,028,571

29 ตะเคยี นสามพอน Shorea laevis 7,028,571

30 จกิ เขา Palaquium maingayi 7,028,571

31 อืน่ ๆ Others 120,657,143

รวม (Total) 644,285,714
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธก์ุ ล้าไมท้ ่สี ารวจพบทัง้ หมด 71 ชนดิ

32

ตำรำงท่ี 10 ชนิดและปริมำณของกล้ำไม้ (Seedling) ในป่ำดบิ ชนื ของอุทยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง

(30 ชนดิ แรกทมี่ ปี ริมำณสงู สุด)

ลำดับ ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ ชอื่ วิทยำศำสตร์ ปริมำณไม้ทงั หมด ควำมหนำแนน่
(ตน้ /ไร่)
(ตน้ ) 562.76
408.28
1 ยายกลัง้ Justicia lignostachya 59,742,857 308.97
242.76
2 ขวาด Syzygium lineatum 43,342,857 231.72
209.66
3 เมี่ยงหลวง Gordonia axillaris 32,800,000 198.62
154.48
4 ตะเคียนราก Shorea foxworthyi 25,771,429 121.38
110.34
5 เข็มป่า Ixora cibdela 24,600,000 110.34
110.34
6 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta 22,257,143 99.31
99.31
7 เข็มขาว Pavetta humilis 21,085,714 99.31
99.31
8 สงั เครยี ดลงั สาด Aglaia tomentosa 16,400,000 99.31
77.24
9 ราชครูดา Goniothalamus macrophyllus 12,885,714 77.24
77.24
10 ตงั หน Calophyllum calaba 11,714,286 77.24
77.24
11 กอ่ ริว้ Castanopsis costata 11,714,286 77.24
66.21
12 เชียด Cinnamomum iners 11,714,286 66.21
66.21
13 กระดกู ค่าง Aporosa aurea 10,542,857 66.21
66.21
14 พลับดง Diospyros bejaudii 10,542,857 55.17
55.17
15 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii 10,542,857 871.72
5,042.76
16 เข็มใหญ่ Ixora grandifolia 10,542,857

17 เตยหนู Pandanus humilis 10,542,857

18 มะเมา่ ขน Antidesma montanum 8,200,000

19 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 8,200,000

20 แหลช่อ Dehaasia kurzii 8,200,000

21 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 8,200,000

22 กาลังหนุมาน Dracaena conferta 8,200,000

23 ประยงคป์ ่า Aglaia odoratissima 8,200,000

24 แกงเลยี งใหญ่ Psydrax dicocca 7,028,571

25 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata 7,028,571

26 เคียนทราย Shorea gratissima 7,028,571

27 ตะเคียนสามพอน Shorea laevis 7,028,571

28 ส่าเหลา้ Friesodielsia desmoides 7,028,571

29 มะไฟกา Baccaurea parviflora 5,857,143

30 แดงเขา Syzygium attenuatum 5,857,143

31 อนื่ ๆ Others 92,542,857

รวม (Total) 535,342,857

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์กล้าไมท้ ่ีสารวจพบทงั้ หมด 67 ชนิด

33

ตำรำงท่ี 11 ชนดิ และปริมำณของกล้ำไม้ (Seedling) ในสวนยำงพำรำของอุทยำนแหง่ ชำตินำตกโยง

ลำดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ช่ือวทิ ยำศำสตร์ ปริมำณไมท้ งั หมด ควำมหนำแนน่
(ตน้ /ไร่)
(ต้น) 2,453.33
693.33
1 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta 53,885,714 693.33
533.33
2 เด่ือฉิ่ง Ficus botryocarpa 15,228,571 160.00
160.00
3 คลุ้ม Donax grandis 15,228,571 106.67
53.33
4 พุดเวียน Tabernaemontana rostrata 11,714,286 53.33
53.33
5 จิกเขา Palaquium maingayi 3,514,286 4,960.00

6 โพบาย Balakata baccata 3,514,286

7 ชมพูส่ าแหรก Syzygium malaccense 2,342,857

8 มะไฟกา Baccaurea parviflora 1,171,429

9 พลับดง Diospyros bejaudii 1,171,429

10 เมีย่ งหลวง Gordonia axillaris 1,171,429

รวม (Total) 108,942,857

34

ตำรำงที่ 12 ชนิดและปรมิ ำณของลูกไม้ (Sapling) ทพี่ บในอุทยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง

(30 ชนิดแรกท่มี ีปริมำณสูงสุด)

ลำดบั ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ชอื่ วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไมท้ งั หมด ควำมหนำแนน่

(ต้น) (ตน้ /ไร่)

1 ขวาด Syzygium lineatum 6,794,286 53.03

2 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta 5,271,429 41.14

3 ยายกลั้ง Justicia lignostachya 4,217,143 32.91

4 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 3,865,714 30.17

5 เขม็ ปา่ Ixora cibdela 3,865,714 30.17

6 เมี่ยงหลวง Gordonia axillaris 2,225,714 17.37

7 แดงเขา Syzygium attenuatum 2,108,571 16.46

8 กาแซะ Callerya atropurea 2,108,571 16.46

9 ราชครดู า Goniothalamus macrophyllus 1,874,286 14.63

10 ก่อร้วิ Castanopsis costata 1,874,286 14.63

11 สงั หยูขาว Polyalthia hypoleuca 1,757,143 13.71

12 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 1,757,143 13.71

13 ตบั หลาม Glyptopetalum quadrangulare 1,757,143 13.71

14 ส่ังทา Diospyros buxifolia 1,522,857 11.89

15 จกิ เขา Palaquium maingayi 1,522,857 11.89

16 สังเครียดลงั สาด Aglaia tomentosa 1,405,714 10.97

17 กระดูกค่าง Aporosa aurea 1,405,714 10.97

18 ชมพูส่ าแหรก Syzygium malaccense 1,288,571 10.06

19 สงั กะโตง้ Aglaia lawii 1,171,429 9.14

20 เนียน Diospyros pyrrhocarpa 1,171,429 9.14

21 มะเม่าขน Antidesma montanum 1,054,286 8.23

22 พาโหมตน้ Saprosma brunneum 1,054,286 8.23

23 เคยี นทราย Shorea gratissima 1,054,286 8.23

24 ไข่เขยี ว Parashorea stellata 1,054,286 8.23

25 เขม็ ขาว Pavetta humilis 1,054,286 8.23

26 อาศยั Ixonanthes icosandra 937,143 7.31

27 ยางพารา Hevea brasiliensis 937,143 7.31

28 ประยงค์ปา่ Aglaia odoratissima 937,143 7.31

29 เชยี ด Cinnamomum iners 937,143 7.31

30 เขม็ ใหญ่ Ixora grandifolia 937,143 7.31

31 อนื่ ๆ Others 19,211,429 149.94

รวม (Total) 78,134,286 609.83

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธล์ุ กู ไม้ท่ีสารวจพบทั้งหมด 79 ชนิด

35

ตำรำงท่ี 13 ชนิดและปรมิ ำณของลกู ไม้ (Sapling) ในป่ำดบิ ชนื ของอทุ ยำนแหง่ ชำตนิ ำตกโยง

(30 ชนิดแรกทีม่ ปี ริมำณสงู สุด)

ลำดับ ชนิดพันธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณไมท้ งั หมด ควำมหนำแนน่

(ต้น) (ต้น/ไร่)

1 ขวาด Syzygium lineatum 6,794,286 64.00

2 ยายกล้งั Justicia lignostachya 4,217,143 39.72

3 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 3,865,714 36.41

4 เขม็ ป่า Ixora cibdela 3,865,714 36.41

5 โคลงเคลงขนตอ่ ม Clidemia hirta 3,162,857 29.79

6 เมี่ยงหลวง Gordonia axillaris 2,225,714 20.97

7 แดงเขา Syzygium attenuatum 2,108,571 19.86

8 ราชครดู า Goniothalamus macrophyllus 1,874,286 17.66

9 กอ่ ริ้ว Castanopsis costata 1,874,286 17.66

10 สงั หยูขาว Polyalthia hypoleuca 1,757,143 16.55

11 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 1,757,143 16.55

12 เปล้าใหญ่ Mallotus macrostachyus 1,640,000 15.45

13 สัง่ ทา Diospyros buxifolia 1,522,857 14.34

14 จกิ เขา Palaquium maingayi 1,522,857 14.34

15 สงั เครียดลังสาด Aglaia tomentosa 1,405,714 13.24

16 กระดกู คา่ ง Aporosa aurea 1,405,714 13.24

17 ชมพู่สาแหรก Syzygium malaccense 1,288,571 12.14

18 สงั กะโตง้ Aglaia lawii 1,171,429 11.03

19 มะเมา่ ขน Antidesma montanum 1,054,286 9.93

20 พาโหมตน้ Saprosma brunneum 1,054,286 9.93

21 เคียนทราย Shorea gratissima 1,054,286 9.93

22 ไข่เขยี ว Parashorea stellata 1,054,286 9.93

23 เข็มขาว Pavetta humilis 1,054,286 9.93

24 อาศยั Ixonanthes icosandra 937,143 8.83

25 ประยงค์ป่า Aglaia odoratissima 937,143 8.83

26 เชยี ด Cinnamomum iners 937,143 8.83

27 เขม็ ใหญ่ Ixora grandifolia 937,143 8.83

28 สงั เครียดกล้อง Aglaia argentea 820,000 7.72

29 เนยี น Diospyros pyrrhocarpa 820,000 7.72

30 กาแซะ Callerya atropurea 820,000 7.72

31 อื่นๆ Others 17,571,429 165.52

รวม (Total) 72,511,429 683.03
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ลุ ูกไมท้ ี่สารวจพบทงั้ หมด 78 ชนิด

36

ตำรำงท่ี 14 ชนิดและปรมิ ำณของลูกไม้ (Sapling) ในสวนยำงพำรำของอทุ ยำนแห่งชำตินำตกโยง

ลำดบั ชนดิ พันธ์ุไม้ ช่ือวทิ ยำศำสตร์ ปรมิ ำณไม้ทงั หมด ควำมหนำแน่น

(ตน้ ) (ตน้ /ไร่)

1 โคลงเคลงขนต่อม Clidemia hirta 2,108,571 96.00
58.67
2 กาแซะ Callerya atropurea 1,288,571 32.00
21.33
3 เด่อื ฉ่งิ Ficus botryocarpa 702,857 16.00
10.67
4 มะจ้าก้อง Ardisia colorata 468,571 5.33
5.33
5 เนียน Diospyros pyrrhocarpa 351,429 5.33
5.33
6 ยางพารา Hevea brasiliensis 234,286 256.00

7 หล่อง่าม Macaranga triloba 117,143

8 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 117,143

9 หยู าน Xanthophyllum excelsum 117,143

10 Ficus sp. Ficus sp. 117,143

รวม (Total) 5,622,857

ตำรำงท่ี 15 ชนิดและปริมำณของไมไ้ ผ่ ทพ่ี บในอทุ ยำนแหง่ ชำตินำตกโยง

ลำดับ ชนดิ พันธไ์ุ ผ่ ชือ่ วิทยำศำสตร์ ปรมิ ำณไมไ้ ผท่ งั หมด

จำนวนกอ จำนวนลำ

1 ไผผ่ ากมนั Gigantochloa hasskarliana 199,143 4,029,714

รวม (Total) 199,143 4,029,714

หมายเหตุ : * ไม่พบหวายทีม่ ลี าต้นตงั้ ตรง

37

5. ขอ้ มลู สังคมพืช
จากผลการสารวจเก็บและวเิ คราะห์ขอ้ มลู สังคมพืชในอทุ ยานแหง่ ชาตนิ า้ ตกโยง พบว่ามีสังคมพืช

2 ประเภท คือ ป่าดิบช้ืน และ สวนยางพารา และจากวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบความหนาแน่นของพรรณพืช
(Density) ความถ่ี (Frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนีความสาคัญของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้

5.1 ปำ่ ดิบชนื
ชนดิ ไมม้ ีความหนาแน่น (Density) มากที่สุด คือ ขวาด (Syzygium lineatum) ซึ่งมีค่าความหนาแน่น
ต่อเฮคแตร์เท่ากับ 86.90 รองลงมา คือ หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) มีค่าความหนาแน่นต่อเฮคแตร์
เท่ากบั 62.41

ชนิดไม้ท่ีมคี วามถ่ี (Frequency) มากทีส่ ุด คือ หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) ซงึ่ มคี า่ ความถี่
เทา่ กบั 96.55 รองลงมา คือ กอ่ ร้วิ (Castanopsis costata) มีค่าความถ่ีเท่ากับ 86.21

ชนิดไมท้ ีม่ คี วามเด่น (Dominance) มากที่สุด คือ ขวาด (Syzygium lineatum) ซ่ึงมีค่าความเด่น
เท่ากับ 0.07 รองลงมา คือ ก่อร้ิว (Castanopsis costata) แดงเขา (Syzygium attenuatum) และเคียนทราย
(Shorea gratissima) มคี ่าความเด่นเท่ากัน คือ 0.06

ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative Density) มากที่สุด คือ ขวาด (Syzygium lineatum)
ซึง่ มีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์เท่ากับ 8.85 รองลงมา คือ หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) มีค่าความ
หนาแนน่ สมั พทั ธ์เทา่ กับ 6.35

ชนิดไม้ที่มีความถ่ีสัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากที่สุด คือ หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus)
ซึง่ มีค่าความถี่เทา่ กบั 2.70 รองลงมา ก่อริว้ (Castanopsis costata) ซึง่ มีค่าความถสี่ มั พัทธเ์ ท่ากับ 2.41

ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากท่ีสุด คือ ขวาด (Syzygium lineatum)
ซึ่งมีคา่ ความเด่นสัมพัทธ์เท่ากับ 7.31 รองลงมา คือ เคียนทราย (Shorea gratissima) มีค่าความเด่นสัมพัทธ์
เท่ากับ 6.25

ในพ้นื ท่ปี า่ ดบิ ชนื้ มีชนดิ ไม้ท่ีมคี ่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ขวาด (Syzygium lineatum) ก่อร้ิว (Castanopsis costata) หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) แดงเขา
(Syzygium attenuatum) เคียนทราย (Shorea gratissima) ไข่เขียว (Parashorea stellata) แหลช่อ
(Dehaasia kurzii) ตับหลาม (Glyptopetalum quadrangulare) แกงเลียงใหญ่ (Psydrax dicocca) และ
จกิ เขา (Palaquium maingayi) ดงั รายละเอียดในตารางที่ 16

38

5.2 สวนยำงพำรำ

ชนิดไมม้ ีความหนาแน่น (Density) มากท่สี ดุ คือ ยางพารา (Hevea brasiliensis) ซึ่งมีค่าความ
ความหนาแน่นต่อเฮคแตร์เท่ากับ 463.33 รองลงมา คือ ชะเนียง (Archidendron jiringa) และมังคุด (Garcinia
mangostana) มคี ่าความหนาแนน่ ตอ่ เฮคแตร์เท่ากัน คือ 36.67

ชนดิ ไม้ทม่ี ีความถ่ี (Frequency) มากท่ีสดุ คือ ยางพารา (Hevea brasiliensis) ซึ่งมีค่าความถ่ี
เท่ากบั 100.00 รองลงมา คือ ชะเนยี ง (Archidendron jiringa) มีคา่ ความถ่เี ทา่ กบั 66.67

ชนดิ ไม้ท่มี คี วามเดน่ (Dominance) มากทส่ี ดุ คอื ยางพารา (Hevea brasiliensis) ซ่ึงมคี ่าความ
เดน่ เท่ากับ 0.61 รองลงมา คอื ไขเ่ ขียว (Parashorea stellata) มคี ่าความเดน่ เท่ากับ 0.14

ชนดิ ไม้ทีม่ ีความหนาแนน่ สมั พัทธ์ (Relative Density) มากท่ีสุด คือ ยางพารา (Hevea brasiliensis)
ซึ่งมีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์เท่ากับ 71.10 รองลงมา คือ ชะเนียง (Archidendron jiringa) และมังคุด (Garcinia
mangostana) มคี า่ ความหนาแนน่ สมั พัทธ์เท่ากัน คอื 5.63

ชนิดไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency) มากท่ีสุด คือ ยางพารา (Hevea brasiliensis)
ซงึ่ มีค่าความถเ่ี ทา่ กับ 12.50 รองลงมา ชะเนียง (Archidendron jiringa) ซึ่งมีค่าความถี่สัมพัทธ์เทา่ กบั 8.33

ชนิดไม้ท่ีมีความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance) มากที่สุด คือ ยางพารา (Hevea brasiliensis)
ซึ่งมีค่าความเด่นสัมพัทธ์เท่ากับ 61.29 รองลงมา คือ ไข่เขียว (Parashorea stellata) มีค่าความเด่นสัมพัทธ์
เทา่ กบั 14.22

ในพ้นื ทีส่ วนยางพารา มชี นิดไม้ที่มคี ่าดชั นีความสาคัญของชนดิ ไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ยางพารา (Hevea brasiliensis) ชะเนียง (Archidendron jiringa) มังคุด (Garcinia mangostana) ไข่เขียว
(Parashorea stellata) ลางสาด (Lansium domesticum) สะตอ (Parkia speciosa) เนียน (Diospyros
pyrrhocarpa) จาปา (Michelia champaca) เลือดควาย (Lindera oxyphylla) และ รามใหญ่ (Ardisia
elliptica) ดงั รายละเอยี ดในตารางที่ 17

ตำรำงที่ 16 ดชั นคี วำมสำคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Ind

ลำดบั ชนิดพนั ธ์ไุ ม้ ชื่อวทิ ยำศำสตร์ จำนวน ควำมหนำแนน่ แปลง
(ตน้ ) (ตน้ /เฮคแตร์) พบ
1 ขวาด Syzygium lineatum 252 24
2 กอ่ ริ้ว Castanopsis costata 121 86.90 25
41.72

3 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 181 62.41 28

4 แดงเขา Syzygium attenuatum 104 35.86 18

5 เคียนทราย Shorea gratissima 65 22.41 18

6 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata 50 17.24 18

7 แหลช่อ Dehaasia kurzii 82 28.28 19

8 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 122 42.07 16

9 แกงเลียงใหญ่ Psydrax dicocca 84 28.97 21

10 จกิ เขา Palaquium maingayi 59 20.34 18

11 สังกะโตง้ Aglaia lawii 46 15.86 14

12 คอแลน Nephelium melliferum 30 10.34 13

13 สงั เครียดลงั สาด Aglaia tomentosa 29 10.00 15

14 กระเบา Hydnocarpus sumatrana 40 13.79 15

15 จิกนม Palaquium gutta 16 5.52 7

16 เนียน Diospyros pyrrhocarpa 35 12.07 17

17 สะทบิ Phoebe paniculata 29 10.00 9

18 พิกลุ ดง Palaquium dasyphyllum 25 8.62 13

19 มะเม่าขน Antidesma montanum 38 13.10 14

20 ซอ้ Gmelina arborea 34 11.72 12

21 อนื่ ๆ Others 1,407 485.17 29

รวม 2,849 982.41

39

dex : IVI) ของป่ำดิบชนื ในอุทยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง (20 อันดบั แรก)

ควำมถ่ี พนื ท่ีหน้ำตดั ควำมเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI
(ตร.ม.)
82.76 7.11 0.07 8.85 2.31 7.31 18.47
86.21 6.05 0.06 4.25 2.41 6.22 12.88
3.51 12.56
96.55 3.41 0.04 6.35 2.70 5.81 11.20
6.25 10.27
62.07 5.65 0.06 3.65 1.74 5.31 8.81
3.32 8.03
62.07 6.08 0.06 2.28 1.74 1.63 7.46
0.71 5.68
62.07 5.17 0.05 1.76 1.74 0.74 4.55
1.03 4.00
65.52 3.22 0.03 2.88 1.83 1.26 3.57
1.06 3.52
55.17 1.59 0.02 4.28 1.54 0.44 3.29
2.04 3.27
72.41 0.69 0.01 2.95 2.03 0.38 3.25
1.25 3.14
62.07 0.72 0.01 2.07 1.74 0.88 3.01
0.26 2.94
48.28 1.01 0.01 1.61 1.35 0.57 2.92
50.01 167.19
44.83 1.23 0.01 1.05 1.25 100.00 300.00

51.72 1.03 0.01 1.02 1.45

51.72 0.43 0.00 1.40 1.45

24.14 1.98 0.02 0.56 0.68

58.62 0.37 0.00 1.23 1.64

31.03 1.22 0.01 1.02 0.87

44.83 0.86 0.01 0.88 1.25

48.28 0.25 0.00 1.33 1.35

41.38 0.56 0.01 1.19 1.16

2,424.14 48.65 0.50 49.39 67.79

3,575.86 97.28 1.00 100.00 100.00

ตำรำงท่ี 17 ดัชนคี วำมสำคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Ind

ลำดบั ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ช่ือวิทยำศำสตร์ จำนวน ควำมหนำแน่น แปลง ค

(ตน้ ) (ต้น/เฮคแตร์) พบ

1 ยางพารา Hevea brasiliensis 278 463.33 6 1

2 ชะเนียง Archidendron jiringa 22 36.67 4

3 มังคดุ Garcinia mangostana 22 36.67 3

4 ไข่เขยี ว Parashorea stellata 1 1.67 1

5 ลางสาด Lansium domesticum 18 30.00 3

6 สะตอ Parkia speciosa 7 11.67 3

7 เนยี น Diospyros pyrrhocarpa 9 15.00 3

8 จาปา Michelia champaca 2 3.33 1

9 เลือดควาย Lindera oxyphylla 1 1.67 1

10 รามใหญ่ Ardisia elliptica 5 8.33 1

11 พระเจ้าหา้ พระองค์ Dracontomelon dao 2 3.33 1

12 โพบาย Balakata baccata 1 1.67 1

13 กาแซะ Callerya atropurea 1 1.67 1

14 ทเุ รียน Durio zibethinus 2 3.33 1

15 เปลา้ ใหญ่ Mallotus macrostachyus 3 5.00 1

16 ชะมวงเลก็ Garcinia nigrolineata 1 1.67 1

17 กาลน Elaeocarpus floribundus 1 1.67 1

18 พงั แหรใหญ่ Trema orientalis 1 1.67 1

19 หว้าเขา Cleistocalyx operculatus 1 1.67 1

20 แหลช่อ Dehaasia kurzii 1 1.67 1

21 อน่ื ๆ Others 12 20.00 6 2

รวม 391 651.67 8

40

dex : IVI) ของสวนยำงพำรำในอทุ ยำนแหง่ ชำตินำตกโยง (20 อันดบั แรก)

ควำมถ่ี พนื ท่ีหนำ้ ตดั ควำมเด่น RDensity RFrequency RDominance IVI

(ตร.ม.)

100.00 5.71 0.61 71.10 12.50 61.29 144.89
4.10 18.06
66.67 0.38 0.04 5.63 8.33 4.82 16.69
14.22 16.56
50.00 0.45 0.05 5.63 6.25 0.83 11.69
3.14 11.18
16.67 1.32 0.14 0.26 2.08 0.59 9.14
2.82 5.41
50.00 0.08 0.01 4.60 6.25 1.60 3.94
0.24 3.61
50.00 0.29 0.03 1.79 6.25 0.75 3.35
1.01 3.34
50.00 0.06 0.01 2.30 6.25 0.99 3.33
0.58 3.18
16.67 0.26 0.03 0.51 2.08 0.18 3.04
0.55 2.89
16.67 0.15 0.02 0.26 2.08 0.53 2.87
0.38 2.72
16.67 0.02 0.00 1.28 2.08 0.30 2.64
0.24 2.58
16.67 0.07 0.01 0.51 2.08 0.83 28.90
100.00 300.00
16.67 0.09 0.01 0.26 2.08

16.67 0.09 0.01 0.26 2.08

16.67 0.05 0.01 0.51 2.08

16.67 0.02 0.00 0.77 2.08

16.67 0.05 0.01 0.26 2.08

16.67 0.05 0.01 0.26 2.08

16.67 0.04 0.00 0.26 2.08

16.67 0.03 0.00 0.26 2.08

16.67 0.02 0.00 0.26 2.08

200.00 0.08 0.01 3.07 25.00

800.00 9.32 1.00 100.00 100.00

41

6. ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ

จากผลการสารวจและวิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ป่าดิบชื้น มี
ค่าความหลากหลายของชนิดพันธ์ุ (Species Diversity) ค่าความมากมาย (Species Richness) และค่า
ความสม่าเสมอ (Species Evenness) ของชนิดพันธุ์ไม้ มากท่ีสุดคือ 4.34 0.81 และ 25.95 ตามลาดับ
รายละเอยี ดดังตารางท่ี 18

ตำรำงท่ี 18 ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของชนิดพันธไุ์ ม้อทุ ยำนแหง่ ชำตินำตกโยง

ลักษณะกำรใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ (Biodiversity)
(Landuse Type)
ควำมหลำกหลำย ควำมสม่ำเสมอ ควำมมำกมำย
ป่าดิบชื้น
(Tropical Evergreen Forest) (Diversity) (Evenness) (Richness)
สวนยางพารา
(Rubber) 4.34 0.81 25.95

อทุ ยำนแห่งชำตนิ ำตกโยง 1.37 0.40 5.19

4.28 0.80 25.93

42

สรปุ ผลกำรสำรวจและวิเครำะหข์ อ้ มลู ทรัพยำกรปำ่ ไม้
จากการวางแปลงตัวอย่างถาวรเพ่ือเก็บข้อมูลและสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพื้นท่ี
อทุ ยานแห่งชาตนิ ้าตกโยง ซ่ึงมีเนื้อท่ี 128,125 ไร่ หรือ 205 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่ป่าใน
เขตตาบลชา้ งกลาง อาเภอฉวาง (ปัจจุบันเปล่ียนเป็นอาเภอช้างกลาง) ตาบลเขาแก้ว ตาบลลาน
สกา อาเภอลานสกา ตาบลนาบอน อาเภอนาบอน ตาบลนาหลวงเสน ตาบลถ้าใหญ่ อาเภอทุ่งสง และ
ตาบลหนิ ตก ตาบลร่อนพิบูลย์ อาเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
ของสานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ี 5 (นครศรีธรรมราช) จานวน 35 แปลงตัวอย่าง สาหรับการวางแปลง
ตวั อย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มขี นาดคงท่ี รปู วงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักทั้ง 4 ทิศ และทา
การเก็บข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ต่างๆ อาทิเช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จานวน
กล้าไม้และลูกไม้ ชนิดป่า ลักษณะต่างๆ ของพื้นที่ท่ีต้นไม้ข้ึนอยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น
ระดับความสูง ความลาดชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่
หวาย ไม้พุ่ม ไม้เถา เถาวัลย์ และพืชช้ันล่าง แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานภาพ
ทรพั ยากรป่าไม้ ท้งั นเี้ พ่อื ใหท้ ราบถงึ จานวนพืน้ ทปี่ า่ ไม้ ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน ชนิดไม้ ปริมาตร
ปริมาณและความหนาแน่นของหมูไ่ ม้ กาลังผลิตของป่า ตลอดจนการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติของไม้
โดยใช้โปรแกรมประมวลผลข้อมูลระบบสารสนเทศ การสารวจทรัพยากรป่าไม้ ของส่วนสารวจและ
วิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพฒั นาพื้นที่อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์ุ
พืช สรปุ ผลไดด้ ังนี้

1. ลกั ษณะกำรใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน

พบชนิดปา่ หรอื ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่าดิบช้นื และ สวน
ยางพารา โดยปา่ ดิบชื้นพบมากที่สุด มีเนื้อท่ี 106,160.71 ไร่ หรือ 169.86 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อย
ละ 82.86 ของพ้ืนที่ทั้งหมด รองลงมา คือ สวนยางพารา มีเน้ือท่ี 21,964.29 ไร่ หรือ 35.14 ตาราง
กโิ ลเมตร คดิ เปน็ ร้อยละ 17.14 ของพน้ื ที่ทัง้ หมด
2. ชนดิ พันธุ์และปรมิ ำณไมย้ ืนต้น (Trees)

ชนิดพันธุ์ไม้ที่พบในแปลงสารวจ มีจานวน 53 วงศ์ มากกว่า 211 ชนิด โดย
เรียงลาดับจากจานวนต้น ท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ยางพารา (Hevea
brasiliensis) ขวาด (Syzygium lineatum) หว้าเขา (Cleistocalyx operculatus) ก่อริ้ว
(Castanopsis costata) ตับหลาม (Glyptopetalum quadrangulare) แดงเขา (Syzygium
attenuatum) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) เคียนทราย (Shorea gratissima) ไข่เขียว (Parashorea
stellata) และ สังกะโต้ง (Aglaia lawii) ตามลาดับ แต่เม่ือเรียงลาดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหา
น้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว (Parashorea stellata) เคียนทราย (Shorea gratissima) ขวาด
(Syzygium lineatum) ก่อร้ิว (Castanopsis costata) แดงเขา (Syzygium attenuatum) เงาะขนสั้น
(Nephelium ramboutan-ake) แหลช่อ (Dehaasia kurzii) หว้าเขา (Cleistocalyxoperculatus) จิกนม
(Palaquium gutta) และ ตะพง (Endospermum diadenum) ตามลาดับ

43

3. ชนิดพันธุ์และปรมิ ำณกล้ำไม้ (Seedling) และลกู ไม้ (Sapling)

จากการวิเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกับกล้าไม้ (Seedling) ซ่ึงเป็นกาลังผลิตที่สาคัญที่จะข้ึนมา
ทดแทนสงั คมพชื ไมย้ ืนต้นตอ่ ไปในอนาคตรวมทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่ได้ทาการสารวจ พบว่า มี
ชนิดของกล้าไม้ (Seedling) มากกว่า 71 ชนิด รวมจานวนท้ังหมด 6,442,857 ต้น ซ่ึงเม่ือเรียงลาดับจาก
จานวนต้นที่พบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) ยา
ยกล้ัง (Justicia lignostachya) ขวาด (Syzygium lineatum) เมี่ยงหลวง (Gordonia axillaris)
ตะเคียนราก (Shorea foxworthyi) เข็มป่า (Ixora cibdela) เข็มขาว (Pavetta humilis) สังเครียดลังสาด
(Aglaia tomentosa) เดื่อฉิ่ง (Ficus botryocarpa) และคลุ้ม (Donax grandis) ตามลาดับ ป่าที่สารวจ
พบจานวนกลา้ ไม้มากท่สี ุด คอื ปา่ ดิบชน้ื รองลงมา คือ สวนยางพารา

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับลูกไม้ (Sapling) ซึ่งเป็นกาลังผลิตที่สาคัญท่ีจะข้ึนมาทดแทน
สงั คมพชื ไม้ยืนตน้ ต่อไปในอนาคต รวมทุกลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ทไี่ ด้ทาการสารวจ การวิเคราะห์
ข้อมูลเกี่ยวกับลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสารวจมีมากกว่า 79 ชนิด รวมจานวนทั้งหมด 78,134,286
ต้น ซึ่งเม่ือเรียงลาดับจากจานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ขวาด (Syzygium
lineatum) โคลงเคลงขนต่อม (Clidemia hirta) ยายกล้ัง (Justicia lignostachya) หว้าเขา
(Cleistocalyx operculatus) เข็มป่า (Ixora cibdela) เม่ียงหลวง (Gordonia axillaris) แดงเขา
(Syzygium attenuatum) กาแซะ (Callerya atropurea) ราชครูดา (Goniothalamus macrophyllus)
และ ก่อริ้ว (Castanopsis costata) ตามลาดับ ป่าที่สารวจพบจานวนลูกไม้มากท่ีสุด คือ ป่าดิบช้ืน
รองลงมา คอื สวนยางพารา

4. ชนิดพันธ์ุและปรมิ ำณของไมไ้ ผ่ หวำย และไม้กอ

ชนิดและปริมาณของไมไ้ ผ่ ในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาตนิ า้ ตกโยงพบว่ามไี ผอ่ ยู่ 1 ชนิด มี
จานวนรวมท้งั สน้ิ 199,413 กอ (4,029,714 ลา) ไดแ้ ก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana)

44

5. ค่ำดัชนีควำมสำคญั ทำงนเิ วศวิทยำ

จากผลการสารวจเก็บและวเิ คราะหข์ ้อมลู สังคมพืชในอุทยานแหง่ ชาตินา้ ตกโยง พบว่ามี
สงั คมพชื 2 ประเภท คอื ปา่ ดบิ ชนื้ และสวนยางพารา จากวเิ คราะห์ขอ้ มลู สงั คมพชื สรุปไดด้ ังนี้

ในพ้ืนท่ีป่าดิบช้ืน มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับ
แรก ได้แก่ ขวาด (Syzygium lineatum) ก่อริ้ว (Castanopsis costata) หว้าเขา (Cleistocalyx
operculatus) แดงเขา (Syzygium attenuatum) เคียนทราย (Shorea gratissima) ไข่เขียว
(Parashorea stellata) แหลช่อ(Dehaasia kurzii) ตับหลาม (Glyptopetalum quadrangulare)
แกงเลยี งใหญ่ (Psydrax dicocca) จกิ เขา (Palaquium maingayi)

ในพนื้ ท่ีสวนยางพารา มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับ
แรก ได้แก่ ยางพารา (Hevea brasiliensis) ชะเนียง (Archidendron jiringa) มังคุด (Garcinia
mangostana) ไข่เขียว (Parashorea stellata) ลางสาด (Lansium domesticum) สะตอ (Parkia
speciosa) เนียน (Diospyros pyrrhocarpa) จาปา (Michelia champaca) เลือดควาย (Lindera
oxyphylla) และ รามใหญ่ (Ardisia elliptica)

6. ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ

ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความ
หลากหลายของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือ ป่าดิบช้ืน รองลงมา คือ สวน
ยางพารา ซง่ึ ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ท่มี คี วามมากมายของชนดิ พนั ธ์ุไม้ (Species Richness) มาก
ทส่ี ุด คือ ป่าดิบชน้ื รองลงมา คือ สวนยางพารา และลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินที่มีความสม่าเสมอของ
ชนดิ พนั ธุไ์ ม้ (Species Evenness) มากท่สี ุด คือ ปา่ ดิบชนื้ รองลงมา คือ สวนยางพารา

7. ขนำดควำมโตของต้นไมใ้ นป่ำ

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลโครงสร้างปา่ ทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน พบว่า มีไม้ยืนต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จานวน 12,505,000 ต้น คิดเป็นร้อยละ
65.90 ของไม้ทั้งหมด ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร มี
จานวน 4,791,143 ตน้ คดิ เปน็ ร้อยละ 25.25 ของไม้ทั้งหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก
(GBH) มากกวา่ 100 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป จานวน 1,681,000 ต้น คดิ เป็นร้อยละ 8.86 ของไม้ทั้งหมด

8. ปัจจยั ทีม่ ผี ลกระทบต่อพนื ที่ป่ำ

จากการสารวจผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ ในแปลงตัวอยา่ ง พบว่า พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติน้าตก
โยง อยู่ในระดับเตือนภัย (Warning) เนื่องจากแปลงสารวจท่ีตรวจพบมีการครอบครองทาประโยชน์
ปลกู พชื ผลอาสินและครอบครองตอ่ เน่ือง คิดเป็นร้อยละ 17.14 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด และมีแนวโน้มให้มีการ
บุกรกุ ปา่ เพิม่ มากขึน้ เนื่องจากพืชเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา มังคุดและทุเรียน ให้ผลผลิตที่ดีและมีราคา
แพง

45

ปัญหำและอุปสรรค

ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏิบตั งิ าน ได้แก่

1. พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติน้าตกโยงเป็นป่าดิบช้ืนมีพรรณไม้ท่ีสูงใหญ่ มีเรือนยอดกว้างและทึบ
เปน็ อปุ สรรคในการจาแนกชนดิ ไม้ ทาให้มตี ้นไม้หลายชนดิ ที่ยงั ไม่ทราบชนดิ

2. สภาพอากาศในปัจจุบนั เปล่ียนแปลงไปมาก บางช่วงมีฝนตกหนักไม่สามารถออกปฏิบัติงาน
ไดต้ ามแผนปฏบิ ัติงานที่วางไว้

3. ผู้รู้หรือผเู้ ชยี่ วชาญด้านพรรณไม้มนี อ้ ย ทาให้การปฏิบัตงิ านด้านการสารวจลา่ ช้า
4. ไม่มีรถยนตร์ าชการใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน

ขอ้ เสนอแนะ

เพื่อใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านมีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้ จึงมีขอ้ เสนอแนะดังนี้
1. ควรจะมีช่องทางในการแลกเปล่ียนความรู้ ความเข้าใจหรือสร้างเครือข่ายทางด้าน
พฤกษศาสตร์ทเ่ี ขา้ ถึงได้ง่ายและรวดเรว็ เพื่อให้การปฏิบตั งิ านมีประสิทธิภาพย่งิ ขึ้น
2. ควรจะมีคู่มือสาหรับการจาแนกชนิดไม้พร้อมภาพประกอบ ในแต่ละพื้นท่ีเพื่อใช้เป็นคู่มือ
พ้นื ฐานในการจาแนกชนดิ ไม้
3. ในการสารวจแปลงท่ไี ดส้ ารวจไปแล้ว หรือตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงการสารวจทรพั ยากรป่าไม้
ควรท่จี ะหาหมดุ เดิมใหเ้ จอเพ่อื ใช้เป็นฐานข้อมลู ในการหากาลงั ผลิตของปา่
4. ในการปฏิบัตงิ านภาคสนามควรวางแผนการสารวจใหเ้ สรจ็ สนิ้ ก่อนฤดฝู น

46

ภำคผนวก

ตำรำงผนวกที่ 1 ชนดิ และปรมิ ำณไม้ (Tree) ทังหมดในอทุ ยำนแห่งชำตินำตกโยง

ลำดับ ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชื่อวทิ ยำศำสตร์ ปำ่ ดิบชืน
จำนวน (ตน้ ) ปร
1 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata
2 เคียนทราย Shorea gratissima 292,857
3 ขวาด Syzygium lineatum 380,714
4 กอ่ รวิ้ Castanopsis costata 1,476,000
5 แดงเขา Syzygium attenuatum 708,714
6 ยางพารา Hevea brasiliensis 609,143
7 เงาะขนสน้ั Nephelium ramboutan-ake 140,571
8 แหลช่อ Dehaasia kurzii 41,000
9 หวา้ เขา Cleistocalyx operculatus 480,286
10 จกิ นม Palaquium gutta 1,060,143
11 ตะพง Endospermum diadenum 93,714
12 สีเสียดช่อ Heritiera sumatrana 29,286
13 โพบาย Balakata baccata 76,143
14 สัตบรรณ Alstonia scholaris 82,000
15 ลาพูปา่ Duabanga grandiflora 23,429
16 ตับหลาม Glyptopetalum quadrangulare 52,714
17 ทองสกุ Pentace floribunda 714,571
18 สะทบิ Phoebe paniculata 99,571
19 คอแลน Nephelium melliferum 169,857
20 สาย Pometia ridleyi 175,714
21 ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii 29,286
22 สงั เครยี ดลังสาด Aglaia tomentosa 87,857
169,857


Click to View FlipBook Version