บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหำร
จากสถานการณ์ป่าไม้ในปจั จบุ ันพบวา่ พ้นื ท่ีปา่ ไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณรอ้ ยละ 31.57 ของ
พ้นื ท่ปี ระเทศ การดาเนนิ การสารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหน่ึงที่ทาให้ทราบถึงสถานภาพและศักยภาพของ
ทรพั ยากร ตลอดจนปจั จัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มผี ลต่อการบกุ รกุ ทาลายป่า เพื่อนามาใช้ในการดาเนินการตาม
ภาระรบั ผิดชอบต่อไป ซงึ่ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธุพ์ ชื ได้ดาเนนิ การมาอย่างต่อเน่อื ง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการ
ดาเนนิ งาน และกาหนดจดุ สารวจเป้าหมายในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร
ด้านทิศเหนือ มีเนื้อท่ีประมาณ 415,620.00 ไร่ หรือ 664.99 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอยู่ในเขตตาบลสลุย
ตาบลสองพนี่ ้อง ตาบลรบั ร่อและตาบลหงษเ์ จริญ อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของ
สานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ท่ี 4 (สุราษฎร์ธานี) จานวน 98 แปลง โดยทาการวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent
Sample Plot) ทมี่ ขี นาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกนั คอื วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดบั และมี
วงกลมขนาดรศั มี 0.631 เมตร อยู่ตามทิศหลักทงั้ 4 ทศิ
ผลการสารวจและวิเคราะหข์ ้อมูล พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสารวจ 9
ประเภท ได้แก่ ป่าดิบช้ืน ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ สวนยางพารา สวนปาล์ม สวนทุเรียน พืชสวนอ่ืนๆ พื้นที่ว่าง
เตรยี มปลูกและพื้นท่อี ื่นๆ โดยป่าดิบชื้นพบมากสุดคิดเป็นร้อยละ 26.37 ของพ้ืนที่สารวจ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง
สวนยางพารา ปา่ เบญจพรรณ สวนปาล์ม พื้นที่อื่นๆ สวนทุเรียน พืชสวนอ่ืนๆและพ้ืนท่ีว่างเตรียมปลูก คิดเป็น
ร้อยละ 24.18, 23.08, 10.99, 4.40, 4.40, 2.20, 2.20 และ 2.20 ของพ้ืนทส่ี ารวจตามลาดับ สาหรบั พรรณไม้รวม
ทกุ ชนิดปา่ พบทั้งส้ิน 63 วงศ์ 305 ชนดิ จานวน 22,317,424 ต้น โดยมีต้นไม้ที่ยังไม่ทราบชนิด (Unknown) จานวน
1,476,136ต้น และมีปริมาตรไมร้ วมทั้งหมด5,929,045.94ลกู บาศกเ์ มตรปรมิ าตรไม้เฉลี่ย 14.27 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความ
หนาแน่นของต้นไม้เฉล่ีย 53.70 ต้นต่อไร่ ซึ่งเม่ือเรียงลาดับชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่
ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminate) กระถิน (Leucaena leucocephala) คันแหลม (Spathiostemon
oniliformis) ไข่เขียว (Parashorea stellate) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ลาย (Microcos paniculata)
เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) กาแฟ (Coffea Arabica) เปล้า (Croton kerii) และนากบุด (Mesua nervosa)
ตามลาดบั โดยปรมิ าณไม้ยืนตน้ ที่พบมากท่ีสุดพบในป่าดิบช้ืน รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง ปริมาณกล้าไม้ (Seeding) ท่ีพบใน
แปลงสารวจมี 149 ชนิด 46 วงศ์ 2,068,052,044 ต้น โดยมีต้นไม้ท่ียังไม่ทราบชนิด (Unknown) จานวน 466,225,160 ต้น
ซ่ึงเม่ือเรียงลาดับชนิดไม้ท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ กระดูกกบป้า (Justicia trichocarpa) กระดูกไก่
(Euonymus javanicus) กระถิน (Leucaena leucocephala) กระท้อน (Sandoricum koetjape) กระเบา
(Hydnocarpus sumatrana) กระพ้ีนางนวล (Dalbergia cana) กริมเขา (Aporosa microstachya) กะตังใบ
(Leea indica) กะทังใบใหญ่ (Litsea grandis) กะเมาเขา (Oxyspora exigua) ตามลาดบั โดยสารวจพบปรมิ าณกลา้
ไมม้ ากท่ีสดุ ในปา่ ดบิ ชืน้ รองลงมาพบในพื้นที่ป่าดิบแล้ง ส่วนลูกไม้ (Sapling) ท่ีพบในแปลงสารวจมี 175 ชนิด 49
วงศ์ จานวนทงั้ หมด 159,890,384 ตน้ ไมท่ ราบชนดิ (Unknown) จานวน 9,353,734 ตน้ ซง่ึ เมื่อเรยี งลาดับชนิดไม้
ที่มปี รมิ าณมากท่ีสดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ ข่อย (Streblus asper) คันแหลม (Spathiostemon moniliformis) มะขามป้อม
(Phyllanthus emblica) กระถิน (Leucaena leucocephala) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) กะตังใบ (Leea indica)
มะไฟ (Baccaurea ramiflora) เข็มป่า (Ixora cibdela) เปล้า (Croton kerii) และกาแร้งหิน (Koilodepas longifolium)
ตามลาดับ โดยสารวจพบปรมิ าณลกู ไมม้ ากทสี่ ดุ ในปา่ ดิบชืน้ รองลงมาคอื ป่าดบิ แล้งและจากการสารวจชนดิ ไม้ไผ่ พบว่ามี
ไผ่ 13 ชนิด ได้แก่ ไผ่คายดา (Gigantochloa compressa) ไผ่เกรียบ (Gigantochloa apus) ไผ่ผากมัน (Gigantochloa
hasskarliana) ไผ่เกรียบ (Melocanna humilis) ไผ่ป่า (Bambusa bambos) ไผ่ซางนวล (Dendrocalamus
membranaceus) ไผ่ตง (Dendrocalamus asper) ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่สีสุก (Bambusa
blumeana) และไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ซ่ึงพบได้ในป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ สวนยางพารา
พนื้ ที่วา่ งเตรยี มปลูกและพ้นื ทอี่ นื่ ๆ เทา่ นัน้ ส่วนหวายและไมก้ ่อไม่พบการสารวจ
ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืช พบว่าชนิดไม้ท่ีมีค่าความสาคัญทางนิเวศวิทยา (Importance
Value Index : IVI) มากที่สุด คือ ไข่เขียว (Parashorea stellate) รองลงมา คือ ตะเคียนหนู (Anogeissus
acuminata) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้
ประโยชน์ทดี่ นิ ทม่ี คี วามหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Diversity) มากที่สุด คือ ป่าดิบชื้น รองลงมา คือ
ป่าดิบแล้ง ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีความมากมายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Richness) มาก
ทส่ี ุด คือ ปา่ ดิบช้นื รองลงมา คอื ป่าดิบแล้ง และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีความสม่าเสมอ
ของชนิดพันธ์ุไม้ (Species Evenness) มากท่ีสุด คือ สวนทุเรียน รองลงมา คือ พืชสวนอ่ืนๆ และพ้ืนที่อ่ืนๆ
ตามลาดบั
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างปา่ ในทุกชนดิ ป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน พบวา่ มีไม้
ยนื ตน้ ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จานวน 14,534,825 ต้น ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH)
อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร จานวน 6,043,389 ต้น และขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า 100
เซนติเมตรขน้ึ ไป จานวน 1,739,210 ต้น
จากผลการดาเนินงานดังกล่าว ทาให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาลังผลิตและความหลากหลายของพันธ์ุพืชในพ้ืนที่ต่างๆ ของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนอื อกี ทงั้ ยงั เป็นแนวทางในการสารวจทรัพยากรป่าไม้เก่ียวกับรูปแบบ วิธีการสารวจ
และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน เพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของ
ทรพั ยากรป่าไม้ในพ้นื ทเี่ ขตรกั ษาพันธส์ุ ตั วป์ า่ อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทศิ เหนอื ต่อไป
สารบัญ i
สารบญั หนา้
สารบัญตาราง i
สารบญั ภาพ iii
คานา v
วัตถุประสงค์ 1
เป้าหมายการดาเนนิ การ 2
ข้อมูลทว่ั ไปเขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ปา่ อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรด้านทิศเหนือ 2
3
ประวตั คิ วามเปน็ มา 3
ทต่ี ง้ั และอาณาเขต 4
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม 5
ลักษณะภูมิประเทศ 5
ลักษณะภูมิอากาศ 6
ลกั ษณะทางธรณีวิทยา 6
รูปแบบและวธิ กี ารสารวจทรัพยากรป่าไม้ 7
การสมุ่ ตัวอย่าง (Sampling Design) 7
รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design) 8
ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมลู ท่ีทาการสารวจ 8
การวเิ คราะห์ข้อมูลการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ 9
9
1. การคานวณเนื้อทป่ี ่าและปรมิ าณไม้ทง้ั หมดของแต่ละพืน้ ทอี่ นรุ กั ษ์ 9
2. การคานวณปรมิ าตรไม้ 10
3. ข้อมลู ทั่วไป 10
4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู องคป์ ระกอบของหมูไ่ ม้ 10
5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding) 10
11
6. การวิเคราะหข์ ้อมลู ชนิดและปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย 12
7. การวิเคราะหข์ ้อมลู สงั คมพชื 13
8. วเิ คราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ 13
ผลการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ 14
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง 16
2. พน้ื ทีป่ า่ ไม้
3. ปรมิ าณไม้
การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นทีเ่ ขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทศิ เหนอื
สารบัญ (ต่อ) ii
4. ชนิดพนั ธ์ุไม้ หน้า
5. สังคมพืช 31
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 43
สรปุ ผลการสารวจและวิเคราะหข์ ้อมูลทรพั ยากรปา่ ไม้ 52
ปญั หาและอุปสรรค 53
ขอ้ เสนอแนะ 57
เอกสารอ้างองิ 57
ภาคผนวก 58
59
การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่เขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ
iii
สารบญั ตาราง หนา้
ตารางที่ 8
15
1 ขนาดของแปลงตัวอย่างและขอ้ มูลท่ที าการสารวจ 17
28
2 พนื้ ทีป่ า่ ไมจ้ าแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดินในเขตรกั ษาพันธุส์ ัตว์ปา่
อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรดา้ นทิศเหนอื (Area by Landuse Type) 30
34
3 ปริมาณไมท้ ้งั หมดจาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตว์ปา่ 35
36
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรดา้ นทิศเหนอื (Volume by Landuse Type) 37
4 ความหนาแนน่ และปริมาตรไมต้ อ่ หน่วยพน้ื ท่ีจาแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ 38
38
ท่ดี ินในเขตรักษาพันธุส์ ตั วป์ ่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนอื 38
39
(Density and Volume per Area by Landuse Type) 39
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ งั้ หมดในเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม 40
กรมหลวงชุมพรดา้ นทิศเหนอื
6 ปรมิ าณไมท้ ัง้ หมดของเขตรกั ษาพันธส์ุ ตั วป์ ่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร
ด้านทศิ เหนอื (30 ชนิดแรกทม่ี ปี ริมาตรไมส้ ูงสุด)
7 ปรมิ าณไมใ้ นปา่ ดบิ ชน้ื ของเขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร
ดา้ นทิศเหนอื (30 ชนิดแรกท่ีมีปรมิ าตรไมส้ งู สดุ )
8 ปรมิ าณไม้ในป่าดิบแลง้ ของเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั ว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร
ด้านทศิ เหนือ (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไมส้ งู สุด)
9 ปริมาณไม้ในป่าเบญจพรรณของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนือ (30 ชนดิ แรกทม่ี ปี รมิ าตรไมส้ งู สดุ )
10 ปรมิ าณไมใ้ นพน้ื ที่สวนยางพาราของเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนอื
11 ปริมาณไมใ้ นพื้นทส่ี วนปาลม์ ของเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ า่ อุทยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พรดา้ นทศิ เหนอื
12 ปริมาณไม้ในพื้นท่สี วนทเุ รยี นของเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนือ
13 ปรมิ าณไมใ้ นพน้ื ท่ีพืชสวนอืน่ ๆ ของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนือ
14 ปรมิ าณไมใ้ นพนื้ ที่พื้นทว่ี า่ งเตรยี มปลูกของเขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ อุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชมุ พรดา้ นทศิ เหนือ
15 ปรมิ าณไมใ้ นพืน้ ทีพ่ นื้ ที่อืน่ ๆ ของเขตรักษาพนั ธุ์สตั ว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรดา้ นทศิ เหนือ
การสารวจทรัพยากรป่าไม้
พ้ืนทเี่ ขตรักษาพันธ์สุ ัตวป์ ่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทศิ เหนือ
iv
สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้
ตารางท่ี 41
42
16 ปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ทพี่ บในเขตรกั ษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม 43
45
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนือ 46
17 ปริมาณของกล้าไม้ (Seedling) ที่พบในเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม 47
48
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนือ 49
49
18 ชนดิ และปริมาณไม้ไผ่ หวาย และไมก้ อ ทพ่ี บในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม 50
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนือ 50
50
19 ดัชนคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าในเขตรักษาพันธ์สุ ัตวป์ ่า 51
52
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรดา้ นทศิ เหนือ
20 ดัชนคี วามสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ ชนื้
ในเขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพรดา้ นทิศเหนอื
21 ดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของปา่ ดบิ แล้ง
ในเขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนือ
22 ดชั นคี วามสาคัญของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ
ในเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนอื
23 ดัชนีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพนื้ ทส่ี วนยางพารา
ในเขตรกั ษาพันธส์ุ ตั วป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพรดา้ นทศิ เหนอื
24 ดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพื้นทสี่ วนปาลม์
ในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พรดา้ นทิศเหนือ
25 ดชั นีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพน้ื ทส่ี วนทุเรยี น
ในเขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรดา้ นทิศเหนือ
26 ดัชนคี วามสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพื้นทพ่ี ชื สวนอืน่ ๆ
ในเขตรักษาพนั ธส์ุ ัตว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนอื
27 ดัชนีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพืน้ ทีว่ า่ งเตรยี มปลกู
ในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พรด้านทิศเหนือ
28 ดัชนีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพ้นื ทอี่ น่ื ๆ
ในเขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนอื
29 ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ในเขตรกั ษาพันธส์ุ ัตว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนอื
การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พื้นทเ่ี ขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่าอทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ
v
สารบญั ภาพ หน้า
ภาพที่ 4
6
1 ทตี่ ั้งและอาณาเขตของเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ัตว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร 7
13
ดา้ นทิศเหนือ 14
2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของเขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร 16
18
ด้านทศิ เหนอื 19
20
3 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง 21
4 แผนที่แสดงขอบเขตและลักษณะภูมิประเทศของเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม 22
23
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนือ 24
25
5 แปลงตวั อย่างที่ไดด้ าเนนิ การสารวจภาคสนามในเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม 26
กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนอื
6 พน้ื ท่ปี า่ ไมจ้ าแนกตามชนิดปา่ ในพ้ืนทเ่ี ขตรกั ษาพันธสุ์ ัตว์ปา่ อุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนอื
7 ลักษณะทั่วไปของป่าดบิ ชืน้ ในพ้นื ทเ่ี ขตรกั ษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าอุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนอื
8 ลกั ษณะท่วั ไปของป่าดบิ แลง้ พ้นื ท่ีเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ า่ อุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพรดา้ นทิศเหนือ
9 ลกั ษณะท่ัวไปของป่าเบญจพรรณในพ้นื ที่เขตรักษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่าอุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนอื
10 ลกั ษณะทวั่ ไปของพื้นทีส่ วนยางพาราในพ้นื ท่ีเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนอื
11 ลักษณะทั่วไปของพน้ื ท่ีสวนปาล์มในพืน้ ท่ีเขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ า่ อุทยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทศิ เหนือ
12 ลักษณะทว่ั ไปของพนื้ ท่ีสวนทเุ รยี นในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ ่าอทุ ยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชมุ พรด้านทิศเหนอื
13 ลักษณะทว่ั ไปของพน้ื ทพ่ี ืชสวนอ่นื ๆในพ้นื ทเ่ี ขตรักษาพนั ธ์ุสตั วป์ า่ อุทยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนือ
14 ลักษณะท่วั ไปของพน้ื ท่วี า่ งเตรยี มปลกู ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ปา่ อุทยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พรด้านทิศเหนือ
15 ลกั ษณะทัว่ ไปของพนื้ ที่อืน่ ๆในพน้ื ที่เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนือ
การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พ้นื ทเ่ี ขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ ่าอทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ เหนอื
vi
สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้
ภาพที่ 27
16 ปริมาณไมท้ งั้ หมดท่ีพบในพื้นทเ่ี ขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
27
กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนอื
17 ปรมิ าตรไม้ทง้ั หมดท่ีพบในพืน้ ที่เขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม 29
กรมหลวงชมุ พรดา้ นทิศเหนอื 29
18 ความหนาแนน่ ของไมท้ ้งั หมดในพื้นท่ีเขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ป่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม 30
กรมหลวงชมุ พรดา้ นทศิ เหนอื
19 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม./ไร่) ของพ้นื ทแ่ี ตล่ ะประเภทในพ้นื ที่เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ป่าอทุ ยาน
เสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พรดา้ นทศิ เหนอื
20 การกระจายขนาดความโตของไม้ทง้ั หมดในพ้ืนที่เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตวป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พรด้านทศิ เหนอื
การสารวจทรัพยากรปา่ ไม้
พ้ืนทีเ่ ขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ป่าอุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ เหนือ
1
คานา
สถานการณ์ปัจจุบัน ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีป่าไม้เหลืออยู่ประมาณร้อยละ 31.57 หรือคิดเป็นพ้ืนท่ี
102,119,539.55 ไร่ จากพื้นท่ีรวมทัง้ ประเทศ 323,518,861.06 ไร่ ซ่ึงพื้นที่ดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบ
ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ท่ีจะต้องดาเนินการอนุรักษ์ สงวนและฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้
ให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อยา่ งยงั่ ยืน จึงจาเปน็ ท่ีจะต้องทราบถึงสถานภาพและ
ศกั ยภาพของทรพั ยากรโดยเฉพาะทรัพยากรปา่ ไม้ รวมทัง้ ความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีอยใู่ นพื้นทป่ี า่ ไม้ เพื่อนา
ขอ้ มลู มาใชป้ ระกอบการพิจารณาในการดาเนินการตามภาระรบั ผิดชอบ
ดังนั้นสว่ นสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ ดาเนินการสารวจ
พ้ืนทีป่ ่าอนุรกั ษใ์ นความผดิ ชอบจานวน 1 แหง่ ได้แก่ เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั ว์ป่าอุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศ
เหนือ เพื่อเป็นการเก็บรวบรวมข้อมลู พน้ื ฐานดา้ นทรพั ยากรป่าไม้ในพ้นื ท่ีอนุรักษ์ ซึ่งข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ในการ
ประเมินมูลค่า ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ในการดาเนินการในกิจกรรมที่มีความเก่ียวข้องกับความ
หลากหลายทางชีวภาพ รวมทงั้ ใช้ในการประเมินสถานภาพและศักยภาพของป่า ทรัพยากรป่าไม้ และทรัพยากร
อื่นๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง เพ่อื เป็นขอ้ มลู พืน้ ฐานในการดาเนนิ การ ในภารกจิ ต่างๆ ของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุ
พชื ต่อไป
2
วัตถุประสงค์
1. เพอื่ ใหท้ ราบขอ้ มูลพน้ื ฐานเกย่ี วกบั ทรพั ยากรปา่ ไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิตและความหลากหลาย
ของพชื พันธุ์ในพื้นทอี่ นุรกั ษ์ต่างๆ ของประเทศไทย
2. เพือ่ ใช้เปน็ แนวทางในการสารวจทรพั ยากรป่าไม้ เก่ียวกบั รูปแบบ วิธีการสารวจและการวิเคราะห์
ข้อมลู อย่างเป็นระบบและแบบแผน
3. เพอ่ื เปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพนื้ ที่
4. เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู พนื้ ฐานเกย่ี วกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชากล้าไม้เพ่ือ
ปลกู เสรมิ ป่าในแต่ละพื้นท่ี
เป้าหมายการดาเนินงาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่
อนุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพ้ืนที่สารวจ
เป้าหมายในพ้ืนที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนือ ในท้องที่ตาบลสลุย
ตาบลสองพ่ีน้อง ตาบลรับร่อและตาบลหงษ์เจริญ อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของ
สานกั บรหิ ารพน้ื ที่อนรุ ักษ์ท่ี 4 (สุราษฎร์ธานี) จานวน 98 แปลง
การสารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงที่ รูปวงกลม 3 วง
ซอ้ นกัน คือ วงกลมรศั มี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทิศหลักทงั้
4 ทิศ โดยจุดศนู ย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร จานวนทั้งส้ิน 51
แปลง และทาการเกบ็ ข้อมูลการสารวจทรพั ยากรป่าไม้ตา่ งๆ อาทิ เชน่ ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสงู จานวนกล้า
ไม้และลกู ไม้ ชนิดป่า ลักษณะตา่ งๆ ของพื้นทท่ี ่ตี ้นไมข้ ้นึ อยู่ ข้อมูลลกั ษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสูง ความลาดชัน
เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง แล้วนามา
วเิ คราะหแ์ ละประมวลผลเพือ่ ให้ทราบเน้อื ทป่ี ่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้ กาลังผลิตของ
ป่า ตลอดจนการสบื พนั ธ์ุตามธรรมชาตขิ องหมู่ไม้ในปา่ นั้น
3
ขอ้ มลู ท่ัวไปเขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทศิ เหนือ
ประวตั ิความเป็นมา
เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ ่าอทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ จังหวัดชุมพรและจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ เป็นหน่วยงานในสังกัดฝ่ายจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ส่วนอนุรักษ์สัตว์ป่า สานักอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยในปี พ.ศ. 2529 กรมป่าไม้ ได้ดาเนินการสารวจ
ความเหมาะสมสภาพภูมปิ ระเทศของป่าสงวนแหง่ ชาติปา่ รบั รอ่ และป่าสลุย เพ่อื จัดตั้งเปน็ เขตรักษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่าให้
เป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัยและรักษาไว้ซ่ึงพันธุ์ของสัตว์ป่า ท้ังนี้ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็น
เทือกเขาสลับซับซอ้ น สภาพปา่ เป็นปา่ ดบิ ช้ืน ป่าเบญจพรรณ และท่ีราบทุ่งหญ้า เป็นป่าต้นน้าที่สาคัญหลายสาย
เปน็ แหล่งน้าแหล่งอาหารท่อี ดุ มสมบรู ณ์ จึงมสี ตั ว์ปา่ สงวนและสตั ว์ป่าอ่ืนนานาชนิดชุกชมุ ครัน้ ในปี พ.ศ. 2531 จึง
ได้มีพระราชกฤษฎีกา กาหนดบริเวณที่ดินป่าคลองรับร่อฝ่ังขวา ท้องที่ตาบลสลุยและตาบลรับร่อ อาเภอท่าแซะ
จังหวัดชุมพร เนอ้ื ท่ีประมาณ 283,750 ไร่ หรอื ประมาณ 454 ตารางกโิ ลเมตร ตามพระราชกฤษฎีกาฉบับลงวันท่ี 15
มีนาคม พ.ศ. 2531 ราชกจิ จานุเบกษาฉบับพิเศษ หน้า 1 เล่ม 105 ตอนท่ี 45 วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2531 เป็น
เขตรกั ษาพันธุส์ ตั วป์ า่ อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ตามหนังสือสานักราชเลขา ที่ รล 0003/5083 ลงวนั ที่
15 เมษายน 2529 เรื่อง พระราชทานชื่อเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าในท้องท่ีจังหวัดชุมพร และเมื่อวันที่ 4
พฤศจกิ ายน 2532 ไดเ้ กดิ พายุใตฝ้ ุ่นเกย์พดั อย่างรนุ แรง ทาให้ปา่ ไม้ถูกพดั โค่นทาลายเสียหายเป็นจานวนมาก กรม
ป่าไม้ได้อนุญาตให้ทาไม้ท่ีถูกพายุพัดโค่นและราษฎรได้บุกรุกทาลายยึดถือครองท่ีดินทากินเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงพื้นที่
ดังกล่าวถูกบุกรุกมาก่อนแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 จึงทาให้เกิดปัญหากับราษฎร และพ้ืนที่บางส่วนก็เป็นพื้นท่ี
ประทานบัตรเหมอื งแร่ ในปี พ.ศ. 2536 กรมปา่ ไมไ้ ดด้ าเนินการสารวจพื้นที่ท่ีราษฎรบุกรุกทาลาย ยึดถือ ครอบครองทา
กิน และพื้นทท่ี ีอ่ ุดมสมบรู ณ์ในป่าสงวนแหง่ ชาติป่าเขาไชยราชและปา่ คลองกรดู จึงไดท้ าการเพิกถอนพื้นท่ีป่าท่ีถูก
บุกรุกทาลาย ยึดถือ ครอบครองทากินบางส่วน ในท้องท่ีจังหวัดชุมพร พ้ืนที่ประทานบัตรเหมืองแร่จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์และผนวกพื้นทีป่ ่าที่สมบูรณใ์ นทอ้ งทีจ่ งั หวดั ประจวบคีรีขันธ์
ในปี พ.ศ. 2537 จึงมีพระราชกฤษฎีกา กาหนดบริเวณท่ีดินป่าเขาไชยราชและป่าคลองกรูด ใน
ทอ้ งที่ตาบลร่อนทองและตาบลทองมงคล อาเภอบางสะพาน ตาบลช้างแรก ตาบลไชยราช อาเภอบางสะพานน้อย
จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ บริเวณท่ีดินป่ารับร่อและป่าสลุย ในท้องที่ตาบลสลุย ตาบลหงษ์เจริญ ตาบลรับร่อ
ตาบลสองพน่ี ้อง อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร เนื้อท่ีประมาณ 415,620 ไร่ หรือประมาณ 665 ตารางกิโลเมตร
โดยอยู่ในท้องท่ีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประมาณ 185,000 ไร่ และท้องท่ีจังหวัดชุมพร ประมาณ 230,620 ไร่
ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2537 ราชกิจจานุเบกษา หน้า 25 เล่ม 111 ตอนท่ี 42 ก.
วันที่ 6 กันยายน 2537 เปน็ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ เน่ืองจาก
พ้นื ทีเ่ ขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ เป็นพ้ืนท่ีแคบและยาว ระยะทาง
4
จากเหนือสดุ ถึงใต้สดุ ประมาณ 120 กิโลเมตร และเป็นพื้นท่ีรับผิดชอบของ 2 สานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ กล่าวคือ
ท้องที่จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ สงั กัดสานกั บรหิ ารพน้ื ที่อนุรักษ์ที่ 3 (บา้ นโปง่ ) และทอ้ งทจ่ี งั หวดั ชุมพร สังกดั สานัก
บริหารพื้นท่ีอนรุ ักษท์ ่ี 4 (สุราษฏรธ์ าน)ี ทาใหไ้ ม่สะดวกในการบรหิ ารจัดการ จึงกาหนดการบริหารพื้นท่ีใหม่ ให้ท้องท่ี
จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ (ตอนบน)
สงั กัดสานกั บริหารพืน้ ท่ีอนรุ กั ษท์ ่ี 3 (บ้านโป่ง) และท้องท่ีจังหวัดชุมพร เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสด็จใน
กรม กรมหลวงชุมพร ด้านทศิ เหนอื (ตอนลา่ ง) สงั กัดสานกั บริหารพน้ื ทีอ่ นรุ ักษ์ที่ 4 (สุราษฎร์ธาน)ี
ที่ต้ังและอาณาเขต
ทศิ เหนือ จดเขตรักษาพันธส์ุ ัตวป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทิศเหนือ (ตอนบน)
จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
ทิศใต้ จดเขตรักษาพนั ธส์ ัตวป์ า่ อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทศิ ใต้
ทิศตะวันออก จดพนื้ ทที่ ากินของราษฎร ท้องทีต่ าบลสลุย ตาบลสองพน่ี ้อง ตาบลหงษเ์ จริญ ตาบลรบั รอ่
อาเภอท่าแซะ จงั หวดั ชุมพร
ทศิ ตะวันตก จดประเทศเมยี นมาร์
ภาพที่ 1 แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของเขตรกั ษาพันธุ์สตั วป์ ่า
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทิศเหนือ
5
การเดินทางและเสน้ ทางคมนาคม
การเดินทางไปยังเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ โดยทาง
รถยนต์ ตามถนนเพชรเกษม หรือถนนสายเอเชีย หรอื ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 4 ระยะทางประมาณ 500 กิโลเมตร
ดงั นี้ ตรงทางแยกบา้ นตาเงาะ ตรงกิโลเมตรท่ี 450 ตาบลสลุย อาเภอทา่ แซะ จงั หวัดชุมพร (ทางแยกมีป้ายโครงการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืช) ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร (ทางลาดยาง 13 กิโลเมตร ลูกรัง 7 กิโลเมตร) หรือ
เดินทางโดยรถยนต์ รถโดยสารประจาทางกรงุ เทพฯ – ชุมพร ก่อนถึงอาเภอท่าแซะ 13 กิโลเมตร มีทางแยกหมู่บ้าน
ยายไท เลยี้ วขวาไปตามถนนลูกรงั ระยะทางประมาณ 24 กโิ ลเมตร ถงึ ทที่ าการเขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ ฯ หรอื ไปลง
รถทท่ี างแยกเข้าอาเภอท่าแซะ แล้วย้อนกลับมา 13 กิโลเมตร ถึงทางแยกหมู่บ้านยายไท เลี้ยวซ้ายไปตามถนน
ลูกรัง ระยะทางประมาณ 24 กโิ ลเมตร ถึงท่ีทาการเขตรักษาพันธ์สุ ัตวป์ ่าฯ
ลักษณะภูมิประเทศ
เขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ป่าอทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทศิ เหนอื มลี กั ษณะแคบยาวตามแนว
ชายแดนระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศเมยี นมาร์ ในทอ้ งท่ีจงั หวดั ชมุ พร ลักษณะภูมิประเทศ โดยท่วั ไปเป็นภูเขา
สงู ชันทางด้านตะวนั ตกค่อยๆ ลาดเอยี งไปทางด้านตะวันออก ทอดตัวในแนวเหนือใต้เรียงสลับซับซ้อน สลับกับที่
ราบแคบๆ ระหวา่ งหบุ เขาและลาหว้ ย ซึ่งเป็นสว่ นหน่ึงของเทอื กเขาตะนาวศรี มคี วามสูงจากระดับนา้ ทะเลปานกลาง
ประมาณ 100 ถึง 900 เมตร ทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงชัน ทางด้าน
ต ะ วั น ต ก ขอ ง พื้ น ท่ี ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ วย ภู เ ขา สู ง ชั น ไ ด้ แ ก่ เ ขา ป ล า ย คล อ ง อ ธร ร ม เ ขา ข า ห มู
มีความสงู เฉลี่ยจากระดับนา้ ทะเลปานกลางประมาณ 500 ถึง 700 เมตร ทางด้านทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้
ของพืน้ ท่ี ประกอบดว้ ย เขาหินเรือ มีความสงู เฉลย่ี จากระดบั นา้ ทะเลปานกลางประมาณ 400 ถึง 600 เมตร ทาง
ตอนกลางของพ้ืนท่ีจะเป็นที่ราบขนาดใหญ่ ได้แก่ บริเวณทับอินทนิล ส่วนทางด้านตะวันออกของพื้นท่ีจะเป็น
พนื้ ทีค่ อ่ นขา้ งราบและเป็นพ้ืนท่ีทาการเกษตรของราษฎร
จากลักษณะพื้นท่ีดังกล่าว ทาให้เกิดเป็นพื้นที่ต้นน้าที่สาคัญในท้องท่ีจังหวัดชุมพร ได้แก่
คลองท่าแซะ คลองขะม้ิว คลองรับร่อ คลองชะอาง คลองอธรรม คลองบางท่า คลองพันวาน และคลองมะละ
นอกจากน้ยี งั ประกอบไปด้วยลาหว้ ยและคลองขนาดเลก็ อีกเป็นจานวนมากไหลมารวมกนั เปน็ แม่น้าท่าตะเภา ซึ่ง
เป็นแม่น้าสายสาคัญของจังหวัดชุมพร เป็นแหล่งน้าดิบจากธรรมชาติท่ีสาคัญในการเกษตรกรรม การ
อุปโภคและบริโภคของประชาชนในทอ้ งที่อาเภอทา่ แซะ อาเภอปะทิวและอาเภอเมือง จงั หวดั ชมุ พร
6
ภาพท่ี 2 ลกั ษณะภูมิประเทศของเขตรักษาพันธุ์สัตวป์ า่
อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทิศเหนือ
ลักษณะภมู อิ ากาศ
สภาพภมู อิ ากาศของเขตรกั ษาพันธ์สุ ัตวป์ ่าอทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ เหนือ อยู่ใน
เขตร้อน (Tropical Climate) มี 2 ฤดูกาล อุณหภูมิเฉล่ียประมาณ 27.85 องศาเซลเซียส ค่าความช้ืนสัมพัทธ์
เฉล่ียรอ้ ยละ 82.22 ปรมิ าณนา้ ฝนเฉล่ียตอ่ ปี 2,504.38 มิลลิเมตร และจานวนวันท่ีฝนตกรวมเฉล่ยี ต่อปี 167.2 วัน
ฤดรู ้อน อยรู่ ะหว่างเดอื นธันวาคมถึงเดอื นเมษายน โดยมีอากาศเย็นบ้างในระหว่างเดือนธันวาคมถึง
เดือนมกราคมแตเ่ ป็นชว่ งระยะเวลาสั้นๆ และแทบทกุ เดือนยังมีฝนตกอยู่บ้างแต่ไม่มากนัก ในเดือนกุมภาพันธ์ มี
ปริมาณนา้ ฝนน้อยท่สี ุด ประมาณ 33.66 มลิ ลเิ มตร
ฤดฝู น อยู่ระหว่างเดอื นพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจกิ ายน โดยเฉล่ยี แลว้ ในหน่ึงเดอื นมีจานวนวันทฝี่ น
ตกมากกว่า 10 วัน และปริมาณฝนมากกว่า 100 มิลลเิ มตรในแตล่ ะเดอื น และฝนตกชกุ มากในช่วงเดอื นกรกฎาคม
ถึงเดือนพฤศจิกายน มปี รมิ าณนา้ ฝนมากกว่า 200 มิลลิเมตรต่อเดือน ในช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นเดือนที่มีพายุ
พัดผ่านจังหวัดชมุ พรมากทสี่ ุด ทาให้ปรมิ าณน้าฝนมากทีส่ ุดถงึ 445 มิลลิเมตร
ลกั ษณะทางธรณีวทิ ยา
โดยทั่วไปประเภทดิน ในภาคใต้ตอนบนมักเป็นดินทรายและดินตะกอนที่ค่อนข้าง เป็นกรด
มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ปานกลางถึงค่อนขา้ งตา่ ส่วนดินบริเวณชายฝั่งส่วนใหญ่เป็นดินที่เกิดจากการผุพัง สลายตัวของ
วัตถุตกค้างและดินดาน และบริเวณที่มีน้าทะเลท่วมถึงอยู่สม่าเสมอ เน้ือดินจะเป็นประเภทดินเลน ซึ่งมี
การระบายน้าเลวถึงเลวมาก
7
รปู แบบและวธิ กี ารสารวจทรพั ยากรป่าไม้
การสารวจทรพั ยากรป่าไมใ้ นแตล่ ะจงั หวดั ทวั่ ประเทศไทย ดาเนนิ การโดยกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้
สว่ นสารวจและวเิ คราะห์ทรพั ยากรปา่ ไม้ สานักฟนื้ ฟูและพฒั นาพ้นื ทอ่ี นุรกั ษ์ และสานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษ์ต่างๆ
ในสงั กดั กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธุ์พชื
การสมุ่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design)
การสารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic Sampling) ในพื้นที่ป่า
อนุรักษ์ โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน โดยกาหนดให้แต่ละแปลงห่างกัน
2.5x2.5 กิโลเมตร เรมิ่ จากการสุ่มกาหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเสน้ กรดิ แผนท่ี (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทย
มาตราส่วน 1:50,000 ใหม้ ีระยะหา่ งระหวา่ งเส้นกริดทัง้ แนวต้ังและแนวนอนเทา่ กบั 2.5x2.5 กิโลเมตร คือ ระยะช่อ
งกริดในแผนทีเ่ ท่ากบั 10 ช่อง จดุ ตดั ของเสน้ กรดิ ทัง้ สองแนวก็จะเปน็ ตาแหน่งที่ต้ังของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง
เมื่อดาเนนิ การเสรจ็ ส้ินแลว้ จะทราบจานวนหน่วยตัวอยา่ ง และตาแหนง่ ทต่ี ้งั ของหน่วยตัวอย่าง โดยลักษณะและ
ขนาดของแปลงตวั อยา่ งดังภาพท่ี 3
ภาพท่ี 3 ลักษณะและขนาดของแปลงตวั อยา่ ง
8
รูปร่างและขนาดของแปลงตัวอย่าง (Plot Design)
แปลงตวั อยา่ ง (Sample Plot) ทใ่ี ช้ในการสารวจมที ัง้ แปลงตวั อยา่ งถาวรและแปลงตัวอย่างชั่วคราว
เปน็ แปลงทม่ี ีขนาดคงที่ (Fixed – Area Plot) และมีรูปร่าง 2 ลกั ษณะด้วยกัน คอื
1. ลักษณะรูปวงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,
12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดบั
1.2 รปู วงกลมทีม่ ีรศั มีเทา่ กัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน โดย
จดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเสน้ รอบวงของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร ตามทศิ หลกั ท้ัง 4 ทิศ
2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เสน้ ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร โดยมี
จดุ เรม่ิ ต้นร่วมกัน ณ จดุ ศูนย์กลางแปลงตัวอยา่ งทามุมฉากซ่ึงกันและกัน ซึ่งตัวมุม Azimuth ของเส้นที่ 1 ได้จาก
การสุม่ ตัวอย่าง
ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมูลที่ทาการสารวจ
ขนาดของแปลงตัวอย่าง และขอ้ มลู ทที่ าการสารวจแสดงรายละเอยี ดไวใ้ นตารางที่ 1
ตารางท่ี 1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและขอ้ มูลท่ีดาเนินการสารวจ
รศั มีของวงกลม หรือ จานวน พ้นื ทหี่ รอื ความยาว ข้อมลู ทส่ี ารวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กล้าไม้
0.631 1 วง 0.0050 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลมุ พ้ืนทข่ี องกล้าไม้ และลกู ไม้
3.99 1 วง 0.0500 เฮกตาร์ ไม้ไผ่ หวายท่ยี งั ไม่เลื้อย และตอไม้
12.62 1 วง 0.1000 เฮกตาร์ ต้นไม้ และตรวจสอบปัจจัยที่รบกวนพนื้ ทปี่ ่า
17.84 2 เสน้ Coarse Woody Debris (CWD) หวายเลือ้ ย
17.84 (เสน้ ตรง) 17.84 เมตร และไม้เถา ท่พี าดผา่ น
9
การวิเคราะหข์ อ้ มูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้
1. การคานวณเน้อื ท่ีป่าและปริมาณไม้ทั้งหมดของแต่ละพน้ื ท่อี นรุ กั ษ์
1.1 ใช้ขอ้ มลู พืน้ ทอ่ี นุรักษ์จากแผนท่ีแนบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพน้ื ท่ีอนรุ กั ษ์
1.2 ใช้สัดส่วนจานวนแปลงตวั อยา่ งทพ่ี บในแต่ละชนดิ ป่า เปรยี บเทียบกับจานวนแปลงตัวอย่างทีว่ าง
แปลงท้ังหมดในแต่ละพื้นท่ีอนุรักษ์ ท่ีอาจจะได้ข้อมูลจากภาคสนาม หรือการดูจากภาพถ่ายดาวเทียมหรือ
ภาพถ่ายทางอากาศ มาคานวณเปน็ เนื้อทีป่ า่ แตล่ ะชนดิ โดยนาแปลงตัวอย่างทีว่ างแผนไวม้ าคานวณทุกแปลง
1.3 แปลงตัวอย่างที่ไม่สามารถดาเนินการได้ ก็ต้องนามาคานวณด้วย โดยทาการประเมินลักษณะพื้นท่ี
ว่าเป็น หนา้ ผา นา้ ตก หรอื พ้ืนท่ีอืน่ ๆ เพ่อื ประกอบลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน
1.4 ปริมาณไม้ทั้งหมดของพื้นที่อนุรักษ์ เป็นการคานวณโดยใช้ข้อมูลเนื้อที่อนุรักษ์จากแผนที่
แนบท้ายกฤษฎีกาของแต่ละพื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งบางพ้ืนที่อนุรักษ์มีข้อมูลเนื้อที่คลาดเคล่ือนจากข้อเท็จจริงและ
ส่งผลต่อการคานวณปริมาณไม้ทง้ั หมด ทาให้การคานวณปริมาณไม้เป็นการประมาณเบื้องตน้
2. การคานวณปรมิ าตรไม้
สมการปรมิ าตรไมท้ ใี่ ช้ในการประเมนิ การกักเกบ็ ธาตุคารบ์ อนในพ้นื ทปี่ ่าไม้ แบบวิธี Volume based
approach โดยแบง่ กล่มุ ของชนิดไมเ้ ป็นจานวน 7 กล่มุ ดังนี้
2.1 กลุม่ ท่ี 1 ได้แก่ ยาง เตง็ รงั เหียง พลวง กระบาก เค่ยี ม ตะเคยี น สยา ไข่เขียว พะยอม จนั ทนก์ ะพ้อ สน
สองใบ
สมการที่ได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188
2.2 กลุ่มที่ 2 ไดแ้ ก่ กระพ้ีจั่น กระพ้ีเขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เก็ดขาว เถาวัลย์เปรียง พะยูง ชิงชัน
กระพี้ ถ่อน แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกุลมะเกลอื
สมการท่ไี ด้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135
2.3 กลุ่มที่ 3 ได้แก่ รกฟา้ สมอพิเภก สมอไทย หกู วาง หูกระจง ตีนนก ข้ีอา้ ย กระบก ตะครา้ ตะครอ้
ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เล่ยี น มะฮอกกานี ข้ีอ้าย ตะบูน ตะบัน รัก ต้ิว สะแกแสง ปู่เจ้า
และไม้สกุลส้าน เสลา อินทนิล ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค
สมการท่ีได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186
10
2.4 กลุม่ ที่ 4 ไดแ้ ก่ กางขี้มอด คูน พฤกษ์ มะค่าโมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลุมพอ และ
สกุลขีเ้ หลก็
สมการทไ่ี ด้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36
2.5 กลุ่มท่ี 5 ได้แก่ สกลุ ประดู่ เตมิ
สมการที่ได้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กลุ่มที่ 6 ได้แก่ สกั ตนี นก ผ่าเสีย้ น หมากเลก็ หมากน้อย ไข่เนา่ กระจบั เขา กาสามปีก สวอง
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ท่ี 7 ได้แก่ ไม้ชนดิ อ่นื ๆ เชน่ กกุ๊ ขวา้ ว งิ้วป่า ทองหลางป่า มะม่วงป่า ซ้อ โมกมัน แสมสาร
และไมใ้ นสกุลปอ กอ่ เปล้า เป็นตน้
สมการทไ่ี ด้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)
R2 = 0.93, sample size = 138
โดยที่ V คือ ปรมิ าตรส่วนลาต้นเมื่อตดั โคน่ ท่ีความสงู เหนือดนิ (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถึงกิ่งแรกทีท่ าเป็นสินค้าได้ มหี นว่ ยเปน็ ลูกบาศก์เมตร
DBH มีหน่วยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มลู ทวั่ ไป
ขอ้ มลู ทว่ั ไปทนี่ าไปใชใ้ นการวเิ คราะห์ ได้แก่ ที่ตั้ง ตาแหน่ง ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ผู้ท่ีทาการเก็บข้อมูล
ความสูงจากระดับน้าทะเล และลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เป็นต้น โดยข้อมูลเหล่าน้ี จะใช้ประกอบในการ
วิเคราะหป์ ระเมินผลรว่ มกบั ขอ้ มลู ด้านอน่ื ๆ เพ่อื ตดิ ตามความเปลย่ี นแปลงของพน้ื ทใี่ นการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ครงั้
ต่อไป
4. การวเิ คราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปริมาตร
5. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนิดและปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding)
6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนิดและปริมาณของไม้ไผ่ หวาย
6.1 ความหนาแน่นของไมไ้ ผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นตงั้ (จานวนตน้ )
11
7. การวเิ คราะห์ข้อมูลสังคมพืช
โดยมีรายละเอียดการวเิ คราะหข์ อ้ มูลดงั นี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จานวนต้นไม้ท้ังหมดของชนิดพันธ์ุท่ีศึกษาท่ี
ปรากฏในแปลงตัวอย่างตอ่ หน่วยพืน้ ทีท่ ี่ทาการสารวจ
D = จำนวนต้นของไม้ชนิดนน้ั ทงั้ หมด
.
พ้ืนทแี่ ปลงตวั อยำ่ งทง้ั หมดท่ที ำกำรสำรวจ
7.2 ความถ่ี (Frequency : F) คือ อัตราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่าง ที่ปรากฏพันธ์ุไม้ชนิดน้ัน ต่อ
จานวนแปลงทีท่ าการสารวจ
F = จานวนแปลงตวั อยา่ งที่พบไม้ชนิดที่กาหนด X 100
จานวนแปลงตัวอยา่ งทัง้ หมดที่ทาการสารวจ
7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใช้ความเด่นด้านพื้นท่ีหน้าตัด (Basal Area : BA) หมายถึง
พื้นท่ีหนา้ ตัดของลาต้นของต้นไม้ทีว่ ัดระดบั อก (1.30 เมตร) ต่อพ้นื ท่ที ที่ าการสารวจ
Do = พน้ื ท่หี นา้ ตัดท้ังหมดของไม้ชนดิ ทก่ี าหนด X 100
พน้ื ทแ่ี ปลงตัวอย่างที่ทาการสารวจ
7.4 ค่าความหนาแนน่ สมั พทั ธ์ (Relative Density : RD) คอื คา่ ความสมั พัทธข์ องความหนาแนน่ ของไม้ท่ี
ตอ้ งการต่อค่าความหนาแน่นของไม้ทุกชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นร้อยละ
RD = ความหนาแนน่ ของไมช้ นดิ นนั้ X 100
ความหนาแนน่ รวมของไม้ทกุ ชนิด
7.5 ค่าความถี่สัมพัทธ์ (Relative Frequency : RF) คือ ค่าความสัมพัทธ์ของความถ่ีของชนิดไม้ ที่
ตอ้ งการต่อค่าความถี่ทั้งหมดของไม้ทกุ ชนิดในแปลงตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ
RF = ความถข่ี องไมช้ นิดนน้ั X 100
ความถีร่ วมของไม้ทุกชนดิ
7.6 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ (Relative Dominance : RDo) คือ ค่าความสัมพันธ์ของความเด่นใน
รูปพื้นท่ีหนา้ ตดั ของไมช้ นิดท่ีกาหนดตอ่ ความเด่นรวมของไมท้ ุกชนิดในแปลงตวั อยา่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ
RDo = ความเด่นของไม้ชนดิ น้นั X 100
ความเด่นรวมของไม้ทกุ ชนิด
12
7.7 ค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสมั พทั ธ์ตา่ งๆ ของชนิดไมใ้ นสังคม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธ์ด้านความหนาแน่น ค่าความสัมพัทธ์ ด้าน
ความถ่ี และคา่ ความสัมพทั ธด์ า้ นความเดน่
IVI = RD + RF + RDo
8. วเิ คราะห์ข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยทาการวเิ คราะห์คา่ ตา่ งๆ ดงั น้ี
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจานวนชนิดพันธุ์ที่ปรากฏในสังคม
และจานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of diversity
ตามวธิ กี ารของ Kreb (1972) ซึง่ มสี ูตรการคานวณดงั ต่อไปน้ี
s
H = ∑ (pi)(ln pi)
i=1
โดย H คือ คา่ ดัชนคี วามหลากชนดิ ของชนดิ พนั ธุ์ไม้
pi คือ สัดสว่ นระหว่างจานวนต้นไมช้ นดิ ที่ i ตอ่ จานวนตน้ ไม้ทั้งหมด
S คือ จานวนชนิดพนั ธไุ์ ม้ท้ังหมด
8.2 ความร่ารวยของชนิดพันธ์ุ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจานวนชนิดกับ
จานวนตน้ ท้ังหมดทที่ าการสารวจ ซ่ึงจะเพม่ิ ข้ึนเม่อื เพ่มิ พ้ืนท่แี ปลงตวั อยา่ ง และดชั นคี วามร่ารวย ที่นิยมใช้กัน คือ
วิธีของ Margalef Index และ Menhinick Index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการคานวณ
ดงั น้ี
1) Margalef Index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)
2) Menhinick Index (R2)
R2 = S/
เมอ่ื S คือ จานวนชนิดทัง้ หมดในสังคม
n คือ จานวนต้นทงั้ หมดทส่ี ารวจพบ
8.3 ความสม่าเสมอของชนิดพันธ์ุ (Evenness Indices) เป็นดัชนีที่ต้ังอยู่บนสมมติฐานท่ีว่า ดัชนี
ความสมา่ เสมอจะมคี า่ มากทีส่ ุดเมอ่ื ทกุ ชนิดในสังคมมีจานวนตน้ เท่ากันท้ังหมด ซึง่ วธิ กี ารที่นิยมใช้กันมากในหมู่นัก
นเิ วศวิทยา คอื วธิ ีของ Pielou (1975) ซ่ึงมีสตู รการคานวณดงั นี้
E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
13
เมือ่ H คือ คา่ ดชั นีความหลากหลายของ Shannon-Wiener
S คือ จานวนชนิดทัง้ หมด (N0)
N1 คอื eH
ผลการสารวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรพั ยากรปา่ ไม้
1. การวางแปลงตัวอยา่ ง
จากผลการดาเนนิ การวางสารวจทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ ดาเนนิ การวางแปลงสารวจตามพืน้ ท่รี ับผิดชอบของสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท่ี 4
(สุราษฏรธ์ านี) จานวน 98 แปลง ดงั ภาพที่ 2-3 และรายละเอยี ดแสดงในตารางภาคผนวกที่ 10
ภาพท่ี 4 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลักษณะภูมิประเทศของเขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ปา่
อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทศิ เหนือ
14
ภาพท่ี 5 แปลงตวั อยา่ งที่ไดด้ าเนินการสารวจภาคสนามในเขตรักษาพันธุส์ ัตว์ปา่
อุทยานเสด็จในกรมกรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ เหนือ
2. พ้ืนท่ีปา่ ไม้
จากการสารวจ พบว่า มพี ้ืนทีป่ ่าไม้จาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ได้ 9 ประเภท ได้แก่ ป่า
ดบิ ชืน้ ป่าดิบแล้ง ปา่ เบญจพรรณ สวนยางพารา สวนปาล์ม สวนทุเรียน พืชสวนอ่ืนๆ พื้นท่ีว่างเตรียมปลูก และพื้นที่
อ่นื ๆ โดยปา่ ดบิ ชน้ื พบมากทสี่ ุด มีพื้นที่ 175.38 ตารางกิโลเมตร (109,613.74 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 26.37 ของ
พ้นื ทที่ ้งั หมด รองลงมา คอื ปา่ ดบิ แลง้ มพี น้ื ที่ 160.77 ตารางกโิ ลเมตร (100,479.26 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 24.18 ของ
พืน้ ทีท่ ้ังหมด สวนยางพารา มีพื้นท่ี 153.46 ตารางกิโลเมตร (95,912.02 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 23.08 ของพ้ืนที่ท้ังหมด ป่า
เบญจพรรณ มีพนื้ ที่ 73.08 ตารางกิโลเมตร (45,672.40 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 10.99 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด สวนปาล์ม มี
พ้ืนท่ี 29.23 ตารางกิโลเมตร (18,268.96 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 4.40 ของพื้นท่ีท้ังหมด พ้ืนที่อื่นๆ มีพ้ืนท่ี 29.23
ตารางกิโลเมตร (18,268.96 ไร)่ คดิ เป็นร้อยละ 4.40 ของพื้นที่ท้ังหมด สวนทุเรียน มีพ้ืนที่ 14.61 ตารางกิโลเมตร
(9,134.48 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 2.20 ของพื้นท่ีทั้งหมด พืชสวนอื่นๆ มีพื้นท่ี 14.61 ตารางกิโลเมตร (9,134.48 ไร่)
คดิ เปน็ ร้อยละ 2.20 ของพื้นที่ทัง้ หมด และพื้นท่ีว่างเตรียมปลูก มีพ้ืนที่ 14.61 ตารางกิโลเมตร (9,134.48 ไร่)
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.20 ของพน้ื ทที่ ง้ั หมด รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2 และภาพที่ 6
15
ตารางท่ี 2 พน้ื ทีป่ า่ ไมจ้ าแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ ินในเขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่
อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ (Area by Land use Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ พืน้ ที่ ร้อยละ
(Landuse Type) ตารางกโิ ลเมตร เฮกตาร์ ไร่ ของพื้นทที่ ้งั หมด
ปา่ ดิบชน้ื 175.38 17,538.20 109,613.74 26.37
(Tropical Evergreen Forest)
ป่าดบิ แล้ง 160.77 16,076.68 100,479.26 24.18
(Dry Evergreen Forest)
ปา่ เบญจพรรณ 73.08 7,307.58 45,672.39 10.99
(Mixed Deciduous Forest)
สวนยางพารา 153.46 15,345.92 95,912.02 23.08
(Rubber)
สวนปาลม์ 29.23 2,923.03 18,268.96 4.40
(Palm)
สวนทเุ รยี น 14.62 1,461.52 9,134.48 2.20
(Durian)
พืชสวนอื่นๆ 14.62 1,461.52 9,134.48 2.20
(Other Orchards)
พน้ื ท่วี ่างเตรยี มปลูก 14.62 1,461.52 9,134.48 2.20
(Preparatory Land for Fields Crops)
พน้ื ที่อื่นๆ 29.23 2,923.03 18,268.96 4.40
(Others)
รวม 664.99 66,499.00 415,618.77 100.00
หมายเหตุ :
- การคานวณพ้ืนทีป่ ่าไมข้ องชนิดปา่ แต่ละชนดิ ใช้สดั ส่วนของข้อมลู ท่พี บจากการสารวจภาคสนาม
- ร้อยละของพ้ืนที่สารวจคานวณจากข้อมูลแปลงท่ีสารวจพบ ซึ่งมีพื้นที่ดังตารางท่ี 1
- รอ้ ยละของพื้นทที่ ้ังหมดคานวณจากพ้ืนทีแ่ นบท้ายกฤษฎกี าของเขตรกั ษาพันธสุ์ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชมุ พร ด้านทศิ เหนือ ซง่ึ มพี ื้นที่ประมาณ 664.99 ตารางกิโลเมตร หรือ 415,620 ไร่
16
ภาพท่ี 6 พืน้ ที่ป่าไมจ้ าแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดินในเขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ปา่
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ
3. ปริมาณไม้
จากการวิเคราะห์เก่ียวกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการ
สารวจทรพั ยากรป่าไม้ในแปลงตวั อยา่ งถาวร ในพื้นท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร
ด้านทศิ เหนือ จานวนทัง้ ส้นิ 98 แปลง พบว่ามีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสารวจพบ 9 ประเภท
ไดแ้ ก่ ปา่ ดิบชื้น ป่าดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ สวนยางพารา สวนปาล์ม สวนทุเรียน พืชสวนอื่นๆ พื้นที่ว่างเตรียมปลูก
และพ้ืนที่อื่นๆ พบไม้ต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่าหรือ
เท่ากับ 15 เซนติเมตรขึ้นไป มีมากกว่า 305 ชนิด รวมทั้งหมด 22,317,424 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด
5,929,045.94 ลูกบาศกเ์ มตร ปรมิ าตรไม้เฉล่ีย 14.27 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ และมีความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย
53.70 ตน้ ตอ่ ไร่ พบปรมิ าณไม้มากที่สุดในป่าดิบแล้ง จานวน 8,549,897 ต้น รองลงมาในป่าดิบชื้น พบจานวน
4,793,788 ต้น สาหรับปรมิ าตรไมพ้ บมากท่ีสดุ ในป่าดิบชื้น จานวน 1,350,650.51 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ
ปา่ ดิบแลง้ จานวน 2,611,199.64 ลกู บาศกเ์ มตร รายละเอียดดังตารางท่ี 3 และ 4 ภาพท่ี 7, 8, 9, 10, 11, 12,
13, 14, 15, 16 และ 17 ตามลาดับ
17
ตารางที่ 3 ปริมาณไมท้ ั้งหมดจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ในเขตรกั ษาพันธส์ุ ัตวป์ า่
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ เหนอื (Volume by Landuse Type)
ลกั ษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ปรมิ าณไม้ทง้ั หมด
(Landuse Type)
จานวน (ตน้ ) ปริมาตร (ลบ.ม.)
ป่าดิบชื้น
(Tropical Evergreen Forest) 4,793,788 1,350,650.51
ป่าดิบแล้ง
(Dry Evergreen Forest) 8,549,897 2,611,199.64
ปา่ เบญจพรรณ
(Mixed Deciduous Forest) 3,602,649 899,355.03
สวนยางพารา
(Rubber) 4,457,639 410,415.98
สวนปาลม์
(Palm) 284,997 555,653.08
สวนทุเรยี น
(Durian) 160,767 26,481.42
พืชสวนอื่นๆ
(Other Orchards) 102,306 29,506.22
พ้นื ที่ว่างเตรียมปลกู
(Preparatory Land for Fields Crops) 36,538 6,415.71
พนื้ ทอี่ ่ืนๆ
(Others) 328,842 39,368.37
รวม 22,317,423 5,929,045.96
18
ภาพท่ี 7 ลักษณะท่วั ไปของปา่ ดบิ ชื้นในเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ ่า
อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ
19
ภาพที่ 8 ลกั ษณะท่วั ไปของปา่ ดบิ แล้งในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตว์ปา่
อทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทิศเหนือ
20
ภาพท่ี 9 ลกั ษณะทว่ั ไปของปา่ เบญจพรรณในเขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ปา่
อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
21
ภาพท่ี 10 ลกั ษณะท่ัวไปของสวนยางพาราในเขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ปา่
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทิศเหนือ
22
ภาพที่ 11 ลักษณะทั่วไปของสวนปาล์มในเขตรักษาพันธุส์ ัตวป์ ่า
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทศิ เหนือ
23
ภาพท่ี 12 ลักษณะทั่วไปของสวนทเุ รยี นในเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ปา่
24
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
ภาพที่ 13 ลักษณะท่ัวไปของพืชสวนอื่นๆในเขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ า่
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ
25
ภาพท่ี 14 ลักษณะท่ัวไปของพ้ืนท่ีว่างเตรียมปลกู ในเขตรักษาพนั ธุส์ ตั ว์ป่า
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทิศเหนือ
26
ภาพที่ 15 ลักษณะทวั่ ไปของพ้ืนทอ่ี ่ืนๆในเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ป่า
อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทิศเหนือ
27
ภ
ภาพท่ี 16 ปริมาณไม้ทัง้ หมดท่พี บในเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั ว์ป่าอุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทิศเหนอื
ภาพท่ี 17 ปรมิ าตรไม้ทง้ั หมดท่ีพบในเขตรักษาพันธ์สุ ัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
28
ตารางท่ี 4 ความหนาแน่นและปริมาตรไมต้ อ่ หนว่ ยพ้ืนท่จี าแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี นิ
ในเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ปา่ อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทิศเหนือ
(Density and Volume per Area by Landuse Type)
ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(Landuse Type)
ตน้ /ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
ปา่ ดิบชน้ื 43.73 273.33 12.32 77.01
(Tropical Evergreen Forest)
ป่าดิบแลง้ 85.09 531.82 25.99 162.42
(Dry Evergreen Forest)
ป่าเบญจพรรณ 78.88 493.00 19.69 123.07
(Mixed Deciduous Forest)
สวนยางพารา 46.48 290.48 4.28 26.74
(Rubber)
สวนปาลม์ 15.60 97.50 30.42 190.09
(Palm)
สวนทเุ รียน 17.60 110.00 2.90 18.12
(Durian)
พชื สวนอื่นๆ 11.20 70.00 3.23 20.19
(Other Orchards)
พนื้ ที่ว่างเตรยี มปลูก 4.00 25.00 0.70 4.39
(Preparatory Land for Fields Crops)
พื้นท่อี ื่นๆ 18.00 112.50 2.16 13.47
(Others)
53.70 335.61 14.27 89.16
เฉล่ีย
29
ภาพท่ี 18 ความหนาแน่นของไมท้ ั้งหมดในเขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทศิ เหนือ
ภาพที่ 19 ปรมิ าตรไม้ (ลบ.ม.) ของพ้ืนทีแ่ ต่ละประเภทในเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ เหนือ
30
ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ้ังหมดในเขตรักษาพนั ธุส์ ัตวป์ ่า
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
ขนาดความโต (GBH) ปริมาณไม้ทัง้ หมด (ตน้ ) รอ้ ยละ (%)
15 – 45 ซม. 14,534,825
>45 – 100 ซม. 6,043,389 65.13
>100 ซม. 1,739,210 27.08
22,317,424 7.79
รวม 100.00
ภาพท่ี 20 การกระจายขนาดความโตของปรมิ าณไม้ทัง้ หมดในเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร ด้านทศิ เหนอื
31
4. ชนดิ พันธ์ุไม้
ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ทส่ี ารวจพบในพ้ืนทีเ่ ขตรกั ษาพันธ์ุสตั วป์ า่ อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ มี
มากกวา่ 305 ชนดิ รวมจานวน 22,317,424 ตน้ คิดเปน็ ปริมาตรไม้รวม 5,929,045.94 ลูกบาศก์เมตร มีค่าความ
หนาแน่นเฉลี่ย 53.70 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 14.27 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนหนู (Anogeissus acuminate) กระถิน (Leucaena leucocephala) คันแหลม
(Spathiostemon moniliformis) ไข่เขยี ว (Parashorea stellate) สังเครียดกล้อง (Aglaia argentea) ลาย
(Microcos paniculata) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) กาแฟ (Coffea Arabica) เปล้า (Croton kerii) และนากบุด
(Mesua nervosa) รายละเอยี ดดังตารางท่ี 6
ในปา่ ดิบช้ืน มีปริมาณไม้รวม 4,793,788 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 1,350,650.51 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลย่ี 43.73 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 12.32 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนดิ ไม้ทม่ี ปี ริมาณไมม้ ากท่สี ดุ 10
อันดับแรก ได้แก่ ไข่เขียว (Parashorea stellate) ข่าต้น (Cinnamomum ilicioides) นากบุด (Mesua nervosa)
เปล้า (Croton kerii) ยางมันหมู (Dipterocarpus kerrii) ตะเคียนแก้ว (Hopea sangal) พิกุลป่า (Adinandra
integerrima) แสมแดง (Aglaia cucullata) ยางปาย (Dipterocarpus costatus) และสังเครียดกล้อง (Aglaia
argentea) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 7
ในป่าดิบแล้งมปี รมิ าณไมร้ วม 8,549,897 ตน้ คดิ เปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 2,611,199.64 ลูกบาศก์เมตร มี
คา่ ความหนาแนน่ เฉลี่ย 85.09 ต้นตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไมเ้ ฉล่ยี 25.99 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนดิ ไม้ทม่ี ีปรมิ าณไม้มาก
ที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) สมพง (Tetrameles nudiflora) ยางแดง (Dipterocarpus
turbinatus) ก่อร้ิว (Castanopsis costata) ทุเรียน (Durio zibethinus) ขนุนป่า (Artocarpus lanceifolius) ค่าหด
(Engelhardtia spicata) ลาย (Microcos paniculata) ปออีเก้ง (Pterocymbium tinctorium) และตะเคียนหนู
(Anogeissus acuminate) รายละเอียดดังตารางท่ี 8
ในป่าเบญจพรรณมีปรมิ าณไมร้ วม 3,602,649 ตน้ คิดเปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 899,355.03 ลูกบาศก์เมตร มี
คา่ ความหนาแน่นเฉลยี่ 78.88 ต้นตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไมเ้ ฉล่ยี 19.69 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มาก
ท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ กร่าง (Ficus altissima) ยางยูง (Dipterocarpus grandiflorus) ตะเคียนหนู
(Anogeissus acuminate) กระถิน (Leucaena leucocephala) สะท้อนรอก (Elaeocarpus robustus)
สะแกแสง (Flemingia involucrate) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ยางนา (Dipterocarpus alatus) บุนนาค
(Mesua ferrea) และยางพารา (Hevea brasiliensis ) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 9
ในสวนยางพารามปี รมิ าณไมร้ วม 4,457,639 ตน้ คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 410,415.98 ลูกบาศก์เมตร มคี ่า
ความหนาแน่นเฉลี่ย 46.48 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 4.28 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ท่ีมีปริมาณไม้มากที่สุด คือ
ยางพารา (Hevea brasiliensis) รองลงมาไดแ้ ก่ กระถนิ เทพา (Acacia mangium) สะตอ (Parkia speciosa) ลาไย
ป่า (Paranephelium xestophyllum) มะม่วง (Mangifera indica) กระท้อน (Sandoricum koetjape)
จาปาดะ (Artocarpus integer) และละมุดฝร่ัง (Manilkara zapota) รายละเอยี ดดังตารางที่ 10
32
ในสวนปาล์มมีปริมาณไม้รวม 284,997 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 555,653.08 ลูกบาศก์เมตร
มคี ่าความหนาแนน่ เฉลีย่ 15.60 ตน้ ต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 30.42 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด
คอื ปาลม์ น้ามัน (Elaeis guineensis) รองลงมา ไดแ้ ก่ สะตอ (Parkia speciosa) รายละเอียดดังตารางท่ี 11
ในสวนทุเรียนมีปริมาณไม้รวม 160,767 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 26,481.42 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ยี 17.60 ตน้ ตอ่ ไร่ มปี ริมาตรไม้เฉล่ีย 2.90 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด คือ
ทุเรียน (Durio zibethinus) รองลงมา ได้แก่ กาแฟ (Coffea Arabica) รายละเอียดดงั ตารางท่ี 12
ในพืชสวนอื่นๆ มีปริมาณไม้รวม 102,306 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 29,506.22 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลยี่ 11.20 ต้นต่อไร่ มีปรมิ าตรไมเ้ ฉลยี่ 3.23 ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาณไม้มากที่สุด คือ
มะพร้าว (Cocos nucifera) รองลงมา ได้แก่ ปาล์มน้ามัน (Elaeis guineensis) ทุเรียน (Durio zibethinus) มังคุด
(Garcinia mangostana) จากจา (Daemonorops calicarpus) สะตอ (Parkia speciosa) หมาก (Areca
catechu) และมะนาว (Citrus aurantifolia) รายละเอียดดงั ตารางที่ 12
ในพนื้ ท่วี ่างเตรยี มปลกู มปี รมิ าณไม้รวม 36,538 ตน้ คิดเปน็ ปรมิ าตรไม้รวม 6,415.71 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแนน่ เฉลยี่ 4.00 ต้นตอ่ ไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉลยี่ 0.70 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ไร่ ชนดิ ไมท้ มี่ ีปริมาณไม้มากที่สุด คอื สาย
(Pometia ridleyi) รองลงมา ได้แก่ พุดป่า (Rothmannia schoemanii) เม็ก (Macaranga tanarius)
รายละเอยี ดดังตารางที่ 13
ในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ มีปริมาณไม้รวม 328,842 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 39,368.37 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลย่ี 18.00 ตน้ ต่อไร่ มีปรมิ าตรไม้เฉลยี่ 2.15 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ชนิดไมท้ ีม่ ีปริมาณไมม้ ากทีส่ ุด 10
อันดับแรก ได้แก่ กะอวม (Acronychia pedunculata) ชะเนียง (Archidendron jiringa) ยาบขี้ไก่ (Grewia
laevigata) หล่อง่าม (Macaranga triloba) โพบาย (Balakata baccata) ปอฝ้าย (Firmiana colorata)
เลือดควายใบเล็ก (Gymnacranthera eugeniifolia) มะพลับขน (Diospyros longipilosa) ยางพารา (Hevea
brasiliensis) และพลาใบเมา่ (Microcos antidesmifolia) รายละเอยี ดดังตารางที่ 14
ชนดิ และปริมาณของลกู ไมท้ ่พี บในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ัตว์ป่าอุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ดา้ นทศิ
เหนือ มมี ากกวา่ 175 ชนดิ รวมทง้ั ส้นิ 170,121,030 ตน้ มคี วามหนาแน่นของลูกไม้ 409.32 ต้นต่อไร่ โดยชนิดไม้ท่ีมี
ปริมาณมากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ข่อย (Streblus asper) คันแหลม (Spathiostemon moniliformis)
มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) กระถิน (Leucaena leucocephala) ปอฝ้าย (Firmiana colorata) กะตังใบ
(Leea indica) มะไฟ (Baccaurea ramiflora) เข็มป่า (Ixora cibdela) เปล้า (Croton kerii) และกาแร้งหิน (Koilodepas
longifolium) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 15
ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ที่พบในเขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ ่าอุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพร ด้าน
ทิศเหนือ มีมากกว่า 149 ชนดิ รวมทั้งสนิ้ 2,068,052,044 ต้น มคี วามหนาแน่นของกล้าไม้ 4,975.82 ตน้ ตอ่ ไร่ โดยชนิด
ไม้ทมี่ ปี รมิ าณมากท่สี ุด 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ กระดูกกบป้า (Justicia trichocarpa) กระดูกไก่ (Euonymus javanicus)
กระถิน (Leucaena leucocephala) กระท้อน (Sandoricum koetjape) กระเบา (Hydnocarpus sumatrana)
กระพี้นางนวล (Dalbergia cana) กริมเขา (Aporosa microstachya) กะตังใบ (Leea indica) กะทังใบใหญ่
(Litsea grandis) กะเมาเขา (Oxyspora exigua) รายละเอยี ดดังตารางที่ 16
33
สาหรบั ชนิดไม้ไผ่ท่ีพบในพื้นท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชุมพรด้านทิศเหนือมี
13 ชนิด โดยมีปรมิ าณไมไ้ ผ่จานวน 6,606,074 กอ รวมทัง้ สิ้น 173,920,985 ลา โดยชนิดไม้ที่มีปริมาณมากท่ีสุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ไผ่คายดา (Gigantochloa compressa) ไผ่เกรียบ (Gigantochloa apus) ไผ่ผากมัน
(Gigantochloa hasskarliana) ไผ่เกรียบ (Melocanna humilis) ไผ่ป่า (Bambusa bambos) ไผ่ซางนวล
(Dendrocalamus membranaceus) ไผ่ตง (Dendrocalamus asper) ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่สีสุก
(Bambusa blumeana) และไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata) รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 17
34
ตารางท่ี 6 ปรมิ าณไมท้ ั้งหมดของเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั ว์ปา่ อุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร
ด้านทศิ เหนือ (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไมส้ งู สดุ )
ลาดับ ชนดิ พนั ธ์ไุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตร ความหนาแน่น ปรมิ าตร
1 ตะเคียนหิน Hopea ferrea (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
2 สมพง Tetrameles nudiflora 124,229 305,557.44 0.30 0.74
109,614 276,935.86 0.26 0.67
3 กร่าง Ficus altissima 43,846 255,939.60 0.11 0.62
379,995 237,890.45 0.91 0.57
4 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata 80,384 177,042.58 0.19 0.43
5 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 197,305 168,175.18 0.47 0.40
949,989 149,854.47 2.29 0.36
6 ทุเรยี น Durio zibethinus 14,615 144,987.23 0.04 0.35
263,074 130,721.67 0.63 0.31
7 ตะเคยี นหนู Anogeissus acuminata 94,999 123,568.76 0.23 0.30
73,076 105,343.14 0.18 0.25
8 กอ่ รว้ิ Castanopsis costata 43,846 84,427.42 0.11 0.20
9 นากบุด Mesua nervosa 920,758 77,902.02 2.22 0.19
321,535 74,067.10 0.77 0.18
10 ยางยูง Dipterocarpus grandiflorus 72,493.61 0.02 0.17
11 ขนุนป่า Artocarpus lanceifolius 7,308 67,668.83 0.02 0.16
7,308 65,042.69 0.11 0.16
12 ปออเี กง้ Pterocymbium tinctorium 43,846 58,446.28 0.09 0.14
13 กระถนิ Leucaena leucocephala 36,538 55,162.14 0.19 0.13
80,384 48,833.34 0.69 0.12
14 ลาย Microcos paniculata 284,997 47,495.41 0.23 0.11
15 คา่ หด Engelhardtia spicata 94,999 46,632.44 0.40 0.11
168,075 43,669.50 0.11 0.11
16 ข่าต้น Cinnamomum ilicioides 43,846 43,221.58 0.47 0.10
17 ยางนา Dipterocarpus alatus 197,305 43,058.95 0.05 0.10
21,923 42,781.83 0.32 0.10
18 ตะเคียนแกว้ Hopea sangal 131,537 42,306.60 0.16 0.10
65,768 41,302.43 0.07 0.10
19 หวา้ ข้กี วาง Canthium umbellatum 29,230 41,225.21 0.19 0.10
80,384 40,051.22 0.12 0.10
20 เปล้า Croton kerii 51,153 2,817,240.97 41.76 6.78
17,355,560
21 ตาว Arenga pinnata 5,929,045.94 53.70 14.27
22,317,424
22 ตะเคียนทอง Hopea odorata
23 สีฟัน Arytera littoris
24 หมาก Areca catechu
25 ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii
26 ยมหอม Toona ciliata
27 ฝาละมี Alangium kurzii
28 สะทอ้ นรอก Elaeocarpus robustus
29 พกิ ลุ ปา่ Adinandra integerrima
30 คอแลน Nephelium hypoleucum
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพนั ธไุ์ ม้ทส่ี ารวจพบทง้ั หมด 305 ชนดิ
ปาล์มน้ามัน (Elaeis guineensis) มี 284,997 ตน้ 557,534.49 ลบ.ม.
ยางพารา (Hevea brasiliensis) มี 4,581,868 ต้น 385,949.47 ลบ.ม.
35
ตารางท่ี 7 ปริมาณไม้ในป่าดิบชื้นของเขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ ่าอทุ ยานเสด็จในกรม กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนือ
(30 ชนดิ แรกท่มี ปี รมิ าตรไมส้ ูงสุด)
ลาดบั ชนดิ พันธุ์ไม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
1 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
2 ข่าตน้ Cinnamomum ilicioides 241,151 222,522.84 2.20 2.03
7,308 67,668.83 0.07 0.62
3 นากบดุ Mesua nervosa 87,691 66,944.16 0.80 0.61
48,833.34 2.60 0.45
4 เปล้า Croton kerii 284,997 43,058.95 0.20 0.39
21,923 42,501.88 0.20 0.39
5 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii 21,923 41,225.21 0.73 0.38
80,384 39,375.85 0.33 0.36
6 ตะเคยี นแกว้ Hopea sangal 36,538 35,672.61 0.33 0.33
36,538 29,783.75 2.67 0.27
7 พกิ ุลปา่ Adinandra integerrima 292,304 24,864.12 0.20 0.23
21,923 23,345.51 0.27 0.21
8 แสมแดง Aglaia cucullata 29,230 21,868.62 0.33 0.20
36,538 20,289.05 0.67 0.19
9 ยางปาย Dipterocarpus costatus 73,076 20,235.90 0.27 0.18
29,230 17,297.04 0.13 0.16
10 สงั เครยี ดกลอ้ ง Aglaia argentea 14,615 15,347.07 0.73 0.14
80,384 15,180.02 0.20 0.14
11 สมพง Tetrameles nudiflora 21,923 14,788.96 0.13 0.13
14,615 12,128.57 0.13 0.11
12 ยางเสยี น Dipterocarpus gracilis 14,615 11,638.13 0.07 0.11
7,308 11,350.05 0.20 0.10
13 ยางกลอ่ ง Dipterocarpus dyeri 21,923 11,291.60 1.47 0.10
160,767 11,141.26 0.40 0.10
14 กาแซะ Callerya atropurpurea 43,846 10,923.05 0.27 0.10
29,230 10,902.96 0.07 0.10
15 โพบาย Balakata baccata 7,308 10,806.58 0.60 0.10
65,768 10,621.18 0.20 0.10
16 ปออีเกง้ Pterocymbium tinctorium 21,923 9,922.25 0.33 0.09
36,538 9,907.19 0.27 0.09
17 กะทงั Litsea monopetala 29,230 419,213.97 26.67 3.82
2,923,042
18 มะมว่ งกะเลง Mangifera longipes 1,350,650.51 43.73 12.32
4,793,788
19 ตนี เป็ดปา่ Ardisia murtonii
20 สะตอ Parkia speciosa
21 กะเมาเขา Oxyspora exigua
22 ทุเรียนผี Neesia altissima
23 กาแรง้ หนิ Koilodepas longifolium
24 เลอ่ื มเขา Canarium littorale
25 มงั ตาน Schima wallichii
26 ขม้ี ้นิ Nauclea officinalis
27 รักบา้ น Gluta renghas
28 หวา้ ขก้ี วาง Canthium umbellatum
29 แดงเขา Syzygium attenuatum
30 ตะพง Endospermum diadenum
31 อ่นื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไ์ุ ม้ที่สารวจพบท้ังหมด 166 ชนดิ
36
ตารางท่ี 8 ปรมิ าณไมใ้ นป่าดิบแล้งของเขตรักษาพันธุส์ ตั วป์ ่าอุทยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
(30 ชนดิ แรกท่ีมปี รมิ าตรไมส้ ูงสดุ )
ลาดับ ชนิดพันธ์ไุ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
1 ตะเคยี นหนิ Hopea ferrea (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
2 สมพง Tetrameles nudiflora 124,229 305,557.44 1.24 3.04
80,384 251,178.24 0.80 2.50
3 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 73,076 175,758.29 0.73 1.75
14,615 144,987.23 0.15 1.44
4 กอ่ ร้ิว Castanopsis costata 80,384 140,596.60 0.80 1.40
43,846 98,162.25 0.44 0.98
5 ทุเรยี น Durio zibethinus 7,308 72,493.61 0.07 0.72
292,304 72,279.93 2.91 0.72
6 ขนนุ ป่า Artocarpus lanceifolius 29,230 67,130.38 0.29 0.67
58,461 62,339.40 0.58 0.62
7 คา่ หด Engelhardtia spicata 131,537 58,719.36 1.31 0.58
94,999 47,495.41 0.95 0.47
8 ลาย Microcos paniculata 58,461 44,540.96 0.58 0.44
43,846 43,669.50 0.44 0.43
9 ปออีเก้ง Pterocymbium tinctorium 189,998 42,568.31 1.89 0.42
58,461 42,029.39 0.58 0.42
10 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 29,230 39,594.03 0.29 0.39
36,538 38,965.46 0.36 0.39
11 นากบุด Mesua nervosa 87,691 37,859.38 0.87 0.38
14,615 36,147.09 0.15 0.36
12 ตาว Arenga pinnata 175,383 35,669.82 1.75 0.35
14,615 33,770.44 0.15 0.34
13 หว้าข้กี วาง Canthium umbellatum 14,615 33,770.44 0.15 0.34
14 สีฟนั Arytera littoris 131,537
51,153
15 หมาก Areca catechu 73,076
14,615
16 ฝาละมี Alangium kurzii 14,615
29,230
17 คอแลน Nephelium hypoleucum 248,459
6,233,387
18 ยางนา Dipterocarpus alatus
8,549,897
19 ยมหอม Toona ciliata
20 แลนบาน Canarium denticulatum
21 สงั กะโตง้ Aglaia lawii
22 เม่ยี งหลวง Gordonia axillaris
23 พลากวาง Pterospermum
lanceaefolium
24 ตะเคียนทอง Hopea odorata 32,810.18 1.31 0.33
28,910.89 0.51 0.29
25 กระทุ่ม Anthocephalus chinensis 27,136.31 0.73 0.27
22,681.38 0.15 0.23
26 เสมด็ ทงุ่ Lophopetalum wallichii 20,253.05 0.15 0.20
19,138.60 0.29 0.19
27 กะทังหนั Calophyllum thorelii 15,429.40 2.47 0.15
62.04 5.17
28 จางจืด Heynea trijuga 519,557
85.09 25.99
29 กอ่ แซะ Lithocarpus platycarpus 2,611,199.64
30 ดีหมี Cleidion spiciflorum
31 อนื่ ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนิดพันธไ์ุ ม้ท่สี ารวจพบทั้งหมด 53 ชนิด
37
ตารางที่ 9 ปริมาณไม้ในปา่ เบญจพรรณของเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ า่ อุทยานเสด็จในกรม กรมหลวงชมุ พร
ด้านทิศเหนือ (30 ชนิดแรกทม่ี ปี ริมาตรไมส้ งู สุด)
ลาดบั ชนิดพันธุไ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
1 กร่าง Ficus altissima (ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
2 ยางยงู Dipterocarpus grandiflorus 43,846 255,939.60 0.96 5.60
51,153 108,580.20 1.12 2.38
3 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 891,528 87,515.07 19.52 1.92
920,758 77,902.02 20.16 1.71
4 กระถิน Leucaena leucocephala 29,230 41,302.43 0.64 0.90
87,691 32,442.28 1.92 0.71
5 สะทอ้ นรอก Elaeocarpus robustus 43,846 32,270.43 0.96 0.71
7,308 26,077.23 0.16 0.57
6 สะแกแสง Flemingia involucrata 14,615 18,103.83 0.32 0.40
182,690 17,419.74 4.00 0.38
7 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 14,615 15,944.40 0.32 0.35
14,615 14,557.79 0.32 0.32
8 ยางนา Dipterocarpus alatus 36,538 13,822.26 0.80 0.30
14,615 11,826.59 0.32 0.26
9 บุนนาค Mesua ferrea 14,615 0.32 0.18
36,538 8,105.48 0.80 0.18
10 ยางพารา Hevea brasiliensis 116,922 8,100.45 2.56 0.11
29,230 5,055.07 0.64 0.11
11 ตะเคยี นแกว้ Hopea sangal 36,538 4,841.10 0.80 0.09
160,767 4,253.53 3.52 0.09
12 ยางโอน Polyalthia viridis 29,230 4,144.59 0.64 0.07
14,615 3,322.57 0.32 0.07
13 ตะเคยี นทอง Hopea odorata 14,615 3,091.19 0.32 0.06
36,538 2,796.74 0.80 0.06
14 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 29,230 2,604.52 0.64 0.04
7,308 1,907.81 0.16 0.04
15 แคฝอย Stereospermum cylindricum 21,923 1,893.34 0.48 0.04
29,230 1,849.56 0.64 0.03
16 หาด Artocarpus lacucha 29,230 1,445.05 0.64 0.03
43,846 1,401.19 0.96 0.03
17 พังแหร Trema angustifolia 599,224 1,345.46 13.12 1.96
89,493.52
18 เพกา Oroxylum indicum 3,602,649 78.88 19.69
899,355.03
19 นากบุด Mesua nervosa
20 คันแหลม Spathiostemon moniliformis
21 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius
22 ตาเสอื Aphanamixis polystachya
23 ทิ้งถ่อน Albizia procera
24 คอแลน Xerospermum noronhianum
25 แคขาว Dolichandrone serrulata
26 กระทอ้ น Sandoricum koetjape
27 ไคร้ย้อย Elaeocarpus grandiflorus
28 เมยี ดตน้ Litsea martabarnica
29 ปองวง Colona javanica
30 กา้ นเหลอื ง Nauclea orientalis
31 อน่ื ๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พันธ์ุไม้ทีส่ ารวจพบท้ังหมด 144 ชนิด
38
ตารางท่ี 10 ปริมาณไมใ้ นสวนยางพาราของเขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ า่ อุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
ลาดับ ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น)
4,362,640 (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)
14,615
1 ยางพารา Hevea brasiliensis 29,230 367,402.73 45.49 3.83
14,615
2 กระถนิ เทพา Acacia mangium 27,178.78 0.15 0.28
3 สะตอ Parkia speciosa 10,132.88 0.30 0.11
4 ลาไยปา่ Paranephelium 1,949.37 0.15 0.02
xestophyllum
5 มะม่วง Mangifera indica 7,308 1,848.40 0.08 0.02
14,615 1,211.69 0.15 0.01
6 กระท้อน Sandoricum koetjape 7,308 0.08 0.00
7,308 414.92 0.08 0.00
7 จาปาดะ Artocarpus integer 4,457,639 277.21 46.48 4.28
410,415.98
8 ละมดุ ฝร่งั Manilkara zapota
รวม
ตารางที่ 11 ปรมิ าณไม้ในสวนปาลม์ ของเขตรกั ษาพันธสุ์ ตั วป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
ลาดับ ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร)่
277,689 30.21
1 ปาล์มน้ามัน Elaeis guineensis 551,963.93 15.20 0.20
7,308 30.42
2 สะตอ Parkia speciosa 284,997 3,689.15 0.40
รวม 555,653.08 15.60
ตารางที่ 12 ปรมิ าณไม้ในสวนทเุ รยี นของเขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม
กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทิศเหนือ
ลาดบั ชนดิ พันธไุ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ตน้ ) (ลบ.ม./ไร)่
94,999 (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่)
65,768 2.19
1 ทเุ รยี น Durio zibethinus 20,031.51 10.40 0.71
160,767
2 กาแฟ Coffea arabica 6,449.90 7.20 2.90
รวม 26,481.42 17.60
39
ตารางท่ี 13 ปริมาณไมใ้ นพืชสวนอ่ืนๆของเขตรักษาพันธส์ุ ัตว์ปา่ อุทยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนอื
ลาดับ ชนิดพนั ธุไ์ ม้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
1 มะพรา้ ว Cocos nucifera (ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่
14,615 15,090.18 1.60 1.65
2 ปาล์มนา้ มัน Elaeis guineensis 7,308 5,570.56 0.80 0.61
14,615 3,924.46 1.60 0.43
3 ทุเรียน Durio zibethinus 36,538 1,670.58 4.00 0.18
7,308 1,384.83 0.80 0.15
4 มังคดุ Garcinia mangostana 7,308 1,055.44 0.80 0.12
7,308 0.80 0.07
5 จากจา Daemonorops calicarpus 7,308 653.27 0.80 0.02
102,306 156.90 11.20 3.23
6 สะตอ Parkia speciosa 29,506.22
7 หมาก Areca catechu
8 มะนาว Citrus aurantifolia
รวม
ตารางท่ี 14 ปรมิ าณไมใ้ นพื้นทว่ี ่างเตรยี มปลกู ของเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชมุ พร ด้านทศิ เหนือ
ลาดับ ชนดิ พนั ธไ์ุ ม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
1 สาย Pometia ridleyi 7,308 0.80
2 พดุ ป่า Rothmannia schoemanii 7,308 3,766.06 0.80 0.41
3 เมก็ Macaranga tanarius 21,923 1,848.40 2.40 0.20
รวม 36,538 4.00 0.09
801.24 0.70
6,415.71
40
ตารางที่ 15 ปรมิ าณไมใ้ นพ้นื ท่อี ื่นๆ ของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ อทุ ยานเสดจ็ ในกรม กรมหลวงชมุ พร ดา้ นทศิ เหนอื
ลาดับ ชนิดพันธ์ุไม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ลบ.ม./ไร่)
(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่)
0.54
1 กะอวม Acronychia pedunculata 14,615 9,906.12 0.80 0.31
2 ชะเนยี ง Archidendron jiringa 0.27
7,308 5,699.46 0.40 0.25
3 ยาบขไ้ี ก่ Grewia laevigata
14,615 4,939.33 0.80 0.13
4 หล่อง่าม Macaranga triloba 73,076 4,621.53 4.00 0.11
5 โพบาย Balakata baccata 21,923 2,461.17 1.20 0.10
6 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 36,538 2,034.50 2.00
7 เลอื ดควายใบเลก็ Gymnacranthera 7,308 1,886.88 0.40
eugeniifolia
8 มะพลับขน Diospyros longipilosa 7,308 1,149.61 0.40 0.06
36,538 1,127.00 2.00 0.06
9 ยางพารา Hevea brasiliensis 7,308 1,101.93 0.40 0.06
7,308 0.40 0.05
10 พลาใบเมา่ Microcos antidesmifolia 7,308 893.50 0.40 0.04
7,308 804.62 0.40 0.03
11 สมพง Tetrameles nudiflora 458.71
14,615 0.80 0.02
12 นากบดุ Mesua nervosa 436.21
21,923 1.20 0.02
13 กระทุ่มเขา Neonauclea calycina 7,308 423.84 0.40 0.01
14,615 169.19 0.80 0.01
14 มะเดือ่ ปล้อง Ficus hispida 146.88
15 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata
16 จาปา Michelia champaca
17 คนั แหลม Spathiostemon
moniliformis
18 เต้าหลวง Macaranga gigantea 7,308 94.20 0.40 0.01
14,615 1,013.68 0.80 0.06
19 Unknown Unknown
328,842 39,368.37 18.00 2.15
รวม
41
ตารางที่ 16 ปรมิ าณลกู ไม้ (Sapling) ของเขตรักษาพนั ธ์ุสตั ว์ปา่ อทุ ยานเสด็จในกรม
กรมหลวงชุมพร ด้านทิศเหนอื (30 ชนิดแรกทม่ี ีปรมิ าณไม้สงู สุด)
ลาดับ ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ความหนาแนน่
1 ขอ่ ย Streblus asper (ต้น) (ต้น/ไร)่
2 คันแหลม Spathiostemon moniliformis 11,107,559 26.73
9,646,038 23.21
3 มะขามปอ้ ม Phyllanthus emblica 5,553,779 13.36
4,676,867 11.25
4 กระถนิ Leucaena leucocephala 3,653,802 8.79
3,507,650 8.44
5 ปอฝา้ ย Firmiana colorata 3,069,194 7.38
2,776,890 6.68
6 กะตงั ใบ Leea indica 2,630,738 6.33
2,630,738 6.33
7 มะไฟ Baccaurea ramiflora 2,484,585 5.98
2,484,585 5.98
8 เข็มปา่ Ixora cibdela 2,338,433 5.63
2,338,433 5.63
9 กาแรง้ หิน Koilodepas longifolium 2,338,433 5.63
2,192,281 5.27
10 เปล้า Croton kerii 2,192,281 5.27
2,046,129 4.92
11 ตาแยชา้ ง Dendrocnide stimulans 2,046,129 4.92
1,899,977 4.57
12 สังเครยี ดกลอ้ ง Aglaia argentea 1,899,977 4.57
1,753,825 4.22
13 นมสวรรค์ Clerodendrum paniculatum 1,753,825 4.22
1,753,825 4.22
14 โผ Mallotus cuneatus 1,753,825 4.22
1,607,673 3.87
15 หัสคุณ Micromelum minutum 1,607,673 3.87
1,607,673 3.87
16 เข็มอินเดีย Pentas lanceolata 1,461,521 3.52
1,461,521 3.52
17 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida 71,614,523 172.31
18 กระชิด Blachia siamensis 159,890,384 384.70
19 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa
20 เข็มขาว Ixora ebarbata
21 เหลียง Tournefortia ovata
22 กาแฟ Coffea arabica
23 ไข่เขียว Parashorea stellata
24 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata
25 มะหวด Lepisanthes rubiginosa
26 กาแซะ Callerya atropurpurea
27 เข็มใหญ่ Ixora grandifolia
28 แหลบุก Phoebe declinata
29 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius
30 ขัน Paranephelium macrophyllum
31 อื่นๆ Others
รวม
หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธ์ุไมท้ ่ีสารวจพบทงั้ หมด 175 ชนิด