คํานํา
การพััฒนาและบริหารจััดการทรัพัยากรนําาของประเทศให้สามารถสนองตอบต่อความต้องการใช้้นําา ในทุกกิจักรรม ถือเป็นบทบาทภารกิจัสําาคัญท่กรมช้ลประทานต้องดําาเนินการพััฒนาด้วยการก่อสร้างโครงการ ช้ลประทาน ทังโครงการตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารจััดการทรัพัยากรนําาของรัฐบาล และโครงการ อันเน่องมาจัากพัระราช้ดําาริ เพัือดําาเนินการจััดสรรนําาให้เพั่ยงพัอในทุกกิจักรรมตามปริมาณนําาต้นทุนท่ม่ ในแต่ละปี ซึ่่งนอกจัากจัะสร้างประโยช้น์ด้านการเกษตรแล้ว ยังม่นําาเพัือการอุปโภคบริโภค รักษาระบบนิเวศน์ อุตสาหกรรมและอืนๆ อ่กด้วย
ทังน้ ในการดําาเนินการพััฒนาเพัือจััดหาแหล่งนําาต้นทุนในรูปแบบต่าง ๆ ม่ความเก่ยวข้องกับช้่วิต ความเป็นอยู่ของประช้าช้น ม่ทงั ผู้ได้รับผลประโยช้น์ และผู้เสย่ ผลประโยช้น์ รวมไปถ่งการบริหารจััดการนําาให้เกิด ความสมดลุ ทงั ในช้ว่ งฤดฝู นและและฤดแู ลง้ ภารกจัิ ทก่ ลา่ วมานจั้ ะเกดิ ผลสมั ฤทธติ ามเปา้ หมายทก่ ําาหนดไดส้ งิ สําาคญั ประการหน่งคือต้องได้รับความร่วมมือจัากทุกภาคส่วนท่เก่ยวข้องโดยเฉพัาะภาคประช้าช้น ด้วยเหตุน้จั่งม่ ความจัําาเป็นท่จัะต้องสือสาร นําาเสนอข้อมูลข้อเท็จัจัริงด้วยการประช้าสัมพัันธ์เผยแพัรให้สาธารณช้นได้รับรู้ รับทราบการดําาเนินงานของกรมช้ลประทานในมุมต่างๆ อย่างต่อเน่อง เพัือสร้างการยอมรับในภารกิจั ของกรมช้ลประทาน
ดังนัน การเผยแพัร่ข้อมูลข่าวสารด้านการพััฒนาแหล่งนําา โครงการพััฒนาลุ่มนําาห้วยหลวง ตอนลา่ ง จังั หวดั หนองคาย ผา่ นสอื วทิ ยกุ ระจัายเสย่ งเปน็ อก่ ช้อ่ งทางหนง่ ทม่ ค่ วามสําาคญั ไมน่ อ้ ยไปกวา่ ช้อ่ งทางอนื ๆ เพัราะสามารถให้ข้อมูลข่าวสารท่รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ เข้าถ่งกลุ่มผู้ฟัังได้จัําานวนมาก และสามารถสร้าง ความรู้ ความเข้าใจัท่ถูกต้องเก่ยวกับการดําาเนินงานอันจัะส่งผลต่อการยอมรับทัศนคติและนําาไปสู่ความร่วมมือ ร่วมใจัของทุกภาคส่วนท่เก่ยวข้อง ไม่ว่าจัะเป็นภาครัฐ เอกช้น หรือประช้าช้น ต่อการดาํา เนินงานของโครงการฯ ให้ประสบความสําาเร็จัตามเป้าหมายท่ได้วางไว้
บริิษััท สาริคามการิพิิมพิ์ จำําากัด
ควมเป็นม
โครงการพััฒนาลุ่มนําาห้วยหลวงตอนล่างจัังหวัดหนองคาย ลุ่มนําาห้วยหลวงตอนล่าง ตังอยู่ในภาค ตะวนั ออกเฉย้ งเหนอ่ มพั่ นื ทร่ บั นําา 2,260 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลมุ พันื ทบ่ างสว่ นของจังั หวดั อดุ รธาน้ และจังั หวดั หนองคายเป็นพัืนท่ท่ม่ปัญหาเรืองการขาดแคลนนําาเป็นประจัําาอยู่ทุกปี โดยเฉพัาะอย่างยิง นําาสําาหรับใช้้ เพัือการเกษตร เน่องจัากสภาพัภูมิประเทศไม่เหมาะท่จัะสร้างแหล่งเก็บกักนําาขนาดใหญ่ เก็บนําาไว้ใช้้ในฤดูแล้ง ทงั ทป่ รมิ าณฝนทต่ กในแตล่ ะปไี มไ่ ดน้ อ้ ยไปกวา่ ภาคอนื ๆ ของประเทศ สว่ นฤดฝู นจัะเกดิ นําาหลากเปน็ ปญั หาทส่ ําาคญั ของลุ่มนําาห้วยหลวงตอนล่าง และจัะเกิดข่นเป็นประจัําาทุกปี โดยเฉล่ยแล้ว จัะม่พัืนท่นําาท่วมประมาณ 90,000 ไร่ ในแต่ละปี ประช้าช้นท่อาศัยอยู่ในลุ่มนําามักจัะประสบปัญหานําาท่วมซึ่ําาซึ่ากเป็นประจัําาทุกปี จันเป็นวิถ่ช้่วิตของ คนในลุ่มนําาห้วยหลวง พัืนท่ทําาการเกษตรได้รับความเส่ยหายจัากนําาท่วมเป็นประจัําาทุกปี โดยเฉพัาะอย่างยิง พัืนท่ลุ่ม จัะม่ความเส่ยงต่อความเสย่ หายมากในการทําานาปี ประช้าช้นจั่งเปล่ยนมาทาํา นาปรังหลังนําาลดแทน
กรมช้ลประทาน ได้เข้ามารับผิดช้อบโครงการห้วยหลวง จัังหวัดหนองคาย ตามการแบ่งส่วนภารกจัิ ของส่วนราช้การ ในปีพัุทธศักราช้ 2546 ต่อจัากกรมพััฒนาและส่งเสริมพัลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และ สิงแวดล้อมในขณะนัน ท่ได้ดําาเนินการศ่กษาความเหมาะสมโครงการห้วยหลวงจัังหวัดหนองคาย และได้ ดําาเนินการก่อสร้างประตูระบายนาํา ห้วยหลวง บริเวณบ้านดอนคง ตําาบลจัุมพัล อําาเภอโพันพัิสัย จัังหวัดหนองคาย ซึ่ง่ เปน็ สว่ นหนง่ ในแผนงานโครงการหว้ ยหลวง แลว้ เสรจั็ ในปพัี ทุ ธศกั ราช้ 2545 และคณะรฐั มนตรม่ ม่ ตอิ นมุ ตั ดิ ําาเนนิ โครงการพััฒนาลุ่มนําาห้วยหลวงตอนล่าง เมือวันท่ 24 เมษายน พัุทธศักราช้ 2561 เพัือบรรเทาปัญหานําาท่วม ในเขตจัังหวัดหนองคายและอุดรธาน้ในช้่วงฤดูฝน ได้ 54,390 ไร่ เพัิมปริมาณนําาต้นทุน จัําานวน 245.87 ล้าน ลูกบาศก์เมตร และส่งนําาให้กับพัืนท่ช้ลประทานเดิม จัําานวน 15,000 ไร่ และสามารถเพัิมพัืนท่ช้ลประทาน จัําานวน 300,195 ไร่ ครอบคลุมพัืนท่ 37 ตําาบล 7 อาํา เภอ 2 จัังหวัด จัาํา นวน 284 หมู่บ้าน 29,835 ครัวเรือน
โครงการพััฒนาลุ่มนําาห้วยหลวงตอนล่าง จัังหวัดหนองคาย ม่หัวงานตังอยู่ท่บ้านแดนเมือง ตําาบลวัดหลวง อาํา เภอโพันพัิสัย จัังหวัดหนองคาย ประกอบด้วย
1. งานสถานส้ บู นําาและอาคารประกอบ พัรอ้ มสว่ นประกอบอนื ตดิ ตงั เครอื งสบู นําาแบบ Vertical Mixed Flow Pump ขนาด 15 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาท่ จัาํา นวน 10 เครอื ง อัตราการสูบนาํา สูงสุด 150 ลูกบาศก์เมตรต่อ วินาท่ พัร้อมด้วยคลองช้ักนาํา ยาว 1,344 เมตร และประตูระบายนาํา ขนาด 12.5 x 7 เมตร จัาํา นวน 3 ช้อ่ ง เริมดําาเนนิ การพัุทธศักราช้ 2562 ถ่งพัุทธศักราช้ 2565 ผลการดําาเนินงานปจัั จัุบันร้อยละ 49.953
2. ปรับปรุงพันังกนั นาํา เดิม และประตูระบายนาํา ลําานําาสาขา 3 แห่ง เริมดําาเนินการพัุทธศักราช้ 2562 ถ่งพัุทธศักราช้ 2564 ดําาเนินการแล้วเสร็จั
3. ประตูระบายนาํา ในลาํา นําาสาขา 8 แห่ง และพันังกนั นําาใหม่ เริมดําาเนินการพัุทธศักราช้ 2563 ถง่ พัุทธศักราช้ 2566 ผลการดําาเนินงานปจัั จัุบันร้อยละ 10.740
4. ประตูระบายนาํา ในลาํา นําาห้วยหลวง 3 แห่ง เริมดําาเนินการพัุทธศักราช้ 2564 ถง่ พัุทธศักราช้ 2567 กําาลังดําาเนินการก่อสร้าง จัําานวน 1 แห่ง คือ ประตูระบายนําาดงสะพััง พัืนท่รับประโยช้น์ 61,518 ไร่ ผลการดําาเนิน งานปัจัจัุบันร้อยละ 0.029
5. ระบบช้ลประทาน ครอบคลุมพัืนท่ 315,195 ไร่ เริมดําาเนินการพัุทธศักราช้ 2567 ถง่ พัุทธศักราช้ 2569
6. ระบบควบคุมอุทกภัยแบบอจัั ฉริยะ (Smart Flood Control System) เริมดําาเนินการพัุทธศักราช้ 2567 ถ่งพัุทธศักราช้ 2568
7. แก้มลิงในลาํา นําาสาขา จัําานวน 20 แห่ง เริมดําาเนินการพัุทธศักราช้ 2566 ถ่งพัุทธศักราช้ 2569 โดย ม่แผนงบประมาณการก่อสร้างโครงการทังสิน 21,000 ล้านบาท ระยะเวลาดาํา เนินโครงการ 9 ปี ตังแตพั่ ุทธศักราช้
2561 ถ่งพัุทธศักราช้ 2569
“ห้้วยห้ลวงตอนล่ง พื้้นที่่ล่่มนําแห้่งอส่ นตอนบน”
โครงการพััฒนาลุ่มนําาห้วยหลวงตอนล่าง จัังหวัดหนองคาย สําานักงานก่อสร้างช้ลประทานขนาดใหญ่ท่ 3 สําานักงานพััฒนาแหล่งนาํา ขนาดใหญ่ กรมช้ลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รยละเอ่ยดำเฉพื้ะ จ่้งประชสัมพื้ันธ์์ผ่่นส้อสรมวลชน วิที่ย่ที่้องถิ่ินโครงกรพื้ัฒนล่่มนําห้้วยห้ลวงตอนล่ ง จ่ังห้วัดำห้นองคยปีงบประมณ พื้.ศ. 2565
1. เง้อนไขกรดำําเนินงน
1.1 เจั้าหน้าท่ประสานงาน ผู้รับจั้างต้องจััดส่งเจั้าหน้าท่ผู้เช้่ยวช้าญด้านวิทยุกระจัายเส่ยงหรือตามท่ ผู้ว่าจั้างกาํา หนดจัําานวน 1 คน เพัือทําาหน้าท่ประสานงานกับเจั้าหน้าทส่ ่วนประช้าสัมพัันธ์และเผยแพัร่ ในขันตอน การดําาเนินงานผลิตและตลอดโครงการตามสัญญา
1.2 การจััดส่งช้ินงานเพัือพัิจัารณา ผู้รับจั้างจัะต้องเสนอรายละเอ่ยดและรูปแบบการผลิต ในแต่ละรายการเสนอคณะกรรมการตรวจัรับพััสดุเพัือตรวจั อนุมัติบทก่อนการผลิตอย่างน้อย 5 วันทําาการ และจััดส่งเทปวิทยุเพัือตรวจัสอบเส่ยงผู้บรรยาย ดนตรป่ ระกอบก่อนนาํา ออกอากาศเผยแพัร่ทางสถาน้วิทยุ
1.3 ข้อมูลและรายละเอ่ยดท่นําาเสนอ ผู้รับจั้างจัะต้องศ่กษารายละเอ่ยดของโครงการ พัร้อมทังหาข้อมูลเอง รวมทังการติดต่อประสานงานกับผเู้ ก่ยวข้องโดยตรง
1.4 ผู้รับจั้างต้องรับผิดช้อบในกรณ้นําาเสนอเน่อหาผิดพัลาด และต้องดําาเนินการช้่แจังหรือ แก้ไขให้ถูกต้อง
1.5 บทและเทปบันท่กเส่ยงท่ผู้รับจั้างจััดทําาและผลิต เมือเผยแพัร่แล้วให้ถือเป็นลิขสิทธิท่ ถูกต้องตามกฎหมาย ของส่วนประช้าสัมพัันธ์และเผยแพัร่ กรมช้ลประทานสามารถนําาไปเผยแพัร่ซึ่ําาได้
2. ระยะเวลดำําเนินงน
90 วัน (นับถัดจัากวันลงนามในสัญญา)
3. กรจ่่ยเงินค่จ่้งและกรส่งมอบงน
3.1 กรจ่่ยเงินค่จ่้ง กรมจัะช้ําาระเงินค่าจั้างโดยแบ่งออกเป็น 4 ครัง (โดยไม่เร่ยงตามลําาดับ)
ดังน้
ครังท่ 1 เป็นจัําานวนเงินในอัตราร้อยละ 10 ของค่าจั้าง เมือผู้รับจั้างได้เสนอแผนการผลิต และเผยแพัร่ตามขอบเขตของเงือนไขท่กําาหนดและได้รับการอนุมัติจัากคณะกรรมการตรวจัรับพััสดุเรย่ บร้อยแล้ว
ครังท่ 2 เป็นจัําานวนเงินในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจั้าง เมือผู้รับจั้างได้จััดทําาบทสคริปต์ สารคด่วิทยุ และบันท่กเส่ยง เสร็จัเร่ยบร้อยแล้ว
ครังท่ 3 เป็นจัําานวนเงินในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจั้าง เมือผู้รับจั้างได้ผลิตและเผยแพัร่ สารคด่ครังท่ 1-150 เร่ยบร้อยแล้ว
ครังท่ 4 เป็นจัําานวนเงินในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจั้าง เมือผู้รับจั้างได้ผลิตและเผยแพัร่ สารคด่ครังท่ 151-249 เร่ยบร้อยแล้ว
3.2 กรส่งมอบงน ในการส่งมอบงานผู้รับจั้างจัะต้องดาํา เนินการดังน้
3.2.1 ในการเบิกเงินครังท่ 1 ผู้รับจั้างจัะต้องเสนอแผนงานการดาํา เนินงานผลิตและเผยแพัร่ตาม
เงือนไขท่กําาหนดและได้รับการอนุมัติจัากคณะกรรมการตรวจัรับพััสดุแล้ว จัาํา นวน 1 ชุ้ด
3.2.2 ในการเบิกจั่ายเงินครงั ท่ 2 - 4 ผู้รับจั้างต้องบันท่กช้ินงานตามท่กําาหนดลงในแผ่น DVD พัร้อมจััดทําาปกและสารบัญช้ือเรืองอย่างละเอ่ยด จัําานวน 1 ชุ้ด
3.2.3 ดําาเนินงานตามกาํา หนดในสัญญา ดังน้
- สรุปผลการดาํา เนินงานตามขอบเขตการดาํา เนินงานโดยจััดทาํา รูปเล่มจัําานวน 1 เล่ม
- รวบรวมผลงานทังหมด และท่เผยแพัร่ออกอากาศทางวิทยุกระจัายเส่ยงทุกตอนท่ต่อ
เน่องกันซึ่่งประกอบด้วย สารคด่ และการประเมินผลและช้ินงานทังหมดลงใน External hard disk จัําานวน 1 ชุ้ด พัร้อมบรรจัุกล่องและพัิมพั์บัญช้่ช้ือชุ้ด ช้ือเรือง ครบทุกตอนตามสัญญาลําาดับไว้ด้วย ทังน้ ในการส่งมอบงาน ครังท่ 3-4 จัะต้องม่หนังสือยืนยันการออกอากาศจัากทางสถาน้ หรือใบรับรองการตรวจัสอบการออกอากาศ (ใบมอนเิ ตอร)์ หรอื ในกรณท้ อ่ อกอากาศรว่ มในรายการอนื ใหม้ ่ใบยนื ยนั การออกอากาศจัากผผู้ ลติ รายการนนั พัรอ้ ม ใบมอนิเตอร์แสดงการออกอากาศ
4. ค่ปรับ
ค่าจั้าง
5. ผ่ลที่่คดำว่ จ่ะไดำ้รับ
5.1 การประช้าสัมพัันธ์ทางสือวิทยุอย่างต่อเน่องจัะสามารถสร้างความจัดจัําาให้เกิดข่นกับกลุ่ม บคุ คลตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ประช้าช้นในพันื ท่โครงการฯ และประช้าช้นจังั หวดั หนองคายและอดุ รธาน้ องคก์ รเอกช้น นกั การ เมืองและหน่วยงานภาครัฐในการท่จัะติดตามรับฟัังเรืองราวของกรมช้ลประทาน ซึ่่งจัะทําาให้ม่ความรู้ ความเข้าใจั เรืองงานพััฒนาแหล่งนาํา และม่ภาพัพัจัน์ท่ด่ต่อกรมช้ลประทาน
5.2 กลุ่มเป้าหมายตระหนักถ่งคุณค่าของนําา และให้ความร่วมมือในการพััฒนาแหล่งนําาและ บริหารจััดการนําาช้ลประทาน รวมทังม่จัิตสําาน่กในการใช้้นําาอย่างประหยัดและเกิดประโยช้นส์ ูงสุด
5.3 ประช้าช้นในกลุ่มเป้าหมายสามารถรับทราบสถานการณ์นําาของกรมช้ลประทาน อย่างทันท่วงท่
6. ผ่้้รับผ่ิดำชอบโครงกร
สถานท่ติดต่อ : สําานักงานก่อสร้างช้ลประทานขนาดใหญ่ท่ 3 สําานักพััฒนาแหล่งนาํา ขนาดใหญ่ กรมช้ลประทาน
310 หมู่ท่ 6 ตําาบลนําากําา อําาเภอธาตุพันม
จัังหวัดนครพันม 48110 โทรศัพัท์/โทรสาร: 042059286
ตามแบบสัญญาจั้างแนบท้ายน้ หรือข้อตกลงจั้างเป็นหนังสือจัะกาํา หนด ดังน้
4.1 กรณท้ ผ่ รู้ บั จัา้ งปฏิบิ ตั ผิ ดิ สญั ญา จัะกําาหนดคา่ ปรบั เปน็ รายวนั ในอตั รารอ้ ยละ 0.10 ของราคา
บทความวิทยุุเพื่่อออกอากาศ
โครงการพัฒนาลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง จังหวัดหนองคาย ลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง ตั้งอยู่ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่รับน้ํา 2,260 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองคาย เป็นพื้นที่ที่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้ําเป็นประจําอยู่ทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ําสําหรับใช้เพื่อการเกษตร เนื่องจากสภาพภูมิประเทศไม่เหมาะที่จะสร้างแหล่งเก็บกักน้ําขนาดใหญ่ เก็บน้ําไว้ใช้ในฤดูแล้ง ทั้งที่ปริมาณฝนที่ตกในแต่ละปีไม่ได้น้อยไปกว่าภาคอื่น ๆ ของประเทศ ส่วนฤดูฝนจะเกิดน้ําหลากเป็นปัญหาที่สําคัญของลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง และจะเกิดขึ้นเป็นประจําทุกปี โดยเฉลี่ยแล้ว จะมีพื้นที่น้ําท่วมประมาณ 90,000 ไร่ ในแต่ละปี ประชาชนที่อาศัยอยู่ในลุ่มน้ํา มักจะประสบปัญหาน้ําท่วมซ้ําซากเป็นประจําทุกปี จนเป็นวิถีชีวิตของคนในลุ่มน้ําห้วยหลวง พื้นที่ทําการเกษตรได้รับความเสียหายจากน้ําท่วมเป็นประจําทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ลุ่ม จะมีความเสี่ยงต่อความเสียหายมากในการทํานาปี ประชาชนจึงเปลี่ยนมาทํานาปรังหลังน้ําลดแทน
กรมชลประทาน ได้เข้ามารับผิดชอบโครงการห้วยหลวง จังหวัดหนองคาย ตามการแบ่งส่วนภารกิจ ของส่วนราชการ ในปีพุทธศักราช 2546 ต่อจากกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และ สิ่งแวดล้อมในขณะนั้น ที่ได้ดําเนินการศึกษาความเหมาะสมโครงการห้วยหลวง จังหวัดหนองคาย และได้ดําเนินการก่อสร้างประตูระบายน้ําห้วยหลวง บริเวณบ้านดอนคง ตําบลจุมพล อําเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในแผนงานโครงการห้วยหลวง แล้วเสร็จในปีพุทธศักราช 2545 และคณะรัฐมนตรมี ีมติอนุมัติดําเนินโครงการพัฒนาลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง เมื่อวันที่ 24 เมษายน พุทธศักราช 2561 เพื่อบรรเทาปัญหาน้ําท่วมในเขตจังหวัดหนองคายและอุดรธานีในช่วงฤดูฝน ได้ 54,390 ไร่ เพิ่มปริมาณน้ําต้นทุน จํานวน 245.87 ล้านลูกบาศก์เมตร และส่งน้ําให้กับพื้นที่ชลประทานเดิม จํานวน 15,000 ไร่ และสามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทาน จํานวน 300,195 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 37 ตําบล 7 อําเภอ 2 จังหวัด จํานวน 284 หมู่บ้าน 29,835 ครัวเรือน
“ ห้วยหลวงตอนลา่ ง พื้นที่ลุ่มน้ําแห่งอีสานตอนบน”
ขอขอบพระคณุ
โครงการพัฒนาลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง จังหวัดหนองคาย สํานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 3 สํานักงานพัฒนาแหล่งน้ําขนาดใหญ่ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการพัฒนาลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง จังหวัดหนองคาย มีหัวงานตั้งอยู่ที่บ้านแดนเมือง ตําบลวัดหลวง อําเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย ประกอบด้วย
1. งานสถานีสบู น้ําและอาคารประกอบ พร้อมส่วนประกอบอื่น ติดตั้งเครื่องสูบน้ําแบบ Vertical Mixed Flow Pump ขนาด 15 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที จํานวน 10 เครื่อง อัตราการสูบน้ําสูงสุด 150 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พร้อมด้วยคลองชักน้ํายาว 1,344 เมตร และประตูระบายน้ําขนาด 12.5 x 7 เมตร จํานวน 3 ช่อง เริ่มดําเนินการพุทธศักราช 2562 ถึงพุทธศักราช 2565 ผลการดําเนนิ งานปัจจุบันร้อยละ 49.953
2. ปรับปรุงพนังกั้นน้ําเดิม และประตูระบายน้ําลําน้ําสาขา 3 แห่ง เริ่มดําเนินการพุทธศักราช 2562 ถึงพุทธศักราช 2564 ดําเนินการแล้วเสร็จ
3. ประตูระบายน้ําในลําน้ําสาขา 8 แห่ง และพนังกั้นน้ําใหม่ เริ่มดําเนินการพุทธศักราช 2563 ถึงพุทธศักราช 2566 ผลการดําเนินงานปัจจุบันร้อยละ 10.740
4. ประตูระบายน้ําในลําน้ําห้วยหลวง 3 แห่ง เริ่มดําเนินการพุทธศักราช 2564 ถึงพุทธศักราช 2567 กําลังดําเนินการก่อสร้าง จํานวน 1 แห่ง คือ ประตูระบายน้ําดงสะพังพื้นที่รับประโยชน์ 61,518 ไร่ ผลการดําเนินงานปัจจุบันร้อยละ 0.029
5. ระบบชลประทาน ครอบคลุมพื้นที่ 315,195 ไร่ เริ่มดําเนินการพุทธศักราช 2567 ถึงพุทธศักราช
2569
6. ระบบควบคุมอุทกภัยแบบอัจฉริยะ (Smart Flood Control System) เริ่มดําเนินการพุทธศักราช
2567 ถึงพุทธศักราช 2568
7. แก้มลิงในลําน้ําสาขา จํานวน 20 แห่ง เริ่มดําเนินการพุทธศักราช 2566 ถึงพุทธศักราช 2569 โดยมีแผนงบประมาณการก่อสร้างโครงการทั้งสิ้น 21,000 ล้านบาท ระยะเวลาดําเนินโครงการ 9 ปี
ตั้งแต่พุทธศักราช 2561 ถึงพุทธศักราช 2569
“ ห้วยหลวงตอนลา่ ง พื้นที่ลุ่มน้ําแห่งอีสานตอนบน”
ขอขอบพระคุณ
โครงการพัฒนาลุ่มน้ําห้วยหลวงตอนล่าง จังหวัดหนองคาย สํานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 3 สํานักงานพัฒนาแหล่งน้ําขนาดใหญ่ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ใบรบัรองการออกอากาศ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจงั หวดั หนองคาย สานักประชาสมัพนัธเ์ขต1กรมประชาสมัพนัธ์
สถานี
เร่อื ง
วนัที่ออกอากาศ
รายการ/ สปอต/สารคดี
ช่วงเวลา ออกอากาศ
จานวน ครงั้ ที่ ออกอากาศ
หมาย เหตุ
สถานีวทิ ยุ กระจายเสยีง แห่งประเทศไทย จงัหวดัหนองคาย เอฟเอม็ 90.50 เมกะเฮริตซ์
- เผยแพร่ สปอต โครงการ พฒั นาลุ่มน้า หว้ ยหลวง จงั หวดั อุดรธานี หนองคาย
- ระหว่างวนั ท1่ี 5- 31ธนัวาคม2564 จานวน 6ครงั้ /วนั (17วนั)
- ระหว่างวนั ท่ี
1 – 24 มกราคม 2565 จานวน 6 ครงั้/วนั (24วนั)
- วนัท่ี25มกราคม 2565 จานวน 4 ครงั้/วนั (1วนั) รวมออกอากาศ 250 ครงั้ (42วนั )
- ออกอากาศส ปอตโครงการ พฒั นาลุ่มน้า หว้ ยหลวง
จงั หวดั อุดรธานี หนองคาย
ภาคเชา้ เวลา 09.30น. 10.10น. 10.30น. 11.30น. ภาคบ่าย เวลา 14.30น. 15.30น.
6 ค ร งั ้ / ว นั
รวม 250 ครงั้
ลงช่อื
(นายประมุข ไทยเสถยี ร) ผอู้านวยการสถานีวทิยุกระจายเสยีงแห่งประเทศไทย จงัหวดัหนองคาย